โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

ดัชนี ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

174 ความสัมพันธ์: บุนเดสลีกา ฤดูกาล 1990–91บุนเดิสอาร์ชีฟฟรีดริช เพาลุสฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออกพ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พรรคคอมมิวนิสต์พรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนีพรรคนาซีพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนีพระราชวังซังส์ซูซีพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพาลัสท์แดร์เรพูบลีคกลุ่มตะวันออกกองทัพประชาชนแห่งชาติการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอการบุกครองเกรเนดาการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953การยึดครองญี่ปุ่นการรวมประเทศเยอรมนีการรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการีการทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม)การตรวจพิจารณาการปฏิวัติ ค.ศ. 1989การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การปิดกั้นเบอร์ลินการเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออกกำแพงเบอร์ลินกูดบาย เลนิน!กีฬาเรือพายในโอลิมปิกฤดูร้อนกติกาสัญญาวอร์ซอฝั่ม ถิ ฮหว่ายภาพทดสอบมหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมอเตอร์ครอสเวิลด์แชมเปี้ยนชิพมิชาเอล บัลลัคมิโคยัน มิก-29ม่านเหล็กยาวีด คาริมยึม กิจจแสยุทธการที่เบอร์ลินยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพยูฟ่าซูเปอร์คัพยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน...รัฐบรันเดินบวร์ครัฐพรรคการเมืองเดียวรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐซัคเซินรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลารายชื่อธงในประเทศเยอรมนีรายชื่อตัวละครในดาย ฮาร์ดรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพลัฟเรนตีย์ เบรียาลัทธิคอมมิวนิสต์วลาดีมีร์ ปูตินวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1969วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1983วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนีวันชัยในทวีปยุโรปวันสาธารณรัฐวิลลี บรันท์วีรชนแห่งสหภาพโซเวียตศาลปกครองสมองไหลสรุปเหรียญรางวัลพาราลิมปิกตลอดกาลสหพันธรัฐสายตรงมอสโก–วอชิงตันสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสาธารณรัฐประชาธิปไตยสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดนสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามโลกครั้งที่สองสตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)สนธิสัญญาชายแดนเยอรมนี-โปแลนด์ (2533)สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนีสเวน บอยเคอร์ทอสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟออร์ดนุงโพลีไซออสโวบอจเดนีอังเกลา แมร์เคิลอันเดรย์ เกรชโคอาร์คิมิดีสอินเตอร์คอสมอสอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันอูเว โพรส์เคอีดี อามินองค์การผู้บุกเบิกแอ็นสท์ เทลมันอนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์)อโนชา ปันจ้อยอเล็กซานเดอร์ วูล์ฟอเล็กซานเดอร์พลัทซ์ผมเป็นชาวเบอร์ลินจอห์น ฮาร์ตฟีลด์จัน ซีธงชาติเยอรมนีทอม ชทาร์เคอทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิกท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ขบวนการสตาฮานอฟดอยท์เชบาห์นดอริส เลสซิงคาร์ล บัลเฮาส์คณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเยอรมนีคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศค็อทบุสตราแผ่นดินของเยอรมนีซุคฮอยซีอีวีแชมเปียนส์ลีกประชาธิปไตยประวัติศาสตร์เยอรมนีประธานาธิบดีเยอรมนีประตูบรันเดินบวร์คประเทศเยอรมนีประเทศเยอรมนีตะวันออกในโอลิมปิกประเทศเยอรมนีตะวันตกปลาหมอแคระฮองสโลอายปัญหาเยอรมันนาซีเยอรมนีนีโอนาซีแฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์แมนเชสเตอร์แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลกแดร์ฟัลล์กลิวิซแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1โรแบร์ท เอนเคอโทนี โครสไรชส์มาร์คไลพ์ซิชเบอร์ลินเบอร์ลินตะวันออกเบอร์ลินตะวันตกเพอร์รี บรอยทีกัมเพาล์ ฟัน ดึคเกาะแอ็นสท์ เทลมันเกเวร์ 43เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตรเรเน อาดเลอร์เสรีนครดันท์ซิชเอสวีที-40เอสเคเอสเอาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนินเฮลมุท อาร์เทิลท์เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเขตอิทธิพลเดอะ แมน ฟรอม อั.ง.เ.คิ.ล. คู่ดุไร้ปรานีเดเดแอร์-โอเบอร์ลีกาเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศDDR13 สิงหาคม17 สิงหาคม23 สิงหาคม3 ตุลาคม30 มิถุนายน7 ตุลาคม9 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (124 มากกว่า) »

บุนเดสลีกา ฤดูกาล 1990–91

การแข่งขันฟุตบอล บุนเดสลีกา ฤดูกาล 1990–91 เป็นฤดูกาลที่ 28 ของบุนเดสลีกา ฟุตบอลลีกชั้นนำของเยอรมนีตะวันตก การแข่งขันเริ่มตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) ถึง 15 มิถุนายน ค.ศ. 1991 บุนเดสลีกาครั้งนี้เป็นฤดูกาลสุดท้ายที่มีสโมสรเฉพาะจากฝั่งเยอรมนีตะวันตกลงแข่ง เนื่องจากการรวมประเทศเยอรมนีในวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและบุนเดสลีกา ฤดูกาล 1990–91 · ดูเพิ่มเติม »

บุนเดิสอาร์ชีฟ

มาพันธ์หอจดหมายเหตุแห่งเยอรมนี หรือ บุนเดิสอาร์ชีฟ (Bundesarchiv, BArch) เป็นหอจดหมายเหตุแห่งชาติของประเทศเยอรมนี ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและบุนเดิสอาร์ชีฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช เพาลุส

ฟรีดริช วิลเฮล์ม แอร์นสท์ เพาลุส (Friedrich Wilhelm Ernst Paulus; 23 กันยายน ค.ศ. 1890 - 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมันตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและฟรีดริช เพาลุส · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออก

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออก เป็นฟุตบอลทีมชาติจากเยอรมนีตะวันออก ในช่วงปี ค.ศ. 1952-ค.ศ. 1990 ภายหลังเยอรมนีตะวันตกและตะวันออกได้รวมประเทศเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทีมชาติเยอรมนีตะวันตกและตะวันออกจึงได้รวมกันเป็นฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี ในฟุตบอลโลก เยอรมนีตะวันออกได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายครั้งแรกและครั้งเดียวในฟุตบอลโลก 1974 และในรอบแรก เยอรมนีตะวันออกชนะเยอรมนีตะวันตกไปได้ 1-0 จากการยิงประตูของเจอร์เกน สปาร์วัสเซอร.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์

รรคคอมมิวนิสต์ (Communist party) หมายถึง พรรคที่รณรงค์การนำหลักการทางสังคมของลัทธิคอมมิวนิสต์ไปใช้ ไปจนถึงการนำรูปแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ไปใช้ ชื่อ คอมมิวนิสต์ นั้น มีที่มาจาก คำประกาศพรรคคอมมิวนิสต์ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนี

รรคคอมมิวนิสต์เยอรมนี (Kommunistische Partei Deutschlands) เป็นพรรคการเมืองของเยอรมนี ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพรรคนาซี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี

รรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี (Sozialistische Einheitspartei Deutschlands, SED) เป็นพรรคที่รวมตัวกันระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนีและ พรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนีเป็นพรรคของเยอรมนีตะวันออกที่เป็นจุดเรื่มต้นของกำแพงเบอร์ลิน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังซังส์ซูซี

ระราชวังซังส์ซูซี (Sanssouci) เป็นอดีตพระราชวังฤดูร้อนของพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียตั้งอยู่ที่เมืองพอทสดัมในประเทศเยอรมนี สร้างโดยพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟรีดริชระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพระราชวังซังส์ซูซี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ. 1740 จนถึงปีค.ศ. 1786 พระองค์ทรงเป็นลำดับที่สามและ ‘กษัตริย์ในปรัสเซีย(King in Prussia)’ องค์สุดท้าย ก่อนที่จะฉลองพระอิสรยยศขึ้นเป็น ‘กษัตริย์แห่งปรัสเซีย(King of Prussia)’ หลังจากที่ได้รับดินแดนทางประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของปรัสเซีย นอกจากนั้นก็ยังทรงดำรงตำแหน่งผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กในพระนามว่า “ฟรีดริชที่ 4” และทรงได้รับสมญานามว่า ‘พระเจ้าฟรีดริชมหาราช’ และมีพระนามเล่นว่า ‘เจ้าฟริทซ์แก่(der Alte Fritz)” พระเจ้าฟรีดริชทรงมีความสนพระทัยทางศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทรงพยายามหนีจาการควบคุมจากพระบิดาครั้งหนึ่งแต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 พระราชบิดาทรงเข้มงวดจนได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” เมื่อยังทรงพระเยาว์ฟรีดริชทรงถูกบังคับให้ดูการประหารชีวิตอย่างทารุณของพระสหายที่ทรงรู้จักกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปีแรกทรงโจมตีจักรวรรดิออสเตรียและยึดครองบริเวณไซลีเซีย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ปัจจุบันซึ่งเป็นดินแดนยึดครองที่มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานในการขยายดินแดนของปรัสเซียและเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ราชอาณาจักรปรัสเซีย ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชทรงรวมอาณาจักรต่าง ๆ ที่เคยเป็นราชรัฐเล็กของปรัสเซียเข้าด้วยกันรวมทั้งดินแดนที่ทรงได้มาจากการแบ่งแยกโปแลนด์ พระเจ้าฟรีดริชทรงเป็นผู้สนับสนุนการปกครองระบบที่มีพื้นฐานมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ทรงติดต่อสื่อสารกับวอลแตร์ นักปรัชญาเป็นเวลาราวห้าสิบปี และมีความสนิทสนมกันมากแต่ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งโดยตลอด พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ๆ คือการปรับปรุงระบบการบริหารราชการและข้าราชการ และยังทรงสนับสนุนเสรีภาพของการนับถือศาสนา ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปินและนักปรัชญา เมื่อสิ้นพระชนม์ร่างของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่พระราชวังที่โปรดปรานที่วังซองส์ซูซิที่เมืองพอทสดัม เมื่อสิ้นพระชนม์ บัลลังก์ตกไปเป็นของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 พระราชนัดดาเพราะพระองค์เองไม่มีพระราชโอรส ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระโอรสของเจ้าชายเอากุสท์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย พระอนุชาของพระเจ้าฟรีดริชเอง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พาลัสท์แดร์เรพูบลีค

ลัสท์แดร์เรพูบลีค (Palast der Republik; ทำเนียบแห่งสาธารณรัฐ) เป็นอดีตอาคารรัฐสภาของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (หรือเยอรมนีตะวันออก) เป็นที่ประชุมหลักของ Volkskammer (สภาประชาชน) และ พรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี พาลัสท์แดร์เรพูบลีคตั้งอยู่ที่ Schlossplatz และ Lustgarten (เดิมชื่อ Marx-Engels-Platz ตั้งแต่ปี 1951 ถึงปี 1994) บนเกาะในแม่น้ำชเปร นอกจากนี้ยังเป็น พิพิธภัณฑ์ศิลปะ, โรงละคร, ร้านอาหาร, ลานโบว์ลิ่ง, ที่ทำงานและ ไนต์คลับ ในวันที่ 23 สิงหาคม 1990, Volkskammer ได้ยุบสภาตามสนธิสัญญาการรวมประเทศเยอรมนี และยอมรับสภาBundestag ในกรุงบอนน์ พาลัสท์แดร์เรพูบลีคเริ่มก่อสร้างในปี 1973 และแล้วเสร็จในปี 1976 โดยสร้างทับพระราชวังBerliner Stadtschlossเดิม และรื้อถอนสำเร็จในปี 2008 และจะสร้างพระราชวังขึ้นมาใหม่โดยจะเริ่มก่อสร้างในปี 2013.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและพาลัสท์แดร์เรพูบลีค · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มตะวันออก

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น. โลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น คำว่า กลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงอดีตรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันออก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอด้วยเช่นกัน คำว่า "กลุ่มตะวันออก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1946 - ค.ศ. 1989) รัฐต่างๆ ที่อยู่ในโลกตะวันออกส่วนใหญ่เป็นรัฐที่ถูก สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลาย รัฐแต่ละรัฐที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียตก็ได้แยกตัวตั้งตนเป็นอิสระและเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตยแทน รวมอีกทั้งประเทศเยอรมันทั้งตะวันออกและตะวันตกก็ได้รวมตัวกันเป็นหนึ่งภายหลังการทำลายกำแพงเบอร์ลิน ทำให้กลุ่มตะวันออกล่มสล.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและกลุ่มตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพประชาชนแห่งชาติ

กองทัพประชาชนแห่งชาติ (NPA) (German: Nationale Volksarmee – NVA) เป็นชื่อเรียกของกองทัพสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี มีกำลังทหารประมาณ 120,000 นาย กองทัพประชาชนแห่งชาติถูกสถาปนาในปี 1956 และถูกยุบในปี 1990 กองทัพมีส่วนในการบุกครองพร้อมกับกองทัพสหภาพโซเวียต ต่อรัฐบาลเชโกสโลวาเกียในช่วงปรากสปริง ในปี 1968 นอกจากนี้ยังมีการพบว่ามีเจ้าหน้าที่ทางทหารของเยอรมนีตะวันออกทำงานให้กับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ในแอฟริกาในช่วงสงครามเย็น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและกองทัพประชาชนแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตามกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกียเพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในช่วงปรากสปริง ในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกรเนดา

การรุกรานเกรเนดา (Invasion of Grenada, Invasión de Granada),เป็นการรุกรานนำโดยสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการบุกครองเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองญี่ปุ่น

การยุบจักรวรรดิญี่ปุ่น คลิกที่รูปภาพสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม การยึดครองญี่ปุ่นโดยฝ่ายสัมพันธมิตรหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ อันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ และเครือจักรภพอังกฤษเป็นผู้สนับสนุน ซึ่งเป็นการยึดครองแผ่นดินญี่ปุ่นโดยชาวต่างชาติเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นกว่า 2,000 ปี การยึดครองดังกล่าวเปลี่ยนแปลงประเทศญี่ปุ่นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยซึ่งทำให้หวนคิดถึงการเมือง "นิวดีล" (New Deal) ของอเมริกาในคริสต์ทศวรรษ 1930 การยึดครองดังกล่าวมีชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการบัญชีดำ (Operation Blacklist) สิ้นสุดลงด้วยสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก ที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการยึดครองญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การรวมประเทศเยอรมนี

ผู้คนออกมารวมตัว ณ กำแพงเบอร์ลิน การรวมประเทศเยอรมนี (Deutsche Wiedervereinigung) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการรวมประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี

นพรมแดนระหว่างออสเตรียกับฮังการีในอดีตที่ถูกทิ้งร้าง การรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

การทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม)

การทหารของเยอรมนี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

การตรวจพิจารณา

การตรวจพิจารณา (censorship) คือ การระงับหรือทำลายซึ่งถ้อยคำหรือวัตถุแห่งการติดต่อสื่อสารอันได้รับการพิจารณาโดยผู้ตรวจแล้วว่า ผิดศีลธรรม ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่พึงประสงค์ เป็นอันตรายต่อความมั่นคง เป็นหัวข้ออ่อนไหว หรือสร้างความลำบากให้แก่รัฐบาลหรือองค์การสื่อสาร.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการตรวจพิจารณา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การปฏิวัต..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Merci, Chérie ขับร้องโดย Udo Jürgens ตัวแทนจากออสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ La, la, la ขับร้องโดย Massiel ตัวแทนจากสเปน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมาดริด ประเทศสเปน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะในปีนี้มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่ Vivo cantando ขับร้องโดย Salomé ตัวแทนจากสเปน Boom Bang-a-Bang ขับร้องโดย Lulu ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร De troubadour ขับร้องโดย Lenny Kuhr ตัวแทนจากเนเธอร์แลนด์ และ Un jour, un enfant ขับร้องโดย Frida Boccara ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การปิดกั้นเบอร์ลิน

วเบอร์ลินกำลังดูเครื่องบิน Douglas C-54 Skymaster ลงจอดที่สนามบิน Tempelhof Airport ในปี 1948 เยอรมนีส่วนที่ปกครองโดยสหภาพโซเวียต การปิดกั้นเบอร์ลิน (Berlin Blockade) เป็นหนึ่งในวิกฤตการณ์หลักของสงครามเย็น ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1948- 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 ประเทศมหาอำนาจที่ชนะสงครามโลกครั้งที่สองได้เข้ายึดครองประเทศเยอรมนี สหภาพโซเวียตซึ่งยึดครองกรุงเบอร์ลินอยู่ในเวลานั้นตั้งด่านปิดกั้นถนนไม่ให้สามมหาอำนาจฝ่ายตะวันตก (สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส) เข้าถึงกรุงเบอร์ลินได้ วิกฤตการณ์นี้คลี่คลายลงหลังจากมหาอำนาจฝ่ายตะวันตกร่วมกันจัดตั้ง การขนส่งทางอากาศที่เบอร์ลิน (Berlin Airlift) เพื่อแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการขนส่งเสบียงสู่พื้นที่ของตน พร้อมทั้งเป็นการแสดงขีดความสามารถทางการผลิตและแสนยานุภาพทางอากาศของฝ่ายตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการปิดกั้นเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

การเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออก

250px การเดินขบวนวันจันทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและการเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเบอร์ลิน

กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2529 กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall; Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ในเยอรมนีตะวันออก กำแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม มันถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "แนวป้องกันการต่อต้านฟาสซิตส์" แต่สำหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กำแพงเบอร์ลิน ทำให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ นับตั้งแต่การสร้างกำแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกำแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กำแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 137 ถึง 206 คน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและกำแพงเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

กูดบาย เลนิน!

กูดบาย เลนิน! (Good Bye, Lenin!, ในประเทศไทย วางจำหน่ายวีซีดีในชื่อ "คุณแม่จู้จี้ คุณลูกขี้จุ๊") เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและกูดบาย เลนิน! · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเรือพายในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาเรือพายในโอลิมปิก (Rowing) ได้รับการบรรจุในโอลิมปิกตั้งแต่โอลิมปิกสมัยใหม่ครั้งแรกที่กรุงเอเธนส์ ปี ค.ศ. 1896 แต่โชคไม่ดีเพราะสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยจึงไม่สามารถจัดแข่งได้ อีก 4 ปีต่อมาเมื่อประเทศฝรั่งเศสเป็นเจ้าภาพ จึงมีการแข่งขันเรือพายเป็นครั้งแรกในกีฬาโอลิมปิก ซึ่งในครั้งนั้นมีการแข่งขันเฉพาะประเภทชายรวม 5 รายการ ในระยะแรกอังกฤษครองความเป็นจ้าวอย่างโดดเด่นมาก ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงเข้ามาแทนที่ จนมาถึงช่วงทศวรรษ 1950 โซเวียตและเยอรมนีตะวันออกเริ่มเข้ามาแย่งเหรียญทอง แต่ปัจจุบันนี้ไม่มีใครโดดเด่นพิเศษ ต่างก็มีโอกาสคว้าเหรียญทองเท่าเทียมกัน หมวดหมู่:ชนิดกีฬาในโอลิมปิกฤดูร้อน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและกีฬาเรือพายในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

ฝั่ม ถิ ฮหว่าย

ฝั่ม ถิ ฮหว่าย (Phạm Thị Hoài) เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและฝั่ม ถิ ฮหว่าย · ดูเพิ่มเติม »

ภาพทดสอบ

ลวดลายโดยพื้นฐานของภาพทดสอบ ภาพทดสอบโทรทัศน์ยุคแรก ภาพทดสอบ (Test card) หรือรู้จักกันในชื่อ แถบสี หรือ แท่งสี (test pattern) คือหน้าจอสำหรับการทดสอบของโทรทัศน์ ออกอากาศช่วงปิดสถานี ประเทศแรกที่นิยมใช้คือสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ บางครั้งการส่งสัญญาณผ่านรถถ่ายทอดสัญญาณแต่ยังไม่มีรายการใด ในขณะที่ยังแพร่พาภาพอยู่ (บ่อยครั้งมักจะเปิดสถานีและปิดสถานี) ซึ่งใช้มาตั้งแต่การแพร่ภาพโทรทัศน์เป็นครั้งแรก ภาพทดสอบแรกคือภาพทดสอบรูปร่างกาย สิ่งนี้จะใช้กล้องถ่ายโทรทัศน์จับภาพได้อย่างชัดเจน และมักจะใช้เป็นเครื่องวัดขนาดภาพนิ่ง การจัดตำแหน่ง และความเข้ากันของวัตถุ จะใช้กล้องถ่ายวิดีโอ หรือกล้องแบบพกพาก็ได้ ส่วนภาพแถบสีใช้สำหรับวัดขนาดและตำแหน่งของวัตถุ หรือการแก้ไขทิศทางของสัญญาณ สิ่งเหล่านี้คือผู้ที่คิดค้นภาพทดสอบ สิ่งนี้อาจมีจุดขาดตกบกพร่องในเรื่องของโครงสร้าง ช่างกล้อง จากนั้นจึงได้คิดค้นภาพทดสอบแบบดิจิตอลซึ่งอนุญาตให้จำหน่ายภาพทดสอบนี้ ท่านผู้ชมและสถานีโทรทัศน์ได้ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อให้เหมาะสมต่อหน้าที.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและภาพทดสอบ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

มอเตอร์ครอสเวิลด์แชมเปี้ยนชิพ

อฟไอเอ็มมอเตอร์ครอสเวิลด์แชมเปี้ยนชิพ (FIM Motocross World Championship) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์ของการแข่งรถมอเตอร์ครอส ซึ่งถูกสนับสนุนโดยสมาพันธ์จักรยานยนต์นานาชาติ ซึ่งในปัจจุบันมีการแข่ง 3 ชั้น คือ MX1, MX2, และ MX3.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและมอเตอร์ครอสเวิลด์แชมเปี้ยนชิพ · ดูเพิ่มเติม »

มิชาเอล บัลลัค

มิชาเอล บัลลัค (Michael Ballack) เกิดเมื่อวันที่ 26 กันยายน ค.ศ. 1976 เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวเยอรมัน เริ่มต้นอาชีพค้าแข้งกับสโมสรเชมนิทซ์ ต่อมาย้ายไปอยู่กับไกเซอร์สเลาเทิร์น ได้ 2 ปี ก่อนถูกทีมไบเออร์ เลเวอร์คูเซ่น ซื้อตัวไป ถือว่าเป็นช่วงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ได้เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศ ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ลีก จากการลงเล่น 107 นัดทำประตูได้ 36 ประตู ต่อมาจึงถูกสโมสรอันดับ 1 ของเยอรมัน อย่าง บาเยิร์น มิวนิค ซื้อตัวไป เมื่อหลังจบฟุตบอลโลก 2006 ที่เยอรมนี บัลลัคซึ่งหมดสัญญากับบาเยิร์น ไปเซ็นสัญญากับสโมสรเชลซี ในอังกฤษ ซึ่งที่ผ่านมาทำประตูไปได้ 8 ประตู.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและมิชาเอล บัลลัค · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-29

มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและมิโคยัน มิก-29 · ดูเพิ่มเติม »

ม่านเหล็ก

การแตกแยกของจีน-โซเวียต ฉะนั้น จึงแรเส้นเงาสีเทา ม่านเหล็ก (Iron Curtain) เป็นสัญลักษณ์ของความขัดแย้งทางอุดมการณ์และพรมแดนเชิงกายภาพที่แบ่งทวีปยุโรปออกเป็นสองพื้นที่ นับแต่สงครามโลกครั้งที่สองยุติในปี 2488 ถึงสงครามเย็นสิ้นสุดในปี 2534 สหภาพโซเวียตตั้งม่านเหล็กขึ้นเพื่อปิดกั้นตนเอง รัฐในภาวะพึ่งพิง และพันธมิตรยุโรปกลางจากการติดต่ออย่างเปิดเผยกับตะวันตกและพื้นที่ที่มิใช่คอมมิวนิสต์ ด้านตะวันออกของม่านเหล็กเป็นประเทศที่เชื่อมต่อกับหรือได้รับอิทธิพลจากอดีตสหภาพโซเวียต ทั้งสองด้านของม่านเหล็ก รัฐต่าง ๆ พัฒนาพันธมิตรทางเศรษฐกิจและการทหารระหว่างประเทศของตนเอง ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและม่านเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ยาวีด คาริม

วีด คาริม (อังกฤษ: Jawed Karim; เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1979) เป็นผู้ประกอบการด้านอินเทอร์เน็ตชาวอเมริกัน-เยอรมัน เชื้อสายบังกลาเทศ ซึ่งทำงานที่ PayPal และเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง YouTube เขาเป็นคนแรกที่อัปโหลดวิดีโอ วิดีโอที่เขาอัปโหลดชื่อว่า "Me at the zoo" และเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560 มีผู้ชมกว่า 42 ล้านครั้ง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและยาวีด คาริม · ดูเพิ่มเติม »

ยึม กิจจแส

ึม กิจจแส (Yim Guechse) เป็นนักเขียนชาวกัมพูชา ปัจจุบันอาศัยอยู่ในเยอรมัน เกิดเมื่อ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและยึม กิจจแส · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เบอร์ลิน

ทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและยุทธการที่เบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ

ตราสัญลักษณ์ประจำทัวร์นาเมนต์ ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ (UEFA Intertoto Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่างๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรปหรือยูฟ่า เริ่มก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1961 ในอดีตเคยเป็นการแข่งขันฟุตบอลเพื่อคัดเลือกหาทีมเข้าไปแข่งขันในรายการยูฟ่าคัพ โดยทีมที่จะเข้าแข่งขันจะต้องทำการลงทะเบียนสมัครล่วงหน้า ซึ่งต่างจากฟุตบอลรายการอื่นๆของยุโรปที่ถูกจัดแบ่งสัดส่วนไว้อัตโนมัติ หลังเสร็จสิ้นการแข่งขันประจำปี 2008 รายการนี้ได้ถูกสหพันธ์ฟุตบอลยุโรปยุบลง เพื่อไปเป็นส่วนหนึ่งของ ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบคัดเลือก หรือยูฟ่าคัพ เดิม.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าซูเปอร์คัพ

ูฟ่า ซูเปอร์ คัพ (UEFA Super Cup, ชื่อเดิม ยูโรเปียนซูเปอร์คัพ) เป็นเกมการแข่งขันฟุตบอลสโมสรของทวีปยุโรป ในเดือนสิงหาคม ก่อนหน้าที่ฟุตบอลสโมสรยุโรปฤดูกาลใหม่จะเริ่มต้นขึ้น โดยจะเป็นการแข่งขันกันระหว่างทีมแชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก หรือยูโรเปียนคัพเดิม กับทีมแชมป์ยูฟ่ายูโรปาลีก หรือยูฟ่าคัพเดิม (เมื่อก่อนจะเป็นทีมแชมป์ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ แต่เมื่อถ้วยยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ ถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 1999 จึงให้สิทธิ์นี้แก่ทีมแชมป์ยูฟ่ายูโรปาลีกแทน) ในฤดูกาลก่อนหน้านั้น ซึ่งทีมที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของรายการนี้คือ เอซี มิลาน ในเซเรีย อา อิตาลี และบาร์เซโลน่า ในลาลีกา สเปน ที่ได้แชมป์ไป 5 สมั.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและยูฟ่าซูเปอร์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน

right ยูโรไฟท์เตอร์ ไต้ฝุ่น (The EURO FIGHTER 2000 (Typhoon)) ในเดือน ธันวาคม ค.ศ. 1983 กองทัพอากาศ ฝรั่งเศส,เยอรมันตะวันตก ในขณะนั้น(ก่อนรวมประเทศกับเยอรมันตะวันออก), อิตาลี, สเปน, และอังกฤษ ได้ประกาศโครงการ ร่วมกัน ที่จะพัฒนาเครื่องบินรบ สำหรับศตวรรษหน้า และให้ชื่อว่า FEFA (เครื่องบินรบ ในอนาคต ของยุโรป).

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบรันเดินบวร์ค

รันเดินบวร์ค (Brandenburg) เป็นรัฐหนึ่งใน 16 รัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ ด้วยเป็นหนึ่งในรัฐใหม่ที่ก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรัฐบรันเดินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพรรคการเมืองเดียว

รัฐพรรคการเมืองเดียว หรือ รัฐพรรคการเมืองเดี่ยว เป็นระบอบการปกครองของประเทศที่อนุญาตให้มีพรรคการเมืองเพียงพรรดเดียว ส่วนใหญ่ประเทศที่มีพรรคการเมืองเดียวจะเป็นประเทศคอมมิวนิสต์ อาทิเช่น จีน,ลาว,คิวบา แต่ก็มีบางประเทศที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์แต่ก็อนุญาตหรือมีพรรคการเมืองเดียว อาทิ เอริเทรีย,เวสเทิร์นสะฮารา ทั้งนี้การขึ้นอยู่กับกฎหมาย สถานการณ์ภายใน และรัฐธรรมนูญของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรัฐพรรคการเมืองเดียว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 6 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 28 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซัคเซิน

ซัคเซิน (Sachsen) หรือ แซกโซนี (Saxony) เป็นรัฐหนึ่งในประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศ ได้ชื่อว่าเป็นเสรีรัฐที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง มีเมืองเดรสเดินเป็นเมืองหลวง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรัฐซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา

นลสัน แมนเดลา รายการต่อไปนี้คือ รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา เนลสัน แมนเดลา ได้รับรางวัลรวมทั้งสิ้นมากกว่า 250 รางวัลตลอดช่วงเวลา 4 ทศวรรษ รางวัลที่สำคัญที่สุดคือ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งได้รับเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเยอรมนี

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรายชื่อธงในประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในดาย ฮาร์ด

ทความนี้เกี่ยวกับรายชื่อตัวละครหลักในภาพยนตร์ชุด ดาย ฮาร์ด ตั้งแต่ภาค 1-5.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรายชื่อตัวละครในดาย ฮาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ลัฟเรนตีย์ เบรียา

ลัฟเรนตีย์ ปัฟโลวิช เบรียา (Лавре́нтий Па́влович Бе́рия; ლავრენტი პავლეს ძე ბერია; 29 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองโซเวียตเชื้อชาติจอร์เจีย จอมพลสหภาพโซเวียตและหัวหน้าคณะกรรมาธิการประชาชนด้านกิจการภายในประเทศ (NKVD) ภายใต้โจเซฟ สตาลินในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและลัฟเรนตีย์ เบรียา · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ วลาดีมีโรวิช ปูติน (Владимир Владимирович Путин; Vladimir Vladimirovich Putinr) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซียผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีรัสเซียคนที่สี่และคนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประธานพรรคยูไนเต็ดรัสเซียและประธานสภารัฐมนตรีสหภาพรัสเซียและเบลารุส เขารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวลาดีมีร์ ปูติน · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป (Men's European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายสำหรับทีมชาติในทวีปยุโรป จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955 (1955 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ห้าของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองปราก, ประเทศเชโกสโลวาเกีย ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม – 11 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963 (1963 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่หกของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองบูคาเรสต์, ประเทศโรมาเนีย ระหว่างวันที่ 21 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967 (1967 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่เจ็ดของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองอิสตันบูล, ประเทศตุรกี ระหว่างวันที่ 26 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983 (1983 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 13 ของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่ เยอรมนีตะวันออก ระหว่างวันที่ 17–25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก (FIVB Volleyball Men's World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับทีมชาติชุดใหญ่ของสมาชิกเอฟไอวีบี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 10 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 6 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ (FIVB Volleyball Men's World Cup) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างประเทศโดยมีทีมชาติชายชุดใหญ่ร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (Fédération Internationale de Volleyball; FIVB) ซึ่งเป็นองค์กรกีฬาระหว่างประเทศ ในช่วงเริ่มต้นของการแข่งขันการแข่งขันได้จัดขึ้นหลังจากโอลิมปิกฤดูร้อน ยกเว้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลที่จัดขึ้นในประเทศโปแลนด์ เป็นครั้งแรกของการแข่งขันวอลเลย์บอลชายเวิลด์คั.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1969

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1969 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายในร่มที่ขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1969 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป (Women's European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงสำหรับทีมชาติในทวีปยุโรป จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1983

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1983 (1983 Women's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 13 ของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่ประเทศเยอรมนีตะวันออก ระหว่างวันที่ 17 กันยายน – 25 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1983 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อนปี 2004 วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี (Deutsche Volleyballnationalmannschaft der Frauen) เป็นทีมวอลเลย์บอลหญิงของประเทศเยอรมนี ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์ดัตซ์เซสเซอร์ วอลเลย์บอล เวอร์แบนด์ (ดีวีวี) และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของพวกเธอคือการคว้าอันดับที่ 6 ในการแข่งวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 2011 ที่ประเทศญี่ปุ่น และคว้าเหรียญทองแดงจากการแข่งขัน วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2002 และ 2009 ปัจจุบันเป็นทีมนี้ จัดเป็นทีมอันดับที่ 9 ของโลกโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) อย่างไรก็ตาม ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015 วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี ได้เป็นฝ่ายแพ้ให้กับทีมชาติไทย 3-0 เซต.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

วันชัยในทวีปยุโรป

วันชัยในทวีปยุโรป (Victory in Europe Day หรือ VE Day) หมายถึง วันที่ 7 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 คือ วันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของนาซีเยอรมนี ในวันที่ 30 เมษายน หลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฆ่าตัวตายที่หลุมหลบภัยในกรุงเบอร์ลิน ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีตกเป็นของ คาร์ล เดอนิทซ์ เขาได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนในวันที่ 7 พฤษภาคม ในเมืองแรมส์ ฝรั่งเศส นอกจากนั้นวิลเฮล์ม ไคเทล ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเวร์มัคได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนต่อสหภาพโซเวียตในวันที่ 8 พฤษภาคม ในกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวันชัยในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วันสาธารณรัฐ

วันสาธารณรัฐ (Republic Day) เป็นชื่อวันหยุดในหลายประเทศเพื่อเฉลิมฉลองวันที่ประเทศนั้น ๆ เปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐ วันสาธารณรัฐในอิตาลี (Festa della Repubblica) เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2005 แสดงการบินโดย "Frecce Tricolori".

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวันสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

วิลลี บรันท์

วิลลี บรันท์ (Willy Brandt) ชื่อเกิด แฮร์แบร์ท แอร์นสท์ คาร์ล ฟราห์ม (Herbert Ernst Karl Frahm; 18 ธันวาคม 1913 – 8 ตุลาคม 1992) เป็นรัฐบุรุษชาวเยอรมันเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนีระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวิลลี บรันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ศาลปกครอง

ศาลปกครองกลางแห่งเยอรมนี (Federal Administrative Court of Germany) เป็นศาลปกครองชั้นสูงสุดในประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ ณ เมืองไลพ์ซิจ (Leipzig) ศาลปกครอง (administrative court) เป็นศาลชำนัญพิเศษด้านกฎหมายปกครอง โดยเฉพาะด้านข้อพิพาทเกี่ยวกับการใช้อำนาจรัฐ จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจว่า ราชการเป็นไปตามกฎหมาย ศาลปกครองมักพบในประเทศทางยุโรปที่ใช้กฎหมายระบบซีวิลลอว์ บางประเทศจัดตั้งศาลปกครองขึ้นเป็นระบบต่างหากจากศาลปรกติ โดยที่แต่ละระบบไม่มีอำนาจเหนือกัน การจัดตั้งศาลปกครองลักษณะนี้มีในประเทศกรีซ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศโปแลนด์ ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเยอรมนี ประเทศสวีเดน และประเทศอียิปต์ สำหรับประเทศกรีซ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสวีเดนนั้น ศาลปกครองมีสามชั้นดังศาลทั่วไป คือ ศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ และศาลปกครองชั้นสูงสุด ส่วนในประเทศโปแลนด์และประเทศฟินแลนด์ ศาลปกครองมีสองชั้น คือ ศาลปกครองชั้นต้น กับศาลปกครองชั้นสูงสุด ในประเทศเยอรมนี ศาลปกครองมีระบบซับซ้อนทั้งยังมีความชำนาญเฉพาะเรื่องยิ่งกว่าในประเทศอื่น นอกจากนี้ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและศาลปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

สมองไหล

สมองไหล (brain drain หรือ human capital flight) หรือ การสูญเสียคนชั้นมันสมอง เป็นการอพยพออกจากประเทศขนานใหญ่ของบุคคลซึ่งมีทักษะหรือความรู้เฉพาะด้าน; ส่วนใหญ่เกิดขึ้นเพราะความขัดแย้ง การขาดโอกาส ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง หรือความเสี่ยงด้านสุขภาพ "สมองไหล" มักได้รับพิจารณาว่าเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ เนื่องจากผู้อพยพมักจะนำบางส่วนของการฝึกซึ่งได้รับการสนับสนุนของรัฐบาลไปด้วย คู่ขนานกับการโยกย้ายทุน ซึ่งหมายถึงการเคลื่อนไหวในแนวเดียวกันของทุนทางการเงิน สมองไหลมักเกี่ยวข้องกับการลดทักษะการทำงานของผู้อพยพในประเทศจุดหมายของพวกเขา ในขณะที่ประเทศซึ่งอพยพออกนั้นสูญเสียประสบการณ์ของผู้มีทักษะ คำว่า brain drain ประดิษฐ์ขึ้นโดยราชสมาคมเพื่อธิบายถึงการอพยพ "นักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญทางเทคโนโลยี" จากทวีปยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สองไปยังทวีปอเมริกาเหนือ ปรากฏการณ์ตรงกันข้าม คือ "การได้คนชั้นมันสมอง" ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อมีการอพยพเข้ามาขนานใหญ่ของบุคคลที่มีคุณวุติทางเทคนิค ตามทฤษฎีแล้ว ภาวะ "สมองไหล" สามารถยุติได้ด้วยการให้โอกาสทางอาชีพแก่บุคคลผู้มีความชำนาญและให้โอกาสในการพิสูจน์ความสามารถของตนเอง สมองไหลเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นทั่วไปในประเทศกำลังพัฒนา อย่างเช่น อดีตอาณานิคมในทวีปแอฟริกา กลุ่มประเทศหมู่เกาะในแคริบเบียน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศซึ่งมีเศรษฐกิจที่วางแผนมาจากศูนย์กลาง อย่างเช่น ในอดีตเยอรมนีตะวันออกและสหภาพโซเวียต ที่ซึ่งทักษะทางการค้าไม่ได้รับผลตอบแทนทางการเงิน หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสมองไหล · ดูเพิ่มเติม »

สรุปเหรียญรางวัลพาราลิมปิกตลอดกาล

หมวดหมู่:กีฬาพาราลิมปิก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสรุปเหรียญรางวัลพาราลิมปิกตลอดกาล · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสหพันธรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สายตรงมอสโก–วอชิงตัน

ทรศัพท์สีแดงในสมัยของประธานาธิบดี จิมมี คาร์เตอร์ สายตรงมอสโก–วอชิงตัน คือระบบที่ใช้สำหรับติดต่อโดยตรงระหว่างผู้นำของสหรัฐอเมริกากับรัสเซียโดยอาจรู้จักกันในอีกชื่อคือ โทรศัพท์สีแดง สายตรงนี้เชื่อมต่อระหว่างทำเนียบขาวผ่านทางศูนย์บัญชาการทหารแห่งชาติ (National Military Command Center) กับเครมลิน สายตรงเกิดขึ้นครั้งแรกในช่วงของสงครามเย็น ปัจจุบันไม่มีการใช้โทรศัพท์สีแดงดังกล่าวแล้ว แต่ช่องทางสายตรงนี้ยังคงมีอยู่เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์กลางการลดความเสี่ยงจากนิวเคลียร์ (Nuclear Risk Reduction Center) ที่ตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1988 โดยประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสายตรงมอสโก–วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

สาธารณรัฐประชาธิปไตย คือ ประเทศที่เป็นทั้งสาธารณรัฐและปกครองระบอบประชาธิปไตย ตามความหมาย คือ อำนาจสูงสุดมาจากพลเมือง อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติ ประเทศซึ่งเรียกตนเองว่าสาธารณรัฐประชาธิปไตยไม่จำเป็นต้องจัดการเลือกตั้งอย่างเสรีหรือเป็นธรรมเสมอไป ตัวอย่างเช่น สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมนีตะวันออก) และสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) ซึ่งมักอธิบายว่าเป็นรัฐคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:บทความเกี่ยวกับ การเมืองการปกครอง ที่ยังไม่สมบูรณ์ หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสาธารณรัฐประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศหรือดินแดน ตั้งแต่การรับรองการสมรสเพศเดียวกันตามกฎหมายหรือคู่ชีวิตในรูปแบบอื่น จนถึงโทษประหารชีวิตสำหรับกิจกรรมทางเพศหรือการแสดงออกของบุคคลเพศเดียวกัน สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศถูกจัดว่าเป็นสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง ซึ่งประกอบไปด้วย แต่ไม่จำกัดเพียง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช วางกำลังสหรัฐเข้าสู่ซาอุดีอาระเบียและกระตุ้นให้ประเทศอื่นส่งกำลังของตนไปที่นั้นด้วย มีหลายชาติเข้าร่วมกำลังผสม ซึ่งเป็นพันธมิตรทางทหารที่ใหญ่ที่สุดนับแต่สงครามโลกครั้งที่สอง กำลังทหารของกำลังผสมส่วนใหญ่มาจากสหรัฐ โดยมีซาอุดีอาระเบีย สหราชอาณาจักรและอียิปต์เป็นผู้มีส่วนร่วมรายใหญ่ตามลำดับ ซาอุดีอาระเบียสมทบเงิน 36,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐจากค่าสงคราม 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สงครามนี้มีการริเริ่มการถ่ายทอดข่าวสดจากแนวหน้าของการสู้รบ หลัก ๆ โดยเครือข่ายซีเอ็นเอ็นของสหรัฐ สงครามนี้ยังได้ชื่อเล่นว่า สงครามวิดีโอเกม หลังการถ่ายทอดภาพรายวันจากกล้องบนเครื่องบินทิ้งระเบิดสหรัฐระหว่างปฏิบัติการพายุทะเลทราย ความขัดแย้งระยะแรกเพื่อขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตเริ่มด้วยทางระดมทิ้งระเบิดทางอากาศและทางเรือเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2534 และดำเนินไปห้าสัปดาห์ ตามด้วยการโจมตีภาคพื้นดินเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ สงครามสิ้นสุดด้วยชัยชนะอย่างขาดลอยของกำลังผสม ซึ่งขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตและรุกเข้าดินแดนอิรัก กำลังผสมยุติการบุกและประกาศหยุดยิงหลังการทัพภาคพื้นเริ่ม 100 ชั่วโมง การสู้รบทางอากาศและทางบกจำกัดอยู่ในประเทศอิรัก คูเวตและบางพื้นที่ตรงพรมแดนซาอุดีอาระเบีย ประเทศอิรักปล่อยขีปนาวุธสกั๊ดต่อเป้าหมายทางทหารของกำลังผสมและต่ออิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสงครามอ่าวเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)

ตาลินกราด (Сталинград) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียต 2 ภาค มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่สตาลินกราด เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต-เยอรมันตะวันออก-เชโกสโลวาเกีย-สหรัฐ กำกับโดย ยูรี โอเซรอฟ ภาพยนตร์ออกฉายในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533) · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาชายแดนเยอรมนี-โปแลนด์ (2533)

นธิสัญญาชายแดนเยอรมนี-โปแลนด์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสนธิสัญญาชายแดนเยอรมนี-โปแลนด์ (2533) · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี

นธิสัญญาการในการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี หรือเรียกว่า สนธิสัญญาสองบวกสี่ (Zwei-plus-Vier-Vertrag) มีการเจรจาขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

สเวน บอยเคอร์ท

วน บอยเคอร์ท (Sven Beuckert) เกิดวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1973 ที่ชโตลแบร์ก แซกโซนี เป็นอดีตผู้รักษาประตูชาวเยอรมัน ผู้ซึ่งเล่นครั้งสุดท้ายให้แก่ทีมเอ็มเอสวีดุยส์บวร์กในบุนเดสลีกา ภายหลังจากที่สโมสรได้รับการเลื่อนชั้นจากบุนเดสลีกาลีก 2 ใน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสเวน บอยเคอร์ท · ดูเพิ่มเติม »

อสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟ

วันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์ดนุงโพลีไซ

ทบวงตำรวจรักษาความสงบ (Ordnungspolizei) หรือเรียกอย่างย่อว่า ออร์โพ เป็นกำลังตำรวจในเครื่องแบบของนาซีเยอรมนี ดำรงอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและออร์ดนุงโพลีไซ · ดูเพิ่มเติม »

ออสโวบอจเดนี

ออสโวบอจเดนี (Liberation, Освобождение, Befreiung, Wyzwolenie) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียต กำกับโดยยูรี โอเซรอฟ ออสโวบอจเดนี เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต, เยอรมนีตะวันออก, โปแลนด์, อิตาลี และ ยูโกสวาเวีย โดยภาพยนตร์นี้จะเล่าเรืองเกียวกับสงครามโลกครั้งที่สอง โดยจะเล่าเรื่องราวเกียวกับยุทธการที่คูสค์, ปฏิบัติการบากราติออน, การรุกวิสตูลา-โอเดอร์ และ ยุทธการที่เบอร์ลิน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและออสโวบอจเดนี · ดูเพิ่มเติม »

อังเกลา แมร์เคิล

อังเกลา โดโรเทอา แมร์เคิล (Angela Dorothea Merkel; นามสกุลเดิม คัสเนอร์; เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 ณ เมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของเยอรมนี ซึ่งได้รับการเลือกตั้งสู่รัฐสภาเยอรมันจากรัฐเมคเลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น เป็นประธานพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน(CDU) ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2543 และเป็นประธานกลุ่มพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน-สหภาพสังคมคริสเตียนในรัฐสภาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จนถึง พ.ศ. 2548 นอกจากนั้นนางแมร์เคิลยังเป็นผู้นำรัฐบาลผสมกับพรรคสหภาพสังคมคริสเตียน (CSU) และพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (SPD) ซึ่งก่อตั้งขึ้นหลังภายจากการเลือกตั้งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 นางแมร์เคิลชนะการเลือกตั้งสมัยที่ 2 เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอังเกลา แมร์เคิล · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรย์ เกรชโค

อันเดรย์ อันโตโนวิช เกรชโค (17 ตุลาคม [O.S. 4 ตุลาคม] 1903 – 26 เมษายน 1976) เป็นผู้บัญญาการโซเวียต, จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอันเดรย์ เกรชโค · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คิมิดีส

อาร์คิมิดีส (Αρχιμήδης; Archimedes; 287-212 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก เกิดเมื่อ287 ปีก่อนคริสตกาล ในเมืองซีรากูซา ซึ่งในเวลานั้นเป็นนิคมท่าเรือของกรีก แม้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของเขาน้อยมาก แต่เขาก็ได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในสมัยคลาสสิก ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชา สถิตยศาสตร์ของไหล, สถิตยศาสตร์ และการอธิบายหลักการเกี่ยวกับคาน เขาได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรมเครื่องจักรกลหลายชิ้น ซึ่งรวมไปถึงปั๊มเกลียว (screw pump) ซึ่งได้ตั้งชื่อตามชื่อของเขาด้วย ผลการทดลองในยุคใหม่ได้พิสูจน์แล้วว่า เครื่องจักรที่อาร์คิมิดีสออกแบบนั้นสามารถยกเรือขึ้นจากน้ำหรือสามารถจุดไฟเผาเรือได้โดยอาศัยแถบกระจกจำนวนมาก อาร์คิมิดีสได้รับยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล เช่นเดียวกับ นิวตัน เกาส์ และ ออยเลอร์ เขาใช้ระเบียบวิธีเกษียณ (Method of Exhaustion) ในการคำนวณพื้นที่ใต้เส้นโค้งพาราโบลาด้วยการหาผลรวมของชุดอนุกรมอนันต์ และได้ค่าประมาณที่ใกล้เคียงที่สุดของค่าพาย เขายังกำหนดนิยามแก่วงก้นหอยของอาร์คิมิดีส ซึ่งได้ชื่อตามชื่อของเขา, คิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน และคิดค้นระบบสำหรับใช้บ่งบอกถึงตัวเลขจำนวนใหญ่มาก ๆ อาร์คิมิดีสเสียชีวิตในระหว่างการล้อมซีราคิวส์ (ราว 214-212 ปีก่อนคริสตกาล) โดยถูกทหารโรมันคนหนึ่งสังหาร ทั้ง ๆ ที่มีคำสั่งมาว่าห้ามทำอันตรายแก่อาร์คิมิดีส ซิเซโรบรรยายถึงการเยี่ยมหลุมศพของอาร์คิมิดีสซึ่งมีลูกทรงกลมจารึกอยู่ภายในแท่งทรงกระบอกเหนือหลุมศพ เนื่องจากอาร์คิมิดีสเป็นผู้พิสูจน์ว่า ทรงกลมมีปริมาตรและพื้นที่ผิวเป็น 2 ใน 3 ส่วนของทรงกระบอกที่บรรจุทรงกลมนั้นพอดี (รวมพื้นที่ของฐานทรงกระบอกทั้งสองข้าง) ซึ่งนับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาในทางคณิตศาสตร์ ขณะที่ผลงานประดิษฐ์ของอาร์คิมิดีสเป็นที่รู้จักกันดี แต่งานเขียนทางด้านคณิตศาสตร์กลับไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายนัก นักคณิตศาสตร์จากอเล็กซานเดรียได้อ่านงานเขียนของเขาและนำไปอ้างอิง ทว่ามีการรวบรวมผลงานอย่างแท้จริงเป็นครั้งแรกในช่วง ค.ศ. 530 โดย ไอซิดอร์ แห่งมิเลตุส (Isidore of Miletus) ส่วนงานวิจารณ์งานเขียนของอาร์คิมิดีสซึ่งเขียนขึ้นโดย ยูโตเซียส แห่งอัสคาลอน (Eutocius of Ascalon) ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ช่วยเปิดเผยผลงานของเขาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเป็นครั้งแรก ต้นฉบับงานเขียนของอาร์คิมิดีสหลงเหลือรอดผ่านยุคกลางมาได้ไม่มากนัก แต่ก็เป็นแหล่งข้อมูลสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ในยุคเรอเนสซองส์ ปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอาร์คิมิดีส · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์คอสมอส

The Interkosmos crest. อินเตอร์คอสมอส (Интеркосмос) เป็นโครงการอวกาศของสหภาพโซเวียต มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือพันธมิตรของสหภาพโซเวียตด้านภารกิจทางอวกาศทั้งแบบมีมนุษย์และแบบไม่มีมนุษย์ ประเทศที่เข้าร่วมโครงการนี้ได้แก่ชาติในยุโรปตะวันออกซึ่งเป็นสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอ, สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ และชาติสังคมนิยมอื่น ๆ อย่างอัฟกานิสถาน, คิวบา, มองโกเลีย และเวียดนาม นอกจากนี้ ชาติไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดที่นิยมสหภาพโซเวียตอย่างอินเดียและซีเรีย รวมทั้งฝรั่งเศส (ซึ่งเป็นชาติทุนนิยมและเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาหรือนาโตในบางครั้ง) ก็เข้าร่วมโครงการด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอินเตอร์คอสมอส · ดูเพิ่มเติม »

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน (Pan-Germanism) เป็นความคิดทางการเมืองอุดมการณ์รวมกลุ่มชาตินิยม (pan-nationalist) อย่างหนึ่ง นักอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันเดิมมุ่งรวมประชากรที่พูดภาษาเยอรมันในทวีปยุโรปในรัฐชาติเดียว ที่เรียกว่า กรอสส์ดอยท์ชลันด์ (มหาเยอรมนี) อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันมีอิทธิพลอย่างสูงในการเมืองเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างการรวมประเทศเยอรมนี เมื่อจักรวรรดิเยอรมันถูกประกาศเป็นรัฐชาติใน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

อูเว โพรส์เค

อูเว โพรส์เค (เกิด 10 ตุลาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักกีฬาฟันดาบ อูเว เคยเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาฟันดาบ ประเภทเดี่ยวที่ประเทศเยอรมนีตะวันออก ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 และ 4 ปี ภายหลัง อูเว ได้รับเหรียญทอง จากการแข่งขัรประเภททีม ที่ประเทศเยอรมนี ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1992.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอูเว โพรส์เค · ดูเพิ่มเติม »

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอีดี อามิน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การผู้บุกเบิกแอ็นสท์ เทลมัน

ตราประจำองค์การผู้บุกเบิกแอ็นสท์ เทลมัน องค์การผู้บุกเบิกแอ็นสท์ เทลมัน (Pionierorganisation Ernst Thälmann) เป็นองค์การเยาวชนสำหรับนักเรียนอายุตั้งแต่ 6-14 ปี ในประเทศเยอรมนีตะวันออกองค์การนี้ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 13 ธันวาคม 1948 โดยตั้งชื่อตามแอ็นสท์ เทลมัน เลขาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนีซึ่งถูกประหารชีวิตที่ค่ายกักกันบูเคนวัลด์ ในปี 1944 โดยองค์การนี้เป็นส่วนหนึ่งของ Freie Deutsche Jugen.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและองค์การผู้บุกเบิกแอ็นสท์ เทลมัน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์)

นรามาของอนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์) อนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (Sowjetisches Ehrenmal im Treptower Park) เป็นอนุสรณ์สถานสงครามและสุสาน ตั้งอยู่ที่สวนเทร็พทัวร์ใกล้กรุงเบอร์ลิน (เบอร์ลินตะวันออกในอดีต) อนุสรณ์ออกแบบโดยสถาปนิกชาวโซเวียต ยาคอฟ เบโลปอลสกี โดยสร้างเพื่อรำลึกถึงทหารโซเวียต 7,000 ถึง 80,000 คนที่เสียชีวิตระหว่างการรบในยุทธการที่เบอร์ลิน ระหว่างเดือน เมษายน ถึง พฤษภาคม 1945 อนุสรณ์สถานเปิดให้เข้าชมในวันที่ 8 พฤษภาคม 1949 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จบลง 4 ปี อนุสรณ์สถานเป็นอนุสรณ์สถานหลักของเยอรมนีตะวันออก โดยอนุสรณ์สถานนี้เป็นหนึ่งในสามอนุสรณ์สถานทหารโซเวียตที่สร้างในกรุงเบอร์ลิน โดยมีอนุสรณ์สถานอีกสองที่คือ อนุสรณ์สถานที่เทียร์การ์เทน สร้างขึ้นในปี 1945 ในเขตเทียร์การ์เทน ต่อมาเขตนี้เป็นของเบอร์ลินตะวันตก และ อนุสรณ์สถานที่เชินฮอลเซอร์ ไฮเดอ ในเขตพานโคฟ อนุสาวรีย์หลักของอนุสรณ์สถานทหารโซเวียตออกแบบและสร้างโดยสถาปนิกชาวโซเวียต เยฟเกนี วูเชติช มีความสูง 12 เมตร อนุสาวรีย์ประกอบไปด้วยทหารโซเวียตถือดาบกำลังอุ้มเด็กผู้หญิงชาวเยอรมัน โดยยืนอยู่เหนือ เครื่องหมายสวัสดิกะที่ถูกทำลาย โดยสร้างจากความประสงค์ของจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต วาซีลี ชุยคอฟ โดยเพื่อรำลึกถึงสิบเอกนิโคไล มาซาลอฟ ระหว่างการบุกครั้งสุดท้ายที่ตอนกลางของกรุงเบอร์ลิน โดยได้ช่วยชีวิตเด็กสาวอายุสามขวบ ที่ตามหาแม่ที่หายไปท่ามกลางกระสุนปืนกลของนาซี นอกจากนี้อนุสรณ์สถานยังมีโลงหิน 16 โลง แต่ละโลงจะจารึกชื่อ 16 สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต (ในปี 1940–56 โดยรวมถึง สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช ต่อมาคือ สาธารณรัฐปกครองตนเองสังคมนิยมโซเวียตคาเรลียา ในชื่อ 16 "สาธารณรัฐของสหภาพ") โดยที่หินอ่อนสีน้ำตาลแดงและโลงหินที่ใช้ในการสร้างอนุสรณ์สถานทหารโซเวียตนี้ส่วนใหญ่ได้มาจากการทำลายอาคารทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ หลังจากที่กำแพงเบอร์ลินถูกทำลาย มีผู้ไม่หวังดีนิรนามได้ทำลายข้าวของในอนุสรณ์สถาน รวมถึงได้สร้างรอยขูดขีดเขียนต่อต้านโซเวียต ทำให้ชาวเยอรมันตะวันออก 250,000 คน ได้มีการเดินขบวนที่อนุสรณ์สถานในวันที่ 3 มกราคม 1990.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์) · ดูเพิ่มเติม »

อโนชา ปันจ้อย

อโนชา ปันจ้อย คือหญิงสัญชาติไทยที่ถูกสายลับเกาหลีเหนือลักพาตัวไปในมาเก๊าเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 เรื่องของเธอเป็นที่รู้จักเนื่องจากการปล่อยตัวทหารชาวอเมริกันชื่อชาลส์ โรเบิร์ต เจนคินส์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอโนชา ปันจ้อย · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ วูล์ฟ

แอ็กเซล ทิสเชอร์ (Axel Tischer) เกิด 5 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอเล็กซานเดอร์ วูล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์พลัทซ์

อเล็กซานเดอร์พลัทซ์ ทัศนียภาพจัตุรัสจากหอโทรทัศน์ นาฬิกาเวลาโลก (Weltzeituhr) ในจัตุรัส อเล็กซานเดอร์พลัทซ์ (Alexanderplatz) เป็นลานจัตุรัสเปิด (Platz) ขนาดใหญ่และเป็นศูนย์กลางการขนส่งมวลชนแห่งหนึ่งในเบอร์ลินชั้นใน ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำสปรีและวิหารเบอร์ลิน (แบร์ลีนเนอร์โดม) ชาวเบอร์ลินมักเรียกจัตุรัสแห่งนี้กันสั้น ๆ ว่า อเล็กซ์ (Alex) จัตุรัสแห่งนี้เป็นสถานที่ที่มีการสัญจรคับคั่งมากที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเบอร์ลิน โดยมีผู้สัญจรผ่านกว่า 360,000 คนต่อวัน ซึ่งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและอเล็กซานเดอร์พลัทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผมเป็นชาวเบอร์ลิน

"อิช บิน ไอน์ แบร์ลีแนร์" (Ich bin ein Berliner, "ผมเป็นชาวเบอร์ลิน") เป็นตอนหนึ่งของสุนทรพจน์โดยประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น เอฟ. เคนเนดี ในเบอร์ลินตะวันตก เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ฮาร์ตฟีลด์

อห์น ฮาร์ทฟิล (John Heartfield) เดิมชื่อว่า เฮลมุท เฮิร์ซเฟล (Helmut Hearzfeld) เกิดเมื่อ 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและจอห์น ฮาร์ตฟีลด์ · ดูเพิ่มเติม »

จัน ซี

ัน ซี (Chan Sy หรือ Chan Si) เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและจัน ซี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเยอรมนี

งชาติเยอรมนี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน แบ่งเป็นแถบสี 3 แถบ ตามแนวนอน คือ สีดำ สีแดง และสีทอง มีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า "Schwarz-Rot-Gold" แปลว่า ธงดำ-แดง-ทอง ตามสีของธง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและธงชาติเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ทอม ชทาร์เคอ

ทอม พีเทอร์ ชทาร์เคอ (Tom Peter Starke) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและทอม ชทาร์เคอ · ดูเพิ่มเติม »

ทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลก

แผนที่จำนวนครั้งที่ผ่านรอบคัดเลือกของประเทศต่างๆ ผลงานที่ดีที่สุดของประเทศต่าง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก (Unified Team at the Olympics) เป็นทีมเฉพาะกิจซึ่งรวมประเทศในกลุ่มเดียวกัน หรือเคยร่วมกลุ่มเดียวกันมาก่อน สำหรับเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ทั้งนี้ในประวัติศาสตร์โอลิมปิกสมัยใหม่ เคยปรากฏทีมรวมลักษณะนี้มาแล้วสองครั้งคือ ทีมรวมเยอรมนี (2499-2507) และ ทีมรวมเครือรัฐเอกราช (2535) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์

ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ (Flughafen Berlin-Schönefeld) เป็นท่าอากาศยานระดับรองตั้งอยู่ห่างจากกรุงเบอร์ลินไปทางตะวันตกเฉียงใต้ราว 18 กิโลเมตร ใกล้กับเมืองเชอเนอเฟ็ลท์ในรัฐบรันเดินบวร์ค ท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นท่าอากาศยานหนึ่งในสองแห่งของเบอร์ลิน อีกแห่งหนึ่งคือท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์ลินเทเกิล ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์เคยเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศเยอรมนีตะวันออก ซึ่งในยุคนั้นถือเป็นท่าอากาศยานเพียงแห่งเดียวของเบอร์ลินตะวันออก ในอนาคตอันใกล้มีแผนจะย้ายการดำเนินงานทั้งหมดในท่าอากาศยานแห่งนี้ไปยังท่าอากาศแห่งใหม่คือท่าอากาศยานเบอร์ลินบรันเดินบวร์ค มีกำหนดเปิดใช้งานในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการสตาฮานอฟ

อะเลคเซย์ สตาฮานอฟ (คนขวา) ในเหมืองแร่ За трудовую доблесть СССР)) ในประวัติศาสตร์โซเวียตได้มีผู้นิยมสตาฮานอฟ (стахановец) ในเหมืองแร่เพื่อเอาแบบอย่าง อะเลคเซย์ สตาฮานอฟกรรมกรผู้ทำงานหนัก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและขบวนการสตาฮานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ดอยท์เชบาห์น

อยท์เชบาห์น (DB AG, DBAG or DB) เป็นบริษัทรถไฟหลักในประเทศเยอรมนี มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเบอร์ลิน เป็นบริษัทที่ดำเนินการรถไฟรายใหญ่อันดับ 2 ของโลก และอันดับ 1 ของยุโรป โดยมีผู้โดยสารกว่า 2 พันล้านคนต่อปี ดอยท์เชบาห์น ("การรถไฟเยอรมัน") เปิดใช้งานในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและดอยท์เชบาห์น · ดูเพิ่มเติม »

ดอริส เลสซิง

อริส เมย์ เลสซิง (Doris Lessing, CH, OBE) (22 ตุลาคม ค.ศ. 1919 – 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013) ดอริส เลสซิงเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวอังกฤษผู้เกิดในเปอร์เชียผู้เขียนนวนิยายเช่น The Grass is Singing และ The Golden Notebook.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและดอริส เลสซิง · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล บัลเฮาส์

ร์ล บัลเฮาส์ (4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1968) เป็นนักแสดงละครเวทีและนักแสดงภาพยนตร์ชาวเยอรมัน ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คาร์ลได้เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ในประเทศเยอรมนีตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและคาร์ล บัลเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเยอรมนี

มาชิก NKFD เมื่อปี ค.ศ. 1943 เรียงจากซ้ายไปขวา: พันเอก van Hooven, ร้อยโท Heinrich Graf von Einsiedel, พันตรี Karl Hetz, พลเอก Walther von Seydlitz-Kurzbach, พลทหาร Zippel, Erich Weinert, พันเอก Steidle, พลเอก Lattmann รายชื่ออ้างจาก Leonid Reschin: General von Seydlitz in sowj. Haft 1943–1955, p. 57, ISBN 3-8289-0389-4 คณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเยอรมนี (Nationalkomitee Freies Deutschland, NKFD) เป็นองค์การต่อต้านนาซีที่ก่อตั้งโดยเจ้าหน้าที่และทหารเชลยศึกรวมทั้งผู้ลี้ภัยที่ฝักใฝ่ในคอมมิวนิสต์ชาวเยอรมัน องค์การนี้ก่อตั้งขึ้นในสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หน้าที่ของคณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเยอรมนีคือการปลดปล่อยนาซีเยอรมนีเป็นคอมมิวนิสต์โดยได้กำลังจากเชลยศึกทหารในแนวรบด้านตะวันออกโดยมีหนังสือพิมพ์ Freies Deutschland เป็นสื่อกลาง หลังสงครามโลกครั้งที่สองจบลงสมาชิกของคณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเยอรมนีได้เข้าไปทำงานให้กับรัฐบาลเยอรมนีตะวันออกและกองทัพประชาชนแห่งชาต.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและคณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

ณิตศาสตร์โอลิมปิก เป็นการแข่งขันคณิตศาสตร์ประจำปี ซึ่งมีคำถามอยู่หกข้อ คะแนนเต็ม 42 คะแนน สำหรับนักเรียนระดับก่อนมหาวิทยาลัย และเป็นโอลิมปิกวิชาการที่เก่าแก่ที่สุด คณิตศาสตร์โอลิมปิกจัดขึ้นครั้งแรกในโรมาเนีย ใน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ค็อทบุส

็อทบุส (Cottbus; ซอร์เบียล่าง: Chośebuz) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐบรันเดนบูร์ก ประเทศเยอรมนี อยู่ห่างจากเบอร์ลินไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 125 ก.ม. บนแม่น้ำชเปร มีประชากร 106,415 คน สำรวจเมื่อสิ้นปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและค็อทบุส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเยอรมนี

ตราแผ่นดินของเยอรมนี (Bundesadler) เป็นตราอาร์มของประเทศเยอรมนีที่ประกอบด้วยเหยี่ยว สีของตราคลายกับสีของธงชาติเยอรมนี (ดำ แดง และ ทอง) และเป็นตราประจำชาติที่เก่าที่สุดตราหนึ่งของยุโรป และของโลก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและตราแผ่นดินของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย

Sukhoi Superjet 100 (Campeche, Mexico) 2015 ซุคฮอย (Sukhoi, Сухой) เป็นผู้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ของรัสเซียมีที่มีชื่อเสียงจากเครื่องบินขับไล่ มันถูกก่อตั้งโดยพาเวล ซุคฮอยเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและซุคฮอย · ดูเพิ่มเติม »

ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก

ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก (CEV Champions League; ชื่อเดิม: ซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ; CEV European Champions Cup ตั้งแต่ ค.ศ. 1959 ถึง ค.ศ. 2000) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับสโมสรของทวีปยุโรป และจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี).

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและซีอีวีแชมเปียนส์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและประวัติศาสตร์เยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีเยอรมนี

ประธานาธิบดีเยอรมนี (Bundespräsident; ประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐ) เป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเยอรมนี ตั้งแต่การสละราชบัลลังก์ของจักรพรรดิเยอรมันในปี ค.ศ. 1918 และการประกาศใช้รัฐธรรมนูญไวมาร์ ประธานาธิบดีก็เป็นประมุขแห่งรัฐของเยอรมนี ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีเป็นตำแหน่งพิธีการและถูกจำกัดบทบาทด้วยองค์ประกอบกฎหมายและจารีตธรรมนูญ มีวาระครั้งละ 5 ปี ส่วนประมุขฝ่ายบริหารคือนายกรัฐมนตรีเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและประธานาธิบดีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประตูบรันเดินบวร์ค

ประตูบรันเดินบวร์ค ประตูบรันเดินบวร์ค (Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนอีบัทสทราสเซ่ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของ อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค ประตูแห่งนี้เป็นอนุสรณ์ของทางเข้าสู่ถนนอุนเทอร์ เดน ลินเดน ซึ่งเป็นถนนหลวงที่มีชื่อเสียงมาจากต้นลินเดน (บางที่เรียกต้นทิเลีย หรือต้นไลม์) ซึ่งเป็นถนนที่ตรงไปสู่พระราชวังเมือง (Stadtschloss/Berlin City Palace) ของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย (Prussia) พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซียทรงมีรับสั่งให้สร้างประตูบรันเดินบวร์คเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ใช้เวลาสร้างตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2331 ถึงปี 2334 โดยนายคาร์ล ก็อทท์ฮาร์ด แลงฮานส์ แล้วได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาประตูบรันเดินบวร์คก็ได้รับการบูรณะจนเสร็จสิ้นในช่วงปีพุทธศักราช 2543 ถึง 2545 โดยมูลนิธิอนุรักษ์อนุสาวรีย์เบอร์ลิน (Stiftung Denkmalschutz Berlin) ในช่วงหลังสงครามที่ได้แบ่งประเทศเยอรมนีออกเป็นสองส่วน ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ในเยอรมนีตะวันออก และได้แยกออกจากเยอรมนีตะวันตก ซึ่งมีกำแพงเบอร์ลินกั้นไว้ บริเวณโดยรอบประตูถือว่าเป็นจุดเด่นที่เด่นชัดที่สุดในการคุ้มครองสื่อในการเผยแพร่การเปิดผนังกำแพงในปีพุทธศักราช 2532 ตั้งแต่มีการสร้างประตู บ่อยครั้งเกิดเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของเยอรมนีในบริเวณประตูบรันเดินบวร์ค และวันนี้ก็ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของความปั่นป่วนในประวัติศาสตร์ยุโรป แต่ก็เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นเอกภาพและสันติภาพของยุโรปด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและประตูบรันเดินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันออกในโอลิมปิก

ประเทศเยอรมนีตะวันออก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ยอรมนี หมวดหมู่:กีฬาในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและประเทศเยอรมนีตะวันออกในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันตก

ประเทศเยอรมนีตะวันตก (West Germany) เป็นคำเรียกอย่างไม่เป็นทางการของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและประเทศเยอรมนีตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระฮองสโลอาย

ปลาหมอแคระฮองสโลอาย หรือ ปลาหมอแคระฮองสลอย (Red streak cichlid) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปเหมือนปลาในสกุลเดียวกันชนิดอื่น แต่มีลำตัวที่หนากว่า โดยถูกค้นพบครั้งแรกบริเวณแม่น้ำวิชาดาและแม่น้ำโอรีโนโก ในโคลอมเบียและเวเนซุเอลา โดยถูกตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ ธอร์นบอน ฮองสลอย นักสะสมชาวสวีเดนและเป็นผู้ที่ค้นพบปลาชนิดนี้เป็นคนแรก โดยปลาในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีต้นไม้ค่อนข้างหนาทึบ และมีเศษใบไม้ร่วงหล่นยังพื้นน้ำ สภาพน้ำมีค่าความเป็นกรดด่างประมาณ 5.4 pH มีขนาดโตเต็มที่ได้ราว 2 นิ้ว โดยปลาที่อาศัยอยู่ในแม่น้ำคาตาเนียโป มีสีสันที่เหลืองสดตัดกับเหลือบสีแดงที่เข้มกว่าปลาที่พบในเวเนซุเอลา แต่ปลาที่พบในโคลอมเบียกลับมีรูปร่างที่สวยกว่าปลาที่พบในเวเนซุเอลาอย่างมาก ปลาหมอแคระฮองสโลอาย ถูกนำออกสู่วงการปลาสวยงามครั้งแรกในปี ค.ศ. 1975 จากโคลอมเบียไปยังเยอรมนีตะวันออก จากนั้นได้กระจายไปยังเชกโกสโลวาเกีย และได้มีการพัฒนาสายพันธุ์เพื่อให้สวยยิ่งขึ้น จนถึงปัจจุบัน ที่เป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงในหมู่นักเลี้ยงปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและปลาหมอแคระฮองสโลอาย · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและปัญหาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นีโอนาซี

นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและนีโอนาซี · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์

แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์ (Ferdinand Schörner) เป็นนายพลและต่อมาเป็นจอมพลในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้บัญชาการในกองทัพหลายกลุ่มและเป็นผู้บัญชาการคนสุดท้ายแห่งกองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพบก (Oberkommando des Heeres-OKH) เชอร์เนอร์เป็นผู้มีความเชื่อมั่นในลัทธินาซีและกลายเป็นที่รู้จักกันดีสำหรับความโหดร้ายของเขา ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้บัญชาการที่เป็นที่โปรดปรานของฮิตเลอร์ ภายหลังสงคราม เขาถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามโดยศาลในสหภาพโซเวียตและเยอรมนีตะวันตกและถูกคุมขังในดินแดนสหภาพโซเวียต เยอรมนีตะวันออกและเยอรมนีตะวันตก เขาได้เสียชีวิตลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและแฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมนเชสเตอร์

แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก

แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก (IHF World Men's Handball Championship) เป็นการแข่งขันแฮนด์บอลชายระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและแฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

แดร์ฟัลล์กลิวิซ

แดร์ฟัลล์กลิวิซ (Der Fall Gleiwitz) เป็นภาพยนตร์สงครามของเยอรมนีตะวันออก กำกับโดย Gerhard Klein เข้าฉายในปี 1961 ภาพยนตร์ได้เค้าโครงหลักจากบันทึกของ Alfred Naujocks ผู้ทำงานให้กับหน่วยเอสเอส ที่ถูกคุมตัวโดยฝ่ายอังกฤษในช่วง การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก เนื้อเรื่องของภาพยนตร์เล่าเกี่ยวกับการโจมตีจัดฉากของหน่วยเอสเอสเมื่อเย็นวันที่ 31 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและแดร์ฟัลล์กลิวิซ · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1

แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 (1-й Белорусский фронт) เป็นแนวรบหน้าของกองทัพโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงหลังสงครามแนวรบนี้ได้วางกำลังในเยอรมนีตะวันออกเป็นกองกำลังโซเวียตในเยอรมนีตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและแนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ท เอนเคอ

รแบร์ท เอนเคอ (Robert Enke; 24 สิงหาคม ค.ศ. 1977 – 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009) เป็นอดีตผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวเยอรมัน เอนเคอเป็นที่จดจำจากการที่เคยเล่นให้กับ ไบฟีกา และ บาร์เซโลนา แต่ประสบความสำเร็จและลงเล่นมากที่สุดตลอดระยะเวลาการค้าแข้งกับฮันโนเวอร์ 96 ในบุนเดสลีกา ประเทศบ้านเกิด เขาลงเล่นให้กับเยอรมนี เป็นจำนวน 8 นัด ในช่วงระหว่างคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 1999 และการเสียชีวิตของเขาในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและโรแบร์ท เอนเคอ · ดูเพิ่มเติม »

โทนี โครส

ทนี โครส (Toni Kroos,; เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1990) เป็นนักฟุตบอลชาวเยอรมัน ปัจจุบันลงเล่นให้กับเรอัลมาดริด ในลาลีกา ของสเปน.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและโทนี โครส · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์มาร์ค

รชส์มาร์ค (Reichsmark) เป็นสกุลเงินของเยอรมนีมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและไรชส์มาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ไลพ์ซิช

ลพ์ซิช (Leipzig) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในรัฐซัคเซิน ในประเทศเยอรมนี มีประชากร 515,110 คน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐ และเป็นเมืองที่มีระบบการปกครองในรูปแบบเขตปกครองพิเศษ ชื่อ "ไลพ์ซิช" มาจากภาษาสลาฟว่า "ลิพสค์" (Lipsk) ซึ่ง แปลว่า ตั้งอยู่บนพื้นที่ ที่มีต้นไม้ดอกเหลือง นอกจากนี้ ไลพ์ซิชยังเป็นชื่อของเขตปกครองภายในรัฐซัคเซิน โดยในสหพันธรัฐแซกโซนีประกอบด้วย 3 เขตปกครอง (Landkreise) และ 3 เขตปกครองพิเศษ (Kreisfreie Städte) โดยเขตปกครองไลพ์ซิชเป็นเขตปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหพันธรัฐแซกโซนี เนื้อหาของบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะเมืองไลพ์ซิชซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลินตะวันออก

อร์ลินตะวันออก ฤดูร้อน ค.ศ. 1989 เบอร์ลินตะวันออก เป็นชื่อที่เรียกส่วนตะวันออกของเบอร์ลินระหว่างปี ค.ศ. 1949 ถึง 1990 ประกอบด้วยเขตเบอร์ลินใต้ปกครองของโซเวียตซึ่งก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเบอร์ลินตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลินตะวันตก

แสดงอาณาเขตของกรุงเบอร์ลินที่อยู่ในการปกครองของประเทศต่างๆ โดยที่เบอร์ลินตะวันตกจะแสดงด้วยสีน้ำเงิน ม่วงและฟ้า เบอร์ลินตะวันตก เป็นชื่อเรียกของฝั่งตะวันตกของเมืองเบอร์ลิน ในช่วงปี ค.ศ. 1949 ถึง ปี ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเบอร์ลินตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์รี บรอยทีกัม

อร์รี บรอยทีกัม (Perry Bräutigam) เกิดวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1963 ที่อัลเทนบูร์ก เป็นทั้งผู้ฝึกสอนและอดีตผู้เล่นฟุตบอลชาวเยอรมัน ผู้ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตูให้แก่ทีมอาร์บีไลพ์ซ.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเพอร์รี บรอยทีกัม · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ ฟัน ดึค

มัททีอัส เพาล์ (Matthias Paul) เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อบนเวทีของเขา เพาล์ ฟัน ดึค (Paul van Dyk) เป็นนักดนตรีแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์จากเยอรมัน ที่ได้รับการเสนอชื่อรางวัลแกรมมี หนึ่งในชั้นนำของโลกของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ และ โปรดิวเซอร์เพลง ได้อยู่ใน "ท็อป 10" ตั้งแต่ปี 1998 เขาขายได้มากกว่า 3 ล้านอัลบั้มทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเพาล์ ฟัน ดึค · ดูเพิ่มเติม »

เกาะแอ็นสท์ เทลมัน

อร์ลินตะวันออก, 19 มิถุนายน 1972: ฟิเดล คาสโตร (ซ้าย) มอบแผนที่คิวบาหลังจากการลงนามในแถลงการณ์กับเอริช ฮอเนคเคอร์ (กลาง) แผนที่แสดงเกาะที่มีชื่อว่า "แอ็นสท์ เทลมัน" และทางใต้เรียกว่า "หาดสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี" เกาะแอ็นสท์ เทลมัน (Ernst-Thälmann-Insel, Cayo Ernesto Thaelmann หรือ Cayo Blanco del Sur) เป็นเกาะที่มีความยาว 15 กิโลเมตรและกว้าง 500 เมตรของคิวบาในอ่าว Gulf of Cazones ตั้งชื่อตามนักคอมมิวนิสต์และนักกิจกรรมชาวเยอรมัน แอ็นสท์ เทลมัน เกาะนี้ถูกถ่ายโอนการปกครองให้กับเยอรมนีตะวันออก ในปี 1972 แม้กระนั้นเมื่อหนังสือพิมพ์เยอรมันพยายามที่จะเยี่ยมชมเกาะหลังจากเยอรมนีรวมประเทศ พวกเขาบอกว่าการถ่ายโอนนี้เป็นเพียงแค่ "การแสดงเชิงสัญลักษณ์" เท่านั้น ก่อนถึงปี 1972 เกาะนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ Cayo Blanco del Sur เนื่องในโอกาสเยือนคิวบาของเอริช ฮอเนคเคอร์ ผู้นำเยอรมนีตะวันออก ในเดือนมิถุนายน 1972 ฟีเดล กัสโตรได้เปลี่ยนชื่อเกาะเพื่อเป็นเกียรติแก่ แอ็นสท์ เทลมัน นักคอมมิวนิสต์ นักกิจกรรม และ เลขาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี ในช่วงยุคของสาธารณรัฐไวมาร์ เขาถูกจับกุมตัวโดยเกสตาโป ในปี 1933 เขาถูกลงโทษโดยการใช้แรงงานหนักเป็นเวลา 11 ปี ก่อนจะถูกยิงที่ค่ายกักกันบูเคนวัลด์ ตามคำสั่งของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในปี 1944 อ้างอิงจากบทความในหนังสือพิมพ์ Neues Deutschland ลงวันที่ 20 มิถุนายน 1972 ผู้นำคิวบาประกาศเปลี่ยนชื่อเกาะและหนึ่งในชายหาดเป็น "ชายหาดสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี" (Playa "República Democrática Alemana", "DDR-Strand") รายการข่าวโทรทัศน์ของเยอรมนีตะวันออก Aktuelle Kamera ได้รายงานเกี่ยวกับพิธีเปิดรูปปั้นครึ่งตัวของแอ็นสท์ เทลมันเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 1972 ในที่นี่มีมีเอกอัครราชทูตเยอรมนีตะวันออก ผู้แทนจากเยอรมนีตะวันออกและคิวบาประมาณ 100 คน เข้าร่วมพิธีเปิดในครั้งนี้ ในเดือนมีนาคม 1975 รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกได้ส่งนักร้อง Frank Schöbel ไปยังคิวบาเพื่อทำมิวสิกวิดีโอ และฉากบางส่วนของเกาะถูกถ่ายรวมอยู่ในสารคดีเน้นเกาะซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของมิตรภาพระหว่างเยอรมนีตะวันออกและคิวบา ในปี 1998 เกาะแห่งนี้ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงจากพายุเฮอริเคนมิทช์ซึ่งทำให้รูปปั้นครึ่งตัวของแอ็นสท์ เทลมันเสียหาย สถานทูตคิวบาประจำเยอรมนีและกระทรวงการต่างประเทศเยอรมนีกล่าวในนำนองเดียวกันว่า การเปลี่ยนชื่อเกาะนั้นเป็น "การแสดงเชิงสัญลักษณ์" เกาะไม่เคยถูกถ่ายโอนการปกครองจากคิวบาและรัฐเยอรมันทั้งสองซึ่งเป็นเจ้าของเกาะและหลังการรวมประเทศในวันที่ 3 ตุลาคม 1990.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเกาะแอ็นสท์ เทลมัน · ดูเพิ่มเติม »

เกเวร์ 43

กเวร์ 43 หรือ คาราบิเนอร์ 43 (ชื่อย่อ G43, K43, Gew 43, Kar 43) เป็นปืนไรเฟิลกึ่งอัตโนมัติ ของเยอรมนี ในช่วง สงครามโลกครั้งที่สอง ใช้กระสุนขนาด 7.92×57mm ถูกออกแบบและได้แบบจากเป็น G41 (W) โดยรูปแบบการใช้งานคล้ายปีน โทคาเนฟ เอสวีที-40.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเกเวร์ 43 · ดูเพิ่มเติม »

เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร

มื่อนาซีเยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะจึงได้แสดงสิทธิ์การปกครองเหนือดินแดนของรัฐเยอรมัน (เยอรมันไรช์) ที่ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแนวโอเดอร์-ไนเซอ (Oder–Neisse line) และล้มล้างรัฐบาลภายใต้การปกครองของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ลง (ดูที่ปฏิญญาเบอร์ลิน ค.ศ. 1945) จากนั้นมหาอำนาจทั้ง 4 ของฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แบ่งแยกเยอรมนีออกเป็น เขตยึดครอง จำนวนสี่เขตเพื่อเป้าหมายด้านการปกครอง โดยให้ฝรั่งเศสปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ สหราชอาณาจักรปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือ สหรัฐปกครองดินแดนตอนใต้ และสหภาพโซเวียตปกครองภาคตะวันออก และบริเวณนี้เป็นที่รู้จักโดยรวมภายใต้ชื่อ เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร (Alliierten-besetztes Deutschland) การแบ่งแยกนี้เป็นที่ยอมรับและให้สัตยาบัน ณ การประชุมพอทสดัม ระหว่างวันที่ 17 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร · ดูเพิ่มเติม »

เรเน อาดเลอร์

รเน อาดเลอร์ (René Adler) นักฟุตบอลอาชีพชาว เยอรมัน ในตำแหน่ง ผู้รักษาประตู ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสร ฮัมบูร์ก ในศึก บุนเดสลีกา และ ทีมชาติเยอรมัน นอกจากนี้อ๊าดเลอร์ยังเป็นรองกัปตันทีมให้กับฮัมบูร์กอีกด้วย เรเนเป็นลูกชายของ เยนส์ อ๊าดเลอร์ อดีตผู้รักษาประตู ทีมชาติเยอรมันตะวันออก ซึ่งเป็นนักฟุตบอลคนสุดท้ายที่ได้ลงเล่นในนามทีมชาติเยอรมันตะวันออก เรเนเข้าร่วมทีมเยาวชนของสโมสร เฟาเอฟเบ ไลป์ซิก ทีมในบ้านเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเรเน อาดเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีนครดันท์ซิช

รีนครดันท์ซิช (Freie Stadt Danzig; Wolne Miasto Gdańsk) เป็นเมืองของรัฐกึ่งอิสระที่มีอยู่ระหว่างปี 1920 และ 1939 ประกอบด้วยท่าเรือบนทะเลบอลติกของเมืองดันท์ซิชและเมืองเกือบ 200 เมืองในพื้นที่โดยรอ.ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1920 ตามเงื่อนไขของมาตรา 100 (มาตรา 10 ของหน้า 3) ของสนธิสัญญาแวร์ซาย หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นครเสรีรวมเมืองดันท์ซิชและเมือง หมู่บ้าน และถิ่นฐานใกล้เคียงอื่น ๆ ที่ได้ตั้งที่อยู่อาศัยเป็นหลักโดยชาวเยอรมัน ตามสนธิสัญญาได้ระบุเอาไว้ ภูมิภาคจะยังคงแยกออกมาจากหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (สาธารณรัฐไวมาร์) และประเทศที่ได้รับเอกราชใหม่ของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ("โปแลนด์ในช่วงสมัยระหว่างสงคราม") แต่ก็ไม่ได้เป็นรัฐเอกราช เมืองเสรีนครอยู่ภายใต้การคุ้มครองของสันนิบาตชาติและถูกบรรจุลงในความผูกผันทางด้านสหภาพศุลกากรกับโปแแลนด์ ประเทศโปแลนด์ได้รับสิทธิในการพัฒนาและดูแลในด้านการขนส่ง การสื่อสาร และความอำนวยความสะดวกบนท่าเรือในเมือง เสรีนครได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อให้โปแลนด์สามารถเข้าถึงท่าเรือขนาดพอดี ในขณะที่ประชากรของเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวเยอรมัน มีชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โปแลนด์อย่างมีนัยสำคัญเช่นกัน ประชาชนชาวเยอรมันไม่พอใจอย่างมากที่ถูกแยกออกจากเยอรมนี ถูกรังแกข่มเหงจากชนกลุ่มน้อยชาวโปแลนด์ นี่คือความจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่พรรคนาซีได้เข้ามาควบคุมทางการเมืองในปี 1935-1936.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเสรีนครดันท์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

เอสวีที-40

ทหารโซเวียตกับปืนไรเฟิล เอสวีที-40 เอสวีที-40 (SVT-40,ย่อมาSamozaryadnaya Vintovka Tokareva, Obrazets 1940 godaСамозарядная винтовка Токарева, образец 1940 года.) ปืนไรเฟิลของสหภาพโซเวียตผลิตใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งใจจะเป็นปืนไรเฟิลประจำการใหม่ของกองทัพแดงโซเวียตแทนปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ แต่การผลิตได้หยุดชะงักจากการรุกรานของเยอรมนี ทำให้การผลิตช้าซึงทำให้กองทัพหันไปใช้ปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ซึ่งการผลิตได้รวดเร็วกว.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเอสวีที-40 · ดูเพิ่มเติม »

เอสเคเอส

อสเคเอส เป็นปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติโซเวียตลำกล้อง 7.62 × 39มม.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเอสเคเอส · ดูเพิ่มเติม »

เอาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนิน

อาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนิน (Auferstanden aus Ruinen; ฟื้นฟูขึ้นจากซากปรักหักพัง) เป็นชื่อของเพลงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมนีตะวันออก) ตั้งแต่ ค.ศ. 1949 ถึง ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเอาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนิน · ดูเพิ่มเติม »

เฮลมุท อาร์เทิลท์

ลมุท อาร์เทิลท์ (เกิด 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1940) เป็นนักกีฬายิงปืนชาวเยอรมัน โดยเฮลมุทได้เข้าร่วมการแข่งขันประเภทปืนพก 50 เมตร ในการแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 1968 ที่ประเทศเยอรมนีตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเฮลมุท อาร์เทิลท์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เขตอิทธิพล

ในสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขตอิทธิพล (sphere of influence; SOI) หมายถึงพื้นที่หรือภูมิภาคซึ่งมีรัฐหรือองค์กรหนึ่ง ๆ มีอิทธิพลเหนือกว่าในด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การทหารหรือการเมือง ขณะที่อาจมีการจัดตั้งพันธมิตรอย่างเป็นทางการหรือพันธกรณีในรูปสนธิสัญญาอื่น ๆ ระหว่างดินแดนที่แผ่อิทธิพลและดินแดนที่อยู่ภายใต้อิทธิพล การจัดการอย่างเป็นทางการในรูปแบบเขตอิทธิพลนี้ไม่จำเป็น และบ่อยครั้งที่อิทธิพลสามารถเป็นตัวอย่างของอำนาจอย่างอ่อน และเช่นเดียวกัน พันธมิตรอย่างเป็นทางการก็ไม่จำเป็นจะต้องหมายความว่าประเทศหนึ่งอยู่ในเขตอิทธิพลของอีกประเทศหนึ่งด้วย ในกรณีสุดขั้ว ประเทศที่อยู่ใน "เขตอิทธิพล" ของอีกประเทศหนึ่งนั้นอาจเป็นรองรัฐนั้นและเป็นเสมือนกับรัฐบริวารหรืออาณานิคมในทางพฤตินัย ระบบเขตอิทธิพลซึ่งชาติทรงอำนาจเข้าแทรกแซงกิจการภายในของอีกประเทศหนึ่งนั้นยังคงมีสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน และบ่อยครั้งมักจะถูกวิเคราะห์ในรูปแบบของอภิมหาอำนาจ มหาอำนาจ และ/หรือรัฐระดับกลาง ยกตัวอย่างเช่น ระหว่างช่วงที่รุ่งเรืองที่สุดของจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง จักรวรดิญี่ปุ่นมีเขตอิทธิพลขนาดใหญ่มาก รัฐบาลญี่ปุ่นได้ปกครองดินแดนบางส่วนโดยตรงในกรณีของเกาหลี แมนจูเรีย เวียดนาม ไต้หวัน และบางส่วนของจีน ดังนั้น "วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา" จึงสามารถถูกวาดอย่างง่าย ๆ บนแผนที่มหาสมุทรแปซิฟิกเป็นวงขนาดใหญ่ล้อมรอบหมู่เกาะญี่ปุ่นและชาติเอเชียและแปซิฟิกที่อยู่ภายใต้การควบคุมนั่นเอง บางครั้งหลายส่วนของประเทศอาจอยู่ภายใต้เขตอิทธิพลสองเขตที่แตกต่างกัน ในสมัยอาณานิคม อิหร่านและไทยมีสถานะเป็นรัฐกันชนตั้งอยู่ระหว่างจักรวรรดิของอังกฤษกับรัสเซียและอังกฤษกับฝรั่งเศสตามลำดับ ถูกแบ่งแยกระหว่างเขตอิทธิพลของรัฐจักรวรรดิ เช่นเดียวกัน ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีถูกแบ่งออกเป็นเขตยึดครองสี่ส่วน ซึ่งในภายหลังได้รวมตัวกันเป็นเยอรมนีตะวันตกกับเยอรมนีตะวันออก อดีตสมาชิกของนาโต และประเทศหลังเป็นสมาชิกของสนธิสัญญาวอร์ซอ หมวดหมู่:รัฐศาสตร์ หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมวดหมู่:สังคมวิทยา.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเขตอิทธิพล · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ แมน ฟรอม อั.ง.เ.คิ.ล. คู่ดุไร้ปรานี

อะ แมน ฟรอม อั.ง...ล. คู่ดุไร้ปรานี (The Man from U.N.C.L.E.) เป็นภาพยนตร์แนวสายลับ/โลดโผน/ตลก กำกับและร่วมเขียนบทโดยกาย ริตชี โดยดัดแปลงจากละครโทรทัศน์ในชื่อเดียวกันของเอียน เฟลมมิง, นอร์แมน เฟลตันและแซม โรล์ฟ เป็นเรื่องราวของสายลับ 2 คนที่เป็นอริกันในสงครามเย็น แต่ต้องร่วมมือกันปกป้องโลก นำแสดงโดยเฮนรี แควิลล์, อาร์มี แฮมเมอร์ และฮิว แกรนต.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเดอะ แมน ฟรอม อั.ง.เ.คิ.ล. คู่ดุไร้ปรานี · ดูเพิ่มเติม »

เดเดแอร์-โอเบอร์ลีกา

แอร์-โอเบอร์ลีกา (DDR-Oberliga) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศเยอรมนีตะวันออก ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเดเดแอร์-โอเบอร์ลีกา · ดูเพิ่มเติม »

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

DDR

DDR เป็นอักษรย่อ มีหลายความหมาย ซึ่งรวมถึง.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและDDR · ดูเพิ่มเติม »

13 สิงหาคม

วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและ13 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มิถุนายน

วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและ30 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเยอรมนีตะวันออกและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

East Germanyสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมันสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีเยอรมันตะวันออกเยอรมนีตะวันออก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »