โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศฮังการี

ดัชนี ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

546 ความสัมพันธ์: บราติสลาวาบอนน์บัณฑิต อึ้งรังษีบาร์บรา สไตรแซนด์ชาวฮังการีชาวเซิร์บบาโธรี (วงดนตรี)บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บูดอบูดาเปสต์บูดาเปสต์แอร์คราฟต์เซอร์วิสช็อลโกตอร์ยานชเตฟันสโดมฟรันซ์ ชูแบร์ทฟรันซ์ ลิซท์ฟัวกราฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012ฟุตบอลทีมชาติกรีซฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ฟุตบอลทีมชาติอิตาลีฟุตบอลทีมชาติฮังการีฟุตบอลทีมชาติตูนิเซียฟุตบอลทีมชาติแอลเบเนียฟุตบอลทีมชาติโปแลนด์ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกียฟุตบอลโลกหญิง 2007ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรปฟุตซอลทีมชาติสหรัฐฟุตซอลทีมชาติฮังการีฟุตซอลทีมชาติเบลเยียมฟุตซอลทีมชาติเช็กเกียพ.ศ. 2103พ.ศ. 2157พ.ศ. 2463พ.ศ. 2483พ.ศ. 2488พ.ศ. 2530พ.ศ. 2540พ.ศ. 2554พรชัย ทองบุราณพรรคคอมมิวนิสต์พรรคแอร์โรว์ครอสส์พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีพระเจ้าอัลเบรชท์ที่ 2 แห่งเยอรมนีพระเจ้าคนุตมหาราชพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพอล แอร์ดิช...พันโนเนียพาลาทชินเกนพูลชิเนลลากรุงเทพมหานครกลาส-ยัน ฮึนเตอลาร์กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริกกลุ่มภาษาเตอร์กิกกองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1)กองพลแพนเซอร์เกรนาดีร์อาสาสมัครแห่งเอ็สเอ็สที่ 18 ฮอสท์ เวสเซิลกาบรีลา ฟอน ฮับส์บวร์คการบุกครองโปแลนด์การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกียการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมต่อเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จการรุกบูดาเปสต์การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรียการรถไฟฮังการีการลงโทษทางกายการล้อมบูดาเปสต์การล้อมกรุงเวียนนาการทรยศโดยชาติตะวันตกการขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกียการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028การค้าประเวณีเด็กการฆ่าตัวตายการปฏิวัติ ค.ศ. 1989การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956การประกวดเพลงยูโรวิชันการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซลการไม่มีศาสนาการเลิกล้มราชาธิปไตยการเดินทางของจักรพรรดิกาเฟโอแลกิชกุนฮอล็อชกุหลาบแวร์ซายส์กีฬามหาวิทยาลัยโลกกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1965กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2017กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์นฝ่ายอักษะภาพทดสอบภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเวภาษาบัลแกเรียภาษารัสเซียภาษาสโลวักภาษาฮังการีภาษาโรมาเนียภาษาเยอรมันภาษาเอสเปรันโตภูมิศาสตร์ยุโรปมหาวิหารรองมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหาวิทยาลัยฮาเกินมายเลิฟ: เอสเซนเชียลคอลเลกชันมารี อ็องตัวแน็ตมารี เฮนรีทเทอแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมมารีบอร์มาร์แต็งแห่งตูร์มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013มิสเวิลด์ 2016มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรักมีโกลช แฟเฮร์มงบล็อง (ของหวาน)มงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรียยาส 39ยาโนช อาแดร์ยุทธการที่โมเฮ็คส์ยุทธการที่เวียนนายุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครองยุโรปตะวันออกยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพยูโรระบบรัฐสภาระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัฐร่วมประมุขรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐหุ่นเชิดราชวงศ์ลอแรนราชอาณาจักรฮังการีราชอาณาจักรโรมาเนียรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออกรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงในประเทศฮังการีรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัวรายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกอุปกรณ์โทรคมนาคมรายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกโทรศัพท์มือถือรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศฮังการีรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวาเกียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศออสเตรียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฮังการีรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมียรายการภาพธงชาติรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการีรางรัสเซียรางวัลพูลิตเซอร์รางวัลเวียนนาครั้งที่สองริเวอร์ ฟินิกซ์รูดอล์ฟ อีมิว คาลมานรถรางในบูดาเปสต์รถไฟชานเมืองบูดาเปสต์รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 1รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 3ฤดูกาลของสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่างลัทธิคอมมิวนิสต์ลาสโล บีโรลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1944)ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1945)ลิเวอร์พูลวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1950วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายทีมชาติฮังการีวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบัลแกเรียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฮังการีวอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1965วอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรปวัลบูร์กา ฮับส์บูร์ก ดักลาสวัฒนธรรมลาแตนวันชาติวันครูวันแม่วิทยาการระบาดวิทยาศาสตรบัณฑิตวีรบุรุษท้องถิ่นวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตวงธัญพืชสกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์สมาพันธ์นักประดิษฐ์นานาชาติสมคิด พงษ์อยู่สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งฮังการีสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนียสวีตดรีมส์สหพันธ์ยกน้ำหนักระหว่างประเทศสหภาพยุโรปสหภาพโซเวียตสะพานเอลิซาเบธสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสาธารณรัฐประชาชนฮังการีสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรปสุรพงษ์ ศรีภิรมย์สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558สุลัยมานผู้เกรียงไกรสีดำ (มุทราศาสตร์)สีประจำชาติสถาบันวิจัยเพื่อการลดอาวุธแห่งสหประชาชาติสถาปัตยกรรมบาโรกสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์สงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโปแลนด์-ออตโตมัน (ค.ศ. 1683-1699)สตาร์บัคส์สติบไนท์สปาย (ภาพยนตร์)สนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)สโมสรฟุตบอลบาเลนเซียสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2014–15สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2013–14สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2014–15สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดสเตอร์ลิงสเตปป์หมายเลขแอร์ดิชหยาดน้ำค้าง (สกุล)หัวสะพานโรมาเนียหง จินเป่าหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอภิธานศัพท์ธุลีปริศนาอภินิหารมนตรามหัศจรรย์ออลอโมตซ์ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กออคเซนเฮาเซินแอบบีย์ออโตสเตอริโอแกรมอักษรวินคาอัศวินเทมพลาร์อัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโกอัตติลาอันโตนีโอ ดี นาตาเลอันเดรย์ เกรชโคอันเดรอา กริตติอาการกลัวอิสลามอาร์ชดยุกคาร์ล คอนสแตนติน แห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสฮิลดาแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสโซฟีแห่งออสเตรียอาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรียอาร์แพด มิคลอสอาดาม ซอล็อยอาดาม โบกดานอาคารแห่งหนังสืออิมแร นอจอิมเร เคอร์เตสซ์องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาแรมซาร์อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลฮอโลกราฟีฮอโลคอสต์ฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2ฮังกาเรียนแดนซ์ฮิสทรีเวิลด์ทัวร์จอร์จ โซรอสจอร์โจ แปร์ลัสกาจอร์โจเนจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรียจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิโรมันจังหวัดคย็องซังใต้จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์จีเฟรนด์ธงชาติฮังการีธนาคารแห่งประเทศจีนทริลเลอร์ 25ทฤษฎีโดมิโนทวีปยุโรปทอมมี ราโมนทะเลสาบบอลอโตนทะเลสาบน็อยซีเดิลทะเลสาบเจนีวาทางด่วนทิสซอข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลกข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดราวาดัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์กดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)ดิอะเมซิ่งเรซ 6ดิอะเมซิ่งเรซเอเชียดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2ดิอะเมซิ่งเรซเซ็นทรัลยุโรปคริสต์มาสคริสต์สหัสวรรษที่ 3คลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555ความสำคัญของศาสนาตามประเทศคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศคอสโม่ อเล็กซานเดอร์คาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์กคาทอลิกตะวันออกคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคิม อู-กิลคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งฮังการีคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศงานวันไปรษณีย์โลกงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 54งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90ตระกูลภาษายูรัลตราแผ่นดินของฮังการีตราแผ่นดินในทวีปยุโรปตำรวจฮังการีตีร์กูมูเรชต้นสมัยกลางซอลอเลอเวอซอนย่า คูลลิ่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซันโดร บอตตีเชลลีซารีว็อนซาลาแมนเดอร์ไฟซิลเวีย เฟรแรซุคฮอยซูบอตีตซาซูซูกิ สแปลชซูซูกิ คัลตัสซูซูกิ SX4ซีชีอูยฟอลูซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 1961–62ซีแอตเทิลซ้าบปฏิบัติการบาร์บารอสซาปฏิบัติการมาร์กาเรตปฏิบัติการสปริงอะเวคะนิงประชาธิปไตยโดยตรงประมุขแห่งรัฐประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์ออสเตรียประวัติศาสตร์เยอรมนีประวัติสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดประเทศยูเครนประเทศลิทัวเนียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสโลวาเกียประเทศสโลวีเนียประเทศออสเตรียประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1896ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1900ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1904ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1908ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1912ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1916ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1920ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1924ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1928ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1932ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1936ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1948ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1952ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1956ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1960ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1964ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1968ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1972ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1976ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1980ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1984ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1988ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1992ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1994ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1996ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1998ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2000ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2002ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2004ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2006ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2008ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2010ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2012ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2014ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2016ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2018ประเทศฮังการีในโอลิมปิกประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลประเทศซิมบับเวประเทศโรมาเนียประเทศโครเอเชียประเทศเซอร์เบียปรัชญาโอลิมปิกระหว่างประเทศปรีชา นพรัตน์ปาเตปีเตอร์ คูรุซนพวรรณ เลิศชีวกานต์นางงามจักรวาล 1992นางงามจักรวาล 2017นาตาชา ดูเชฟ-ยานิชนิยามของตรานิติภาวะนีชนีกอลา ซาร์กอซีนีคอลา กรูเอฟสกีนีโอนาซีนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาวแฟแร็นตส์ ปุชกาชแกลเมอร์ (นิตยสาร)แก็ชแกเมตแม่น้ำดานูบแอร์แดบีลแอร์เฌแบ็ต บาโตรีแอนดรูว์ โกรฟแอ็ตแชร์แฮร์มัน โอแบร์ธแฮร์รี ฮูดินีแฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลกแฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลกแดแบร็ตแซ็นแคช แค็บแคว้นซาคาร์ปัตเตียแซแก็ดแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)โบริส ไทกอสสกีโฟรินต์ฮังการีโยฮันน์ เซบาสเตียน บาคโยโย่โยเซฟ ไฮเดินโรเบิร์ต เอิร์นชอว์โลกันตนรกโอลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 40โอซีเยกโอปอลโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016โฮดแมเซอวาชาร์แฮย์โจเซฟ พูลิตเซอร์โจเซฟ แมกซิมิเลียน เพทช์วอลโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1953โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1971โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1997โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2010โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2012โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2015โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2016โซมบ็อตแฮย์โซเฟีย ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงินโปรเตสแตนต์โปเกมอน โกไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ไอเซนชตัดท์ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์เบ-ลอ บอร์โตกเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)เบอร์ลินเบเลเนเพนท์เฮาส์ (นิตยสาร)เกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์กเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซีเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเยอร์เรลเจตเรนอินบลัดเวลายุโรปกลางเวลาออมแสงยุโรปกลางเวลิบเวป (เทศมณฑลว็อช)เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทเอมิล เคร็บส์เอรากอน กำเนิดนักรบมังกรกู้แผ่นดินเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์เฮติ วิลากอสดาช้ากเจมี ลี เคอร์ติสเจนสัน บัตทันเจ้าชายคริสเตียนแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017เทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรปเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเทศมณฑลบาช-กิชกุนเทศมณฑลอารัดเทศมณฑลแฮแว็ชเทศมณฑลโชงกราดเทศมณฑลโกมาโรม-แอ็สแตร์โกมเทศมณฑลเบเกชเทศมณฑลเยอร์-โมโชน-โชโปรนเขตเวลาเดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์เดนนิส กาบอร์เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศเคเมโรโวเตะแหลกแล้วแหกค่ายเซาเปาลูเซแก็ชแฟเฮร์วาร์เปแตร์ กูลาชีเนินปราสาทHomo erectusISO 4217Mega Clever ฉลาดสุดสุดUTC+01:00UTC+02:00.hu1 E+10 m²13 กุมภาพันธ์14 เมษายน23 ตุลาคม27 กันยายน30 สิงหาคม30 เมษายน4 พฤศจิกายน4 มิถุนายน434 ฮังกาเรีย8 กรกฎาคม ขยายดัชนี (496 มากกว่า) »

บราติสลาวา

ราติสลาวา (Bratislava) คือเมืองหลวงของประเทศสโลวาเกีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ มีประชากรประมาณ 427,000 คน บราติสลาวาตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสโลวาเกียบน 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบ มีอาณาเขตติดกับประเทศออสเตรียและประเทศฮังการี จึงเป็นเมืองหลวงแห่งเดียวในโลกที่มีอาณาเขตติดต่อกับ 2 ประเทศ เมืองนี้และเวียนนายังเป็นเมืองหลวง 2 แห่งที่ตั้งอยู่ใกล้กันมากที่สุดในยุโรป โดยตั้งอยู่ห่างกันไม่ถึง 60 กิโลเมตร บราติสลาวาเป็นศูนย์กลางทางการปกครอง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของสโลวาเกีย เป็นที่ตั้งของทำเนียบประธานาธิบดี รัฐสภา และหน่วยงานภาครัฐต่างๆ และยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์ โรงละคร หอศิลป์ และสถาบันอื่น ๆ ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการศึกษา รวมทั้งสำนักงานใหญ่ของสถาบันทางธุรกิจและการเงินขนาดใหญ่ของสโลวาเกียจำนวนมาก ประวัติศาสตร์ของเมืองนี้ได้รับอิทธิพลจากหลายเผ่าพันธุ์ ได้แก่ ออสเตรีย เช็ก เยอรมัน ฮังการี ยิว และสโลวัก โดยในอดีตเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาเยอรมันว่า Pressburg เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฮังการีภายใต้ Habsburg monarchy ระหว่าง พ.ศ. 2079-2326 และเคยเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์ Slovak National Movement เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาวสโลวัก ฮังกาเรียน และเยอรมันหลายแห่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบราติสลาวา · ดูเพิ่มเติม »

บอนน์

อนน์ (Bonn) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างออกไปประมาณ 25 กิโลเมตร ทางใต้ของโคโลญ บนแม่น้ำไรน์ในรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย บอนน์เคยเป็นเมืองหลวงของอดีตประเทศเยอรมนีตะวันตก ในช่วง ค.ศ. 1949 ถึง ค.ศ. 1990 และเป็นที่ตั้งอย่างเป็นทางการของรัฐบาลจนถึง ค.ศ. 1990 เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1998 องค์กรรัฐบาลแห่งชาติหลายแห่งได้ย้ายจากบอนน์ไปเบอร์ลิน สภาทั้งสองแห่งของรัฐสภาแห่งชาติเยอรมัน คือ บุนเดสทาก (Bundestag - สภาล่าง) และ บุนเดสราท (Bundesrat - สภาสูง) ได้ย้ายไป พร้อมกับสำนักนายกรัฐมนตรี (Chancellery) และบ้านพักประธานาธิบดี อย่างไรก็ตาม บอนน์ยังคงเป็นศูนย์กลางการเมืองและการปกครองแห่งหนึ่งอยู่ ประมาณครึ่งหนึ่งของตำแหน่งงานในรัฐบาลไม่ได้ย้ายไปไหน เนื่องจากหน่วยงานรัฐบาลหลายแห่งยังคงอยู่ที่บอนน์และหน่วยงานระดับเล็กกว่ากระทรวงจำนวนมากได้ย้ายมาจากเบอร์ลินและส่วนอื่น ๆ ของเยอรมนีเพื่อเป็นการแสดงความสำคัญ เมืองหลวงเก่าแห่งนี้จึงได้ชื่อว่า นครสหพันธ์ ("Bundesstadt").

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบอนน์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต อึ้งรังษี

ัณฑิต อึ้งรังษี (ชื่อเล่น: ต้น) (เกิด 7 ธันวาคม พ.ศ. 2513) เป็นวาทยกรชาวไทยที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ บัณฑิตเป็นผู้ชนะเลิศ "ร่วม" การแข่งขันมาร์เซล วิล่า (Maazel-Vilar International Conducting Competition) ซึ่งเป็นการแข่งขันอำนวยเพลงรายการใหญ่ ที่คาร์เนกีฮอลล์ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบัณฑิต อึ้งรังษี · ดูเพิ่มเติม »

บาร์บรา สไตรแซนด์

ร์บรา สไตรแซนด์ เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1942 เป็นชาวอเมริกันในวงการฮอลีวูดที่มีการบันทึกอาชีพอย่างเป็นทางการ 4 อาชีพ ได้แก่นักร้อง นักแสดง ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์และผู้กำกับ อีกทั้งมีส่วนร่วมในการประพันธ์เพลง เป็นนักเคลื่อนไหวทางการเมือง เคยได้รับรางวัลออสการ์สาขานักแสดงหญิงยอดเยี่ยม และเพลงยอดเยี่ยม นอกจากนั้นยังได้รับอีกหลายรางวัลจากรางวัลเอมมี รางวัลแกรมมี รางวัลลูกโลกทองคำ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบาร์บรา สไตรแซนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฮังการี

ชาวฮังการี หรือ ม็อดยอร์ (Hungarian people หรือ Magyars, magyarok) คือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับประเทศฮังการี ชนมาจยาร์มีด้วยกันราว 10 ล้านคนในประเทศฮังการี (ค.ศ. 2001).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและชาวฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเซิร์บ

วเซิร์บ (Serbs, Срби) เป็นกลุ่มเชื้อชาติสลาฟใต้ในบอลข่านและตอนใต้ของยุโรปกลาง ชาวเซิร์บส่วนใหญ่มักพบอาศัยอยู่ในเซอร์เบีย มอนเตเนโกร และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเป็นชนกลุ่มน้อยในโครเอเชีย มาซิโดเนีย และสโลวีเนีย เช่นเดียวกัน ชาวเซิร์บยังได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการว่าเป็นชนกลุ่มน้อยในโรมาเนีย ฮังการี เช่นเดียวกับแอลเบเนีย สาธารณรัฐเช็ก และสโลวาเกียhttp://www.blic.rs/Vesti/Politika/175617/Srbi-u-Slovackoj-nacionalna-manjina นอกจากนี้ยังมีชาวเซิร์บพลัดถิ่นกลุ่มใหญ่ในยุโรปตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเยอรมนี สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และออสเตรีย เช่นเดียวกับในฝรั่งเศสและอิตาลี ชาวเซิร์บมากกว่าหนึ่งล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและชาวเซิร์บ · ดูเพิ่มเติม »

บาโธรี (วงดนตรี)

รี (Bathory) เป็นวงแบล็กเมทัลและไวกิงเมทัลจากเมืองวอลลิงบี (Vällingby) ประเทศสวีเดน ก่อตั้งขึ้นในปี 1983 ชื่อของวงได้นำมาจากชื่อของ อลิซาเบธ บาโธรี สตรีชั้นสูงชาวฮังการีผู้ฉาวโฉดแห่งยุคกลาง วงประกอบด้วยสมาชิกหลายคน แต่หลักที่สุดคือ ควอร์ทัน ซึ่งทำหน้าที่ทั้งร้องนำและแต่งเพลงหลัก บาโธรีได้ออกอัลบั้มสตูดิโอ 12 อัลบั้ม และอัลบั้มรวมเพลง 5 อัลบั้ม ใน 4 อัลบั้มแรกของบาโธรี ได้รับการยกย่องจากนักวิจารณ์ว่าเป็น "พิมพ์เขียวแห่งแบล็กเมทัลสายสแกนดิเนเวีย" เนื่องจากเป็นหนึ่งในวงแบล็กเมทัลสายสแกนดิเนเวียแรกๆ แต่ถึงอย่างไรก็ตามวงได้เปลี่ยนแนวเพลงในอัลบั้มที่ 5 "ฮัมเมอร์ฮาร์ท" (Hammerheart) (1990) ซึ่งก็ได้รับการยกย่องให้เป็น "ไวกิงเมทัลอัลบั้มแรก" อีกด้วย โดยได้เปลี่ยนแนวที่หลีกห่างจากลัทธิซาตาน แต่ยังคงต่อต้านศาสนาคริสต์อยู่ มีการลดเสียงแหบแห้งตามแบบฉบับเดิมของแบล็กเมทัลออกไป แล้วนำเสนอเสียงที่ปกติขึ้นร่วมถึงท่อนการโห่ร้องที่แทรกเข้ามา ลดจังหวะริฟฟ์กีตาร์ให้น้อยลง ใช้คีย์บอร์ดประกอบเสียงเอฟเฟกต์ แต่เน้นเสียงจังหวะเข้มขรึมและหนักแน่น วงยังคงเล่นเพลงแนวนี้ต่อไประหว่างยุค 90 จนถึงช่วงต้นยุค 2000 ในช่วงท้ายๆบาโธรี ได้กลับมาเล่นแนวแทรชเมทัล ในอัลบั้ม รีควีม (Requiem) (1994) และ ออกตากอน (Octagon) (1995) วงได้แตกเมื่อควอร์ทันเสียชีวิตจากโรคหัวใจวาย ในปี 2004.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบาโธรี (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บูดอ

ปราสาทบูดอ บูดอ (Buda) หรือ โอเฟิน (Ofen) เป็นพื้นที่ด้านตะวันตกของกรุงบูดาเปสต์ (บูดอเปชต์) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศฮังการี ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำดานูบ ชื่อเมืองตั้งตามเบลดาประมุขชาวฮั่นที่มีเป็นภาษาฮังการีว่า "บูดอ" โรมันตั้งชื่อเมืองนี้ว่า "อากวินกุม" (Aquincum) บูดอมีเนื้อที่หนึ่งในสามของบูดาเปสต์ที่เป็นบริเวณที่เป็นป่าโปร่งและเนิน และมักจะเป็นบริเวณที่มีความเป็นอยู่ดีกว่าทางฝั่งตะวันออกแต่ก็ขึ้นอยู่กับบริเวณ สิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดที่เห็นได้เด่นชัดคือปราสาทบูดอบนเนินซิทาเดลลา (Citadella).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบูดอ · ดูเพิ่มเติม »

บูดาเปสต์

กรุงบูดาเปสต์มองจากมุมสูงทางทิศเหนือ "แป็ชต์" อยู่ทางฝั่งซ้ายและ "บูดอ" อยู่ทางฝั่งขวา; เกาะมาร์กาเรตอยู่ทางด้านหน้าของรูป ส่วนเกาะเซเปลอยู่ไกลออกไปทางด้านหลัง บูดาเปสต์ (Budapest; Budapest) เป็นเมืองหลวงของประเทศฮังการี และเป็นศูนย์กลางการปกครอง อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และการคมนาคมขนส่งของประเทศ มีประชากรมากกว่า 1.7 ล้านคน มีจำนวนลดลงจากกลางทศวรรษ 1980 ซึ่งมีประชากรถึง 2.07 ล้านคน บูดาเปสต์กลายเป็นเมืองเดี่ยวที่มีอาณาเขตครอบคลุมทั้ง 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบหลังจากการรวมกันในพ.ศ. 2416 (ค.ศ. 1873) ของเมืองทางฝั่งขวา ได้แก่ เมืองบูดอ (Buda) และโอบูดอ (Óbuda) เข้ากับเมืองแป็ชต์ (Pest) ทางฝั่งซ้าย (ฝั่งตะวันออก) ปัจจุบันบูดาเปสต์เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 6 ของสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบูดาเปสต์ · ดูเพิ่มเติม »

บูดาเปสต์แอร์คราฟต์เซอร์วิส

ูดาเปสต์แอร์คราฟต์เซอร์วิส (Budapest Aircraft Service Kft. หรือ BASe Kft) เป็นสายการบินประจำกรุงบูดาเปสต์ของฮังการี มีฐานการบินหลักที่ Budapest Ferihegy International Airport.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและบูดาเปสต์แอร์คราฟต์เซอร์วิส · ดูเพิ่มเติม »

ช็อลโกตอร์ยาน

นใจกลางเมือง ศูนย์การประชุมในตัวเมือง ช็อลโกตอร์ยาน เป็นเมืองศูนย์กลางประจำเทศมณฑลโนกราด ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฮังการี ตัวเมืองอยู่บริเวณเชิงภูเขาคารันคส์ในเนินเขาเซอรัต สูงจากระดับน้ำทะเล 250 เมตร อยู่ห่างจากบูดาเปสต์ 120 กิโลเมตร และอยู่ห่างจาก Miskolc 70 กิโลเมตร ตัวเมืองล้อมรอบด้วยป่าและซากปราสาทโบราณ ซึ่งสามารถเดินทางไปท่องเที่ยวได้โดยรถโดยสารประจำทางจากตัวเมือง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและช็อลโกตอร์ยาน · ดูเพิ่มเติม »

ชเตฟันสโดม

การขยายอาสนวิหารนักบุญสเทเฟน: The '''หอโรมันและประตูยักษ์''' จากซากไหม้ของโบสถ์แรกใช้เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์'''โบสถ์ที่สอง''' สร้างแทนโบสถ์เดิม สี่สิบปีต่อมา ก็เริ่มก่อสร้าง '''Albertine Choir''' แบบกอธิค; ห้าสิบห้าปีหลังจากนั้นก็สร้าง '''ส่วนต่อเติมดยุกรูดอล์ฟที่ 4''' รอบบริเวณ '''โบสถ์ที่สอง''' ที่ต่อมาถูกรื้อทิ้ง เหลือโบสถ์ที่สามให้เป็นสิ่งก่อสร้างที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน อาสนวิหารนักบุญสเทเฟน หรือ ชเตฟันสโดม (Stephansdom, St.) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในอัครมุขมณฑลเวียนนา และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งเวียนนา ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ และ กอทิก ริเริ่มโดยรูดอล์ฟที่ 4 ดยุกแห่งออสเตรีย โบสถ์ปัจจุบันตั้งอยู่บนซากโบสถ์เดิมที่สร้างก่อนหน้านั้นสองโบสถ์ โบสถ์แรกเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชที่ได้รับการเสกในปี ค.ศ. 1147 อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนเป็นสิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเวียนนาที่เห็นได้อย่างเด่นชัดจากหลังคากระเบื้องหลากสี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและชเตฟันสโดม · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ชูแบร์ท

ฟรันซ์ ชูแบร์ท ฟรันซ์ เพเทอร์ ชูแบร์ท (Franz Peter Schubert) (31 มกราคม พ.ศ. 2340 — 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2371) คีตกวีชาวออสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟรันซ์ ชูแบร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ลิซท์

ฟรันซ์ ลิซท์ (Franz Liszt) หรือ แฟแร็นตส์ ลิสต์ (Liszt Ferenc) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวฮังกาเรียน เกิดที่เมืองไรดิง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟรันซ์ ลิซท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟัวกรา

ฟัวกรา เสิร์ฟแบบปิกนิกพร้อมขนมปัง ฟัวกรา เทียบกับตับห่านปกติ ฟัวกรา (foie gras; แปลว่า "ตับอ้วน") คือตับห่านหรือเป็ดที่ขุนให้อ้วนเป็นพิเศษ ฟัวกราได้ชื่อว่าเป็นอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุดเช่นเดียวกับทรัฟเฟิล มีลักษณะนุ่มมันและมีรสชาติที่แตกต่างจากตับของเป็ดหรือห่านธรรมดา ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟัวกรา · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 (2004 UEFA European Football Championship) หรือ ยูโร 2004 (Euro 2004) เป็นการแข่งขันฟุตบอลยูโร ครั้งที่ 12 จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 (2012 UEFA European Football Championship) หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า ยูโร 2012 (EURO 2012) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 14 จัดโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) โดยการแข่งขันรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ประเทศโปแลนด์และยูเครน ระหว่างวันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน ถึงวันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) เจ้าภาพทั้งสองประเทศผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการคัดเลือกของยูฟ่าเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ที่เมืองคาร์ดิฟฟ์ของเวลส์ โดยมีโครเอเชียกับฮังการี และอิตาลีเป็นผู้เข้าร่วมประมูลเป็นประเทศเจ้าภาพ นับเป็นเจ้าภาพร่วมครั้งที่ 3 ของฟุตบอลยูโร โดยก่อนหน้านี้ คือเบลเยียมกับเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และออสเตรียกับสวิตเซอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) โดยในรอบคัดเลือก มีทีมชาติเข้าร่วมแข่งขัน 51 ประเทศ ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) อนึ่ง ปีนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่มีทีมชาติเข้าแข่งขันในรอบสุดท้ายจำนวน 16 ประเท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติกรีซ

ฟุตบอลทีมชาติกรีซ เป็นทีมฟุตบอลจากประเทศกรีซ ได้มีผลงานชนะเลิศในฟุตบอลยูโร 2004 ที่โปรตุเกสเป็นเจ้าภาพด้วยการล้มเจ้าภาพโปรตุเกสทั้งนัดเปิดสนามสกอร์ 1-2 และนัดชิงชนะเลิศสกอร์ 0-1 เป็นแชมป์รายการนี้อย่างยิ่งใหญ่เพราะก่อนเริ่มการแข่งขันทีมชาติกรีซถูกปรามาสว่าเป็นเต็งบ๊วยที่จะคว้าแชมป์หรือเต็งหนึ่งที่จะตกรอบเป็นทีมแรก โดยมีเทรนเนอร์คือ "คิง"ออตโต้ เรย์ฮาเก้ล ชาวเยอรมัน เป็นคนทำทีม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์

ฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ (Swiss national football team) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสวิตเซอร์แลนด์ ผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลโลก คือสามารถเข้ารอบ 8 ทีมสุดท้าย 3 ครั้ง คือในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี

ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี (Nazionale italiana di calcio) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศอิตาลี อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิตาลี ทีมอิตาลีชนะการแข่งขันฟุตบอลโลก ทั้งหมด 4 ครั้ง ใน1934 1938 1982 และครั้งล่าสุด 2006 และชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป หนึ่งครั้งในปี 1968 และยังได้เหรียญทองฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก ในปี 1936 สีประจำทีมอิตาลีคือสีฟ้าอ่อน (และเป็นสีที่ใช้ประจำทีมชาติในหลายกีฬายกเว้นการแข่งขันรถ) ซึ่งในภาษาอิตาลีคือ อัซซูโร (azzurro) และเป็นสีประจำราชวงศ์ในอิตาลีในอดีต และเป็นที่มาของชื่อเล่นของทีมว่า "อัซซูร์รี" (Azzurri).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติฮังการี

ฟุตบอลทีมชาติฮังการี (ฮังการี: Magyar labdarúgó-válogatott) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนทีมชาติจากประเทศฮังการี ประเทศในแถบยุโรปกลาง ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติตูนิเซีย

ฟุตบอลทีมชาติตูนิเซีย (منتخب تونس لكرة القدم) ฉายา อินทรีแห่งคาร์เธจ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศตูนิเซีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลตูนิเซีย (FTF) ซึ่งก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติแอลเบเนีย

ฟุตบอลทีมชาติแอลเบเนีย (Kombëtarja shqiptare e futbollit) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศแอลเบเนีย ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลแห่งแอลเบเนีย ยังไม่เคยปรากฏประวัติใด ๆ ในการลงแข่งขันระดับโลกเลย นอกจากฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติโปแลนด์

ฟุตบอลทีมชาติโปแลนด์ (Poland national football team; Reprezentacja Polski w piłce nożnej) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศโปแลนด์ ภายใต้การดูและของสมาคมฟุตบอลโปแลนด์ ผู้ดูแลกิจการฟุตบอลของโปแลนด์ มีสนามกีฬาเหย้าคือสนามกีฬาแห่งชาติวอร์ซอ หัวหน้าโค้ชคนปัจจุบันคือ ฟรานซิสเซ็ค สมู.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากเชโกสโลวาเกียในช่วงปี พ.ศ. 2465-พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1922-1993) ภายหลังประเทศนี้ได้แยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก ทีมชาติจึงได้ถูกแบ่งออกเป็นทีมชาติเช็กเกียและทีมชาติสโลวาเกีย ปัจจุบันทีมชาติเช็กเกียถือเป็นผู้สืบทอดทีมชาติเชโกสโลวาเกียแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้การรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า ทีมชาติเชโกสโลวาเกียนี้ได้อันดับรองชนะเลิศในฟุตบอลโลก 2 ครั้งใน ฟุตบอลโลก 1934 และฟุตบอลโลก 1962 ชนะเลิศฟุตบอลยูโร ในฟุตบอลยูโร 1976 และยังคงได้เหรียญทองฟุตบอลโอลิมปิก 1980 ที่มอสโก และเหรียญเงินโอลิมปิก 1964 ที่ โตเกียว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกหญิง 2007

ฟุตบอลโลกหญิง 2007 หรือ "ไชน่า 2007" เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง ครั้งที่ 5 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 10-30 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตบอลโลกหญิง 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป

ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป (UEFA Futsal Championship) หรือ ยูฟ่า ฟุตซอลแชมป์เปี้ยนชิพเป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรปประเภททีมชาติ โดยแข่งกัน 12 ทีมชาติ 4 กลุ่ม และเป็นการแข่งแพ้คัดออก การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นที่ประเทศสเปนในปี 1996 ซึ่งในขณะนั้นมีทีมเข้าแข่งขันเพีบง 6ทีม และเพิ่มมาเป็น 8ทีมในปี1999 และเพิ่มเป็น 12ทีมในปี2010และมีการคาดการณ์ว่าหลังจากการแข่งขันในปี 2018 จะเพิ่มเป็น16 ทีมและจะเปลี่ยนเป็นการจัด4ปีครั้งซึ่งจะเริ่มครั้งแรกในปี 2022 เนื่องจากในปี 2020จะไม่มีการแข่งขันเพราะมีการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2020.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติสหรัฐ

ฟุตซอลทีมชาติสหรัฐ (United States national futsal team)เป็นทีมฟุตซอลซึ่งเป็นตัวแทนของสหรัฐอเมริกาในการแข่งขันระดับนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาเหนือ และอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตซอลทีมชาติสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติฮังการี

ฟุตซอลแห่งชาติฮังการี (Hungary national futsal team) เป็นตัวแทนของประเทศฮังการีในการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตซอลทีมชาติฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติเบลเยียม

ฟุตซอลแห่งชาติเบลเยียม (Belgium national futsal team)เป็นตัวแทนของทีมชาติเบลเยียม ในการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเช่นฟุตซอลชิงแชมป์โลกและฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเบลเยี่ยมมีผลงานคือเข้ารอบฟุตซอลชิงแชมป์โลกทั้งหมด3ครั้งอันดับที่ดีที่สุดคืออันดับ4ในปี1989 และเคยเข้าร่วมฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป5ครั้งอันดับที่ดีที่สุดคืออันดับ 3 ในปี 1996.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตซอลทีมชาติเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติเช็กเกีย

ฟุตซอลทีมชาติเช็กเกีย (Czech Republic national futsal team) เป็นตัวแทนของประเทศเช็กเกียในการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลแห่งสาธารณรัฐเช็ก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฟุตซอลทีมชาติเช็กเกีย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2103

ทธศักราช 2103 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2103 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2157

ทธศักราช 2157 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2157 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย ทองบุราณ

รือเอก พรชัย ทองบุราณ (ชื่อเล่น: หมี, อู๊ด; เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 ที่อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี เป็นอดีตนักมวยสากลสมัครเล่นเหรียญทองแดงทีมชาติไทย ในการชกโอลิมปิก 2000 ที่เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพรชัย ทองบุราณ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์

รรคคอมมิวนิสต์ (Communist party) หมายถึง พรรคที่รณรงค์การนำหลักการทางสังคมของลัทธิคอมมิวนิสต์ไปใช้ ไปจนถึงการนำรูปแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ไปใช้ ชื่อ คอมมิวนิสต์ นั้น มีที่มาจาก คำประกาศพรรคคอมมิวนิสต์ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแอร์โรว์ครอสส์

รรคแอร์โรว์ครอสส์ – ขบวนการนิยมฮังการี (Nyilaskeresztes Párt – Hungarista Mozgalom) เป็นพรรคการเมืองนิยมแนวชาติสังคมนิยมของฮังการี ก่อตั้งโดยแฟแร็นตส์ ซาลอชี ต่อมาได้ขึ้นอำนาจในฐานะรัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการีระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม 1944 ถึงวันที่ 28 มีนาคม 1945 พรรคแอร์โรว์ครอสส์กำจัตศัตรูทางการเมืองรวมทั้งเนรเทศประชาชนประมาณ 15,000 คน (ส่วนใหญ่เป็นชาวยิวและโรมา) ออกจากฮังการีและส่งเข้าค่ายกักกันในออสเตรีย หลังสงครามจบลง ซาลอชีและผู้นำพรรคคนอื่น ๆ ถูกศาลฮังการีตัตสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพรรคแอร์โรว์ครอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

ลเอก พระยาเทพหัสดิน (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) หัวหน้าคณะทูตทหารไทยที่เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 นักโทษประหาร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พลเอกพระยาเทพหัสดินฯ ได้รับพระราชทานยศ บรรดาศักดิ์ และราชทินนามเต็มว่า พลเอก พระยาเทพหัสดิน สยามพิชิตินทร์สวามิภักดิ์ อุดมศักดิ์เสนีย์พิริยะพาหะ เป็นบุตรชายคนโตในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 8 คน ของพันเอก หลวงฤทธิ์นายเวร (พุด เทพหัสดิน ณ อยุธยา พี่ชายต่างมารดาของ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)) ซึ่งเป็นมหาดเล็กข้าหลวงเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เกิดเมื่อวันขึ้น 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 ณ บ้านสำเพ็ง หน้าวัดจักรวรรดิราชาวาส จังหวัดพระนคร พระยาเทพหัสดิน มีศักดิ์เป็นหลานอาของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี แต่มีอายุไล่เลี่ยกัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี

ระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี (Louis II of Hungary; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1506 – 29 สิงหาคม ค.ศ. 1526) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮังการีผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1516 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1526Louis II.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลเบรชท์ที่ 2 แห่งเยอรมนี

ระเจ้าอัลแบรชท์ที่ 2 แห่งฮับส์บูร์ก''' ดยุกอัลแบรชท์ที่ 5 แห่งออสเตรีย (Albrecht V von Habsburg Albert V, Duke of Austria. -10 สิงหาคม พ.ศ. 1940 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 1982) กษัตริย์แห่งโรมัน (ผู้ครองเยอรมนีภายใต้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์) จากปี พ.ศ. 1981 จนสิ้นพระชนม์ในปีถัดมา ทรงเป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมีย ฮังการี และเยอรมนี (ในพระนามอัลแบรชท์ที่ 2).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพระเจ้าอัลเบรชท์ที่ 2 แห่งเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคนุตมหาราช

ระเจ้าคนุตมหาราช (Canute the Great หรือ Cnut the Great; นอร์สโบราณ: Knútr inn ríki; Knut den mektige; Knut den Store; Knud den Store) หรือ คานุต กษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ปี..1016 เดนมาร์ตั้งแต่ปี..1018 และสวีเดนตั้งแต่ปี..1028 พระองค์เริ่มต้นชีวิตวัยหนุ่มด้วยการเป็นนักรบไวกิ้งและกลายเป็นผู้ปกครองของจักรวรรดิที่ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดประกอบด้วยอังกฤษ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และส่วนหนึ่งของสวีเดน คานุตรุกรานอังกฤษในปี..1013 ร่วมกับพระราชบิดา สเวน กษัตริย์แห่งเดนมาร์ก หลังการสวรรคตของสเวนในปี..1014 พระองค์ได้รับการยกย่องเป็นกษัตริย์โดยกองกำลังไวกิ้ง คานุตปราบเอ็ดมุนด์ที่ 2 จอมพลังที่อาสซานดุน เอสเซ็กซ์ ในปี..1016 พระองค์กับเอ็ดมุนด์จอมพลังแยกอังกฤษออกจากกัน คานุตได้ปกครองเมอร์เซียและนอร์ธัมเบรียจนกระทั่งพระองค์ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ของอังกฤษทั้งหมดหลังการสวรรคตของเอ็ดมุนด์ พระองค์สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์แห่งเดนมาร์กต่อจากพระเชษฐา ฮารัลด์ ในปี..1018 ทรงบังคับให้พระเจ้าแมลคอล์มถวายความจงรักภักดีด้วยการรุกรานสก็อตแลนด์ในช่วงราวปี..1027 และพิชิตนอร์เวย์ในปี..1028 พระองค์ได้รับการสืบสันตติวงศ์โดยพระโอรสนอกกฎหมาย แฮโรลด์ที่ 1 ภายใต้การปกครองของคานุต การค้าของอังกฤษเจริญรุ่งเรืองขึ้น และพระองค์ได้รับความนิยมจากไพร่ฟ้าชาวอังกฤษจากการส่งทหารกลับเดนมาร์ก ทว่าจักรวรรดิทะเลเหนือที่ประกอบด้วยเดนมาร์ก อังกฤษ และนอร์เวย์ล่มสลายหลังการสวรรคตของพระองค์ ทรงถูกฝังที่วินเชสเตอร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพระเจ้าคนุตมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2404 — 10 กันยายน พ.ศ. 2491; พระนามเมื่อประสูติ: เจ้าชายเฟอร์ดินานด์ แม็กซิมิลเลียน คาร์ล ลีโอโปลด์ มาเรียแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา-โคฮารี) ทรงเป็นองค์อธิปัตย์แห่งบัลแกเรีย และหลังจากนั้นทรงดำรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรีย ทรงเป็นทั้งนักประพันธ์,นักพฤกษาศาสตร์,นักกีฏวิทยาและเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแสตมป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พอล แอร์ดิช

อล แอร์ดิช (Paul Erdős บางครั้งสะกด Erdos หรือ Erdös; Erdős Pál; 26 มี.ค. พ.ศ. 2456 - 20 ก.ย. พ.ศ. 2539) เป็นนักคณิตศาสตร์ผู้โดดเด่น ทั้งในด้านผลงาน และพฤติกรรมอันแปลกประหลาด ผลงานตีพิมพ์ของเขามีจำนวนมหาศาล มีผู้ร่วมตีพิมพ์รวมแล้วนับร้อยคน และเกี่ยวพันกับหลาย ๆ สาขาในคณิตศาสตร์ อาทิ คณิตศาสตร์เชิงการจัด ทฤษฎีกราฟ ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์แบบคลาสสิก ทฤษฎีการประมาณ ทฤษฎีเซต และ ทฤษฎีความน่าจะเป็น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพอล แอร์ดิช · ดูเพิ่มเติม »

พันโนเนีย

ักรวรรดิโรมันในสมัยของจักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงจังหวัดโรมันทางตอนกลางของแม่น้ำดานูบ: "อัปเปอร์พันโนเนีย" (ออสเตรียตะวันออก/สโลวีเนีย) และ "โลว์เออร์พันโนเนีย" (ฮังการีตะวันตก) และกองทหารโรมันสองกองที่ถูกส่งไปยังทั้งสองบริเวณนั้นในปี ค.ศ. 125 300px พันโนเนีย (Pannonia) เป็นจังหวัดโบราณแห่งหนึ่งของจักรวรรดิโรมันที่ทางตอนเหนือและตะวันออกมีแม่น้ำดานูบเป็นเขตแดน ติดต่อไปทางตะวันตกจนถึงนอริคัมและอิตาลีตอนเหนือ ทางด้านใต้เป็นดัลเมเชียและมีเชียตอนเหนือ พันโนเนียตั้งอยู่ในบริเวณที่ในปัจจุบันคือทางครึ่งตะวันตกของฮังการีและบางส่วนของออสเตรีย โครเอเชีย เซอร์เบีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ปัจจุบันคำว่า "พันโนเนีย" มักจะใช้กับบริเวณที่เรียกว่าทรานส์ดานูเบียในฮังการี หรือที่ง่าย ๆ คือฮังการีทั้งประเท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพันโนเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พาลาทชินเกน

ลาทชินเกน (Palatschinke;พหูพจน์:Palatschinken) เป็นชื่อที่ชาวออสเตรียและบาวาเรียนเยอรมันเรียกกัน เป็นแป้งที่คล้ายๆ กับแพนเค้กแต่บางเหมือนเครปและสามารถหารับประทานทั่วไปในยุโรปกลาง เปรียบเทียบกับเครปของฝรั่งเศส แพนเค้กในยุโรปกลางจะมีลักษณะที่บาง ต่างจากแพนเค้กที่อเมริกาที่มีหนามาก พาลาทชินเกนสอดไส้ด้วยไส้ชนิดต่างๆ และสามารถรับประทานอาหารตอนกลางวันหรืออาหารเย็นได้ พาลาทชินเกนตามธรรมเนียมแล้วมักจะทาด้วย แยมแอพริคอต หรือสตรอเบอร์รี่ แล้วทำเป็นโรลและโรยด้วย ลูกกวาด ซอสผลไม้อื่นๆ เช่น แอปเปิ้ลซอส หรือแยมที่มีเนื้อหนาเรียกว่า เลควาร์ (พลัม พรุน ราสเบอร์รี่ เชอร์รี่ แยม) น้ำมะนาวและน้ำตาล ช็อคโกแลตซอส เฮเซลนัท-ช็อคโกแลตครีม อัลมอนด์ ผลไม้สดแห้ง ชีส ลูกเกต ผงโกโก้ เมล็ดงาดำ หรือทอปปิ้งอื่นๆ ก็สามารถนำมาใช้ได้ พาลาคซินตา ราคอตต์ เป็นแพนเค้กที่มีหลายๆ ชั้นและในแต่ละชั้นจะมีสวีทคอทเทจ ชีส ลูกเกต แยม และวอลนัท แล้วหลังจากนั้นนำไปอบในเตาอบ พาลาทชินเกนที่มีชื่อเสียงในฮังการีมีชื่อว่า กุนเดล แพนเค้ก (Gundel palacsinta) ที่ทำจากวอลนัทบด ลูกเกด เปลือกส้มเชื่อม อบเชยและรัม เสริฟคู่กับซอสช็อคโกแลตดำทำจากไข่แดง ครีมและโกโก้ พาลาชินเกนสามารถรับประทานแบบเค็ม ซึ่งจะสอดไส้ด้วยชีส เนื้อ เห็ด หรือ ผักต้ม แล้วราดด้วยซาวด์ครีม หรือนำมาหั่นเป็นชิ้นๆแล้วนำมาต้มในน้ำซุปเรียกว่า แฟลเดิล ในเยอรมัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพาลาทชินเกน · ดูเพิ่มเติม »

พูลชิเนลลา

thumb พูลชิเนลลา (Pulcinella; Polichinelle; Punchinello หรือ Punch) เป็นตัวละครตลกจากเรื่องชวนหัว Commedia dell'arte ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีลักษณะเด่นคือจมูกแหลมยาวเหมือนจะงอยปากนก ชื่อ พูลชิเนลลา มาจากลักษณะเด่นที่จมูกเหมือนจะงอยปาก ภาษาละตินเรียกว่า pullus gallinaceus ซึ่งแผลงเป็น "Pulliciniello" และ "Pulcinella" นอกจากนี้ยังมาจากศัพท์ภาษาอิตาลี pulcino แปลว่า ไก่ บางก็ว่าแผลงมาจากชื่อ Puccio d'Aniello เป็นชาวเมืองอะเซอรา (Acerra) ในแคว้นกัมปาเนีย ที่ปรากฏอยู่ในภาพเขียนของอันนิบาเล คารัคชี ตัวตลกพูลชิเนลลามักสวมเครื่องแต่งกายสีขาว และสวมหน้ากากสีดำ ตัวละครลักษณะคล้ายกันนี้มีชื่อเรียกต่างๆ กันในภาษาอื่นๆ เช่น Kasper ในเยอรมนี, Jan Klaassen ในเนเธอร์แลนด์, Mester Jakel ในเดนมาร์ก, Vasilache ในโรมาเนีย, Vitéz László ในฮังการี ตัวละครนี้ปรากฏในบทละครชวนหัวเป็นจำนวนมาก และถูกแปลงเป็นหุ่นกระบอก ในอังกฤษมีชื่อว่า มิสเตอร์พันช์ ในเรื่อง Punch and Judy และเป็นตัวเอกในบัลเลต์สองเรื่องของอิกอร์ สตราวินสกี คือเรื่อง พูลชิเนลลา และ เปทรูชก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและพูลชิเนลลา · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลาส-ยัน ฮึนเตอลาร์

ีร์ก กลาส ยัน "กลาส-ยัน" ฮึนเตอลาร์ (Dirk Klaas Jan "Klaas-Jan" Huntelaar,; 12 สิงหาคม ค.ศ. 1983 —) มีชื่อเล่นคือ เดอะฮันเตอร์ (The Hunter) เป็นนักฟุตบอลชาวดัตช์ ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งกองหน้าให้กับชาลเก 04 และฟุตบอลทีมชาติเนเธอร์แลนด์ ฮึนเตอลาร์เป็นกองหน้าที่ถือว่าเก่งและมีการจบสกอร์ได้เฉียบคม ด้วยเทคนิคอันยอดเยี่ยมและมีทักษะที่ดี และรูปแบบการเล่นของเขามีความคล้ายคลึงกับมาร์โก ฟัน บัสเติน และรืด ฟัน นิสเติลโรย ลูวี ฟัน คาล (Louis van Gaal) ผู้จัดการทีมชาวดัตช์ในปัจจุบันและอดีตผู้จัดการทีมบาร์เซโลนาและบาเยิร์นมิวนิกได้ออกมาพูดถึงแนวการเล่นของเขาว่า "ตราบใดเมื่ออยู่ในพื้นที่เขตโทษ เขาจะเป็นนักเตะที่เก่งสุดในโลก ไม่มีผู้ใดมาจัดการเขาได้" เขาได้รับรางวัลนักฟุตบอลชาวดัตช์ยอดเยี่ยมประจำปีและ "ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำปี" ของอายักซ์ในปี ค.ศ. 2006 ฮึนเตอลาร์เป็นหนึ่งในผู้เล่นชาวดัตช์ที่ได้รับรางวัลฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ยู-21 ปี 2006 ซึ่งเขาก็ได้ทำไปสองประตูในการแข่งขัน เขาเป็นหนึ่งในผู้เล่นชาวดัตช์ที่ติดชื่อในทีมยูฟ่าประจำทัวร์นาเมนต์ เขาเป็นผู้เล่นที่ทำประตูสูงสุดในทีมชาติเนเธอร์แลนด์ชุดยู-21 ยิงไป 18 ประตู จาก 22 นัดในการแข่งขันภายในประเทศ เขาได้เป็นดาวซัลโวสูงสุดในลีกเอเรอดีวีซีในฤดูกาล 2005-06 และ 2007-08 ซึ่งเขาเล่นให้กับเปเอสเฟ, เดอคราฟสคัป, อาเคโอเฟเฟ อาเปิลโดร์น, เฮเรินเฟน, อายักซ์, เรอัลมาดริด และเอซีมิลาน ก่อนที่จะมาทำสัญญากับชาลเกในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกลาส-ยัน ฮึนเตอลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก

กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก (Finno-Ugric languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษายูราลิก ประกอบด้วยภาษาเอสโทเนีย ภาษาฟินน์ ภาษาฮังการีและภาษาที่เกี่ยวข้อง แบ่งเป็นกลุ่มย่อยคือกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกและกลุ่มภาษายูกริก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกลุ่มภาษาเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1)

กองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส "ฮันด์ซาร์"(โครเอเชียนที่ 1) เป็นกองพลทหารภูเขาแห่งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส,เป็นสาขาหนึ่งของกองกำลังติดอาวุธของพรรคนาซีเยอรมันที่ได้ทำหน้าที่ควบคู่ แต่ไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์อย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1) · ดูเพิ่มเติม »

กองพลแพนเซอร์เกรนาดีร์อาสาสมัครแห่งเอ็สเอ็สที่ 18 ฮอสท์ เวสเซิล

กองพลทหารอาสาสมัครแพนเซอร์เกรนาดีร์แห่งเอ็สเอ็สที่ 18 "ฮอสท์เวสเซิล"ถูกก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกองพลแพนเซอร์เกรนาดีร์อาสาสมัครแห่งเอ็สเอ็สที่ 18 ฮอสท์ เวสเซิล · ดูเพิ่มเติม »

กาบรีลา ฟอน ฮับส์บวร์ค

กาบรีลา ฟอน ฮับส์บูร์ก อาร์คดัชเชสกาเบรียลล่าแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: กาเบรียลล่า มาเรีย ชาร์ลอต เฟลิซิตัส เอลิซาเบธ แอนโตเนีย; Gabriela Maria Charlotte Felicitas Elisabeth Antonia von Habsburg-Lothringen) ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 4 ในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน ประสูติเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ณ กรุงลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก พระองค์ทรงเป็นช่างแกะสลักชื่อดัง โดยมีพระนามในวงการแกะสลักว่า กาเบรียลล่า วอน ฮับส์บูร์ก (Gabriela von Habsburg).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกาบรีลา ฟอน ฮับส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย

การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย เกิดขึ้นในช่วงการบุกครองโปแลนด์ของนาซีเยอรมนี โดยสโลวาเกียได้ส่งกองทัพเบอร์โนลัค ซึ่งประกอบด้วยทหาร 50,000 นาย แบ่งออกเป็น 3 กองพลทหารราบ ระหว่างการรบในโปแลนด์ ทหารสโลวัคพบกับการต้านทานและความสูญเสียเพียงเล็กน้อยเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมต่อเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

ลเรือนช่วญี่ปุ่นและกองกำลังสหรัฐในเขตมิซาวะขณะกำลังช่วยกันกู้พาหนะยานยนต์ จากแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 ทำให้ประเทศญี่ปุ่นได้รับข้อความแสดงความเสียใจและได้รับการเสนอความช่วยเหลือจากผู้นำต่างประเทศ ตามที่กระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมต่อเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ

สมมติฐานว่า "หงส์ทั้งหมดมีสีขาว" จะพิสูจน์ว่าจริงได้อย่างไร? พิสูจน์ว่าเท็จได้หรือไม่? การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ หรือ การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จได้ (falsifiability, refutability) ของประพจน์ (บทความ, ข้อเสนอ) ของสมมติฐาน หรือของทฤษฎี ก็คือความเป็นไปได้โดยธรรมชาติที่จะพิสูจน์ว่ามันเป็นเท็จได้ ประพจน์เรียกว่า "พิสูจน์ว่าเป็นเท็จได้" ถ้าเป็นไปได้ที่จะทำการสังเกตการณ์หรือให้เหตุผลที่คัดค้านลบล้างประพจน์นั้นได้ ยกตัวอย่างเช่น เพราะปัญหาของการอุปนัย (วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม) ไม่ว่าจะมีจำนวนการสังเกตการณ์เท่าไร ก็จะไม่สามารถพิสูจน์การกล่าวโดยทั่วไปได้ว่า "หงส์ทั้งหมดมีสีขาว" แต่ว่า มันเป็นไปได้โดยตรรกะหรือโดยเหตุผลที่จะพิสูจน์ว่าเท็จ เพียงโดยสังเกตเห็นหงส์ดำตัวเดียว ดังนั้น คำว่า "พิสูจน์ว่าเท็จได้" บางที่ใช้เป็นไวพจน์ของคำว่า "ตรวจสอบได้" (testability) แต่ว่าก็มีบางประพจน์ เช่น "ฝนมันจะตกที่นี่อีกล้านปี" ที่พิสูจน์ว่าเท็จได้โดยหลัก แต่ว่าทำไม่ได้โดยปฏิบัติ เรื่องการพิสูจน์ว่าเท็จได้กลายเป็นจุดสนใจเพราะคตินิยมทางญาณวิทยาที่เรียกว่า "falsificationism" (คตินิยมพิสูจน์ว่าเท็จ) ของนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ-อเมริกัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ · ดูเพิ่มเติม »

การรุกบูดาเปสต์

การรุกบูดาเปสต์ เป็นการรบโดยทั่วไปของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียต เพื่อกวาดล้างกองทัพนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะให้ออกไปจากฮังการี การรุกเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1944 จนกระทั่งกรุงบูดาเปสต์แตกในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945 กองทัพเยอรมันซึ่งได้รับคำสั่งจากฮิตเลอร์ให้เข้ายึดครองฮังการี (ตามแผนปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์และปฏิบัติการมาร์กาเรต) เพื่อหลีกเลี่ยงการละทิ้งที่มั่นจากค่ายของฝ่ายอักษะ และปกป้องปีกใต้ของแนวรบฝ่ายเยอรมนี จนต้องปราชัยให้แก่กองทัพโซเวียตในที.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการรุกบูดาเปสต์ · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย

รถไฟความเร็วสูง เรลเจต การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย (เยอรมนี: Österreichische Bundesbahnen, ÖBB) เป็นองค์กรรถไฟแห่งชาติของประเทศออสเตรีย และยังดูแลในส่วนของรถไฟในประเทศลิกเตนสไตน์อีกด้วย การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย ได้แบ่งการทำงานออกเป็นหลายแผนกด้วยกัน ปัจจุบัน การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย อยู่ในระหว่างการพัฒนาโครงข่ายรถไฟประเทศ เช่น การสร้างสถานีรถไฟกลางในเมืองสำคัญ การสร้างอุโมงค์เพื่อเชื่อมไปยังอิตาลี เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฮังการี

การรถไฟฮังการี (Magyar Államvasutak or MÁV) เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการรถไฟในประเทศฮังการี แบ่งออกเป็นหลายแผนก ได้แก่ "MÁV START Zrt.", "MÁV-Gépészet Zrt.", "MÁV-Trakció Zrt." และ "MÁV Cargo Zrt".

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการรถไฟฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมบูดาเปสต์

ทธการที่บูดาเปสต์ หรือ การล้อมบูดาเปสต์ เป็นการสู้รบตลอด 50 วันของกองทัพโซเวียต ณ กรุงบูดาเปสต์เมืองหลวงของฮังการี ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองจะสิ้นสุดลง โดยเป็นส่วนหนึ่งของการรุกบูดาเปสต์ ยุทธการเริ่มขึ้นเมื่อกรุงบูดาเปสต์ซึ่งถูกปกป้องโดยกองทัพฮังการีและเยอรมนี ถูกโจมตีครั้งแรกโดยกองทัพโซเวียตและกองทัพโรมาเนียในวันที่ 26 ธันวาคม 1944 ในช่วงการรบที่บูดาเปสต์พลเรือน 38,000 คนเสียชีวิตขณะอพยพหรือถูกทหารฆ่า กรุงบูดาเปสต์ยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1945 โดยเป็นการรบที่ได้รับชัยชนะในเชิงยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตร ในการรุกหน้าสู่กรุงเบอร์ลิน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการล้อมบูดาเปสต์ · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมกรุงเวียนนา

การปิดล้อมกรุงเวียนนา (Siege of Vienna) (27 กันยายน-14 ตุลาคม ค.ศ. 1529) การปิดล้อมกรุงเวียนนาในปี ค.ศ. 1529 เป็นความพยายามครั้งแรกโดยจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่านสุลัยมานเพื่อที่จะยึดกรุงเวียนนาในออสเตรีย การปิดล้อมเมืองครั้งนี้ถือเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงอำนาจของจักรวรรดิออตโตมันซึ่งกำลังขยายถึงจุดสูงสุด ซึ่งมีอาณาเขตขยายมาจนถึงบริเวณยุโรปกลาง หลังจากนั้นความเป็นปฏิปักษ์ต่อกันก็ยืดเยื้อยาวนานออกไปกว่า150ปี และในที่สุดจึงกลายเป็นยุทธการเวียนนาในปีค.ศ. 1683 ซึ่งเป็นการเริ่มมหาสงครามตุรกี (Great Turkish War) โดยมหาอำนาจยุโรปในการพยายามกำจัดออตโตมันออกจากยุโรปกลาง การล้อมครั้งนี้จบลงด้วยความล้มเหลวของฝ่ายออตโตมันในการพยายามยึดที่มั่นสำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในขณะนั้น และเป็นจุดเปลี่ยนทิศทางของชัยชนะในยุโรปตะวันออกและยุโรปกลางของจักรวรรดิออตโตมันที่ได้รับชัยชนะมาตลอดก่อนหน้านั้น ซึ่งรวมถึงการได้ฮังการีตะวันออกเฉียงใต้มาเป็นอาณาจักรในบริวารในยุทธการโมเฮ็คส์ (Battle of Mohács) เหตุการณ์ครั้งนี้มักกล่าวกันว่าเป็นจุดที่เริ่มนำความตกต่ำมาสู่จักรวรรดิออตโตมันที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นมหาอำนาจทางการทหารทั้งในยุโรปและเอเชีย และเป็นการพ่ายแพ้ทำความอัปยศให้แก่ออตโตมันในการมาพ่ายแพ้ต่อกองกำลังที่เล็กกว่าและมีประสิทธิภาพด้อยกว่า นักประวัติศาสตร์บางท่านสันนิษฐานว่าจุดประสงค์หลักของสุลต่านสุลัยมานในการล้อมกรุงเวียนนาในปี ค.ศ. 1529 เป็นการแสดงอำนาจเหนือฮังการี เพราะด้านตะวันตกของฮังการีที่เรียกว่ารอยัลฮังการีที่ยังดำรงความเป็นอิสระจากออตโตมันอยู่ นอกจากนั้นการตัดสินใจเข้าโจมตีเวียนนาหลังจากการยุติการรณรงค์ในยุโรปของออตโตมันไปเป็นเวลานานทำให้คาดกันว่าเป็นการโจมตีแบบฉวยโอกาสหลังจากที่ได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดในฮังการี ส่วนนักวิชาการผู้อื่นก็ตั้งทฤษฎีว่าการปราบปรามฮังการีเป็นเพียงบทนำของการเริ่มการเข้ามารุกรานยุโรปตามที่ได้วางแผนไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการล้อมกรุงเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ. 1938) หรือการทอดทิ้งโปแลนด์ในรับมือกับเยอรมนีและสหภาพโซเวียตตามลำพังระหว่างการบุกครองโปแลนด์ (ค.ศ. 1939) และการลุกฮือในกรุงวอร์ซอ ในปี ค.ศ. 1944 นอกจากนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกยังได้ลงนามในข้อตกลงยัลตา และภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ไม่ให้การป้องกันหรือยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือรัฐเหล่านี้จากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลและการควบคุมของสหภาพโซเวียต และระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 ฮังการีก็ไม่ได้รับทั้งการสนับสนุนทั้งทางทหารและการสนับสนุนในด้านกำลังใจจากฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเลย และทำให้การปฏิวัติถูกปราบปรามโดยกองทัพแดงในที่สุด สถานการณ์เดียวกันเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1968 เมื่อกองทัพร่วมของกลุ่มประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอเพื่อกำจัดยุคฤดูใบไม้ผลิปรากในเชโกสโลวาเกีย และยุติการเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับมาสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ดังเดิม ดังที่ได้เกิดความกังวลในการประชุมยัลตา แนวคิดของมันก็ถูกโต้เถียงกัน โดยนักประวัติศาสตร์มองว่าการที่นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ไม่มีทางเลือกอื่นใดนอกจากยอมรับความต้องการของผู้นำโซเวียต โจเซฟ สตาลิน ทั้งในการประชุมเตหะรานและในการประชุมครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเองก็ได้ประเมินอำนาจของสหภาพโซเวียตผิดไปบ้าง เช่นเดียวกับที่ประเมินนาซีเยอรมนีผิดไปหนึ่งทศวรรษก่อนหน้านั้น แต่ผู้สนับสนุนการประชุมยอลตามีแนวคิดว่า การประชุมในครั้งนี้เป็นการทรยศกลุ่มประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยไม่มีการพิจารณาถึงชะตากรรมของโปแลนด์ในอนาคต กองกำลังโปแลนด์ถือเป็นกองกำลังที่ต่อสู้กับนาซีเยอรมนีเป็นเวลายาวนานกว่าประเทศอื่นใดในสงครามโลกครั้งที่สอง และทำการรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับกองกำลังสหรัฐอเมริกา อังกฤษและโซเวียตในการทัพที่สำคัญหลายครั้ง รวมไปถึงในยุทธการที่เบอร์ลินครั้งสุดท้าย ซึ่งกองกำลังติดอาวุธโปแลนด์ทางตะวันตกมีจำนวนกว่า 249,000 นาย (กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกมีจำนวนกว่า 4 ล้านนาย) และ 180,000 นายทางตะวันออก (กองทัพโซเวียตมีจำนวนกว่า 6 ล้านนาย) และมีอีกกว่า 300,000 นายที่ทำการรบใต้ดิน หรือในกองกำลังกู้ชาติ ในตอนปลายสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพโปแลนด์มีจำนวนกว่า 600,000 นาย โดยที่ไม่นับกองกำลังกู้ชาติhttp://www.ww2.pl/Polish,contribution,to,the,Allied,victory,in,World,War,2,(1939-1945),132.html ซึ่งทำให้โปแลนด์มีกองกำลังขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ในสงคราม รองมาจากสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร รัฐบาลผลัดถิ่นโปแลนด์เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นประธานาธิบดีโรสเวลต์ก็ยังนิ่งนอนใจได้เมื่อรัฐบาลโปแลนด์ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลหุ่นของโซเวียต โดยได้มีข้อสังเกตว่าโรสเวลต์ได้วางแผนที่จะมอบโปแลนด์ให้กับสตาลิน นักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เสนอว่า เชอร์ชิลล์กระตุ้นให้โรสเวลต์ดำเนินกิจการทางทหารต่อในทวีปยุโรป แต่ต่อต้านสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันการแสวงหาดินแดนเพิ่มเติมจากพรมแดนของตน รูสเวลต์ดูเหมือนว่าจะเชื่อใจในการรับประกันของสตาลินและปฏิเสธที่จะสนับสนุนเจรนาของเชอร์ชิลล์ในการรักษาเสรีภาพของทวีปยุโรปนอกเหนือจากอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยปราศจากการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรที่เหนื่อยอ่อน อดอยาก และแทบจะสิ้นเนื้อประดาตัวจึงไม่สามารถดำเนินการตามที่ตั้งใจเอาไว้ และถึงแม้ว่าจะมีการหนุนหลังจากสหรัฐอเมริกาก็ตาม ผลจากกิจการทางทหารนั้นก็ยังคงไม่แน่นอนอยู่มาก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการทรยศโดยชาติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกีย

แผนที่เส้นทางรถไฟในสโลวาเกีย การขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกีย เริ่มตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1840 โดยเป็นระบบรถไฟม้า และพัฒนามาเป็นรถจักรไอน้ำในวันที่ 20 สิงหาคม..1848.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก 2020 และพาราลิมปิก 2020 มีเมื่องที่เสนอตัวเป็นเจ้าภาพทั้งหมด 6 เมือง ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 · ดูเพิ่มเติม »

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028 เป็นการคัดเลือกเมืองต่างๆ ทั่วโลกที่เสนอเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และโอลิมปิกฤดูร้อน 2028 การคัดเลือกสำหรับโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ได้เริ่มเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028 · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณีเด็ก

การค้าประเวณีเด็ก (Prostitution of children, child prostitution) เป็นการค้าประเวณีที่เกี่ยวกับเด็ก เป็นรูปแบบหนึ่งของการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก เด็กในที่นี้มักจะหมายถึงผู้เยาว์ หรือบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ในเขตกฎหมายโดยมาก การค้าประเวณีเด็กผิดกฎหมายโดยเป็นส่วนของกฎหมายห้ามการค้าประเวณีโดยทั่ว ๆ ไป การค้าประเวณีเด็กมักจะปรากฏในรูปแบบของการค้าเซ็กซ์ (sex trafficking) ที่เด็กถูกลักพาตัว หรือถูกหลอกให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการค้าเพศ หรือว่า เป็นเซ็กซ์เพื่อการอยู่รอด ที่เด็กจะร่วมกิจกรรมทางเพศแลกเปลี่ยนกับปัจจัยสี่ที่จำเป็นต่อชีวิตรวมทั้งอาหารและที่อยู่อาศัย การค้าประเวณีเด็กมักจะเกี่ยวข้องกับสื่อลามกอนาจารเด็ก และบางครั้งจะเกิดขึ้นคาบเกี่ยวกัน และมีคนที่เดินทางไปต่างประเทศเพื่อจะเที่ยวเซ็กซ์ทัวร์เด็ก งานวิจัยแสดงว่า อาจจะมีเด็กมากถึง 10 ล้านคนทั่วโลกที่ค้าประเวณี โดยมีปัญหาหนักที่สุดในทวีปอเมริกาใต้และเอเชีย แต่ก็เป็นปัญหาทั่วโลก ทั้งในประเทศกำลังพัฒนาและพัฒนาแล้ว สหประชาชาติได้กำหนดว่า การค้าประเวณีเด็กผิดกฎหมายสากล โดยมีการรณรงค์และองค์กรต่าง ๆ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านการปฏิบัติการเช่นนี้ เด็กโดยมากที่เกี่ยวข้องเป็นหญิง อาจจะอายุเพียงแค่ 4-5 ขวบ เรียนน้อยมากและถูกคนแปลกหน้าหลอกได้ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการค้าประเวณีเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าตัวตาย

การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการฆ่าตัวตาย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การปฏิวัต..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956

การปฏิวัติฮังการี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Merci, Chérie ขับร้องโดย Udo Jürgens ตัวแทนจากออสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ La, la, la ขับร้องโดย Massiel ตัวแทนจากสเปน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมาดริด ประเทศสเปน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะในปีนี้มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่ Vivo cantando ขับร้องโดย Salomé ตัวแทนจากสเปน Boom Bang-a-Bang ขับร้องโดย Lulu ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร De troubadour ขับร้องโดย Lenny Kuhr ตัวแทนจากเนเธอร์แลนด์ และ Un jour, un enfant ขับร้องโดย Frida Boccara ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

UTC ของวันที่ 19 เมษายน การพยากรณ์ล่าสุดมีการอัปเดตที่ http://www.metoffice.gov.uk/aviation/vaac/vaacuk_vag.html London Volcanic Ash Advisory Centre site (Met Office, สหราชอาณาจักร) ประเทศซึ่งได้รับผลกระทบ (18 เมษายน พ.ศ. 2553): '''สีแดง''' – ปิดน่านฟ้าโดยสมบูรณ์ตามระเบียบเครื่องมือการบิน; '''สีส้ม''' – ปิดน่านฟ้าบางส่วนตามระเบียบเครื่องมือการบิน; อย่างไรก็ตาม น่านฟ้าของไอซ์แลนด์ได้รับผลกระทบน้อยมาก การจราจรทางอากาศเกือบเป็นปกติ ภายหลังจากการปะทุครั้งที่สองของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ในไอซ์แลน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

ตัวอย่างราคาน้ำมันจากประเทศเยอรมนีเมื่อปี พ.ศ. 2550 ราคาอยู่ที่ 1.319 €/L.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางของจักรพรรดิ

การเดินทางของจักรพรรดิ (La Marche de l'empereur; March of the Penguins) เป็นภาพยนตร์สารคดีฝรั่งเศสเกี่ยวกับธรรมชาติวิทยาที่สร้างในปี ค.ศ. 2005 ที่กำกับและร่วมเขียนโดยลูค ฌาคเคต์ และสร้างร่วมกับ Bonne Pioche และสมาคมเนชันแนลจีโอกราฟิก เนื้อหาของภาพยนตร์เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับวัฏจักรของการผสมพันธุ์ของเพนกวินจักรพรรดิของทวีปแอนตาร์กติกา ในฤดูใบไม้ร่วงเพนกวินที่มีอายุในช่วงที่เหมาะแก่การผสมพันธุ์ (ห้าปีหรือแก่กว่า) ก็จะทิ้งทะเลเพื่อเดินทางไปทำการผสมพันธุ์ยังถิ่นฐานธรรมชาติที่ลึกเข้าไปในแผ่นดินทวีปแอนตาร์กติกาที่เป็นบริเวณที่ทำการเดินทางมาตั้งแต่ในสมัยบรรพบุรุษ เมื่อไปถึงเพนกวินก็จะหาคู่ ถ้าสำเร็จก็จะมีลูกนกเพนกวิน การที่ลูกนกจะอยู่รอดได้ในสภาวะอากาศอันทารุณ ทั้งพ่อและแม่ก็จะต้องเดินทางระหว่างมหาสมุทรและบริเวณผสมพันธุ์หลายเที่ยวเพื่อนำอาหารกลับมาเลี้ยงลูก การเดินทางของจักรพรรดิได้รับรางวัลออสการ์ ในปี ค.ศ. 2005 ในฐานะที่เป็นภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม ดนตรีประกอบภาพยนตร์ต้นฉบับภาษาฝรั่งเศส แต่งและขับร้องโดยเอมิลี ไซมอน นักดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ชาวฝรั่งเศส ส่วนฉบับที่ฉายในสหรัฐอเมริกา ได้เปลี่ยนเป็นดนตรีประกอบ (ไม่มีเพลงร้อง) แต่งโดยอเล็กซ์ วูร์แมน นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ภาพยนตร์ต้นฉบับใช้เสียงนักแสดงพากย์เหมือนกับเสียงเพนวินพูดคุยกัน โดยภาพยนตร์ฉบับที่ฉายในฮังการีและเยอรมนีก็พากย์ในลักษณะนี้เช่นเดียวกัน ส่วนฉบับที่ฉายในสหรัฐอเมริกา ได้เปลี่ยนวิธีพากย์เป็นการบรรยายในแบบสารคดี ใช้เสียงภาษาอังกฤษของมอร์แกน ฟรีแมน, ฉบับที่ฉายในประเทศอินเดีย ใช้เสียงภาษาฮินดีและภาษาอังกฤษของอมิตาภ พัจจัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและการเดินทางของจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

กาเฟโอแล

มกาเฟโอแลตามธรรมเนียมดั้งเดิมของฝรั่งเศส กาเฟโอแล (café au lait,, แปลว่า "กาแฟใส่นม") คือกาแฟดำที่เติมนมร้อนลงไปในอัตราส่วนเท่ากัน ต่างจากกาแฟขาวซึ่งจะเติมนมที่เย็นแล้วหรือสารทำให้ขาวชนิดอื่น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกาเฟโอแล · ดูเพิ่มเติม »

กิชกุนฮอล็อช

กิชกุนฮอล็อช (Kiskunhalas) เป็นเมืองในเทศมณฑลบาช-กิชกุน (Bács-Kiskun) เทศมณฑลที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกิชกุนฮอล็อช · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบแวร์ซายส์

กุหลาบแวร์ซายส์ หรือที่รู้จักกันในชื่อของภาษาอังกฤษคือ "เลดีออสการ์" (Lady Oscar) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องและภาพโดยริโยโกะ อิเคดะ กุหลาบแวร์ซายส์เป็นหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักอย่างดีทั่วโลก ถูกตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารมาร์กาเร็ตของสำนักพิมพ์ชูเออิชา ในปี พ.ศ. 2516 และประสบความสำเร็จในทันทีที่วางจำหน่าย ได้รับการตอบรับจากนักอ่านเป็นจำนวนมาก ต่อมาได้ถูกดัดแปลงเนื้อเรื่องจากการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นละครเวทีภาพยนตร์ชุดการ์ตูนและบัลเลต์ ซึ่งในการแสดงละครเวทีในภาคโอเปร่า ริโยโกะ อิเคดะ ผู้แต่งได้มีส่วนร่วมในการประพันธ์คำร้องสำหรับใช้ในการแสดงละครเวทีในภาคโอเปร่าอีกด้วย กุหลาบแวร์ซายส์ถูกดัดแปลงเป็นละครเวที ที่ได้รับการตอบรับจากผู้ชมเป็นอย่างยิ่ง และกลายเป็นละครเวทีที่มีการเปิดการแสดงมากรอบที่สุดเช่นกันตามรายงานของนิตยสารทาการาซุกะ รีวิว ในปี พ.ศ. 2526 หนังสือการ์ตูนสองชุดแรกของกุหลาบแวร์ซายส์ ได้รับการแปลจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาอังกฤษโดยเฟรเดริก แอล. ชอดต์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสอนภาษาอังกฤษให้กับชาวญี่ปุ่น และยังได้จัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนืออีกด้วย กุหลาบแวร์ซายส์จึงได้ชื่อว่าเป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องแรกที่ได้รับการแปลเพื่อการค้าและจัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือ กุหลาบแวร์ซายส์ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นอิงประวัติศาสตร์ ที่นำเค้าโครงเรื่องจากเรื่องราวและเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ช่วงก่อนและหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อองตัวเนต ถ่ายทอดเรื่องราวอิงประวัติศาสตร์ผ่านตัวละครหลักคือ ออสการ์ ฟรังซัวส์ เดอ จาร์เจและ อังเดร กรังดิเออร์ ในแง่มุมของการปกครองประเทศของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 กฎระเบียบข้อบังคับในราชการทหาร ระเบียบวินัยและอำนาจหน้าที่ รวมถึงเรื่องราวของความรักฉันชู้สาว มิตรภาพและการต่อสู้ในสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกุหลาบแวร์ซายส์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยโลก

กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Universiade) เป็นชื่อการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยจากนานาชาติทั่วโลก อยู่ในการกำกับดูแลของ สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Federation of International University Sports - FISU) โดยชื่อ Universiade เป็นการนำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำ คือ university (มหาวิทยาลัย) และ olympiad (โอลิมปิก) มาสนธิกัน การจัดการแข่งขันจะจัดขึ้นทุกสองปี โดยมีกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ซึ่งทั้งสองมหกรรมกีฬานี้จะจัดแข่งขันในปีเดียวกัน แต่ต่างเวลาและสถานที่ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2504 โดยจัดขึ้นที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกีฬามหาวิทยาลัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1965

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1967 (1967 Summer Universiade) หรือการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อนครั้งที่ 4 เป็นการแข่งขันกีฬาของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั่วโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่บูดาเปสต์ ฮังการี ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ถึง 30 สิงหาคม พ.ศ. 2510.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1965 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2017

กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2017 (2017-es úszó-világbajnokság; 2017 World Aquatics Championships) จะมีกำหนดจัดขึ้นที่บูดาเปสต์, ฮังการี ระหว่างวันที่ 14–30 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2017 · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น (Anti-Comintern Pact) คือ สนธิสัญญาเกิดจากความร่วมมือระหว่างนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1936 และมีเป้าหมายเพื่อที่จะต่อต้านองค์การคอมมิวนิสต์สากล (Comintern) โดยทั่วไป แต่หมายถึง สหภาพโซเวียต เป็นพิเศษ "เป็นที่รู้กันดีว่าเป้าหมายขององค์การคอมมิวนิสต์สากล หรือที่เป็นที่รู้จักกันในนามโคมินเทิร์น นั้นคือการทำให้รัฐต่างๆ แตกออกจากกันและหลังจากนั้นก็จะใช้กำลังเข้าปราบปรามเพื่อให้รัฐทั้งหลายบนโลกนี้ตกอยู่ใต้อำนาจบังคับของคอมมิวนิสต์ ด้วยความมั่นใจว่าการเข้าแทรกแซงกิจการภายในของรัฐโดยองค์การคอมมิวนิสต์สากลนั้นมิได้เพียงแต่เข้าไปคุกคามต่อสันติภาพภายในประเทศและความสงบสุขของสังคมแล้ว แต่ยังเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงเป็นความปรารถนาที่จะทำให้เกิดความร่วมมือกันป้องกันตัวจากกิจกรรมทั้งหลายของพวกคอมมิวนิสต์".

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพทดสอบ

ลวดลายโดยพื้นฐานของภาพทดสอบ ภาพทดสอบโทรทัศน์ยุคแรก ภาพทดสอบ (Test card) หรือรู้จักกันในชื่อ แถบสี หรือ แท่งสี (test pattern) คือหน้าจอสำหรับการทดสอบของโทรทัศน์ ออกอากาศช่วงปิดสถานี ประเทศแรกที่นิยมใช้คือสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ บางครั้งการส่งสัญญาณผ่านรถถ่ายทอดสัญญาณแต่ยังไม่มีรายการใด ในขณะที่ยังแพร่พาภาพอยู่ (บ่อยครั้งมักจะเปิดสถานีและปิดสถานี) ซึ่งใช้มาตั้งแต่การแพร่ภาพโทรทัศน์เป็นครั้งแรก ภาพทดสอบแรกคือภาพทดสอบรูปร่างกาย สิ่งนี้จะใช้กล้องถ่ายโทรทัศน์จับภาพได้อย่างชัดเจน และมักจะใช้เป็นเครื่องวัดขนาดภาพนิ่ง การจัดตำแหน่ง และความเข้ากันของวัตถุ จะใช้กล้องถ่ายวิดีโอ หรือกล้องแบบพกพาก็ได้ ส่วนภาพแถบสีใช้สำหรับวัดขนาดและตำแหน่งของวัตถุ หรือการแก้ไขทิศทางของสัญญาณ สิ่งเหล่านี้คือผู้ที่คิดค้นภาพทดสอบ สิ่งนี้อาจมีจุดขาดตกบกพร่องในเรื่องของโครงสร้าง ช่างกล้อง จากนั้นจึงได้คิดค้นภาพทดสอบแบบดิจิตอลซึ่งอนุญาตให้จำหน่ายภาพทดสอบนี้ ท่านผู้ชมและสถานีโทรทัศน์ได้ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อให้เหมาะสมต่อหน้าที.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาพทดสอบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเว

กราฟลอการิทึมแสดงอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐกับดอลลาร์ซิมบับเว โดยเส้นสีแดง แสดงอัตราแลกเปลี่ยนอย่างเป็นทางการ, สีฟ้า เป็นอัตราแลกเปลี่ยนในตลาดมืด, สีเขียว เป็นอัตราแลกเปลี่ยน OMIR ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเว เป็นสถานการณ์เงินเฟ้อที่สูงเป็นอันดับที่สองในประวัติศาสตร์การเงินโลก (รองจากภาวะเงินเฟ้อในประเทศฮังการี ใน พ.ศ. 2489) เริ่มขึ้นไม่นานหลังการริบทรัพย์ไร่นาเอกชนจากผู้ถือครองที่ดินผิวขาวช่วงปลายสงครามคองโกครั้งที่สอง ในช่วงที่ภาวะเงินเฟ้อสูงถึงขีดสุดตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2552 การวัดภาวะเงินเฟ้อของประเทศซิมบับเวทำได้ยากเพราะรัฐบาลซิมบับเวยุติการจัดทำสถิติภาวะเงินเฟ้ออย่างเป็นทางการ ทว่า เดือนภาวะเงินเฟ้อสูงสุดของซิมบับเวประมาณร้อยละ 79,600 ล้านในกลางเดือนพฤศจิกายน 2551 ในปี 2552 ซิมบับเวเลิกใช้เงินตราของตน ในปี 2557 ซิมบับเวยังไม่มีเงินตราประจำชาติ โดยใช้เงินตราจากประเทศอื่นแทน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบัลแกเรีย

ษาบัลแกเรียเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นสมาชิกของแขนงใต้ของภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาษาบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสโลวัก

ภาษาสโลวัก (slovenčina, slovenský jazyk) เป็นภาษากลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก (กลุ่มเดียวกับภาษาเช็ก ภาษาโปแลนด์ และภาษาซอร์เบีย) ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาสโลวักมีความใกล้ชิดกับภาษาเช็กเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ภาษาสโลวักและภาษาสโลวีเนียเป็นภาษาสลาฟสมัยใหม่สองภาษาเท่านั้นที่ชื่อท้องถิ่นของตนเองมีความหมายตรงตามตัวอักษรว่า "สลาวิก (Slavic) " (ชาวสโลวาเกีย: slovenčina และชาวสโลวีเนีย: slovenščina) (ส่วน slověnskii เป็นภาษาสลาโวนิกเก่า) ภาษาสโลวักพูดในประเทศสโลวาเกีย (ประมาณ 5 ล้านคน) สหรัฐอเมริกา (500,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศเช็กเกีย (320,000 คน เนื่องมาจากอดีตเชโกสโลวาเกีย) ประเทศฮังการี (20,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โบราณ) ประเทศเซอร์เบีย-วอยวอดีนาภาคเหนือ (60,000 คน ผู้สืบเชื้อสายจากผู้ตั้งถิ่นฐานรุ่นแรก ๆ ในช่วงที่อยู่ภานใต้การปกครองของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก) ประเทศโรมาเนีย (22,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์เก่าแก่) ประเทศโปแลนด์ (20,000 คน) ประเทศแคนาดา (20,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรเลีย (เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรีย ประเทศยูเครน ประเทศบัลแกเรีย ประเทศโครเอเชีย (5,000 คน) และประเทศอื่น ๆ บางประเทศ สโลวัก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสโลวาเกีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโรมาเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาษาสโลวัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮังการี

ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาษาฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรมาเนีย

ภาษาโรมาเนีย (limba română IPA: ลิมบา โรมินะ) เป็นภาษาทางการของประเทศโรมาเนีย จัดเป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ทางตะวันออกที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 26 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศโรมาเนียและวอยวอดีนา (Vojvodina) ในเชิงภาษาศาสตร์แล้ว ภาษาโรมาเนียและภาษามอลโดวา (ภาษาทางการของประเทศมอลโดวา) เป็นประเภทต่าง ๆ ของภาษาเดียวกัน อย่างไรก็ดี อาจจัดเป็นภาษาที่ต่างกันโดยเหตุผลทางการเมือง รโมานเอีย.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาษาโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและภูมิศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารรอง

มหาวิหารรอง (Basilica minor) คือคริสต์ศาสนสถานสำคัญชนิดหนึ่งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีสถานะต่ำกว่ามหาวิหารเอก โบสถ์คริสต์ใด ๆ จะได้รับสถานะเป็นมหาวิหารได้ก็ต่อเมื่อได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการจากพระสันตะปาปา หรือเป็นสถานที่ที่ถูกขนานนามว่ามหาวิหารมาเนิ่นนานแล้ว คำว่า "บาซิลิกา" เดิมใช้หมายถึงอาคารที่มีสถาปัตยกรรมรูปแบบหนึ่งโดยเฉพาะ อาคารลักษณะนี้มักใช้เป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งของมุขนายก ทำให้ต่อมาบาซิลิกามักใช้หมายถึงมหาวิหาร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมหาวิหารรอง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา เริ่มแรกนั้นได้รับการก่อตั้งในชื่อ “วิทยาลัยไทยเทคนิค” เมื่อปี พ.ศ. 2505 ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น “วิทยาลัยกรุงเทพ” และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัยกรุงเทพ” เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมหาวิทยาลัยกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาเกิน

อาคารเก่า IZ/TGZ อาคาร AVZ ห้องสมุด มหาวิทยาลัยฮาเกิน (University of Hagen; FernUniversität in Hagen) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในประเทศเยอรมนีที่สนับสนุนระบบการศึกษาทางไกล ตั้งอยู่ที่เมือง ฮาเกิน (Hagen) ประเทศเยอรมนี มหาวิทยาลัยฮาเกิน ก่อตั้งเมือปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมหาวิทยาลัยฮาเกิน · ดูเพิ่มเติม »

มายเลิฟ: เอสเซนเชียลคอลเลกชัน

มายเลิฟ: เอสเซนเชียลคอลเลกชัน (My Love: Essential Collection) คืออัลบั้มเพลงฮิตของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา ออกจำหน่ายในช่วงปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมายเลิฟ: เอสเซนเชียลคอลเลกชัน · ดูเพิ่มเติม »

มารี อ็องตัวแน็ต

มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมารี อ็องตัวแน็ต · ดูเพิ่มเติม »

มารี เฮนรีทเทอแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

มารี เฮนเรียตเทอแห่งออสเตรีย (พระนามเดิม มารี เฮนเรียตเทอ อันเนอ, ประสูติเมื่อ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1836 สวรรคตเมื่อ 19 กันยายน ค.ศ. 1902) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระอัครมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียม พระมหากษัตริย์พระองค์ที่สองแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม พระองค์ทรงเป็นพระธิดาของอาร์ชดยุกโจเซฟแห่งออสเตรีย กับดัชเชสมาเรียโดโรเธอาแห่งเวือร์ทเทมแบร์ก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมารี เฮนรีทเทอแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

มารีบอร์

มหาวิทยาลัยมารีบอร์ ศาลากลางเมืองมารีบอร์ มารีบอร์ (Maribor) เป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของประเทศสโลวีเนีย รองจากกรุงลูบลิยานาซึ่งเป็นเมืองหลวง โดยมีประชากรประมาณ 133,000 คน ตั้งอยู่ริมแม่น้ำดราวา เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภูมิภาคโลว์เออร์สติเรียของประเทศ มีท่าอากาศยานนานาชาติมารีบอร์เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ และมีเมืองกราซ ประเทศออสเตรียเป็นเมืองขนาดใหญ่ที่อยู่ใกล้ที่สุด ห่างออกไปประมาณ 60 กิโลเมตร โดยสัญลักษณ์ของเมืองเป็นรูปนกพิราบกำลังบินบนปราสาทสีขาวซึ่งมีหอคอย 2 หอ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมารีบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์แต็งแห่งตูร์

นักบุญมาร์แต็งแห่งตูร์ (Martin de Tours; Martin of Tours; Martinus) เกิดราวปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมาร์แต็งแห่งตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์

Malév head office มาเลฟ ฮังกาเรียน แอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของฮังการี และยังเป็นสมาชิกของพันธมิตรสายการบินวันเวิลด์ โดยคำว่า มาเลฟ (Malév) ย่อมาจากภาษาฮังการีที่ว่า Magyar Légiközlekedési Vállalat มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์ ถูกศาลฮังการีสั่งให้เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ล้มละลายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก

มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก (High School Musical) หรือ มัธยมดนตรี เป็นภาพยนตร์เพลงอเมริกัน ได้รับรางวัลเอ็มมี ออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2549 ในประเทศสหรัฐอเมริกา ทางช่อง ดิสนีย์แชนแนล โดยเป็นหนึ่งในภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จที่สุดของค่ายดิสนีย์ รวมถึงภาคที่สอง (มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก 2) ซึ่งออกฉายในอเมริกาวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2550 และ ภาคที่ 3 High School Musical 3: Senior Year ซึ่งเป็นภาคแรกที่ทำขึ้นเพื่อออกฉายในโรงภาพยนตร์ ในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2551 (ประเทศไทย) ส่วนภาคที่ 4 นั้นอยู่ในขั้นตอนของการเขียนบท นอกจากนี้ อัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์ยังเป็นอัลบั้มขายดีที่สุดในปี พ.ศ. 2549 อีกด้วย และในสัปดาห์แรกเมื่อดีวีดีมือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรักวางจำหน่าย มียอดขายมากกว่า 1.5 ล้านแผ่น โดยภาพยนตร์นี้ถ่ายทำที่โรงเรียนมัธยมอีสต์ไฮ ในเมืองซอลต์เลกซิตี รัฐยูทาห์ หอประชุมของโรงเรียนมัธยมเมอร์เร่ย์ และใจกลางเมืองซอลต์เลกซิตี ในประเทศสหรัฐอเมริกา อ้างอิงจากบทภาพยนตร์ที่กล่าวว่าเป็นเสมือน โรเมโอ และ จูเลียต แห่งยุคใหม่ มือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักเรียนมัธยมสองคน ทรอย โบลตัน (แสดงโดย แซค แอฟรอน) ซึ่งเป็นหัวหน้าทีม บาสเกตบอล และ กาเบรียลลา มอนเตส (แสดงโดย วาเนสซา ฮัดเจนส์) นักเรียนขี้อายที่ย้ายเข้ามาโรงเรียนใหม่ มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ทั้งคู่จับคู่กันเพื่อเข้าแข่งขันละครเพลง ที่โรงเรียนจัดทำ ทรอย และ กาเบรียลลา ดิ้นรนต่อสู้เพื่อฝันของพวกเขา แม้ว่าจะเจอการสกัดกั้นจากชาร์เพย์ (แสดงโดย แอชลีย์ ทิสเดล) และ ไรอัน อีวานส์ (แสดงโดย ลูคัส แกรบีล) และจากนักเรียนคนอื่น ๆ ที่พยายามจะให้ทั้งคู่กลับไปใช้ชีวิตและความถนัดของตนดังเดิมก็ตาม ในวันออกฉายครั้งแรกผู้มีชมมากถึง 7.7 ล้านคนในสหรัฐอเมริกา ทำให้ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ที่มีผู้ชมมากที่สุดของ ดิสนีย์ แชนแนลในขณะนั้น ส่วนในสหราชอาณาจักร มีผู้ชมกว่า 789,000 คนในวันออกฉายครั้งแรก (และมีผู้ชมถึง 1.2 ล้านคนในการฉายซ้ำในอาทิตย์แรก) กลายเป็นภาพยนตร์โทรทัศน์ที่มีคนดูมากที่สุดเป็นอันดับสองของช่อง ดิสนีย์ แชนแนล สหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2549 และยังเป็นภาพยนตร์จากช่องดิสนีย์ แชนแนล เรื่องแรก ที่ได้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์บีบีซี ในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดยมีผู้ชมสูงถึง 6 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมือถือไมค์ หัวใจปิ๊งรัก · ดูเพิ่มเติม »

มีโกลช แฟเฮร์

มีโกลช "มิกี" แฟเฮร์ (Fehér Miklós; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1979 – 25 มกราคม ค.ศ. 2004) เป็นนักฟุตบอลชาวฮังการีซึ่งเล่นในตำแหน่งกองหน้า แฟเฮร์ใช้เวลาส่วนใหญ่ในอาชีพนักฟุตบอลอยู่ในโปรตุเกส ในวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมีโกลช แฟเฮร์ · ดูเพิ่มเติม »

มงบล็อง (ของหวาน)

มงบล็อง (Mont Blanc) หรือ มอนเตเบียนโก (Monte Bianco) เป็นชื่อของหวานทำจากเกาลัดปั่นจนเหลว ปรุงให้หวาน แล้วราดวิปครีม เป็นอาหารยอดนิยมในประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น และประเทศฮังการี ชื่อขนมนี้เอาชื่อยอดเขามงบล็องมาตั้ง เพราะมีรูปลักษณ์เหมือนภูเขามีหิมะปกคลุมอยู่ที่ยอด ของหวานมงบล็องนี้มีบรรยายอยู่ในตำราอาหารอิตาลีมาตั้งแต่ปี 1475 มงบล็องดั้งเดิมนั้นต้องสีเหลือง เพราะใช้เกาลัดดองหวานปั่น นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า ขุนนางเชซาเร บอร์จา (Cesare Borgia) กับลูเกรเซีย บอร์จา (Lucrezia Borgia) มักทำมงบล็องรับประทานที่บ้านเป็นนิจด้วย ต่อมาในปี 1620 จึงไปโด่งดังในประเทศฝรั่งเศส ในหลาย ๆ ประเทศ มีการดัดแปลงมงบล็องเป็นหลายรูปแบบ เช่น ในประเทศญี่ปุ่น ใช้ฟักทองและแยมองุ่นทำมงบล็องแทนหรือประสมกับเกาลัดก็มี และใส่โกโก้หรือมัตชะด้วยก็มี นอกจากนี้ โดยทั่วไปยังปรากฏว่ามีการทำมงบล็องเป็นรสผลไม้ด้วย เช่น รสมะม่วงและสตรอว์เบอร์รี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมงบล็อง (ของหวาน) · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย

้านหน้ามงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทรงมงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และทรงถือคทาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับมงกุฎในพระหัตถ์ มงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Österreichische Kaiserkrone หรือ Krone des Kaisertums Österreich, Imperial Crown of Austria) เป็นมงกุฎที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งออสเตรียของจักรวรรดิออสเตรีย เดิมเป็นของสมเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ บางครั้งจึงเรียกว่า “มงกุฎจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2” หรือ “มงกุฎแห่งจักรวรรดิออสเตรีย”.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและมงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ยาส 39

39 กริพเพน (JAS 39 Gripen) (อ่านในภาษาสวีเดนว่า "ยอซ แทร็กตี้นิโยะ กรีเผ่น") เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่ผลิตโดยบริษัทซ้าบของประเทศสวีเดน โดยมีกริพเพน อินเตอร์เนชั่นแนล (Gripen International) ทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการทำสัญญาซึ่งจะรับผิดชอบต่อการตลาด การขาย และการสนับสนุนเครื่องบินขับไล่กริพเพนทั่วโลก ปัจจุบันมันอยู่ในประจำการของกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศเช็ก กองทัพอากาศฮังการี และกองทัพอากาศแอฟริกาใต้ และยังถูกสั่งซื้อโดยกองทัพอากาศไทยอีกด้วย มีกริพเพนทั้งหมด 236 ลำที่ถูกสั่งซื้อในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยาส 39 · ดูเพิ่มเติม »

ยาโนช อาแดร์

นช อาแดร์ (János Áder) เป็นนักกฎหมายและนักการเมืองชาวฮังการีซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีฮังการีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยาโนช อาแดร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่โมเฮ็คส์

ทธการที่โมเฮ็คส์ (mohácsi csata or mohácsi vész, Mohaç savaşı or Mohaç meydan savaşı, Battle of Mohács) เป็นยุทธการที่เกิดขึ้นที่โมเฮ็คส์ทางใต้ของบูดาเปสต์ในฮังการีปัจจุบันเมื่อวันที่29 สิงหาคม ค.ศ. 1526 ระหว่างจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่านสุลัยมานฝ่ายหนึ่ง และราชอาณาจักรฮังการีที่นำโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี, โครเอเชีย, ราชอาณาจักรโบฮีเมีย, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, อาณาจักรพระสันตะปาปา และ ราชอาณาจักรโปแลนด์อีกฝ่ายหนึ่ง ผลของสงครามฝ่ายออตโตมันได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดและเป็นการนำมาซึ่งความสิ้นสุดของสงครามออตโตมัน-ฮังการี แต่เป็นการเริ่มสงครามออตโตมัน-ฮับส์บูร์ก ชัยชนะครั้งนี้ทำให้ฮังการีถูกแบ่งแยกระหว่างจักรวรรดิออตโตมัน, ราชวงศ์ฮับส์บูร์กแห่งออสเตรีย และราชรัฐทรานสซิลเวเนีย อยู่หลายสิบปี การเสด็จสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีขณะที่กำลังพยายามหลบหนีจากสนามรบเป็นการสิ้นสุดของราชวงศ์ Jagiellon dynasty ที่สิทธิในราชบัลลังก์ถูกผนวกเข้ากับราชวงศ์ฮับส์บวร์กโดยการเสกสมรสของพระขนิษฐาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 2.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยุทธการที่โมเฮ็คส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เวียนนา

ทธการเวียนนา (Schlacht am Kahlenberg, İkinci Viyana Kuşatması, Battle of Vienna) เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 11 ถึง 12 กันยายน ค.ศ. 1683 หลังจากเวียนนาถูกล้อมโดยจักรวรรดิออตโตมันอยู่เป็นเวลาสองเดือน ยุทธการเวียนนาเป็นการต่อสู้ระหว่างสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์กับฝ่ายจักรวรรดิออตโตมันและรัฐบริวารไม่ไกลจากเนินเขาคาห์เลนแบร์กในเวียนนา ยุทธการเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างอำนาจของราชวงศ์ฮับส์บวร์กในยุโรปกลาง กองทัพเวียนนานำโดยเอิร์นสท์ รืดิเกอร์ กราฟ ฟอน สตาร์เฮมแบร์กภายใต้การบังคับบัญชาของสมเด็จพระจักรพรรดิลีโอโพลด์ที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ชัยชนะของยุทธการใหญ่เป็นของฝ่ายกองทัพโปแลนด์, ออสเตรีย และ เยอรมัน ภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์โปแลนด์พระเจ้าจอห์นที่ 3 โซบีสกี ในการต่อสู้กับกองทัพของจักรวรรดิออตโตมันและกองทัพของรัฐบริวารที่นำโดยมหาเสนาบดีปาชาคารา มุสตาฟา ตามความเห็นบางความเห็นกล่าวว่ายุทธการครั้งนี้เป็นจุดเปลี่ยนแปลงของสงครามออตโตมัน-ฮับส์บวร์กซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐอำนาจต่างๆ ในยุโรปกลางกับจักรวรรดิออตโตมันที่ดำเนินมาร่วมสามร้อยปี อีกความเห็นหนึ่งก็ว่าเป็นลมหายใจเฮือกสุดท้ายของจักรวรรดิออตโตมันที่เมื่อถึงจุดนั้นก็เป็นช่วงที่ขยายตัวจนเกินตัวอยู่แล้ว สิบหกปีหลังจากการที่ยุทธการสิ้นสุดลงราชวงศ์ฮับส์บวร์กแห่งออสเตรียก็เริ่มเข้ามามีอำนาจทางตอนใต้ของฮังการี และ ทรานซิลเวเนียที่เดิมอยู่ภายใต้อำนาจของออตโตมัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยุทธการที่เวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นแดนทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว ค.ศ. 1942 การยึดครองยุโรปของเยอรมนี หมายถึง ดินแดนส่วนที่อยู่ภายใต้การยึดครองโดยกำลังทหารของนาซีเยอรมนี ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939-1945) บางประเทศเป็นผู้ประกาศสงครามในฐานะฝ่ายสัมพันธมิตร อย่างเช่น สหราชอาณาจักรหรือสหภาพโซเวียต บางส่วนถูกบีบบังคับให้ยอมจำนนหรือถูกปราบปรามก่อนที่จะถูกยึดครองในภายหลัง ในบางกรณี รัฐบาลบางแห่งถูกบีบบังคับให้พลัดถิ่น หรือไม่ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึ้นใหม่โดยพลเมืองของประเทศนั้น ๆ บางประเทศซึ่งถูกนาซียึดครองนั้นดำรงตนเป็นกลางอย่างเป็นทางการ ดินแดนที่ถูกยึดครองบางส่วนเคยเป็นอดีตสมาชิกของฝ่ายอักษะ และถูกยึดครองโดยกองกำลังเยอรมันในช่วงปลายของสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันออก

แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ

ตราสัญลักษณ์ประจำทัวร์นาเมนต์ ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ (UEFA Intertoto Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่างๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรปหรือยูฟ่า เริ่มก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1961 ในอดีตเคยเป็นการแข่งขันฟุตบอลเพื่อคัดเลือกหาทีมเข้าไปแข่งขันในรายการยูฟ่าคัพ โดยทีมที่จะเข้าแข่งขันจะต้องทำการลงทะเบียนสมัครล่วงหน้า ซึ่งต่างจากฟุตบอลรายการอื่นๆของยุโรปที่ถูกจัดแบ่งสัดส่วนไว้อัตโนมัติ หลังเสร็จสิ้นการแข่งขันประจำปี 2008 รายการนี้ได้ถูกสหพันธ์ฟุตบอลยุโรปยุบลง เพื่อไปเป็นส่วนหนึ่งของ ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบคัดเลือก หรือยูฟ่าคัพ เดิม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 (บางประเทศใช้ตามในภายหลัง) 1 ยูโรแบ่งออกเป็น 100 เซนต์ แต่ชื่อเรียกของเซนต์อาจแตกต่างกันในแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและยูโร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรัฐสภา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง ระบบรัฐสภา เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีที่มาจากรัฐสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ และตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลมักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดในอังกฤษใน ศตวรรษที่17 โดยมีประเทศที่ใช้ระบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภาได้แก่ เยอรมนี อิตาลี อินเดีย ออสเตรีย ฮังการี ตุรกี อิรัก อิสราเอล ปากีสถาน สิงคโปร์ ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ กรีซ เซอร์เบีย เช็กเกีย บัลแกเรีย เนปาล บังกลาเทศ เอธิโอเปีย ซูรินาม เป็นต้น ส่วนประเทศที่ใช้ระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญได้แก่ สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ลักเซมเบิร์ก ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อันดอร์รา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและระบบรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 6 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 28 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรัฐหุ่นเชิด · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ลอแรน

ราชวงศ์ลอแรน (House of Lorraine) หรือ ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน เป็นราชวงศ์ที่มีความสำคัญที่สุดและครองอำนาจยาวนานที่สุดราชวงศ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป ปัจจุบันประมุขของราชวงศ์นี้คือคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก ซึ่งดำรงตำแหน่งประมุขแต่เพียงในนามว่าเป็นจักรพรรดิออสเตรีย พระมหากษัตริย์ฮังการี โบฮีเมีย กาลิเซียและโลโดเมเรีย โครเอเชีย อิลลิเรีย และเยรูซาเลมGordon Brook-Shepherd.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและราชวงศ์ลอแรน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี

ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและราชอาณาจักรฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

มุมหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศฮังการี

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่ใช้ในฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อธงในประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกอุปกรณ์โทรคมนาคม

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกอุปกรณ์โทรคมนาคม มากที่สุด 20 อันดับแรก ข้อมูลของ The Observatory of Economic Complexity เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกอุปกรณ์โทรคมนาคม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกโทรศัพท์มือถือ

้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกโทรศัพท์มือถือมากที่สุด 20 อันดับแรก ข้อมูลจาก The Observatory of Economic Complexity เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศเรียงตามการส่งออกโทรศัพท์มือถือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศฮังการี

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อปีในประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก

รปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตก

รป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวาเกีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสโลวาเกียทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 5 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศออสเตรีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศออสเตรียทั้งสิ้น 10 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 9 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฮังการี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฮังการีทั้งสิ้น 8 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย

ระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมียเป็นตำแหน่งที่ปกครองราชอาณาจักรโบฮีเมีย ปกครองโดยดยุคในปี ค.ศ. 870 - ค.ศ. 1085, ค.ศ. 1092 - ค.ศ. 1158 และ ค.ศ. 1172 - ค.ศ. 1198 และปกครองโดยสมเด็จพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1092, ค.ศ. 1158 - ค.ศ. 1172 และ ค.ศ. 1198 - ค.ศ. 1918.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี

รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศฮังการี ตั้งแต่การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันประมุขแห่งรัฐฮังการีเป็นตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ (Magyarország köztársasági elnöke) ประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฮังการี ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ ยาโนช อาแดร์ เป็นผู้ได้รับเลือกคนล่าสุดโดยเริ่มดำรงตำแหน่งวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รางรัสเซีย

รถไฟสายมอสโก-เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ใช้รางรัสเซีย รางรัสเซีย มีขนาดความกว้างของราง ระหว่าง 1,520 มิลลิเมตร -, retrieved 2008-07-20.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรางรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพูลิตเซอร์

รางวัลพูลิตเซอร์ (Pulitzer Prizes) เป็นรางวัลของสหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นเพื่อมอบแก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลง บริหารจัดการโดยมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในนครนิวยอร์ก รางวัลพูลิตเซอร์จัดมอบเป็นรายปีแบ่งเป็น 21 ประเภท ในแต่ละประเภทผู้ได้รับรางวัลจะได้รับกิตติบัตรและเงินรางวัล 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้รับรางวัลการหนังสือพิมพ์ในสาขาการบริการสาธารณะจะได้รับเหรียญทองซึ่งมักตกแก่หนังสือพิมพ์มาโดยตลอด แม้จะมีชื่อบุคคลได้รับการกล่าวยกย่องไว้ด้วย รางวัลพูลิตเซอร์ ก่อตั้งโดยโจเซฟ พูลิตเซอร์ นักหนังสือพิมพ์และผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกัน ซึ่งได้มอบเงินจำนวน 2 ล้านเหรียญไว้ในพินัยกรรมแก่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียหลังการเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2454 เงินส่วนหนึ่งของกองมรดกนี้ได้ถูกนำไปใช้ในการก่อตั้งสถาบันวิชาการหนังสือพิมพ์ของมหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2456 ได้มีการมอบรางวัลพูลิตเซอร์รางวัลแรกเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2460 ปัจจุบันมีการประกาศรางวัลทุก ๆ เดือนเมษายน การคัดเลือกผู้ได้รับรางวัลดำเนินการโดยกรรมการอิสร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรางวัลพูลิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเวียนนาครั้งที่สอง

รางวัลเวียนนาครั้งที่สอง เป็นเหตุการณ์ครั้งที่สองในข้อพิพาทดินแดนทั้งสองประเทศที่มีผู้ให้การตัดสินโดยนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี การตัดสินให้ปฏิบัติตาม เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรางวัลเวียนนาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ริเวอร์ ฟินิกซ์

ริเวอร์ จูด ฟินิกซ์ (River Jude Phoenix) เกิดเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1970 เป็นนักแสดงชาวอเมริกันที่เคยได้รับเข้าชิงรางวัลออสการ์และรางวัลลูกโลกทองคำ มีน้องชายชื่อ วาคีน ฟินิกซ์ เป็นนักแสดงเช่นกัน ริเวอร์เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1993 เหตุเพราะเสพยาเกินขน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและริเวอร์ ฟินิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน

รูดอล์ฟ (รูดี้) อีมิว คาลมาน (Rudolf (Rudy) Emil Kálmán; เกิด 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน) เป็นวิศวกรไฟฟ้า นักทฤษฎีระบบเชิงคณิตศาสตร์ และผู้พัฒนาตัวกรองคาลมาน (Kalman filter) และเป็นผู้นำเสนอแบบจำลองปริภูมิสถานะ และนำเสนอแนวคิดเรื่องสภาพควบคุมได้และสภาพสังเกตได้ มาใช้ในการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบ อันเป็นการนำองค์ความรู้ของทฤษฎีระบบควบคุมไปสู่ยุคใหม่ ที่เรียกว่า ทฤษฎีระบบควบคุมสมัยใหม่ (modern control theory).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน · ดูเพิ่มเติม »

รถรางในบูดาเปสต์

ระบบรถรางในบูดาเปสต์ ระบบรถรางในบูดาเปสต์ (Budapest villamoshálózata) เป็นระบบขนส่งมวลชน ประเภทรถรางในกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี โดยรถรางนี้ ถือว่าเป็นระบบขนส่งมวลชนที่เป็นกระดูกสันหลังของเมืองเลยก็ว่าได้ มีผู้โดยสารมากกว่า 100 ล้านคน นับได้ว่าเยอะกว่าผู้โดยสารที่มาใช้รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ ตั้งแต่เปิดให้บริการ..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรถรางในบูดาเปสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟชานเมืองบูดาเปสต์

รถไฟชานเมืองบูดาเปสต์ (Budapest Helyiérdekű Vasút) เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทรถไฟชานเมืองในเขตชานกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี ใช้รางมาตรฐาน ไฟฟ้า 1000 โวลต์ โดยบางช่วงของเส้นทางเป็นทางใต้ดิน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรถไฟชานเมืองบูดาเปสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์

รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ (Budapesti metró) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินในกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าเก่าแก่ที่สุดรองจากรถไฟใต้ดินลอนดอน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 1

รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 1 ถือว่าเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี สาย 1 มีชื่อเรียกว่า "ดิอันเดอร์กราวนด์" ("a földalatti") ขณะที่สาย 2-4 จะถูกเรียกว่า "เมโทร" รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 1 ถือว่าเป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก สร้างหลังจาก รถไฟใต้ดินลอนดอน สายเมโทรโพลิตัน และเป็นแห่งแรกในยุโรปตะวันออก ทำการก่อสร้างตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 1 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 3

รถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 3 (สายเหนือ-ใต้, สายสีน้ำเงิน) เป็นรถไฟฟ้าสายที่ยาวที่สุดในกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี เชื่อมต่อระหว่างสถานี Újpest (เหนือ) และสถานี Kőbánya-Kispest (ใต้) มีจำนวนผู้โดยสาร 626,179 คนต่อวัน สาย 3 เริ่มต้นการก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและรถไฟใต้ดินบูดาเปสต์ สาย 3 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูกาลของสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด

ูกาลของสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรจนถึงปัจจุบัน นัดชิงชนะเลิศเอฟเอคัพ ปี 1905 กับแอสตันวิลลา ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1881 ทีมคริกเก็ตสแตนลีย์ได้ตัดสินใจตั้งทีมฟุตบอลขึ้น เพื่อลงเล่นในช่วงที่ฤดูกาลแข่งขันคริกเก็ตปิดตัวลงในฤดูหนาว พวกเขาชนะเกมแรกที่ลงแข่งขันด้วยสกอร์ 5-0 โดยมีคู่แข่งเป็นทีมเอลสวิกเลเธอร์เวิร์คส์ชุดสำรอง หนึ่งปีต่อมา ทีมก็ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลอีสต์เอนด์ ขณะเดียวกัน ทีมคริกเก็ตอีกทีมหนึ่งในย่านเดียวกันก็ได้เริ่มสนใจที่จะตั้งทีมฟุตบอล จนกระทั่งมีการก่อตั้งสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลเวสต์เอนด์ขึ้น ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1882 โดยในช่วงแรกนั้น พวกเขาใช้สนามคริกเก็ตเดิมเป็นสนามเหย้า ก่อนที่จะย้ายไปลงเตะในเซนต์เจมส์พาร์ก หลังจากนั้น ได้มีการจัดตั้งฟุตบอลลีกท้องถิ่นขึ้นในปี ค.ศ. 1889 การที่มีลีกอาชีพในบริเวณใกล้เคียงให้ลงเตะ ประกอบกับความสนใจในถ้วยเอฟเอคัพ ทำให้นิวคาสเซิลอีสต์เอนด์เปลี่ยนจากทีมสมัครเล่นมาเป็นทีมอาชีพในปีเดียวกันนั้นเอง แต่ทว่าทางฝั่งนิวคาสเซิลเวสต์เอนด์กลับล้มเหลวที่จะตามรอยทีมเพื่อนบ้านสู่สถานะทีมฟุตบอลอาชีพ จนกระทั่งในช่วงต้นปี ค.ศ. 1892 ผู้บริหารของนิวคาสเซิลเวสต์เอนด์ได้ตัดสินใจที่จะขอเข้าควบกิจการกับนิวคาสเซิล อีสต์ เอนด์ เพื่อมิให้ทีมต้องยุบตัวลงโดยสิ้นเชิง การควบกิจการเป็นไปด้วยดี ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1892 ชื่อ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด ก็ถูกเลือกให้เป็นชื่อใหม่ของทีม นิวคาสเซิลสามารถคว้าแชมป์ลีกสูงสุดของประเทศมาครองได้ถึงสามสมัยในช่วงทศวรรษ 1900s และยังเข้าชิงชนะเลิศเอฟเอคัพถึง 5 ครั้งใน 7 ฤดูกาล แต่สามารถเป็นแชมป์ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้นในปี 1910 หลังจากเอาชนะบาร์นสลีย์ไปได้ในการเตะนัดรีเพลย์ที่กูดิสันพาร์ก หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลง พวกเขาคว้าแชมป์เอฟเอคัพได้อีกสมัยโดยการเอาชนะแอสตัน วิลลาในรอบชิงชนะเลิศที่สนามเวมบลีย์ นอกจากนั้น นิวคาสเซิลยังเป็นแชมป์ลีกได้อีกหนึ่งสมัยในปี 1927 อีกด้วย ในช่วงทศวรรษ 1950s นิวคาสเซิลเป็นแชมป์เอฟเอคัพถึง 3 สมัยในช่วงเวลา 5 ปี โดยเอาชนะแบล็กพูล 2-0 ในปี 1951 ชนะอาร์เซนอล 1-0 ในปี 1952 และชนะแมนเชสเตอร์ ซิตี 3-1 ในปี 1955 โดยทีมนิวคาสเซิลในยุคนั้น มีผู้เล่นชื่อดังอยู่หลายคนด้วยกัน เช่น แจคกี มิลเบิร์น, บ็อบบี มิทเชลล์, และสแตน เซมัวร์ หลังจากตกชั้นลงไปเล่นในดิวิชันสองอยู่ชั่วขณะ นิวคาสเซิลที่นำโดยผู้จัดการทีม โจ ฮาร์วีย์ ก็ได้เลื่อนชั้นกลับสู่ลีกสูงสุดในปี 1965 แต่ทว่าฟอร์มของพวกเขาหลังจากนั้นไม่สม่ำเสมอนัก ทีมของฮาร์วีย์สามารถทำอันดับผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลถ้วยยุโรปครั้งแรกในปี 1968 ก่อนจะคว้าแชมป์ถ้วยอินเตอร์-ซิตีส์ แฟร์ส คัพ (หรือถ้วยยูฟ่าคัพในปัจจุบัน) ไปครองอย่างเหนือความคาดหมายในปีถัดมา โดยสามารถเอาชนะทีมใหญ่ในยุโรปของยุคนั้นไปได้หลายราย ไม่ว่าจะเป็นสปอร์ติง ลิสบอน, เฟเยนูร์ด รอตเตอร์ดัม หรือ รีล ซาราโกซา และปิดท้ายด้วยการคว่ำทีมอุจเพสท์จากฮังการีในรอบชิงชนะเลิศ นับตั้งแต่ก่อตั้งทีมมา นิวคาสเซิลมักจะมอบเสื้อหมายเลข 9 ให้แก่ผู้เล่นกองหน้าชื่อดังประจำทีม โดยประเพณีนี้ยังคงตกทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน สำหรับในช่วงเวลานั้น ผู้เล่นที่ได้ใส่เสื้อหมายเลข 9 มีหลายคนด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น วิน เดวีส์, ไบรอัน ร็อบสัน, บ็อบบี มอนเคอร์ หรือ แฟรงค์ คลาร์ก หลังจากประสบความสำเร็จในฟุตบอลสโมสรยุโรป ฮาร์วีย์ก็ได้ดึงตัวผู้เล่นเกมรุกชื่อดังมากมายเข้ามาร่วมทีม นับตั้งแต่ จิมมี สมิธ, โทนี กรีน และเทอร์รี ฮิบบิทท์ ไปจนถึงยอดศูนย์หน้าอย่าง มัลคอล์ม แมคโดแนลด์ เจ้าของฉายา 'ซูเปอร์แมค' ผู้เป็นหนึ่งในตำนานของสโมสร แมคโดแนลด์พานิวคาสเซิลเข้าชิงชนะเลิศถ้วยเอฟเอคัพและลีกคัพกับลิเวอร์พูลและแมนเชสเตอร์ ซิตีในปี 1974 และ 1976 ตามลำดับ แต่พลพรรคแม็กพายส์กลับล้มเหลวในรอบชิงทั้งสองครั้ง ในช่วงต้นทศวรรษ 1980s นิวคาสเซิลอยู่ในช่วงตกต่ำ โดยได้ตกชั้นลงไปเล่นอยู่ในดิวิชัน 2 อยู่เป็นเวลาหลายปี ก่อนที่ผู้จัดการทีมอาร์เธอร์ ค็อกซ์จะสร้างทีมขึ้นมาใหม่โดยมีเควิน คีแกน อดีตกัปตันทีมชาติอังกฤษเป็นแกนหลัก จนกระทั่งได้เลื่อนชั้นกลับสู่ลีกสูงสุด หลังจากนั้น นิวคาสเซิลเล่นอยู่ในดิวิชัน 1 จนกระทั่งพวกเขาตกชั้นอีกครั้งในปี 1989 ในปี 1992 เควิน คีแกนได้กลับคืนสู่นิวคาสเซิลอีกครั้งในฐานะผู้จัดการทีม เมื่อเขาตอบรับสัญญาระยะสั้น เข้ามาคุมทีมแทนออสซี อาร์ดิเลส ตัวคีแกนเองนั้นกล่าวว่า งานคุมทีมนิวคาสเซิลเป็นงานเดียวเท่านั้น ที่สามารถทำให้เขาหวนคืนสู่วงการฟุตบอลได้ ในขณะนั้น นิวคาสเซิลกำลังดิ้นรนหนีการตกชั้นอยู่ในดิวิชัน 2 ถึงแม้ว่าจะเพิ่งถูกซื้อกิจการโดยเซอร์ จอห์น ฮอลล์ไปไม่นานก็ตาม ในฤดูกาลนั้น นิวคาสเซิลสามารถหนีรอดพ้นการตกชั้นไปได้ โดยเปิดบ้านเอาชนะปอร์ทสมัธก่อนจะบุกไปเอาชนะเลสเตอร์ ซิตีในสองเกมสุดท้ายของฤดูกาล ในฤดูกาลถัดมา (1992-93) ฟอร์มของนิวคาสเซิลเปลี่ยนแปลงไปจากหน้ามือเป็นหลังมือ พวกเขาเล่นฟุตบอลเกมรุกแบบตื่นตาตื่นใจ จนกระทั่งคว้าชัยชนะในเกมลีก 11 นัดแรก ก่อนที่จะก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งแชมป์ดิวิชัน 1 และเลื่อนชั้นขึ้นสู่พรีเมียร์ลีกด้วยชัยชนะเหนือกริมสบี ทาวน์ 2-0 นิวคาสเซิลประสบความสำเร็จในระดับสูงสุดภายใต้การคุมทีมของคีแกน พวกเขาจบฤดูกาล 1993-94 ที่อันดับ 3 และได้รับการตั้งฉายาโดยสื่อมวลชนอังกฤษว่าเป็น "The Entertainers" ในปีถัดมา นิวคาสเซิลจบฤดูกาลที่อันดับ 6 หลังจากที่ช็อกแฟนบอลด้วยการขายกองหน้าจอมถล่มประตู แอนดี โคล ให้กับแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดด้วยค่าตัว 6 ล้านปอนด์บวกกับคีธ กิลเลสพี ปีกขวาดาวรุ่งชาวไอริช ในปี 1995-96 นิวคาสเซิลเสริมทีมครั้งใหญ่ โดยดึงตัวผู้เล่นชื่อดังเช่นดาวีด ฌีโนลาและเลส เฟอร์ดินานด์มาร่วมทีม พวกเขาเกือบที่จะคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีกได้สำเร็จ แต่ก็ทำได้เพียงตำแหน่งรองแชมป์ ทั้งที่ในช่วงคริสต์มาส พวกเขาทิ้งห่างแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดถึง 12 คะแนน เกมที่นิวคาสเซิลพ่ายให้กับลิเวอร์พูลไป 3-4 ที่สนามแอนฟิลด์ในฤดูกาลนี้ ได้รับการโหวตให้เป็นเกมยอดเยี่ยมตลอดกาลของพรีเมียร์ลีกเลยทีเดียว นิวคาสเซิลเข้าป้ายเป็นอันดับที่ 2 อีกครั้งในปีถัดมา แม้ว่าจะทำการเซ็นสัญญากองหน้าทีมชาติอังกฤษ แอลัน เชียเรอร์ มาร่วมทีมด้วยค่าตัวสถิติโลก 15 ล้านปอนด์ สำหรับฤดูกาล 1996-97 นี้ เป็นที่จดจำของแฟนบอลหลายคน เนื่องจากนิวคาสเซิลได้ถล่มเอาชนะแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดไปด้วยสกอร์ถึง 5-0 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1996 คีแกนลาออกจากตำแหน่งผู้จัดการทีมในเดือนมกราคม ปี 1997 และถูกแทนที่โดยเคนนี ดัลกลิช ซึ่งได้รับเลือกเพื่อมาช่วยแก้ปัญหาเกมรับของทีม ในช่วงครึ่งฤดูกาลหลังของปี 1997-98 ดัลกลิชพานิวคาสเซิลเข้าไปเล่นฟุตบอลยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก และพ่ายต่ออาร์เซนอลในรอบชิงชนะเลิศถ้วยเอฟเอคัพไป 0-2 หลังจากนั้น แฟนบอลก็เริ่มที่จะไม่พอใจกับสไตล์การทำทีมที่เน้นเกมรับของดัลกลิช เมื่อบวกกับผลงานที่ตกต่ำลงของทีม เป็นผลให้ดัลกลิชถูกปลดออกจากตำแหน่งในช่วงต้นฤดูกาล 1998-99 รืด คึลลิตก้าวเข้ามารับตำแหน่งผู้จัดการทีมต่อจากดัลกลิช และพาทีมเข้าชิงชนะเลิศเอฟเอคัพอีกครั้ง ก่อนจะพ่ายให้กับแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดไปในที่สุด แต่คึลลิตได้ทำการซื้อตัวผู้เล่นราคาแพงหลายคนที่ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงในพรีเมียร์ลีก เช่นมาร์เซลิโน กองหลังชาวสเปน และซิลวิโอ มาริช มิดฟิลด์โครเอเชีย นอกจากนี้คึลลิตยังมีปากเสียงกับผู้เล่นคนสำคัญหลายคนในทีม ทั้งหมดนี้ประกอบกับการเริ่มต้นฤดูกาล 1999-2000 ได้อย่างเลวร้าย ทำให้คึลลิตถูกกดดันให้ลาออกไป นิวคาสเซิลตัดสินใจแต่งตั้งเซอร์ บ็อบบี ร็อบสัน อดีตผู้จัดการทีมชาติอังกฤษชาวจอร์ดี เข้ามากู้สถานการณ์ของทีม ซึ่งในขณะนั้นอยู่ในโซนตกชั้น เกมเหย้าเกมแรกของนิวคาสเซิลภายใต้ร็อบสันจบลงด้วยชัยชนะ 8-0 เหนือเชฟฟิลด์ เวนส์เดย์ พร้อมทั้ง 5 ประตูจากกัปตันทีมแอลัน เชียเรอร์ ในช่วงที่ร็อบสันคุมทีม นิวคาสเซิลได้สร้างทีมขึ้นมาใหม่โดยอาศัยนักเตะดาวรุ่งเป็นแกนหลัก ผู้เล่นอย่างคีรอน ดายเออร์, เคร็ก เบลลามี่ และโลรองต์ โรแบร์ ทำให้นิวคาสเซิลกลับมาเป็นทีมระดับหัวแถวของพรีเมียร์ลีกอีกครั้ง ฟุตบอลเกมรุกอันน่าตื่นเต้นของพวกเขาทำให้นิวคาสเซิลทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยมในฤดูกาล 2001-02 จนได้กลับเข้าไปเล่นในรายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก และได้เข้าไปเล่นในรอบ 8 ทีมสุดท้ายของถ้วยเอฟเอคัพและลีกคัพ ในฤดูกาล 2002-03 นิวคาสเซิลได้สร้างประวัติศาสตร์ เป็นทีมแรกในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกที่แพ้ในรอบแบ่งกลุ่ม 3 เกมแรกแล้วยังสามารถผ่านเข้ารอบต่อไปได้ ก่อนจะตกรอบแบ่งกลุ่มรอบสอง หลังจากถูกจับฉลากแบ่งสายไปอยู่ในกลุ่มเดียวกับทีมยักษ์ใหญ่อย่างบาร์เซโลนาและอินเตอร์ มิลาน ส่วนผลงานในพรีเมียร์ลีกนั้น นิวคาสเซิลก็ยังคงทำได้ดีอย่างสม่ำเสมอ จนจบฤดูกาลในอันดับที่ 3 ต่อมาในฤดูกาล 2003-04 นิวคาสเซิลตกรอบคัดเลือกยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกหลังพ่ายในการดวลจุดโทษให้กับพาร์ทิซาน เบลเกรด จนต้องตกลงไปเล่นในถ้วยยูฟ่าคัพแทน นิวคาสเซิลจบฤดูกาลในอันดับที่ 5 และเข้าถึงรอบรองชนะเลิศถ้วยยูฟ่าคัพ นัดสุดท้ายของฤดูกาล 2008-09 นิวคาสเซิลบุกไปแพ้แอสตันวิลลา 1-0 ที่วิลลาพาร์ก ทำให้ทีมต้องตกชั้นสู่เดอะแชมเปียนชิพด้วยอันดับ 18 ของตาราง หลังจากตกชั้นได้ไม่นานแอลัน เชียเรอร์ ก็หมดสัญญาคุมทีม โดยมีคริส ฮิวจ์ตัน ทำหน้าที่รักษาการแทน หลังจากนั้นทีมต้องเสียนักเตะอย่าง ไมเคิล โอเวน, มาร์ค วิดูกา, เดวิด เอ็ดการ์, โอบาเฟมี มาร์ตินส์ และเซบาสเตียน บาสซง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฤดูกาลของสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง

ในสาขาจิตวิทยา ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง (Big Five personality traits) หรือ แบบจำลองมีปัจจัย 5 อย่าง (five factor model ตัวย่อ FFM) เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับมิติหรือปัจจัยใหญ่ ๆ 5 อย่างที่ใช้อธิบายบุคลิกภาพและสภาพทางจิตใจของมนุษย์ โดยมีนิยามของปัจจัย 5 อย่างว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาสโล บีโร

ลาสโล โยแชฟ บีโร (Bíró László József; 29 กันยายน ค.ศ. 1899 – 24 ตุลาคม ค.ศ. 1985) เป็นนักประดิษฐ์ชาวฮังการี ผู้ประดิษฐ์ปากกาลูกลื่น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและลาสโล บีโร · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1940 ทหารสกีของฟินแลนด์ - 12 มกราคม 1940 ทหารโซเวียตเสียชีวิตหลังจากถูกโจมตีที่ถนนราเต เส้นทางการรุกของกองทัพเยอรมันและกองทัพอังกฤษในการทัพนอร์เวย์ การรุกสายฟ้าแลบระหว่างยุทธการแห่งฝรั่งเศส - กลางเดือนพฤษภาคม 1940 อพยพจากดันเคิร์กระหว่างปฏิบัติการไดนาโม อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในกรุงปารีส - 23 มิถุนายน 1940 เครื่องบินรบเยอรมันเตรียมทำการรบในยุทธการแห่งบริเตน เดอะบลิตซ์: กรุงลอนดอนถูกทิ้งระเบิดทางอากาศโดยกองทัพอากาศเยอรมัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940) · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1944)

รียงลำดับเหตุการณ์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1944.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1944) · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1945)

รียงลำดับเหตุการณ์ตั้งแต่ 1 มกราคม 1945 จนถึงญี่ปุ่นยอมแพ้สงครามอย่างเป็นทางการเมื่อ 2 กันยายน 1945.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1945) · ดูเพิ่มเติม »

ลิเวอร์พูล

มืองลิเวอร์พูล (Liverpool) เป็นเมืองที่มีฐานะเป็นนครและเป็นเมืองเมโทรโพลิตันของเมอร์ซีย์ไซด์ในภาคการปกครองตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษ ลิเวอร์พูลตั้งอยู่ทางตะวันออกของปากน้ำเมอร์ซีย์ (Mersey Estuary) ลิเวอร์พูลก่อตั้งมาตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1950

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1950 (1950 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่สองของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองโซเฟีย, ประเทศบัลแกเรีย ระหว่างวันที่ 24 ตุลาคม – 26 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1950 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955 (1955 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่สี่ของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองบูคาเรสต์, ประเทศโรมาเนีย ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955 (1955 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ห้าของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองปราก, ประเทศเชโกสโลวาเกีย ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม – 11 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963 (1963 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่หกของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองบูคาเรสต์, ประเทศโรมาเนีย ระหว่างวันที่ 21 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1963 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967 (1967 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่เจ็ดของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองอิสตันบูล, ประเทศตุรกี ระหว่างวันที่ 26 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1967 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือก

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันรอบคัดเลือกระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติฮังการี

วอลเลย์บอลชายทีมชาติฮังการี (Magyarországon férfi nemzeti röplabda csapata) เป็นทีมวอลเลย์บอลชายของประเทศฮังการี ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลฮังการี และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายทีมชาติฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลที่จัดขึ้นในประเทศโปแลนด์ เป็นครั้งแรกของการแข่งขันวอลเลย์บอลชายเวิลด์คั.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1965 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป (Boys' Youth European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุต่ำกว่า 19 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป (Women's European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงสำหรับทีมชาติในทวีปยุโรป จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบัลแกเรีย

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบัลแกเรีย (Български национален отбор по волейбол) เป็นทีมชาติของประเทศบัลแกเรีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลบัลแกเรีย ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในปี 1981บัลแกเรียได้ชนะยุโรปที่บ้านของตนในโซเฟีย ปีก่อนบัลแกเรียได้รับเหรียญทองแดงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 เอาชนะทีมฮังการีในการแข่งขันเหรียญทองแดงด้วยคะแนน 3-2.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฮังการี

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฮังการี (Magyar női röplabda-válogatott) เป็นทีมชาติของประเทศฮังการี ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลฮังการี และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1965

วอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1965 จัดขึ้นที่เมืองบูดาเปสต์, ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1965 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007

วอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007 จัดขึ้นที่เมืองบูดาเปสต์, ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลในกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป (Men's Junior European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุต่ำกว่า 21 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ สองปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป (Women's Junior European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุไม่เกิน 19 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วัลบูร์กา ฮับส์บูร์ก ดักลาส

วัลบูร์กา ฮับส์บูร์ก ดักลาส (พระนามเต็ม: วาร์ลบูก้า มาเรีย ฟรานซิสก้า เฮเลน เอลิซาเบธ; Walburga Maria Franziska Helene Elisabeth von Habsburg-Lothringen) ประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ณ เมืองชล๊อสเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระธิดาองค์ที่ 5 ในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน พระองค์ทรงเป็นนักกฎหมายและนักการเมือง โดยเป็นสมาชิกสภาแห่งประเทศสวีเดน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 โดยพระองค์มีพระนามทางการเมืองว่า วาร์ลบูก้า ฮับส์บูร์ก-ดักลาส (Warlburga Habsburg-Douglas) พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับท่านเค้านท์อาร์คิบาล์ด ดักลาส ชาวสวีเดนเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ณ กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี ทั้งสองมีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ เค้านท์มอริตซ์ ออตโต เว็นเซล ดักลาส ซึ่งประสูติเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวัลบูร์กา ฮับส์บูร์ก ดักลาส · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมลาแตน

วัฒนธรรมลาแตน (La Tène culture) เป็นวัฒนธรรมยุคเหล็กของยุโรปที่ตั้งชื่อตามแหล่งโบราณคดีที่ลาแตนบนฝั่งเหนือของทะเลสาบเนอชาแตลในสวิตเซอร์แลนด์ที่เป็นที่พบสิ่งของมีค่าทางโบราณคดีจำนวนมากมายโดยฮันสลี ค็อพพ์ ในปี ค.ศ. 1857 วัฒนธรรมลาแตนเคลตสเครุ่งเรืองระหว่างปลายยุคเหล็ก (ตั้งแต่ปี 450 ก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึงการพิชิตของโรมันใน ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช) ในบริเวณตะวันออกของฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย ตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมนี สาธารณรัฐเช็ก สโลวาเกีย และฮังการี ทางตอนเหนือไปจรดกับวัฒนธรรมยาสตอร์ฟของเยอรมนีตอนเหนือ วัฒนธรรมลาแตนเจริญขึ้นมาจากวัฒนธรรมฮัลล์ชตัทท์ของยุคเหล็กตอนต้น โดยไม่มีการแบ่งแยกทางวัฒนธรรมที่เห็นได้ชัด และเป็นวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลพอประมาณจากเมดิเตอร์เรเนียนจากกรีกในภูมิภาคกอลก่อนสมัยโรมันและต่อมาอารยธรรมอีทรัสคัน การโยกย้ายศูนย์กลางของที่ตั้งถิ่นฐานเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 4 โบราณวัตถุทางวัฒนธรรมของวัฒนธรรมลาแตนพบในบริเวณอันกว้างไกลที่รวมไปถึงบางส่วนของไอร์แลนด์และบริเตนใหญ่ (หมู่บ้านริมทะเลสาบกลาสตันบรีในอังกฤษเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับวัฒนธรรมลาแตน), ทางตอนเหนือของสเปน ภูมิภาคเบอร์กันดี และ ออสเตรีย สถานที่ฝังศพอันหรูหราก็เป็นเครื่องแสดงเครือข่ายของการค้าอันกว้างไกล เช่นเนินบรรจุศพวีซ์ในฝรั่งเศสซึ่งเป็นที่ฝังศพของสตรีสูงศักดิ์จากศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราชที่ถูกฝังพร้อมด้วยไหคอลดรอนสำริดที่ทำในกรีซ สินค้าออกของจากบริเวณวัฒนธรรมลาแตนไปยังบริเวณวัฒนธรรมเมดิเตอร์เรเนียนก็จะมีเกลือ ดีบุก ทองแดง อำพัน ขนแกะ หนัง ขนสัตว์ และทองคำ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวัฒนธรรมลาแตน · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการระบาด

วิทยาการระบาด เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชากร และเป็นพื้นฐานและตรรกะที่ทำให้เกิดแนวคิดความสนใจในสาธารณสุขและเวชศาสตร์ป้องกัน สาขาวิชานี้วิธีที่สำคัญพื้นฐานของงานวิจัยด้านสาธารณสุข และเกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์อิงหลักฐาน (evidence-based medicine) ในการหาปัจจัยเสี่ยงของโรคและประเมินวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด งานของนักวิทยาการระบาดที่เกี่ยวข้องกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีขอบเขตตั้งแต่การสืบค้นการระบาดของโรค (outbreak investigation) ไปจนถึงการออกแบบการศึกษา การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ รวมทั้งการพัฒนาแบบจำลองทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานและการเตรียมผลการวิจัยเพื่อเสนอผลการวิจัย นักวิทยาการระบาดอาจอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์หลายอย่างเช่นชีววิทยาในการทำความเข้าใจการดำเนินโรค และระเบียบวิธีทางสังคมศาสตร๋ เช่นสังคมศาสตร์และปรัชญาเพื่อช่วยในการทำความเข้าใจปัจจัยเสี่ยงใกล้เคียงและไกล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวิทยาการระบาด · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วีรบุรุษท้องถิ่น

วีรบุรุษท้องถิ่น หรือ โลเคิลฮีโร (Local Hero) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2526 เขียนบทและกำกับโดยบิล ฟอร์ไซธ์ อำนวยการสร้างโดยเดวิด พัตนัม มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับหมู่บ้านชาวประมงเล็กๆ ทางฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางเหนือของสก็อตแลนด์ ที่กำลังจะถูกบริษัทปิโตรเลียมยักษ์ใหญ่จากฮูสตัน สหรัฐอเมริกา เข้ากว้านซื้อที่ดิน เพื่อสร้างแท่นขุนเจาะน้ำมัน ท่าเรือ และโรงกลั่นน้ำมัน ฟอร์ไซธ์ดัดแปลงเนื้อเรื่องจากข่าวความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับเท็กซาโก บริษัทขุดเจาะน้ำมันของสหรัฐ ที่หมู่เกาะเช็ทแลนด์ ทางตอนเหนือของสก็อตแลนด์ ภาพยนตร์นำแสดงโดยปีเตอร์ ไรเกิร์ต, เดนิส ลอว์สัน, เบิร์ต แลนแคสเตอร์ และฟุลตัน แม็กเคย์ ถ่ายทำที่หมู่บ้านชายทะเลชื่อ เพนแนน เมืองแอเบอร์ดีนเชียร์ ทางตะวันออกของสก็อตแลนด์ ฉากชายทะเลถ่ายทำที่เมืองมอแรร์ และแอริเซก ฝั่งตะวันตกของสก็อตแลนด์ ดนตรีประกอบภาพยนตร์ ใช้เพลงแนวเคลต์ โดยมาร์ก นอฟเลอร์ เพลงธีมของภาพยนตร์ ชื่อเพลง "Going Home" นับเป็นเพลงของนอฟเลอร์ที่ประสบความสำเร็จที่สุด ถูกนำมาใช้เป็นเพลงเปิดตัวนักกีฬาลงสู่สนามเซนต์เจมส์พาร์ค ของสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด และเป็นเพลงปิดท้ายเกมเหย้าของสโมสรฟุตบอลทรานเมียร์โรเวอร์ส ในลีกวัน (เทียบเท่า ดิวิชัน 2) โลเคิลฮีโร ถูกนำเข้าลิขสิทธิ์มาวางจำหน่ายในประเทศไทยโดยบริษัท รี มาสเตอร์ จำกัด ใช้ชื่อภาษาไทยว่า วีรบุรุษท้องถิ่น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวีรบุรุษท้องถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

วงธัญพืช

วงข้าวโพดล้ม หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า ครอปเซอร์เคิล วงธัญพืช หรือ วงข้าวโพดล้ม หรือ ครอปเซอร์เคิล (crop circle) เป็นคำที่ใช้อธิบายถึงรูปแบบพืชที่ล้มลง ซึ่งเริ่มต้นจาก ข้าวโพด โดยคำนี้รวมถึง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ถั่วเหลือง วงข้าวโพดล้มนี้พบได้หลายแห่งทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและวงธัญพืช · ดูเพิ่มเติม »

สกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์

รโคโคเวสโซบรุนที่แอบบีชูสเซ็นรีด (Schussenried Abbey) งานของโดมินิคุส ซิมเมอร์มันน์ที่ วัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ปูนปั้นสมัยปลายบาโรกที่มีลักษณะโรโคโคที่วัดคร็อยซแฮรน (Kreuzherrnkirche) ที่เม็มมิงเก็น (Memmingen) โรโคโคเวสโซบรุน (ภาษาอังกฤษ: Wessobrunner School) หมายถึงกลุ่มนักปั้นปูนที่เริ่มก่อตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่แอบบีเบ็นนาดิคตินเวสโซบรุน (Wessobrunn Abbey) กลุ่มช่างนี้มีด้วยกันทั้งหมด 600 คนเท่าที่ทราบกัน กลุ่มโรโคโคเวสโซบรุนเป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปะปูนปั้นทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 โรโคโคเวสโซบรุน เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ศิลปะกุสตาฟ ฟอน เบโซลด์ (Gustav von Bezold) และ จอร์จ แฮคเคอร์ (Georg Hacker) ใช้เรียกศิลปินหรือช่างกลุ่มนี้มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์นักประดิษฐ์นานาชาติ

สมาพันธ์นักประดิษฐ์นานาชาติ (The international Federation of Inventor’s Associations) หรือ ไอเอฟไอเอ (IFIA) มีสำนักงานอยู่ที่กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์และการประดิษฐ์.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสมาพันธ์นักประดิษฐ์นานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด พงษ์อยู่

มคิด พงษ์อยู่ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2520 ที่จังหวัดกาญจนบุรี ประเทศไทย เป็นทั้งลูกพี่ลูกน้องและผู้ฝึกสอนฟันดาบสากลให้แก่วีระเดช โคธนี ผู้ซึ่งได้รับสองเหรียญทองแดงให้แก่ทีมชาติเยอรมนี ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ที่ซิดนีย์ ปัจจุบัน สมคิด พงษ์อยู่ ทำหน้าที่ช่วยเหลือสมาคมฟันดาบสมัครเล่นแห่งประเทศไทย โดยการเป็นผู้ฝึกสอนแก่นักฟันดาบสากลทีมชาต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสมคิด พงษ์อยู่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งฮังการี

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งฮังการี (Mary I of Hungary) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งฮังการี พระองค์สืบราชสมบัติต่อจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 1 แห่งฮังการี พระราชบิดาของพระองค์ เมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1382 โดยการสำเร็จราชการของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธแห่งบอสเนีย พระราชมารดา พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายซีกิสมุนด์แห่งลักเซมเบิร์กเมื่อ เมษายน ค.ศ. 1385 พระองค์ถูกปลดในเดือนธันวาคมโดยพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งฮังการี แต่การครองราชย์อันสั้นของพระองค์ก็จบด้วยการลอบปลงพระชนม์โดยการสนับสนุนของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1386 ในเดือนกรกฎาคม สมเด็จพระราชินีนาถก็ได้ครองราชย์อีกครั้ง แต่พระมารดาของพระองค์ถูกจับขังและประหารในเดือนมกราคมปีถัดมา ส่วนพระองค์ได้รับการปลดปล่อยโดยพระสวามี พระองค์และพระสวามีจึงครองคู่กันตราบจนสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย (24 สิงหาคม พ.ศ. 2408 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2457 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สวีตดรีมส์

วีตดรีมส์ (Sweet Dreams) คือเพลงโดยบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องอาร์แอนด์บี ชาวอเมริกัน จากผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ไอแอม... ซาชาเฟียร์ส แต่งและดูแลการผลิตโดยโนวส์, James Scheffer, Wayne Wilkins, และ Rico Love เพลงนี้ปล่อยซิงเกิลวิทยุเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยเป็นซิงเกิลที่ 6 จากอัลบั้ม ซิงเกิลนี้สามารถขึ้นอันดับหนึ่งบนชาร์ตของนิวซีแลนด์, แอฟริกาใต้ และอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสวีตดรีมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ยกน้ำหนักระหว่างประเทศ

หพันธ์ยกน้ำหนักระหว่างประเทศ (International Weightlifting Federation) หรือที่เรียกกันโดยย่อว่า IWF เป็นองค์กรที่ควบคุมดูแลกีฬายกน้ำหนักระหว่างประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี สหพันธ์ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสหพันธ์ยกน้ำหนักระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเอลิซาเบธ

นเอลิซาเบธ (Erzsébet híd) เป็นสะพานแขวน ตั้งอยู่ที่อยู่กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี สร้างข้ามแม่น้ำดานูบ ระหว่างเมืองบูดา และเมืองเปสต์ สะพานตั้งอยู่ในส่วนที่แคบที่สุดของแม่น้ำดานูบในบริเวณเมืองบูดาเปส มีความยาวทั้งสิ้น 378.6 เมตร ความยาวระหว่างตอม่อ 290 เมตร ชื่อสะพานมาจากพระนามของดัชเชสเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย ซึ่งเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย และสมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี ผู้ซึ่งถูกลอบปลงพระชนม์ ในปี พ.ศ. 2441 ในปัจจุบันนี้มีอนุสาวรีย์ของพระนางตั้งอยู่บริเวณสะพาน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสะพานเอลิซาเบธ · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี

รณรัฐประชาชนฮังการี (Magyar Népköztársaság), หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ฮังการี เป็นยุคหนึ่งของ ประวัติศาสตร์ฮังการี ตั้งแต่ปี 1949 ถึงปี 1989 โดยประเทศนี้เป็น สาธารณรัฐสังคมนิยม สาธารณรัฐประชาชนฮังการีถูกปกครองโดย พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี, ภายได้การหนุนหลังของ สหภาพโซเวียตRao, B. V. (2006), History of Modern Europe Ad 1789-2002: A.D. 1789-2002, Sterling Publishers Pvt.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสาธารณรัฐประชาชนฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป

ำนักข่าวยูโรเปี้ยน เพรสโฟโต้ เอเจนซี่ เป็นหน่วยงานที่ทำการเผยแพร่ภาพข่าวเหตุการณ์จากประเทศต่าง ๆ ไปทั่วโลก รูปภาพจากทุกส่วนของโลกครอบคลุมข่าวการเมือง ข่าวกีฬา ข่าวธุรกิจการเงิน ตลอดจนข่าวศิลปวัฒนธรรมและการบันเทิง ซึ่งถ่ายภาพโดยช่างภาพข่าวมืออาชีพในเครือข่ายทั่วโลกกว่า 400 คนนำมารวมไว้ในบริการภาพของ epa บริการภาพข่าวของ epa ผลิตรายวันโดยช่างภาพที่เป็นพนักงานจากเครือข่ายที่สร้างขึ้นทั่วโลกรวมทั้งช่างภาพขององค์กรข่าวซึ่งเป็นสมาชิกและผู้นำการตลาดด้านภาพข่าวในแต่ละประเทศ ภาพถ่ายทั้งหมดจะถูกส่งเข้ามาที่กองบรรณาธิการใหญ่ ณ เมือง แฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี ก่อนจะแจกจ่ายให้กับลูกค้าทั่วโลก กองบรรณาธิการภาพนี้มีการทำงานตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้ลูกค้าได้รับภาพข่าวและเหตุการณ์ที่ทันต่อสถานการณ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ ศรีภิรมย์

รพงษ์ ศรีภิรมย์ (Surapong Sripirom) เกิดวันที่ 31 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสุรพงษ์ ศรีภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

กิดสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 สุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์ผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ฉะนั้นจึงขวางภาพดวงอาทิตย์ทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ผู้สังเกตบนโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดเมื่อเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงจันทร์ใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงอาทิตย์ จึงสกัดแสงอาทิตย์โดยตรงทั้งหมด แล้วทำให้ความมืดปกคลุม คราสเต็มดวง (totality) เกิดในวิถีแคบผ่านพื้นผิวโลกโดยสามารถเห็นสุริยุปราคาบางส่วนได้เหนือภูมิภาคโดยรอบกว้างหลายพันกิโลเมตร มีโชติมาตร (magnitude) 1.045 ช่วงเวลาคราสเต็มดวงนานที่สุด คือ 2 นาที 47 วินาที นอกหมู่เกาะแฟโร เป็นสุริยุปราคาเต็มดวงสุดท้ายที่เห็นได้ในทวีปยุโรปจนอุปราคา 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

สุลัยมานผู้เกรียงไกร

ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول‎) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ. 1520 จนเสด็จสวรรคตเมื่อต้นเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1566 เป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 และเป็นสุลต่านที่ทรงราชย์นานที่สุดของจักรวรรดิออตโตมัน เป็นเวลานานถึง 46 ปี สุลต่านสุลัยมานเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1494 ที่ทราบซอนในประเทศตุรกี เป็นพระราชโอรสในสุลต่านเซลิมที่ 1 และฮาฟซา ฮาทุน (Hafsa Hatun) ทรงเสกสมรสตามกฎหมายกับร็อกเซลานา หรือเฮอร์เรมสุลต่าน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อราววันที่ 5/6 กันยายน ค.ศ. 1566 ที่ Szigetvár ในประเทศฮังการีปัจจุบัน หลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชโอรสของพระองค์กับเฮอร์เรมสุลต่านก็ขึ้นครองราชย์เป็นสุลต่านเซลิมที่ 2 สุลต่านสุลัยมานเป็นพระมหากษัตริย์องค์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีบทบาทสำคัญไม่เพียงแต่ในจักรวรรดิออตโตมันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงททวีปยุโรปด้วย พระองค์มีพระบรมราชานุภาพอันยิ่งใหญ่ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ ทรงเป็นผู้นำทัพด้วยพระองค์เองในการสงครามหลายครั้งและทรงได้รับชัยชนะในสงครามหลายครั้งที่รวมทั้งต่อเบลเกรด โรดส์ และ ฮังการีเกือบทั้งหมด แต่มาทางพ่ายแพ้ในการล้อมกรุงเวียนนาในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

สีดำ (มุทราศาสตร์)

“Sable (heraldry)” สีดำทางซ้าย หรือ ตารางทางขวา สีดำ (Sable) เป็นภาษามุทราศาสตร์ที่บรรยายลักษณะของผิวตรา (Tincture) ที่เป็นสีดำ ที่อยู่ในกลุ่มผิวตราสีหนักที่เรียกว่า “สี” ถ้าเป็นการแกะพิมพ์ “ดำ” ก็จะเป็นตาราง หรืออาจจะจารึกด้วยอักษรย่อ “sa.” ของคำว่า “Sable” ชื่อสีตรามาจากขนสีดำของตัวเซเบิล ผิวตราสีดำเป็นสัญลักษณ์ของ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสีดำ (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สีประจำชาติ

ีประจำชาติ เป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ประจำชาติ หลายรัฐ และ หลายประเทศ ได้นำสีประจำชาติมาใช้อย่างเป็นทางการ (นิตินัย) "สีประจำชาติ" ในขณะที่หลายประเทศได้นำสีสีประจำชาติมาใช้โดยพฤตินัย สีประจำชาติมักจะปรากฏสื่อ, ธงของประเทศ สีที่ใช้ในการเล่นกีฬา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสีประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยเพื่อการลดอาวุธแห่งสหประชาชาติ

ันวิจัยเพื่อการลดอาวุธแห่งสหประชาชาติ (United Nations Institute for Disarmament Research) ก่อตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2523 โดยสมัชชาแห่งสหประชาชาติเพื่อแจ้งให้รัฐและประชาคมโลกเกี่ยวกับคำถามเกี่ยวกับความมั่นคงระหว่างประเทศและเพื่อช่วยในการลดความรุนแรงเพื่ออำนวยความสะดวกในการพัฒนาความมั่นคงและการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมให้มากขึ้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสถาบันวิจัยเพื่อการลดอาวุธแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสถาปัตยกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์

มหาวิหารแซงต์ปิแยร์แห่งอองกูเล็ม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ (Romanesque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ไปจนถึงสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่อังกฤษจะเรียกกันว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” ลักษณะเด่นๆของสถาปัตยกรรมยุคนี้คือความเทอะทะ เช่นความหนาของกำแพง ประตูหรือหลังคา/เพดานโค้งประทุน เพดานโค้งประทุนซ้อน การใช้โค้งซุ้มอาร์เคดในระหว่างช่วงเสาหนึ่ง ๆ และในแต่ละชั้นที่ต่างขนาดกันศิลป พีระศรี, ประวัติศาสตร์และแบบอย่างศิลปะ, (แปลและเรียบเรียงโดย เขียน ยิ้มศิริ) (กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2512) เสาที่แน่นหนา หอใหญ่หนัก และ การตกแต่งรอบโค้ง (เช่น ซุ้มประตูหรืออาร์เคด (arcade)) ลักษณะตัวอาคารก็จะมีลักษณะเรียบ สมส่วนมองแล้วจะเป็นลักษณะที่ดูขึงขังและง่ายไม่ซับซ้อนเช่นสถาปัตยกรรมกอธิคที่ตามมา สถาปัตยกรรมจะพบทั่วไปในทวีปยุโรปไม่ว่าจะเป็นประเทศใดหรือไม่ว่าจะใช้วัสดุใดในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิหารเป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีบ้างที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาทในสมัยนั้น คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ยังคงมีหลงเหลืออยู่ และบางแห่งก็ยังใช้เป็นสถานที่สักการะตราบจนทุกวันนี้ Bannister Fletcher, “History of Architecture on the Comparative Method” (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโปแลนด์-ออตโตมัน (ค.ศ. 1683-1699)

งครามโปแลนด์-ออตโตมัน (ค.ศ. 1683-1699) เป็นสงครามโปแลนด์-ออตโตมันครั้งที่สาม หรือ สงครามสันนิบาตศักดิ์ศิทธิ์ ที่ใช้โดยฝ่ายโปแลนด์ หรือ ในความขัดแย้งที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามตุรกี ความขัดแย้างเริ่มขึ้นด้วยชัยชนะของโปแลนด์ในยุทธการเวียนนาในปี ค.ศ. 1683 และจบลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาคาร์โลวิทซ์, การได้ดินแดนเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียที่เสียไปในสงครามโปแลนด์-ออตโตมันก่อนหน้านั้นคืนมา (สงครามโปแลนด์-ออตโตมัน (ค.ศ. 1672–ค.ศ. 1676)) สงครามครั้งนี้เป็นสงครามครั้งสุดท้ายระหว่างเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียและจักรวรรดิออตโตมัน แต่แม้ว่าโปแลนด์จะได้รับชัยชนะเหตุการณ์นี้ก็เป็นจุดเริ่มต้นของการเสื่อมอำนาจของไม่แต่จักรวรรดิออตโตมัน แต่ของเครือจักรภพด้วย ซึ่งตั้งแต่นั้นมาก็มิได้มีบทบาทนอกเขตแดนของราชอาณาจักรของตนเอง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสงครามโปแลนด์-ออตโตมัน (ค.ศ. 1683-1699) · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์บัคส์

ตาร์บัคส์ (Starbucks) เป็นร้านกาแฟจากอเมริกาในเมืองซีแอตเทิลในรัฐวอชิงตัน ในปี ค.ศ. 1971 โดย กอร์ดอน โบเคอร์, เจอรี่ บัลด์วิน และซิฟ ซีเกิ้ล โดยตอนแรกใช้โลโก้เป็นรูปไซเรน 2 หาง ก่อตั้งในฐานะร้านขายเมล็ดกาแฟคั่ว ต่อมาปี 1982 สตาร์บัคส์มีสาขา 5 สาขา และโฮเวิร์ด ชูลทส์ได้เข้ามาร่วมงานด้วย โดยดูแลด้านการตลาดและค้าปลีก ซึ่งเขาเป็นผู้แนะนำให้สตาร์บัคส์เปิดเป็นบาร์กาแฟ แต่หลายคนก็ไม่เชื่อในวิสัยทัศน์ของเขา ต่อมาชูลทส์ได้ลาออกจากบริษัท ไปเปิดบาร์กาแฟของตนเองชื่อ อิล จิออร์เนล และจำหน่ายกาแฟของสตาร์บัคส์ ในปี 1987 สตาร์บัคส์ประสบปัญหายุ่งยากจากการไม่สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้ ปี 1988 อิล จิออร์เนลจึงซื้อกิจการด้านค้าปลีกไว้พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สตาร์บัคส์ คอร์ปอเรชั่น และจ้างนักบริหารมืออาชีพเข้ามาดูแล ปี 1992 สตาร์บัคส์ได้เข้าตลาดหลักทรัพย์ และในปี 1996 สตาร์บัคส์ได้เปิดสาขาแรกนอกอเมริกาเหนือที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมากกว่า 1 ใน 3 ของร้านสตาร์บัคส์ทั้งหมดอยู่ในต่างประเทศ โดยเฉลี่ยแล้วสตาร์บัคส์เปิดสาขาใหม่เพิ่มวันละ 2 สาขาระหว่างปี 1987 และ 2007 บริษัทได้เริ่ม Caffe Starbucks เป็นระบบบริการออนไลน์โดยอาศัยเครือข่ายของ เอโอแอล สัญลักษณ์ของสตาร์บัคส์ครั้งแรกนั้นเป็นรูปนางเงือก ซึ่งเป็น นางเงือกไซเรนสองหาง (Norse Siren) ในเทพนิยายปรัมปรา เพื่อให้นึกถึงการผจญภัยในทะเล และปรับเปลี่ยนหลายครั้งและล่าสุดคือ..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสตาร์บัคส์ · ดูเพิ่มเติม »

สติบไนท์

ติบไนท์ (Stibnite) หรือบางครั้งอาจเรียก แอนติโมไนท์ (Antimonite) เป็นแร่ในกลุ่มแร่ซัลไฟด์ มีระบบผลึกแบบออร์โธรอมบิก ลักษณะโดยทั่วไปของแร่ มีสีเทาตะกั่วปนน้ำเงิน ผงละเอียดสีเทาตะกั่ว มีความวาวแบบโลหะ ลักษณะผลึกที่พบมีทั้งลักษณะปลายเรียวแหลมคล้ายเข็มเกาะกลุ่มกัน และลักษณะใบมีดซ้อนทับกัน แสดงลักษณะรอยแตกเรียบ 2 แนว มีความถ่วงจำเพาะ เท่ากับ 4.5 และมีความแข็งตามโมห์ฮาร์ดเนสสเกล (Mohs hardness scale) เท่ากับ 2 แร่สติบไนท์มักเกิดร่วมกับ แร่ไพไรต์ แร่สฟาเลอไรต์ แร่กาลีนา แร่ซินนาบาร์ ส่วนใหญ่เกิดโดยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล อัลเทอร์เรชั่น (Hydrothermal Alteration).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสติบไนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สปาย (ภาพยนตร์)

ปาย (Spy) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวตลกในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสปาย (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

นธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1919 โดยพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผู้เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะในสงคราม กับสาธารณรัฐออสเตรียอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญานี้ก็เช่นเดียวกับสนธิสัญญาแวร์ซายกับจักรวรรดิเยอรมันที่เป็นสนธิสัญญาที่มีเนื้อหาที่ร่างโดยสันนิบาตชาติ และผลก็มิได้รับการรับรองจากสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาประกาศการยุบเลิกจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สาธารณรัฐใหม่ของออสเตรียประกอบด้วยบริเวณแอลป์ที่พูดภาษาเยอรมันของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย, ยอมรับอิสรภาพของฮังการี, เชโกสโลวาเกีย, โปแลนด์ และรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ สนธิสัญญารวมการจ่ายค่าปฏิกรรมหรือค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงครามเป็นจำนวนมหาศาลโดยตรงต่อฝ่ายพันธมิตร ดินแดนในครอบครองของออสเตรียถูกลดลงไปเป็นเชโกสโลวาเกีย โปแลนด์ และยูโกสลาเวีย และดินแดนส่วนอื่นให้แก่อิตาลี และโรมาเนีย แต่เบอร์เกนแลนด์ที่เดิมเป็นของฮังการีกลับมาเป็นของออสเตรีย ข้อสำคัญของสนธิสัญญาระบุยับยั้งออสเตรียจากการเปลี่ยนสถานะภาพของความเป็นอิสรภาพ ที่หมายถึงสาธารณรัฐใหม่เยอรมันออสเตรียที่เป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ออสเตรียไม่สามารถเข้าทำการรวมตัวไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจหรือทางการเมืองร่วมกับเยอรมนีโดยมิได้รับความเห็นชอบกับสันนิบาตชาติ กองทัพออสเตรียถูกจำกัดจำนวนลงเหลือเพียงกองทหารอาสาสมัคร 30,000 คน นอกจากนั้นก็ยังมีข้อปลีกย่อยที่เกี่ยวกับการเดินเรือบนลำแม่น้ำดานูบ, การเปลี่ยนมือของระบบการรถไฟ และการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็นรัฐอิสระย่อย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919) · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย

มสรฟุตบอลบาเลนเซีย (Valencia Club de Fútbol) รู้จักกันในชื่อ บาเลนเซีย หรือ ไอ้ค้างคาว เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของประเทศสเปนที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่เมืองบาเลนเซีย เล่นในลาลีกา และเป็นหนึ่งในสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในวงการฟุตบอลสเปน บาเลนเซียสามารถคว้าแชมป์ลีกมาครองได้ 6 สมัย โกปาเดลเรย์ 6 สมัย ยูฟ่าคัพ 3 สมัย ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ 1 สมัย ยูฟ่าซุปเปอร์คัพ 2 สมัย และเข้าชิงชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2 ครั้งในปี ค.ศ. 2000 และ ค.ศ. 2001 แต่กลับพ่ายให้กับคู่ปรับในศึกลาลีกาอย่างเรอัลมาดริดในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2014–15

ูกาล 2014–15 เป็นฤดูกาลที่ 123 ของ ลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 52 ติดต่อกันของสโมสรได้เล่นในลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นฤดูกาลที่ 23 ที่อยู่บนเวทีพรีเมียร์ลีก เช่นเดียวกับพรีเมียร์ลีก, สโมสรจะได้แข่งขันใน เอฟเอคัพ, ลีกคัพ และ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ซึ่งถือว่าเป็นการได้กลับมาอีกครั้งในรอบ 4 ปีที่หายไปจากการแข่งขันรายการฟุตบอลสโมสรยุโรป สำหรับพรีเมียร์ลีกแล้ว ฤดูกาลนี้ ลิเวอร์พูลถือว่าประสบความล้มเหลวเมื่อเทียบกับฤดูกาลที่แล้ว ซึ่งสโมสรได้ที่ 2 แต่ฤดูกาลนี้ ลิเวอร์พูลได้เพียงอันดับ 6 ซ้ำในนัดปิดท้ายฤดูกาล ยังเป็นฝ่ายแพ้ต่อ สโตกซิตี ไปถึง 6-1 ประตู ที่สนามบริแทนเนียสเตเดียม นับเป็นสถิติที่พ่ายแพ้มากที่สุดในรอบ 52 ปี ของสโมสร และถือเป็นการแพ้ที่มากที่สุดของสโมสรตั้งแต่มีการก่อตั้งพรีเมียร์ลีกขึ้นมาอีกด้วย อีกทั้ง สตีเวน เจอร์ราร์ด กัปตันทีมและกองกลางคนสำคัญได้เล่นให้กับลิเวอร์พูลเป็นฤดูกาลสุดท้าย หลังจากอยู่กับสโมสรมาอย่างยาวนานถึง 17 ปี ก่อนที่จะย้ายไปยังเมเจอร์ลีกอเมริกา เจอร์ราร์ดได้ตั้งความหวังไว้ว่าจะพาสโมสรคว้าแชมป์เอฟเอคัพ เนื่องจากในนัดชิงชนะเลิศเอฟเอคัพของฤดูกาลนี้ จะมีขึ้นในวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2014–15 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16

ูกาล 2015–16 เป็นฤดูกาลที่ 124 ของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 53 ติดต่อกันของลิเวอร์พูลที่ได้อยู่โลดแล่นบนลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นฤดูกาลที่ 24 ที่อยู่บนเวทีพรีเมียร์ลีก เช่นเดียวกับพรีเมียร์ลีก สโมสรจะได้แข่งขันในเอฟเอคัพ, ลีกคัพ และยูฟ่ายูโรปาลีก ในฤดูกาลนี้ ถือเป็นฤดูกาลแรกที่ลิเวอร์พูลได้ใช้ชุดแข่งขันของนิวบาลานซ์แทนที่วอร์ริเออร์สปอตส์ โดยเปิดตัวครั้งแรกที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ประเทศไทย ในช่วงก่อนเปิดฤดูกาลที่สโมสรได้เดินทางมาแข่งขันนัดพิเศษกับทรูออลสตาร์ ซึ่งเป็นทีมพิเศษที่รวบรวมนักฟุตบอลชาวไทยในระดับไทยพรีเมียร์ลีก และมีการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีมระหว่างฤดูกาล เมื่อสโมสรตัดสินใจปลดเบรนดัน ร็อดเจอส์ ที่ทำผลงานได้ไม่ดีออกในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด (Newcastle United Football Club; ตัวย่อ: NUFC) เป็นทีมฟุตบอลอาชีพทีมหนึ่งในฟุตบอลลีกอังกฤษ ตั้งอยู่ที่เมืองนิวคาสเซิลอะพอนไทน์ มีชื่อเล่นของทีมว่า "แม็กพายส์" ("สาลิกาดง" หรือ "กางเขนเหล็ก" ในภาษาไทย) แฟนของทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด จะมีชื่อเรียกว่า "ทูนอาร์มี" ซึ่งคำว่า "ทูน" นั้นเป็นภาษาแซกซัน คือคำว่า "ทาวน์" ที่แปลว่า "เมือง" นิวคาสเซิลยูไนเต็ดถือว่ามีคู่แข่งในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยกัน คือ ซันเดอร์แลนด์ และ มิดเดิลส์เบรอ ในฤดูกาล 2015–16 นิวคาสเซิลยูไนเต็ดต้องตกชั้นลงไปเล่นในเดอะแชมเปียนชิป หลังจากจบการเล่นนัดที่ 37 ของฤดูกาล เนื่องจากมีเพียง 34 คะแนน และอยู่ในอันดับ 18 ของตารางคะแนน ซึ่งไม่สามารถไล่ตามทันทีมที่อยู่ในอันดับ 17 คือ ซันเดอร์แลนด์ ที่มี 38 คะแนน ได้ทันแล้ว เนื่องจากเหลือการแข่งขันอีกเพียงนัดเดียว แต่เพียงฤดูกาลเดียว นิวคาสเซิลยูไนเต็ดก็ได้เลื่อนชั้นกลับขึ้นไปเล่นในพรีเมียร์ลีก โดยหลังจากชนะเปรสตันนอร์ทเอนด์ไป 4–1 และมีคะแนนทิ้งห่างจากทีมอันดับ 3 คือ เรดิงถึง 9 คะแนน และตามหลังไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน 1 คะแนน และเมื่อจบฤดูกาล นิวคาสเซิลยูไนเต็ดได้แชมป์ โดยมี 94 คะแนน มากกว่าไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียนที่ได้เลื่อนชั้นไปก่อนแล้ว 1 คะแนน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2013–14

ูกาล 2013-14 เป็นฤดูกาลที่ 100 ของเชลซี, และเป็นฤดูกาลที่ 22 ของ พรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2013–14 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2014–15

ูกาล 2014-15 เป็นฤดูกาลที่ 101 ของเชลซี และเป็นฤดูกาลที่ 23 ของพรีเมียร์ลีก เชลซีได้เข้าไปเล่นในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกฤดูกาลนี้ในรอบแบ่งกลุ่ม หลังจบอันดับที่ 3 ของพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2013–14 สำหรับพรีเมียร์ลีกในฤดูกาลนี้ของเชลซี นับว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่ง เมื่อสามารถคว้าแชมป์ไปได้ นับเป็นแชมป์รายการนี้เป็นสมัยที่ 4 และเป็นแชมป์ลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษเป็นสมัยที่ 5 โดยถือเป็นการกลับมาเป็นผู้จัดการทีมอีกครั้งของ โชเซ มูรีนโย ผู้จัดการทีมเป็นฤดูกาลที่ 2 ซึ่งก่อนหน้านั้นราว 10 ปีก่อน มูรีนโย เคยเป็นผู้จัดการทีมให้กับเชลซีมาแล้ว และทำให้สโมสรได้แชมป์พรีเมียร์ลีกมาแล้ว 2 สมัย และนอกจากนี้แล้วในฤดูกาลนี้ เชลซียังได้แชมป์ลีกคัพอีกด้วย โดยเชลซีสามารถคว้าแชมป์ไปได้อย่างไม่ยากเย็น ทำคะแนนห่างจากสโมสรที่ได้อันดับ 2 ไปมากพอสมควร จนสามารถคว้าแชมป์ได้อย่างไม่เป็นทางการตั้งแต่จบการแข่งขันนัดที่ 35 โดยทำสถิติแพ้ไปเพียง 3 นัด และเสมอ 9 นัดเท่านั้น จากการแข่งขันทั้งหมด 38 นัด ทำคะแนนไปทั้งหมด 87 คะแนน และสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการเป็นสโมสรที่มีคะแนนำเป็นที่หนึ่งในอับดับตารางคะแนนตั้งแต่เปิดฤดูกาล จนกระทั่งสิ้นสุด โดยไม่มีสโมสรใดสามารถแซงขึ้นมานำได้ มีแต่เพียง แมนเชสเตอร์ซิตี ซึ่งเป็นแชมป์เก่าเมื่อฤดูกาลที่แล้วเท่านั้นที่ทำคะแนนขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งร่วมกันได้ แต่ก็เพียงระยะเวลาสั้น ๆ ในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2014–15 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด

มสรฟุตบอลเรอัลมาดริด (Real Madrid Club de Fútbol) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศสเปน ตั้งอยู่ที่กรุงมาดริดเมืองหลวงของประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1902 เล่นในลาลีกา และเป็นหนึ่งในสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในวงการฟุตบอลศตวรรษที่ 20 โดยสามารถคว้าแชมป์ลาลีกาได้ทั้งสิ้น 33 สมัย ถ้วยโกปาเดลเรย์ 17 ครั้ง และยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 12 สมัยซึ่งเป็นสถิติสูงสุดของรายการ นอกจากนั้น เรอัลมาดริดยังได้เป็นสมาชิกของกลุ่มจี-14 ซึ่งเป็นกลุ่มของสโมสรฟุตบอลชั้นนำของยุโรปอีกด้วย สนามเหย้าของสโมสรคือสนามซานเตียโก เบร์นาเบวอันมีชื่อเสียงแห่งกรุงมาดริด เรอัลมาดริดเป็นสโมสรที่มีหุ้นส่วน (socios) เป็นเจ้าของและเป็นผู้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด · ดูเพิ่มเติม »

สเตอร์ลิง

ตอร์ลิง (ภาษาอังกฤษ: Stirling; ภาษาเคลลิคสกอตแลนด์: Sruighlea; ภาษาสกอตแลนด์: Stirlin) เป็นบะระห์โบราณ ที่ตั้งอยู่ในแขวงการปกครองสเตอร์ลิงและปริมณฑลในมณฑลผู้บริหารแทนพระองค์สเตอร์ลิงและฟอล์คเคิร์คในสกอตแลนด์ ตัวสเตอร์ลิงตั้งอยู่รอบปราสาทสเตอร์ลิงและเมืองโบราณจากยุคกลาง จากการสำรวจสำมโนประขากรใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสเตอร์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

สเตปป์

ทุ่งหญ้าสเตปป์ในมองโกเลีย สเตปป์ในอุซเบกิสถาน ทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe) คือลักษณะทางภูมิศาสตร์ “ทุ่งหญ้าสเตปป์” เป็นบริเวณที่มีลักษณะทางสภาวะอากาศและภูมิภาคที่เป็นเอกลักษณ์ที่ประกอบด้วยที่ราบที่เป็นทุ่งหญ้ากว้างที่ไม่มีต้นไม้ นอกจากบริเวณริมแม่น้ำหรือทะเลสาบ ทุ่งหญ้าแพรรี (prairie) (โดยเฉพาะทุ่งหญ้าเตี้ยแพรรี) อาจจะถือว่าเป็นทุ่งหญ้าสเตปป์ ภูมิภาคของทุ่งหญ้าสเตปป์อาจจะเป็นพื้นที่กึ่งทะเลทราย หรือปกคลุมด้วย หญ้า หรือพุ่มไม้ หรือทั้งสองอย่างขึ้นอยู่กับฤดูและละติจูด “สเตปป์” อาจจะใช้หมายถึงสภาพภูมิอากาศที่พบในบริเวณที่แห้งจนไม่สามารถมีป่าได้ แต่ก็ไม่แห้งจนกระทั่งเป็นทะเลทราย “สเตปป์” เป็นลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีป (continental climate) และภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง (semi-arid climate) อุณภูมิสูงสุดในฤูดูร้อนอาจจะสูงถึง 40 °C (104 °F) และต่ำสุดในฤดูหนาวอาจจะลดลงถึง -40 °C (-40 °F) นอกจากความแตกต่างกันมากของอุณหภูมิระหว่างฤดูร้อนกับฤดูหนาวแล้ว ก็ยังมีความแตกต่างกันมากระหว่างอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืน ทางบริเวณที่สูงของมองโกเลียอุณหภูมิตอนกลางวันอาจจะสูงถึง 30 °C (86 °F) แต่กลางคืนอาจจะลดต่ำลงต่ำกว่าศูนย์ °C (sub 32 °F) ทุ่งหญ้าสเตปป์ในช่วงละติจูดตอนกลางมีลักษณะที่หน้าร้อนจะร้อนจัดและหน้าหนาวจะหนาวจัด โดยมีปริมาณฝนหรือหิมะตกเฉลี่ยราว 250-500 มิลลิเมตร (10-20 นิ้ว) ต่อปี คำว่า “steppe” มาจากภาษารัสเซียว่า “степь” ที่แปลว่า “ดินแดนที่ราบและแห้ง”.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและสเตปป์ · ดูเพิ่มเติม »

หมายเลขแอร์ดิช

หมายเลขแอร์ดิช (Erdős number) ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่นักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี พอล แอร์ดิช (Paul Erdős) ซึ่งเป็นผู้เขียนบทความทางคณิตศาสตร์ที่มีคุณประโยชน์มากมายที่สุดผู้หนึ่ง หมายเลขแอร์ดิช เป็นหนึ่งในวิธีการที่แสดง "ระยะทางระหว่างความร่วมมือกัน" (collaborative distance) ระหว่างผู้เขียนบทความทางคณิตศาสตร์คนใดคนหนึ่ง กับ พอล แอร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและหมายเลขแอร์ดิช · ดูเพิ่มเติม »

หยาดน้ำค้าง (สกุล)

หยาดน้ำค้าง (Sundew) เป็นพืชกินสัตว์สกุลใหญ่สกุลหนึ่ง ในวงศ์หญ้าน้ำค้าง มีประมาณ 194 ชนิด สามารถล่อ จับ และย่อยแมลงด้วยต่อมเมือกของมันที่ปกคลุมอยู่ที่ผิวใบ โดยเหยื่อที่จับได้จะใช้เป็นสารเสริมทดแทนสารอาหารที่ขาดไป พืชในสกุลหยาดน้ำค้างมีหลายรูปแบบและหลายขนาดต่างกันไปในแต่ละชนิด สามารถพบได้แทบทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ชื่อวิทยาศาสตร์ของหยาดน้ำค้าง คือ Drosera มาจากคำในภาษากรีก δρόσος: "drosos" แปลว่า "หยดน้ำ หรือ น้ำค้าง" รวมทั้งชื่อในภาษาอังกฤษ "sundew" กลายมาจาก ros solis ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า "น้ำตาพระอาทิตย์" โดยมีที่มาจากเมือกบนปลายหนวดแต่ละหนวดที่แวววาวคล้ายน้ำค้างยามเช้า ในประเทศไทยพบหยาดน้ำค้างอยู่ 3 ชนิดคือ จอกบ่วาย (Drosera burmannii Vahl), หญ้าน้ำค้าง (Drosera indica L.) และ หญ้าไฟตะกาด (Drosera peltata Sm.).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและหยาดน้ำค้าง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หัวสะพานโรมาเนีย

แผนที่โปแลนด์เมื่อปี 1939 เขตฝั่งโรมาเนียอยู่ในสีน้ำตาลเข้ม เขตฝั่งโรมาเนีย (Romanian Bridgehead, Przedmoście rumuńskie) เป็นดินแดนที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน ระหว่างการบุกครองโปแลนด์ ในวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1939 ผู้บัญชาการกองทัพโปแลนด์ จอมพลเอ็ดเวิร์ต ริดซ์ สมิกลี่ ออกคำสั่งให้กองทัพโปแลนด์ทั้งหมดถอยมาทำการสู้รบทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำวิสตูล่า และหลบหนีไปทางแนวเขาที่ติดกับชายแดนโรมาเนียและสหภาพโซเวียต แผนการล่าถอยนี้เป็นแผนการในกรณีที่ไม่สามารถป้องกันแนวชายแดนของประเทศได้ และสันนิษฐานว่ากองทัพโปแลนด์จะสามารถล่าถอยและสร้างแนวตั้งรับที่จะสามารถต้านทานกองทัพเยอรมันได้จนกระทั่งฤดูหนาว และรอจนกระทั่งฝ่ายสัมพันธมิตรโจมตีเข้าทางด้านตะวันตกของนาซีเยอรมนี ซึ่งบริเวณดังกล่าวมีแนวป้องกันตามธรรมชาติอยู่จำนวนมาก และยังเชื่อมต่อกับเมืองท่าของโรมาเนียที่จะสามารถเติมเสบียงให้แก่กองทัพได้ แต่ทว่าหลังจากการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต ทำให้แผนการดังกล่าวต้องล้มเหลว กองทหารโปแลนด์ได้รับคำสั่งให้หลบหนีออกจากโปแลนด์และรวมตัวกันใหม่ในฝรั่งเศส ทหารโปแลนด์กว่า 120,000 นาย หลบหนีออกจากโปแลนด์ผ่านทางโรมาเนียและฮังการี ซึ่งได้ไปเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและหัวสะพานโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

หง จินเป่า

หง จินเป่า (อักษรจีนตัวเต็ม: 洪金寶, อักษรจีนตัวย่อ: 洪金宝, พินอิน: Hóng Jīnbǎo) เป็นนักแสดงและผู้กำกับ, ผู้ออกแบบฉากแอ็คชั่นชาวฮ่องกงร่างอ้วนที่มีชื่อเสียงร่วมกับ เฉินหลง และ หยวนเปียว หง จินเป่า เกิดเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1952 ที่เมืองหนิงโป มณฑลเจ้อเจียง ในครอบครัวที่มีกิจการผลิตภาพยนตร์อยู่แล้ว จึงทำให้หง จินเป่า อยากจะเป็นนักแสดงตั้งแต่อายุ 8 ขวบ หง จินเป่าขอให้ทางครอบครัวส่งไปเรียนการแสดงที่สถาบัน China Drama Academy ในฮ่องกง ซึ่งสอนศิลปะการต่อสู้ รวมทั้งงิ้วแบบงิ้วปักกิ่ง ด้วย ตอนแรกอาจารย์ไม่แน่ใจความสามารถของเขานัก เนื่องจากเห็นร่างที่อ้วนและความช่างกิน แต่ในไม่ช้าอาจารย์ก็เปลี่ยนใจหันมายอมรับในความสามารถ ภายหลังหง จินเป่าและคนอื่น ๆ ในสถาบันล้วนแต่กลายมาเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงทั้งสิ้น เช่น เฉินหลง และ หยวนเปียว ในทศวรรษที่ 70 หง จินเป่าเป็นสตั๊นต์แมนที่มีชื่อของฮ่องกงจนได้เซ็นสัญญากับบริษัทโกลเดนฮาร์เวสต์ เขาพยายามที่จะเริ่มมีบทบาทในการแสดงให้มากขึ้นโดยยอมแม้กระทั่งรับบทที่ถ่อยเถื่อน หยาบคาย ใบหน้ามีรอยแผลเป็นเหวอะ ซึ่งในปี ค.ศ. 1978 นับได้ว่าหง จินเป่าและทีมได้รับการยอมรับว่าเป็นสตั๊นต์แมนที่ดีที่สุดของฮ่องกง ปี ค.ศ. 1983 หง จินเป่า ได้ร่วมกับเฉินหลงและหยวนเปียว เพื่อนรักอีก 2 คน สร้างภาพยนตร์แอ๊คชั่นคอมาดี้ เรื่อง Winners and Sinners ทำให้วงการภาพยนตร์แอ๊คชั่นฮ่องกงกลับมาคึกคักอีกครั้งหลังซบเซาไปนานจากการเสียชีวิตของ บรูซ ลี จน 3 คนได้รับฉายาว่า "3 พี่น้องร่วมสาบาน" ซึ่งหง จินเป่า ได้รับฉายาว่า "พี่ใหญ่" (Big Brother) เนื่องจากมีอายุมากที่สุด และได้แสดงภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จร่วมกันอีก อาทิ เอไกหว่า ในปี ค.ศ. 1984, Wheels On Meals, Heart of The Dragon ในปีเดียวกัน และ Dragon Forever ในปี ค.ศ. 1988 เป็นต้น อย่างไรก็ตามหลังร่วมแสดงเรื่อง Dragon Forever แล้ว มีข่าวในทำนองที่ว่า หง จินเป่า และ เฉินหลงเริ่มแตกคอกัน มีบางกระแสกล่าวว่าหง จินเป่าอิจฉาเฉินหลงที่ประสบความสำเร็จสูงสุดจากเรื่อง วิ่งสู้ฟัด ในปี ค.ศ. 1985 แต่เฉินหลงสัมภาษณ์ว่าตัวเองมีส่วนทำให้ 3 พี่น้องร่วมสาบานผิดใจกัน และแม้มีกระแสข่าวทางลบ แต่หง จินเป่าก็ไม่สะทกสะท้าน เขายังทำงานต่อไปโดยมีทั้งงานแสดงและกำกับภาพยนตร์ ยุคกลางของทศวรรษที่ 90 ความกระทบกระทั่งกันระหว่างเฉินหลงและหง จินเป่าค่อย ๆ ซาลง หง จินเป่ารับ งานกำกับคิวแอ๊คชั่นให้เฉินหลง ในเรื่อง Thunderbolt ในปี ค.ศ. 1995 และ Mr. Nice Guy ในปี ค.ศ. 1997 นอกจากนี้ หง จินเป่ายังมีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง หวงเฟยหงพิชิตตะวันตก ภาพยนตร์ภาคสุดท้ายของหวง เฟยหง ที่นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย หรือ เจ็ทลี ในปี ค.ศ. 1997 ต่อจาก ฉีเคอะ แล้ว ซึ่งก็สามารถทำรายได้สูงสุดในฮ่องกง ในปี ค.ศ. 1998 หง จินเป่าย้ายไปสหรัฐอเมริกาและรับแสดงซีรีส์ชุด Law of Honour โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า ซัมโม หง (Summo Hung) แต่ทว่าผลตอบรับกลับมาออกมาไม่ดีนัก จึงย้ายกลับมาฮ่องกงและร่วมงานกับเฉินหลงอีกครั้ง ผลงานในระยะหลังของหง จินเป่า มักเป็นผู้กำกับฉากแอ๊คชั่นหรือผู้กำกับคิวบู๊ และอาจรับเป็นนักแสดงประกอบบ้างในบางเรื่อง ซึ่งผลงานในระยะหลัง ๆ ได้แก่ การเป็นผู้ออกแบบคิวบู๊ในเรื่อง ยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา ในปี ค.ศ. 2008, ออกแบบคิวบู๊และร่วมแสดงใน ยิปมัน อาจารย์บรู๊ซ ลี ในปี ค.ศ. 2010 ร่วมแสดงเป็นตัวประกอบใน 8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร และรับบทเป็น เฉินหว่านซุน อาจารย์ของยิปมัน ในเรื่อง The Legend is Born – Ip Man ซึ่งร่วมแสดงกับหยวนเปียว ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและหง จินเป่า · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อภิธานศัพท์ธุลีปริศนา

ทความนี้เป็นบทความที่เกี่ยวข้องกับการใช้คำศัพท์ต่างๆ ในวรรณกรรมเยาวชนไตรภาค ธุลีปริศนา ซึ่งเขียนโดยฟิลิป พูลแมน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอภิธานศัพท์ธุลีปริศนา · ดูเพิ่มเติม »

อภินิหารมนตรามหัศจรรย์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอภินิหารมนตรามหัศจรรย์ · ดูเพิ่มเติม »

ออลอโมตซ์

ออลอโมตซ์ (Olomouc; Olmütz; ละติน: Olomucium หรือ Iuliomontium; Ołomuniec) เป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศเช็กเกีย บนฝั่งแม่น้ำโมราวา เป็นเมืองหลวงของเขตออลอโมตซ์ ถือเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ มีประชากรราว 102,000 คน หากรวมประชากรชานเมือง มีประชากร 480,000 คน คาดกันว่าเมืองนี้ถือกำเนิดมาจากป้อมของชาวโรมัน ตกเป็นของฮังการีใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและออลอโมตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย ฮังการี โครเอเชีย และโบฮีเมีย (Otto von Habsburg; พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ ออทโท โรเบิร์ต มาเรีย แอนตัน คาร์ล แมกซ์ เฮ็นริค ซิกส์ตัส เซเวอร์ เฟลิกซ์ เรเนตัส ลุดวิก แกตัน พิอุส อิกเนเชียส ฟอน ฮับส์บูร์ก-ลอแรน; Franz Joseph Otto Robert Maria Anton Karl Max Heinrich Sixtus Xaver Felix Renatus Ludwig Gaetan Pius Ignatius von Habsburg-Lorraine) (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) ทรงเป็นอดีตประมุขแห่งราชวงศ์ของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี หรือออสเตรีย ฮังการี สาธารณรัฐเช็ก โครเอเชีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นพระโอรสองค์โตในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี) และ จักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย พระองค์ทรงเป็นอดีตสมาชิกของสภายุโรป สมาคมคริสเตียนแห่งบาวาเรีย และทรงเคยเป็นประธานสหภาพแพนยุโรปนานาชาติ (International Paneuropean Union) อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ออคเซนเฮาเซินแอบบีย์

อารามออคเซนเฮาเซิน (Reichsabtei Ochsenhausen) เดิมเป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่ออคเซนเฮาเซิน ไม่ไกลจากเมืองบิเบอร์ราค รัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก ทางไต้ของประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและออคเซนเฮาเซินแอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ออโตสเตอริโอแกรม

ออโตสเตอริโอแกรม (autostereogram) เป็น สเตอริโอแกรม หรือ ภาพสเตอริโอแบบภาพเดี่ยว ที่ออกแบบมาเพื่อลวงตา ทำให้มองเห็นภาพสองมิตินั้นเป็นภาพสามมิติ สเตอริโอแกรมชนิดที่ง่ายที่สุดก็คือ สเตอริโอแกรมแบบกระดาษบุผนัง (wallpaper autostereogram) ภาพมหัศจรรย์สามมิติที่รู้จักกันดีนั้นเรียกว่า ออโต้สเตอริโอแกรมแบบใช้จุดมั่ว (random dot autostereogram) หลักการในการมองเห็นภาพประเภทนี้นั้นจะเกิดจากการมองเห็นที่สูญเสียการโฟกัส Tut Animated Shark.gif 800x200 version.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและออโตสเตอริโอแกรม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรวินคา

อักษรยุโรปโบราณหรือวินคา (Old European / Vinča) อักษรนี้พบในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ จากวินคาใกล้กับกรุงเบลเกรด ไปจนถึงกรีซ บัลแกเรีย โรมาเนีย ฮังการีตะวันออก มอลโดวา ยูเครนใต้ และบริเวณที่เคยเป็นประเทศยูโกสลาเวีย มีอายุราว 6, 457 – 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่าอักษรวินคาเป็นอักษรรุ่นเก่าสุดในยุโรป โดยเก่ากว่าไฮโรกลิฟฟิกและอักษรสุเมเรียกว่าพันปี เนื่องจากจารึกเหล่านี้มีขนาดสั้น พบตามหลุมฝังศพ และไม่รู้ว่าจารึกด้วยภาษาใด จึงถอดความหมายไม่ได้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอักษรวินคา · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินเทมพลาร์

ทหารผู้ยากแห่งพระคริสต์และพระวิหารแห่งโซโลมอน (Pauperes commilitones Christi Templique Solomonici) หรือที่รู้จักกันในชื่ออัศวินเทมพลาร์ หรือคณะแห่งพระวิหาร (Ordre du Temple หรือ Templiers) เป็นคณะทหารคริสตชนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดMalcolm Barber, The New Knighthood: A History of the Order of the Temple.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอัศวินเทมพลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก

อัครบิดรคีริลล์ (Патриарх кирилл ชื่อจริง:วลาดีมีร์ มีไคโลวิช กันดาเยฟ Владимир Михайлович Гундяев) หรือที่ชาวออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่าพระสังฆราชคีริลล์ และชาวโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าพระอัยกาคิริลล์ เป็นประมุขสูงสุดของคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ ทั้งในประเทศรัสเซียและนอกประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งอัครบิดรแห่งมอสโกและรัสทั้งปวงตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

อัตติลา

อัตติลา หรือที่ใช้อ้างอิงส่วนใหญ่ อัตติลาเดอะฮัน (Attila the Hun) (ค.ศ. 406 – ค.ศ. 453) เป็นจักรพรรดิชาวฮันผู้ครองจักรวรรดิฮัน (Hunnic Empire) ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มชนเผ่าต่างๆทั้ง ฮัน ออสโตรกอท อลานส์ และเผ่าอนารยชนอื่นๆ ในดินแดนยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระหว่าง ค.ศ. 434 จนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 453 ที่พระองค์ได้เสด็จสวรรคตลง ในรัชสมัยของพระองค์สามารถครอบครองดินแดนตั้งแต่ ประเทศเยอรมนีไปจนถึงแม่น้ำยูรัล และจากแม่น้ำดานูบไปจนถึงทะเลบอลติก กินพื้นที่มากกว่า 4 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นการครอบครองดินแดนที่มากที่สุดอาณาจักรหนึ่งในยุคมืด ในรัชสมัยการปกครองของอัตติลาทรงเป็นประมุขผู้สร้างความหวาดหวั่นและถือเป็นศัตรูที่อันตรายที่สุดแก่จักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตก พระองค์ทรงรุกรานคาบสมุทรบอลข่านถึงสองครั้ง แต่พระองค์ไม่สามารถรุกรานกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จ และจากผลพวงของการพ่ายแพ้ในเปอร์เซีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอัตติลา · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนีโอ ดี นาตาเล

อันโตนีโย ดี นาตาเล (หรือรู้จักเขาในชื่อ โตตอ) เกิดเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1977 เป็นนักฟุตบอลชาวอิตาลี ปัจจุบันเล่นให้กับ อูดีเนเซ ในเซเรียอา เขาถนัดในตำแหน่ง กองหน้า โดยเล่นได้ทั้งกองหน้าตัวเป้า,กองหน้าริมเส้นทั้งสองฝั่ง เขาเป็นคนน่าทึ่งสำหรับการเลี้ยงลูกฟุตบอลด้วยทักษะของเขาและความสามารถของเขาที่จะจบสกอร์ ดี นาตาเลได้รับรางวัลอันทรงเกียรติของการเป็นนักเตะยอดเยี่ยมของเซเรียอา สำหรับฤดูกาล 2009-10 แล ฤดูกาล 2010-11.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอันโตนีโอ ดี นาตาเล · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรย์ เกรชโค

อันเดรย์ อันโตโนวิช เกรชโค (17 ตุลาคม [O.S. 4 ตุลาคม] 1903 – 26 เมษายน 1976) เป็นผู้บัญญาการโซเวียต, จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอันเดรย์ เกรชโค · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา กริตติ

หลุมฝังศพของเขาในเมืองเวนิส อันเดรอา กริตติ(Andrea Gritti) (ค.ศ. 1455 - ค.ศ. 1538) เป็นดยุกแห่งเวนิสประมุขของสาธารณรัฐเวนิส ระหว่างปี ค.ศ. 1523 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1538 อันเดรอา กริตติเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1455 ที่บาร์โดลิโนไม่ไกลจากเวโรนาในประเทศอิตาลีปัจจุบัน กริตติใช้เวลาส่วนใหญ่ในสมัยต้นในคอนสแตนติโนเปิลดูแลผลประโยชน์ให้แก่เวนิส ในปี ค.ศ. 1499 กริตติก็ถูกจำคุกในข้อหาเป็นสายลับแต่รอดจากการถูกประหารชีวิตเพราะความที่เป็นมิตรกับวิเซียร์ (vizier) และถูกปล่อยตัวอีกหลายปีต่อมา เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เวนิสก็เสียดินแดนเกือบทั้งหมดที่มีบนแผ่นดินอิตาลี กริตติมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเสียดินแดน ในปี ค.ศ. 1509 หลังจากการพ่ายแพ้ในยุทธการอักนาเดลโลกริตติก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพของกองทัพเวนิสในเตรวิโซ และสามารถยึดปาดัวคืนมาได้ และสามารถต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี ค.ศ. 1510 หลังจากการเสียชีวิตของนิโคโล ดิ พิติกลิอาโนกริตติก็เป็นผู้บังคับบัญชากองทัพเวนิสทั้งหมดแต่ถูกบังคับให้ถอยโดยกองทัพที่รุกเข้ามาของฝรั่งเศส กริตติได้รับเลือกให้เป็นดยุกแห่งเวนิสในปี ค.ศ. 1523 และได้ลงนามในสนธิสัญญากับสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นการยุติความเกี่ยวข้องของเวนิสในสงครามอิตาลี กริตติพยายามรักษาความเป็นกลางของเวนิสระหว่างความขัดแย้งระหว่างจักรพรรดิคาร์ลและพระเจ้าฟรองซัวส์แห่งฝรั่งเศส และพยายามหันความสนใจของทั้งสองพระองค์ไปยังการหยุดยั้งการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมันในฮังการี แต่กริตติก็ไม่สามารถหยุดยั้งสุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมันจากการโจมตีคอร์ฟูในปี ค.ศ. 1537ได้ ซึ่งทำให้เวนิสต้องเข้าสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอันเดรอา กริตติ · ดูเพิ่มเติม »

อาการกลัวอิสลาม

อาการกลัวอิสลาม (Islamophobia) เป็นความเกลียดกลัวอย่างรุนแรง หรือความเดียดฉันท์ต่อศาสนาอิสลามหรือมุสลิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมองว่าเป็นกำลังภูมิรัฐศาสตร์หรือบ่อเกิดของการก่อการร้าย คำนี้เป็นคำสร้างใหม่ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และโดดเด่นขึ้นระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 และมีความโดดเด่นในนโยบายสาธารณะด้วยรายงานโดยคณะกรรมการพิพิธภัณฑ์และอาการกลัวอิสลามบริติชของรันนีมีดทรัสต์ ชื่อ อาการกลัวอิสลาม: ความท้าทายสำหรับเราทุกคน (ปี 1997) สาเหตุและลักษณะของอาการกลัวอิสลามยังมีการโต้เถียงกัน นักวิจารณ์บางคนระบุว่าอาการกลัวอิสลามเพิ่มขึ้นจากเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 บ้างว่ามาจากการก่อการร้ายหลายครั้งในทวีปยุโรปและสหรัฐ บ้างสัมพันธ์กับการมีมุสลิมในสหรัฐและสหภาพยุโรปมากขึ้น บ้างยังสงสัยความถูกต้องของคำนี้ นักวิชาการ S. Sayyid และ Abdoolkarim Vakil ยืนยันว่าอาการกลัวอิสลามเป็นการตอบสนองต่อการถือกำเนิดของอัตลักษณ์สาธารณะของมุสลิมที่แตกต่าง และการมีมุสลิมไม่ใช่ตัวบ่งชี้ระดับของอาการกลัวอิสลามในสังคม โดยว่าสังคมที่แทบไม่มีมุสลิมเลยแต่มีอาการกลัวอิสลามแบบสถาบันหลายแบบอยู.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาการกลัวอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกคาร์ล คอนสแตนติน แห่งออสเตรีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาร์ชดยุกคาร์ล คอนสแตนติน แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสมารี-วาเลอรีแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Marie-Valerie of Austria, the Princess of Tuscany, de.: Erzherzogin Marie-Valerie von Österreich, Prinzessin von Toskana) (พระนามเต็ม: มารี วาเลอรี มาธิลด์, Marie-Valerie Mathilde von Habsburg-Lorraine (ราชสกุลเดิม Habsburg-Lothringen)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และทรงได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าหญิงแห่งทัสคานี ภายหลังจากการอภิเษกสมร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสฮิลดาแห่งออสเตรีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาร์ชดัชเชสฮิลดาแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสโซฟีแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสโซฟีแห่งออสเตรีย อาร์ชดัชเชสโซฟีแห่งออสเตรีย (Archduchess Sophie of Austria, Erzherzogin Sophie von Österreich) (พระนามเต็ม: โซฟี เฟรเดอริคเก้ โดโรเธีย มาเรีย โจเซฟ่า, Sophie Friederike Dorothea Maria Josepha von Habsburg-Lothringen) เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย พระองค์ประสูติเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2398 ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย พระองค์ทรงได้รับพระราชทานพระนามจากสมเด็จพระราชอัยกีของพระองค์ อาร์ชดัชเชสโซฟี เมื่อปีพ.ศ. 2400 สมเด็จพระจักรพรรดิ และสมเด็จพระจักรพรรดินีเสด็จพระราชดำเนินไปยังกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี โดยทรงพาพระองค์ และอาร์ชดัชเชสกิเซล่า พระขนิษฐาเสด็จพระราชดำเนินด้วย โดยระหว่างการเสด็จพระราชดำเนิน พระองค์และพระขนิษฐามีพระอาการประชวรด้วยพระกระยาหารเป็นพิษ และพระนาภีเสีย พระอาการของอาร์ชดัชเชสกิเซล่า พระขนิษฐาทรงดีขึ้น แต่พระองค์มีพระอาการประชวรร้ายแรงขึ้น ทำให้สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2400 โดยรวมพระชันษาได้เพียง 2 ชันษา แต่หลังจากสิ้นพระชนม์แล้ว มีการสันนิษฐานว่าพระองค์ไม่ได้ทรงสิ้นพระชนม์ด้วยโรคพระกระยาหารเป็นพิษ และพระนาภีเสีย หากแต่เป็นโรคไข้รากสาดใหญ่ ซึ่งร้ายแรงมากในช่วงนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาร์ชดัชเชสโซฟีแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรีย

อาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: อาร์คดัชเชส อาเดลเลด มาเรีย โจเซฟ่า ซิกซ์ต้า แอนโตเนีย โรเบิร์ตต้า อ๊อตโตเนีย ซีต้า ชาร์ลอต หลุยส์ อิมมาคูลาต้า ปีอา เธเรเซีย เบียทริกซ์ ฟรานซิสก้า อิสซาเบล เฮ็นเรียต แม็กซิมิเลียน เจโนวีน่า อิกเนเทีย ภาษาอังกฤษ: Adelheid Maria Josepha Sixta Antonia Roberta Ottonia Zita Charlotte Luise Immakulata Pia Theresia Beatrix Franziska Isabelle Henriette Maximiliane Genoveva Ignatia von Habsburg-Lorraine) ประสูติเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2457 ณ พระตำหนักเฮ็ทเซ็นดอร์ฟ ประเทศออสเตรีย เป็นพระราชธิดาองค์แรกในสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1และสมเด็จพระจักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย (พระนามเดิม: เจ้าหญิงแห่งบูร์บอง-ปาร์มา) เมื่อเจริญชันษา 4 พรรษา ได้เสด็จลี้ภัยพร้อมกับพระราชวงศ์อิมพีเรียล หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งเป็นจุดจบของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ทำให้พระราชวงศ์ถูกล้มล้างอำนาจในที่สุด เมื่อทรงพระเยาว์ พระองค์ทรงเรียนภาษาเยอรมัน ภาษาฮังการี และภาษาโครเอเชียน พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษสาขาพลศึกษาในกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม ต่อมาทรงสำเร็จการศึกษาจากเมืองโลเวน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เมื่อพ.ศ. 2478 หลังจากที่มีการออกกฎหมายใหม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อพระราชวงศ์อิมพีเรียลเป็นอย่างยิ่ง พระองค์จึงเสด็จกับประเทศออสเตรีย เพื่อจะทรงทำทุกวิถีทางเพื่อที่จะให้พระเชษฐาของพระองค์ สมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้ ได้กลับคืนสู่ราชบัลลังก์อิมพีเรียล อย่างไรก็ตาม เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2481 หลังจากที่นักสังคมนิยมได้ปกครองออสเตรีย พระองค์จึงทรงอพยพไปที่ต่าง อาทิ ประเทศฮังการี ประเทศเบลเยี่ยม ประเทศโปรตุเกส ประเทศแคนาดา และ สหรัฐอเมริกา โดยเมื่อพระองค์ทรงประทับอยู่ที่นิวยอร์ก พระองค์ทรงทำงานเป็นนักสังคมสงเคราะห์ จากนั้นทรงเป็นศาสตราจารย์แห่งสาขาวิชาสังคมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยฟอร์ดแฮม เมื่อปีพ.ศ. 2488 พระองค์เสด็จกลับมายุโรป แล้วมาทรงเป็นนักข่าว นักประชาสัมพันธ์ และ ราชเลขานุการในสมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้ พระเชษฐาของพระองค์ด้วย โดยหลังจากที่พระองค์ทรงเซ็นสัญญาการสละสิทธิ์ต่างๆ ในที่สุด พระองค์ทรงได้รับการอนุญาตให้เข้ามาประพาส และประทับในประเทศออสเตรีย อาร์คดัชเชสอาเดลเลดไม่ทรงอภิเษกสมรส และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2514 ณ พระตำหนักเพิกกิ้ง บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ทรงสิริพระชันษาได้เพียง 57 ชันษ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์แพด มิคลอส

อาร์แพด มิคลอส (Arpad Miklos) (เกิด 11 กันยายน ค.ศ. 1967 ใน บูดาเปสต์ ประเทศฮังการี) เป็นนักแสดงหนังโป๊ ในหนังโป๊เกย์ ปัจจุบันเขาย้ายถิ่นฐานมาอยู่ที่นิวยอร์กซิตี, JD Ferguson, Papermag, June 22, 2007.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาร์แพด มิคลอส · ดูเพิ่มเติม »

อาดาม ซอล็อย

อาดาม คซาบา ซอล็อย (เกิดวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักฟุตบอลชาวฮังการี ปัจจุบันลงเล่นให้กับฮ็อฟเฟินไฮม์ในตำแหน่งกองหน้า เขาใช้เวลาส่วนใหญ่เล่นที่ประเทศเยอรมนี โดยเริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาดาม ซอล็อย · ดูเพิ่มเติม »

อาดาม โบกดาน

อาดาม โบกดาน (Ádám Bogdán) เกิดเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1987 เป็นนักฟุตบอลชาวฮังการี โบกดานเติบโตมาจากกรุงบูดาเปสต์ โดยเขาเล่นฟุตบอลตั้งแต่วัย 18 ปี และถนัดในตำแหน่งผู้รักษาประตู ปัจจุบันอยู่กับลิเวอร์พูล สโมสรฟุตบอลแห่งหนึ่งในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาดาม โบกดาน · ดูเพิ่มเติม »

อาคารแห่งหนังสือ

มุมมองของอาคารจากภายนอก ทางเข้าสู่อาคารแห่งหนังสือ โดมสีขาวกับกำแพงสีดำ อาคารแห่งหนังสือ (היכל הספר‎. Heikhal HaSefer), เป็นปีกหนึ่งของพิพิธภัณฑ์อิสราเอลที่ใกล้กับบริเวณเมืองเยรูซาเลมฝั่งตะวันตก สถานที่แห่งนี้ได้เก็บรักษาม้วนหนังสือแห่งทะเลสาบเดดซี ซึ่งได้ถูกค้นพบระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอาคารแห่งหนังสือ · ดูเพิ่มเติม »

อิมแร นอจ

อิมแร นอจ อิมแร นอจ (Imre Nagy) เป็นนักการเมืองคอมมิวนิสต์ชาวฮังการี ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการี (เทียบเท่ากับนายกรัฐมนตรี) 2 สมัย เขาเกิดในวันที่ 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอิมแร นอจ · ดูเพิ่มเติม »

อิมเร เคอร์เตสซ์

อิมเร เคอร์เตสซ์ (Kertész Imre; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1929 - 31 มีนาคม ค.ศ. 2016) อิมเร เคอร์เตสซ์เป็นนักเขียนคนสำคัญชาวฮังการีเชื้อสายยิวผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2002.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอิมเร เคอร์เตสซ์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ. 2491) ในช่วงสมัยสงครามเย็น วัตถุประสงค์คือเพื่อร่วมมือกันฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจของประเทศยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้กลับคืนมาและคงไว้อย่างมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจทุนนิยมโดยแผนการมาร์แชลล์ สัญญาในการก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 โดยมีสมาชิกประเทศยุโรปตะวันตกจำนวน 19 ประเทศ เป็นผู้ลงนาม ได้แก่ ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฝรั่งเศส, กรีซ, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์,โปรตุเกส, อังกฤษ, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี, สหรัฐอเมริกา,เยอรมนีตะวันตกและแคว้นอิสระของตรีเอสเต โปสเตอร์สำหรับแผนมาร์แชลล์แสดงธงชาติของประเทศในยุโรปตะวันตก รวมไปถึงแคว้นอิสระตรีเอสเตที่มีพื้นหลังสีฟ้าอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูยุโรปแล้วยังเป็นการต่อต้านหยุดยั้งไม่ให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตมาเผยแพร่ที่ยุโรปตะวันตกและยังเป็นการโน้มน้าวให้ยุโรปตะวันออกที่เป็นประเทศบริวารให้เห็นด้วยและเข้าร่วม แต่ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลินได้หวาดระแวงแผนการมาร์แชลล์ โดยมองว่า เป็นแผนการร้ายของสหรัฐฯที่จะขยายอิทธิพลและเผยแพร่ลัทธิระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจทุนนิยมเข้าสู่ยุโรปตะวันออกจึงทำการบีบบังคับประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกให้ปฏิเสธแผนการดังกล่าวและได้เสนอแผนการโมโลตอฟ(Molotov Plan)ในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์ขึ้นมาแทนเพื่อเป็นการโต้ตอบแผนการมาร์แชล พร้อมก่อตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือคอมิคอน (Council for Mutual Economic Assistance, Comecon) เพื่อเป็นการคานอำนาจจากองค์กรโออีอีซีเช่นเดียวกับสนธิสัญญาวอร์ซอต่อต้านองค์กรนาโต (แต่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1991 คอมิคอนก็ได้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต) ต่อมาในช่วงหลังสงครามเย็นก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากองค์กรโออีอีซีมาเป็นโออีซีดี และมีการลงนามกันใหม่อีกครั้ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล (America's Next Top Model หรือในชื่อย่อว่า ANTM) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ที่ทำการคัดเลือกหญิงสาวจากรัฐต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา ที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ โดยผู้เข้าแข่งขันต้องขับเคี่ยวกันจากบททดสอบมากมาย ตั้งแต่การถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ที่ล้วนต้องอาศัยความสามารถระดับสูงก่อนจะมาเป็นสุดยอดนางแบบของอเมริกา ซึ่งผู้ชนะในแต่ละฤดูกาลจะได้รับรางวัลดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลกราฟี

องภาพของโฮโลแกรมเดี่ยวที่นำมาจากมุมมองที่แตกต่างกัน ฮอโลกราฟี (holography) หมายถึง กระบวนการสร้างภาพฮอโลแกรม ซึ่งเป็นภาพ 3 มิติ แตกต่างจากการสร้างภาพเชิง 3 มิติ โดยฮอโลแกรมนั้นเป็นภาพที่บันทึกลงบนฟิล์ม หรือ แผ่นเคลือบด้วยสารสำหรับบันทึกแสง ซึ่งผ่านเทคนิคการบันทึกด้วยการใช้ แสงที่มีหน้าคลื่นสอดคล้องกัน (coherence) เช่น แสงเลเซอร์ และเมื่อถูกส่องสว่างอย่างเหมาะสม จะแสดงให้เห็นภาพที่มีลักษณะ 3 มิติ ฮอโลกราฟี เป็นเทคนิคที่ช่วยให้แสงกระจายจากวัตถุที่จะบันทึก และได้ถูกสร้างขึ้นใหม่ต่อมา เพื่อให้ปรากฏเป็นวัตถุอยู่ในตำแหน่งเดิมเมื่อเทียบกับการบันทึก การเปลี่ยนแปลงรูปแบบตำแหน่งและทิศทางของการระบบการมองเห็น เปลี่ยนแปลงไปอย่างถูกต้องเหมือนกับถ้าวัตถุก็ยังคงเป็นปัจจุบันจึงทำให้ภาพที่บันทึก (โฮโลแกรม) ปรากฏเป็นสามมิติ เทคนิคของฮอโลกราฟียังสามารถใช้ในการเก็บ ดึงและประมวลผลข้อมูลที่เกี่ยวกับแสง ในขณะที่ฮอโลกราฟีเป็นที่นิยมใช้เพื่อใช้แสดงภาพ 3 มิติแบบคงที่ แต่ก็ยังไม่สามารถสร้างฉากตามต้องการโดยการแสดงปริมาตรของ holographic ได้ ถ้าจะกล่าวในคำพูดที่เป็นเชิงวิชาการมากขึ้น ก็อาจกล่าวได้ว่า ฮอโลแกรม ก็คือ บันทึกของรูปแบบการแทรกสอดของลำแสง ที่มีหน้าคลื่นสอดคล้องกัน จากคลื่น 2 ลำ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฮอโลกราฟี · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2

Main Theme from Friska ฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2 ในบันไดเสียง ซี-ชาร์ป ไมเนอร์ (Hungarian Rhapsody No.) ผลงานการประพันธ์ของฟรานซ์ ลิซท์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2 · ดูเพิ่มเติม »

ฮังกาเรียนแดนซ์

ังกาเรียนแดนซ์ (Hungarian Dances; Ungarische Tänze, WoO 1) เป็นชุดงานประพันธ์ดนตรีสำหรับการเต้นรำ จำนวน 21 ชิ้นโดยโยฮันเนส บราห์ม โดยดัดแปลงมาจากทำนองดนตรีเต้นรำพื้นเมืองของฮังการี เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมที่สุดของบราห์ม บราห์มเรียบเรียงทำนองดนตรีเหล่านี้เสร็จสิ้นในปี ค.ศ. 1869 โดยต้นฉบับแรกเรียบเรียงสำหรับบรรเลงเดี่ยวเปียโน มีความยาวตั้งแต่หนึ่ง ถึงสี่นาที ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฮังกาเรียนแดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิสทรีเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์ฮิสทรี (HIStory World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 3 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน โดยจัดทั้งหมด 82 รอบ และมีผู้เข้าร่วมประมาณ 4.5 ล้านคน ซึ่งก่อนหน้านี้ในคอนเสิร์ตทัวร์แบด 4.4 ล้านคน เป็นคอนเสิร์ตทัวร์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยโดยศิลปินเดี่ยวในแง่ของการเข้าร่วมประชุมในช่วงเวลาที่ทำรายได้รวมมากกว่ากว่า 165 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ยกเว้นคอนเสิร์ตฟรี).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและฮิสทรีเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ โซรอส

อร์จ โซรอส ระหว่างการบรรยายที่มาเลเซีย จอร์จ โซรอส (12 สิงหาคม ค.ศ. 1930 -) เดิมชื่อ จอร์จี ชวาร์ตซ์ (György Schwartz) นักธุรกิจชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี เป็นนักวิเคราะห์ค่าเงิน นักลงทุนหุ้น ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานบริษัท Soros Fund Management และสถาบัน Open Society Institute นิตยสาร ฟอร์บส์ ได้จัดให้ จอร์จ โซรอส อยู่ในอันดับที่ 35ของบุคคลที่รวยที่สุดในโลก มีทรัพย์สินมูลค่าประมาณ 14,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เขาได้บริจาคเงิน 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อการกุศลตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจอร์จ โซรอส · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจ แปร์ลัสกา

รูปปั้นครึ่งตัวของจอร์โจ แปร์ลัสกา ที่กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี จอร์โจ แปร์ลัสกา (Giorgio Perlasca; 31 มกราคม ค.ศ. 1910 — 15 สิงหาคม ค.ศ. 1992) เป็นชาวอิตาลีผู้ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกงสุลใหญ่ของรัฐสเปนประจำประเทศฮังการีในสงครามโลกครั้งที่สอง (ช่วงฤดูหนาวของปี ค.ศ. 1944) เขาได้มีส่วนช่วยเหลือชาวยิวนับพันคนให้รอดพ้นจากการตามล่าและการล้างชาติพันธุ์ยิวโดยนาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจอร์โจ แปร์ลัสกา · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจเน

“ภาพเหมือนตนเอง?” (ราว ค.ศ. 1500-1510) “ลอรา” (ค.ศ. 1506) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์, เวียนนา จอร์โจเน (ภาษาอังกฤษ: Giorgione หรือ Giorgio Barbarelli da Castelfranco) (ราว ค.ศ. 1477 - ค.ศ. 1510) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของเวนิสในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 มีชื่อเสียงว่าเขียนภาพอย่างมีอรรถรส (elusive poetic quality) ทั้งๆ ที่มีภาพที่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าเขียนโดยจอร์โจเนเพียงประมาณ 6 ภาพไม่นับภาพอื่นที่สันนิษฐานว่าเขียนโดยจอร์โจเนด้วย เพราะความที่ไม่ทราบว่าเป็นใครแน่และความหมายของภาพเขียนจึงทำให้งานเขียนของจอร์โจเนเป็นงานที่ยังลึกลับต่อการตีความหมายที่สุดในบรรดางานจิตรกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจอร์โจเน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 - พ.ศ. 2349 ภายหลังจากที่พระองค์ถูกรุกรานโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 อันนำไปสู่สงครามประสานมิตรครั้งที่สาม ทำให้พระองค์ต้องยุบจักรวรรดิ และเปลี่ยนจักรวรรดิรวมทั้งเปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ โดยระหว่างปีพ.ศ. 2347 - พ.ศ. 2349 พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิ 2 จักรวรรดิเลยทีเดียว โดยหลังจากเปลี่ยนจักรวรรดิแล้ว พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิแห่งออสเตรีย พระนามว่า จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย หลังจากนั้น พระองค์ได้ทรงนำกองทัพออสเตรีย ไปชำระแค้นกับจักรวรรดิฝรั่งเศส ในสงครามนโปเลียน แต่ก็ยังปราชัยอยู่ดี พระองค์จึงส่งพระราชธิดาองค์โต อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์ ให้ไปอภิเษกสมรสกับนโปเลียน เพื่อเป็นการถวายเครื่องราชบรรณาการ และเริ่มต้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่างจักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย หรือ สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี (พระนามเต็ม: คาร์ล ฟรันซ์ โยเซฟ ลุดวิก ฮิวเบิร์ต จอร์ช มาเรีย; Karl Franz Josef Ludwig Hubert Georg Maria von Habsburg-Lothringen, ภาษาฮังการี: Károly Ferenc József) ทรงเป็นจักรพรรดิออสเตรียและพระมหากษัตริย์ฮังการี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2459 ถึง พ.ศ. 2461 หลังจากที่ราชวงศ์ถูกโค่นอำนาจ เมื่อตอนที่ทรงเถลิงวัลย์ราชสมบัติ พระองค์ทรงได้รับพระนามอย่างเป็นทางการว่า จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี); His Imperial and Royal Apostolic Majesty the Emperor Karl I of Austria and the Apostolic King Karl IV of Hungary.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย

มเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ อมาลี่ ยูจีนี่; Elisabeth Amalie Eugenie von Habsburg-Lorraine, ราชสกุลเดิม: Wittelsbach) ทรงเป็นดัชเชสแห่งบาวาเรีย และทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีแห่งออสเตรีย และสมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี ตั้งแต่ทรงอภิเษกสมรสกีบสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว์ พระองค์มีพระนามเล่นว่า ซีซี่ โดยพระราชวงศ์ ครอบครัวและพระสหายทรงเรียกพระองค์ตั้งแต่ทรงพระเยาว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคย็องซังใต้

ังหวัดคย็องซังใต้ เป็นจังหวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเกาหลีใต้ โดยมีเมืองเอกตั้งอยู่ที่ชังว็อน โดยประกอบด้วยมหานครหลักและท่าเรือปูซาน โดยมีวัดแฮอินซาที่เป็นมรดกโลกของยูเนสโก โดยเป็นวัดแบบพุทธ ซึ่งเป็นที่อยู่ของ พระไตรปิฎกแห่งชาติเกาหลี ทำให้ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เป็นจำนวนมาก มีโรงงานประกอบรถยนต์และปิโตรเคมีขนาดใหญ่ตั้งเรียงรายอยู่ทางภาคใต้ของจังหวัดขยายจากเมืองอุลซัน ไปสู่ปูซาน ชังว็อน และชินจู.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจังหวัดคย็องซังใต้ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์

This is a list of airports to which Swiss International Air Lines flies (as of March 2009).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จีเฟรนด์

ีเฟรนด์ (여자친구; GFRIEND; แปลว่า เพื่อนสาว หรือ แฟนสาว) เป็นเกิร์ลกรุ๊ปสัญชาติเกาหลีล้วนค่ายเพลง Source Music ประกอบไปด้วยสมาชิกทั้งหมด 6 คนได้แก่ โซวอน เยริน อึนฮา ยูจู ชินบี และออมจี และมีชื่อแฟนคลับอย่างเป็นทางการว่า "บัดดี้" โดยเปิดตัวในเดือนมกราคม 2015 โดยมินิอัลบั้ม Season Of Glass พร้อมเพลงไตเติ้ล Glass Bead จีเฟรนด์ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากหลังจากเดบิวต์ไม่นาน ก็สามารถคว้ารางวัลต่างๆมามากมาย เช่น 2015 MelOn Music Awards, 2016 Gaon Chart K-Pop Awards, 2016 Seoul Music Awards 2016 Golden Disk Awards รวมทั้งผลงานเพลงของ จีเฟรนด์ ไม่ว่าจะเป็น Rough, Me Gustas Tu ก็กลายเป็นเพลงฮิตติดหู ครองแชมป์เพลงฮิตในชาร์ตต่างๆ และกวาดรางวัลเพลงฮิตประจำสัปดาห์ของรายการโทรทัศน์มาหลายครั้ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและจีเฟรนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติฮังการี

งชาติฮังการี (Magyarország zászlaja) เริ่มใช้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1957 มีทั้งหมด 3 สี คือ สีแดง,สีขาว และ สีเขียว โดยสีแดง หมายถึง เลือดของผู้รักชาติ สีขาว หมายถึง สันติภาพและแม่น้ำดานูบ สีเขียว หมายถึง ความหวังและธรรมชาติ ในประเทศฮังการี และเคยเป็นธงประจำสาธารณรัฐประชาชนฮังการี แบบสร้างธงชาติฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและธงชาติฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารแห่งประเทศจีน

และธนาคารกลางแห่งประเทศจีน ธนาคารแห่งประเทศจีนจำกัด (หุ้นฮ่องกง) (หรือเขียนเป็นตัวย่อว่า 中行; Bank of China หรือ BOC) คือหนึ่งในสี่ธนาคารพาณิชย์ใหญ่ที่รัฐบาลจีนเป็นเจ้าของ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและธนาคารแห่งประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ทริลเลอร์ 25

ทริลเลอร์ 25 (Thriller 25) เป็นอัลบั้มชำระใหม่ในการเฉลิมฉลองครบรอบ 25 ปี จากสตูดิโออัลบั้มที่หกของนักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน ทริลเลอร์ อัลบั้มที่มียอดขายระหว่าง 51 และ 65 ล้านชุดทั่วโลก ทำให้เป็นอัลบั้มที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาล แจ็คสันกล่าวว่าเขาจะพูดคุยความคิดที่มีการทำงานร่วมกันกับ will.i.am. ออกจำหน่ายในประเทศออสเตรเลียวันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทริลเลอร์ 25 · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีโดมิโน

แสดงการล้มตาม ๆ กันอย่างโดมิโนของบรรดาประเทศในเอเชีย เมื่อประเทศจีนหันไปใช้ระบอบคอมมิวนิสต์ ทฤษฎีโดมิโน (domino theory) เป็นทฤษฎีทางนโยบายด้านการต่างประเทศ อุปมาขึ้นจากลักษณะของเกมไพ่ต่อแต้ม ซึ่งถ้ามีไพ่ล้มหนึ่งใบ ไพ่ใบอื่น ๆ ก็จะล้มเป็นแถบติดต่อเป็นลูกโซ่ ทฤษฎีโดมิโนหมายความว่าถ้าประเทศหนึ่งหันไปใช้ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ จะส่งผลให้ประเทศรอบข้างก็จะเอาอย่างตามไปด้วย เรียกว่า "ผลกระทบแบบโดมิโน (domino effect) ทฤษฎีโดมิโนเกิดขึ้นจากกรณีการขยายตัวของลัทธิและระบอบคอมมิวนิสต์ในทวีปเอเชีย เมื่อจีน เกาหลีเหนือ และเวียดนามเหนือตกเป็นคอมมิวนิสต์ จึงมีความเชื่อว่าประเทศอื่น ๆ เช่น ลาว เขมร ไทย มาเลเซีย ฯลฯ จะถูกครอบงำโดยระบบคอมมิวนิสต์ในที่สุดตามไปด้วย การล้มของโดมิโนจึงหมายถึงการล้มตัวของระบอบประชาธิปไตย แต่เมื่อนำมาใช้กับประเทศในโลกตะวันตกแล้ว อาจกล่าวได้ว่าเป็นทฤษฎีโดมิโนแบบกลับตาลปัตร คือ แทนที่จะเป็นการล้มของระบอบประชาธิปไตย กลับเป็นการคลายตัวและแปรเปลี่ยนจากระบอบการปกครองแบบพรรคเดียว คือ คอมมิวนิสต์ และระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม ไปสู่การปกครองแบบหลายพรรค เช่น ในกรณีที่โปแลนด์ หรือในการสลายตัวของพรรคคอมมิวนิสต์ที่ฮังการี การต่อสู้เพื่อเสรีภาพที่โรมาเนีย รวมทั้งการมีท่าทีที่จะใช้ระบบหลายพรรคในสหภาพโซเวียต อย่างไรก็ดี ราชบัณฑิตยสถานแห่งประเทศไทยวิเคราะห์ว่า "...ในสหภาพโซเวียตและใน กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตกออกจะแปรเปลี่ยนเป็นทุนนิยมและประชาธิปไตยสมบูรณ์ แบบ คงต้องเปิดช่องสำหรับข้อเท็จจริงที่ว่า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ที่หวังได้คือ การมีระบบผสมผสาน แต่ระบบเดิมคงเหลืออยู่เป็นฐาน ทฤษฎีโดมิโนเมื่อใช้ในกรณีกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกน่าจะถูกเพียงครึ่งเดียว ซึ่งก็เป็นกรณีเดียวกับที่ใช้กับกลุ่มประเทศแถบเอเชีย" ทฤษฎีโดมิโนนี้ถูกต่อต้านโดยนายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส (John Foster Dulles) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา โดยได้มีทฤษฎีต่อต้านคือทฤษฎีการสกัดกั้น (containment policy).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทฤษฎีโดมิโน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทอมมี ราโมน

ทมัส เออเดลยี (Thomas Erdelyi; ชื่อเกิด Tamás Erdélyi) (เกิด 29 มกราคม ค.ศ. 1951 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 2014) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "ทอมมี ราโมน" (Tommy Ramone) เป็นโปรดิวเซอร์ นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวฮังการี-อเมริกัน เป็นที่รู้จักจากการเป็นมือกลองวงพังก์ร็อก เดอะราโมนส์ ในสี่ปีแรกซึ่งเขายังถือเป็นผู้ร่วมก่อตั้งวงนี้และได้อยู่จนกระทั่งวงถูกยุบไป ก่อนที่เขาจะเสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทอมมี ราโมน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบบอลอโตน

ทะเลสาบบอลอโตน บอลอโตน (Balaton) เป็นทะเลสาบน้ำจืดในที่ราบลุ่มแม่น้ำดานูบ (ทรานส์ดานูเบีย) ของประเทศฮังการี ทะเลสาบบอลอโตนเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปกลางและเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของฮังการี น้ำในทะเลสาบส่วนใหญ่ไหลมาจากแม่น้ำซอลอและมีชิโอ ซึ่งเป็นคลองขุดทำหน้าที่ระบายน้ำออก เขตที่สูงในชายฝั่งทางตอนเหนือเป็นที่รู้จักในฐานะแหล่งผลิตไวน์ของภูมิภาคและมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ในขณะที่ที่ราบในบริเวณชายฝั่งตอนใต้เป็นที่รู้จักในฐานะเมืองพักตากอากาศ บอลอโตนฟือแร็ดและเฮวีซได้รับการพัฒนาให้เป็นเมืองพักตากอากาศซึ่งมีชื่อเสียงมากในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา เนื่องจากในสมัยนั้นมีแมลงฟิลลอกเซอราซึ่งเป็นศัตรูพืชชนิดหนึ่งได้ทำลายไร่องุ่น ส่งผลให้เจ้าของที่ดินสร้างบ้านพักฤดูร้อนขึ้นให้ชนชั้นกลาง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทะเลสาบบอลอโตน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบน็อยซีเดิล

ทะเลสาบน็อยซีเดิล (Neusiedler See) หรือ ทะเลสาบแฟร์เตอ (Fertő tó) เป็นทะเลสาบน้ำตื้น อยู่บริเวณชายแดนของประเทศออสเตรียกับฮังการี มีเนื้อที่ 315 กม² อยู่ในเขตประเทศออสเตรีย 240 กม² และอยู่ในเขตประเทศฮังการี 75 กม² ทะเลสาบมีพื้นที่รับน้ำราว 1,120 กม² จากทิศเหนือถึงใต้ทะเลสาบมีความยาว 36 กม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทะเลสาบน็อยซีเดิล · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบเจนีวา

right ทะเลสาบเจนีวา (Lake Geneva) ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในสวิตเซอร์แลนด์และมีบางส่วนอยู่ในเขตประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ 582 ตารางกิโลเมตร เป็นแหล่งน้ำจืดที่ใหญ่เป็นอันดับสองของทวีปยุโรปกลางรองจากทะเลสาบบาลาต้นในประเทศฮังการี เป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญคือเมืองเจนีวาในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทะเลสาบเจนีวา มีชื่อในภาษาฝรั่งเศสว่า ทะเลสาบเลม็อง (Lac Léman) หมวดหมู่:ทะเลสาบในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หมวดหมู่:ทะเลสาบในประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทะเลสาบเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วน

ทางหลวงรัฐออนแทรีโอหมายเลข 401 ในทางตอนใต้ของรัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา เป็นฟรีเวย์สายสำคัญของประเทศ ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึง (controlled-access highway) หรือ ทางด่วน เป็นทางหลวงประเภทหนึ่งของที่มีความสามารถที่จะรองรับปริมาณการจราจรได้จำนวนหนึ่ง ออกแบบมาเพื่อรองรับการจราจรที่รวดเร็วอย่างปลอดภัย โดยอาจจะเปิดให้ใช้ในลักษณะถนนที่เก็บค่าผ่านทางหรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนมากมักจะเก็บค่าผ่านทาง ซึ่งในแคนาดาและทวีปเอเชียเรียก เอกซ์เพรสเวย์ (expressway) ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เรียก มอเตอร์เวย์ (motorway) และในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียเรียก ฟรีเวย์ (freeway) ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงจะไม่มีการขัดขวางของการจราจรด้วยไฟจราจร ทางแยก และไม่มีการเข้าถึงสถานที่ที่อยู่ติดถนน เป็นอิสระจากจุดตัดที่ผ่านถนน ทางรถไฟ หรือทางเท้าที่ระดับดิน โดยอาจออกแบบเป็นทางยกระดับหรือทางลอดก็ได้ สามารถเข้าและออกจากทางหลวงนี้ได้โดยทางลาดและทางแยกต่างระดับ และมีการแบ่งทิศทางการจราจรด้วยเกาะกลาง อาจเป็นแบบราว กำแพงกั้น หรือเป็นที่ว่างปลูกหญ้า การกำจัดจุดตัดในทิศทางต่าง ๆ ช่วยเพิ่มความปลอดภัยของนักเดินทาง รวมทั้งช่วยเพิ่มความสามารถในการรองรับปริมาณจราจร ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงมีการพัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 ประเทศอิตาลีได้เปิดใช้ เอาโตสตราดา (autostrada) เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทางด่วน · ดูเพิ่มเติม »

ทิสซอ

แม่น้ำทิสซอ (Tisza หรือ Tisa) เป็นหนึ่งในแม่น้ำสายสำคัญในยุโรปกลาง ต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาคาร์เพเทียน ไหลผ่านยูเครน ไหลไปทางตะวันตก เป็นส่วนหนึ่งของเส้นเขตแดนระหว่างประเทศยูเครนกับประเทศโรมาเนีย แล้วไหลไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านประเทศฮังการี เข้าไปทางเหนือของประเทศเซอร์เบีย ลงสู่แม่น้ำดานูบ แม่น้ำทิสซอมีพื้นที่รองรับน้ำ 156,087 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและทิสซอ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก

ปรดสังเกตว่า รายการจัดอันดับการตลาดนี้ขึ้นอยู่กับมูลค่าการค้าปลีก (มากกว่าหน่วย) แต่ละตลาดจะมีการสร้างเป็นรายปี มูลค่าการค้าปลีกจะแบ่งเป็นปีต่อปี ตัวเลขที่อยู่บนพื้นฐานของรายงานประจำปีของสมาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดราวา

แม่น้ำดราวา (Dráva; Drau; อิตาลี, โครเอเชียและสโลวีเนีย: Drava) เป็นแม่น้ำในทวีปยุโรป อยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของทวีป มีต้นน้ำอยู่ที่ทิวเขาคาร์นิกแอลป์ ไหลไปทางตะวันออกผ่านเมืองรัฐทิโรลทางตะวันตกและรัฐคารินเทีย ผ่านทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสโลวีเนีย วกไปทางตะวันออกเฉียงใต้เข้าไปยังบริเวณเหนือสุดของประเทศโครเอเชียกับประเทศฮังการี แล้วไหลลงสู่แม่น้ำดานูบ ใกล้กับเมืองโอซีเยกของประเทศโครเอเชีย แม่น้ำสายนี้มีความยาว 707 กม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและดราวา · ดูเพิ่มเติม »

ดัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์ก

ัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์ก ชื่อเต็มในภาษาเยอรมันว่า Eilika Helene Jutta Clementine Herzogin von Habsburg-Lothringen สกุลเดิม von Oldenburg เป็นภริยาของเกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2515 ณ เมืองแบด เซเกเบิร์ก โอลเดินบูร์ก ประเทศเยอรมนี เป็นธิดาคนโตในดยุกโยฮันน์แห่งโอลเดินบูร์กและเคาน์เตสอิลคาแห่งออร์เทนบูร์ก หลังจากสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมเมื่อปีพ.ศ. 2535 ได้ศึกษาต่อระดับปริญญาในสาขาประชาสัมพันธ์และเลขานุการในต่างประเทศ หลังจากนั้น พระองค์ทำงานในบริษัทคอมพิวเตอร์ในเมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี อีก 3 ปีต่อมา ก็พบและรู้จักกับเกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์ก ดัชเชสไอลีคาและเกออร์กเข้าพิธีหมั้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ณ เมืองออล์โธสไตน์ ประเทศเยอรมนี จากนั้นเดินทางไปประเทศฮังการี ซึ่งในขณะนั้นเกออร์กเป็นทูตของสหภาพยุโรป ทั้งสองเข้าพิธีสมรสเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ที่มหาวิหารนักบุญสเทเฟน กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี โดยอาร์ชบิชอปอิสท์แวน เซเรเจลี ทั้ง ๆ ที่เป็นนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ และเกออร์กเป็นนับถือนิกายคาทอลิก ทั้งสองมีธิดา 2 คนและบุตร 1 คน ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและดัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)

ัญลักษณ์รายการอย่างเป็นทางการ สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 1 สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 2 ดิ อะเมซิง เรซ (The Amazing Race) หรือชื่อย่อว่า TAR เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ ผลิตโดยสหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็นทีมละสองคน (มียกเว้น 1 ครั้ง คือครั้งที่ 8) ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุดและระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ได้รางวัล แอมมี่อวอร์ด เรียลลิตี้เกมส์โชว์ประเภทพรามไทม์มาตลอดนั้นตั้งแต่เริ่มมีการประกวดรางวัลนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 แบบผูกขาด ซึ่งทำให้รายการนี้โด่งดังเป็นอย่างมาก จุดเด่นของรายการจะถ่ายทำยากมากและใช้งบประมาณสูงเนื่องจากค่าเดินทางและจ้างคนท้องถิ่นทำงานเพื่อถ่ายทำในแต่ละฤดูกาล โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวฉายทางซีบีเอสและเริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 6

อะเมซิ่ง เรซ 6 (The Amazing Race 6) เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและดิอะเมซิ่งเรซ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย

ัญลักษณ์รายการอย่างเป็นทางการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย (The Amazing Race Asia) เป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้ทางโทรทัศน์ที่สร้างมาจากเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกา ที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2548 สถานีโทรทัศน์ ซีบีเอส ให้โอกาสประเทศอื่นในการทำ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เป็นของตนเอง และเครือข่ายทีวีของเอเชีย เอเอ็กซ์เอ็น เอเชีย ก็เป็นหนึ่งในผู้ผลิตแรก ๆ ที่ได้สิทธิ์ในการผลิด ดิ อะเมซิ่ง เรซ สำหรับประเทศของตนเอง รายการนี้ผลิตโดยบริษัทผลิตรายการของออสเตรเลีย ActiveTV สำหรับเอเอ็กซ์เอ็น โดยความร่วมมือของบัวนาวิสต้า อินเตอร์เนชั่นแนล เอเชีย-แปซิฟิก (BVITV-AP) พิธีกรของรายการคือนักแสดงชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีน-อเมริกัน อลัน วู สำหรับรางวัลที่ผู้ชนะจะได้รับคือ 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งในเวอร์ชันสหรัฐอเมริกา เงินรางวัลที่ผู้ชนะจะได้รับคือ 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่ง ริคกี้ โอว ผู้จัดการทั่วไปของ โซนี่ พิกเจอร์ส เอนเตอร์เทนเมนต์ เอเชีย บริษัทแม่ของ เอเอ็กซ์เอ็น เอเชีย อธิบายเรื่องเงินรางวัลที่น้อยกว่าเวอร์ชันอเมริกาไว้ว่า "จริง ๆ แล้วเงินไม่ใช่แรงจูงใจหลัก แต่แรงจูงใจหลักนั้นคือการผจญภัย และโอกาสที่จะได้อยู่ในรายการเรียลลิตี้โชว์ที่ดีที่สุดรายการหนึ่งของโลก" แต่ก็เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งที่รายการได้ยุติลงหลังจากจบฤดูกาลที่ 4 อันเนื่องมาจากปัญหาด้านงบประมาณ อย่างไรก็ตาม กลางปี..2016 มีการประกาศจากทางโซนี ว่าจะมีการทำรายการนี้ต่อเป็นฤดูกาลที่ 5 และออกฉายในปลายปีเดียวกัน นับเป็นการกลับมาฉายอีกครั้ง หลังจากงดออกอากาศไปนานถึง 6 ปี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2

อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย 2 (The Amazing Race Asia 2) เป็นปีที่สองของรายการเรียลลิตี้โชว์ทางโทรทัศน์ที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขัน 10 ทีม ทีมละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ สำหรับซีซั่นนี้เริ่มออกอากาศตอนแรกทางช่องเอเอกซ์เอ็น ในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เวลา 21 นาฬิกา (เวลา UTC+8) และตอนสุดท้ายออกอากาศในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เวลา 21 นาฬิกา (เวลา UTC+8).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซเซ็นทรัลยุโรป

อะเมซิง เรซ เซ็นทรัล ยุโรป (The Amazing Race Central Europe) เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ที่สร้างจากเรียลลิตี้โชว์ของสหรัฐอเมริกาชื่อดังที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ รายการนี้ผลิตโดยเอเอ็กซ์เอ็น ยุโรป ที่มีบริษัท โซนี่ พิคเจอร์ เอ็นเตอร์เทเมน อินเตอร์เนชั่นแนล เป็นบริษัทแม่ เช่นเดียวกันกับ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย โดยการแข่งขันจะแบ่งเป็นทีมละสองคน ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุด และระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ทำการรับสมัครวันสุดท้ายวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2548 การเดินทางส่วนใหญ่จะอยู่ในประเทศ สาธารณรัฐเช็ค, โปแลนด์, สโลวาเกีย, ฮังการี, โรมาเนีย และ บัลแกเรีย โดยผู้ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ สำหรับกฎกติกาส่วนใหญ่จะนำมาจาก ดิ อะเมซิ่ง เรซ เวอร์ชันอเมริกา ทั้งหมด แต่ขีดจำกัดอายุขั้นต่ำของผู้เข้าแข่งขันลดลงเหลืออายุ 18 ปีขึ้นไป เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 มีการประกาศออกมาจากทางเอเอ็กซ์เอ็นว่า การคัดตัวผู้เข้าแข่งขันนั้นได้สิ้นสุดลงแล้ว และรายการมีกำหนดจะออกอากาศในเร็ว ๆ นี้อย่างไรก็ดีในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2550 ได้มีการถอดเว็บไซต์ของรายการเนื่องจากรายการอาจถูกยกเลิก รวมถึงมีการถอดผังรายการที่มีรายการนี้อยู่ด้วย และเมื่อเดือน กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและดิอะเมซิ่งเรซเซ็นทรัลยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555

นี่คือรายชื่อของ ผลกระทบจากอากาศหนาวจั..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ความสำคัญของศาสนาตามประเทศ

้านล่างนี้เป็นชาร์ตแสดงรายชื่อประเทศเรียงตามความสำคัญของศาสน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและความสำคัญของศาสนาตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การแข่งขันประกอบด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สองวัน เป็นการแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธีต่างๆ ผู้เข้าแข่งขันจะแข่งเป็นทีม ทีมละไม่เกิน 4 คนจากแต่ละประเทศ (อาจยกเว้นประเทศเจ้าภาพที่สามารถมีผู้เข้าแข่งขันเกิน 4 คนได้) แต่การแข่งขันจะเป็นการแข่งเดี่ยว มีผู้เข้าแข่งขันจาก 81 ประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2547 นักเรียนที่เข้าแข่งขันจะมาจากการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คอสโม่ อเล็กซานเดอร์

อสโม่ อเล็กซานเดอร์ (Cosmo Alexandre) หรือ คอสโม่ ก.ร่มศรีทอง เกิดวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1982 เป็นนักมวยไทยรุ่นมิดเดิลเวท และเป็นนักต่อสู้ป้องกันตัวชาวบราซิล ผู้ซึ่งเคยเข้าร่วมแข่งรายการ WMC อินเตอร์คอนติเนนทอล และ WPMF เวิลด์แชมเปี้ยน ในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคอสโม่ อเล็กซานเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก

ร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก หรือที่ในประเทศออสเตรียเรียกว่า คาร์ล ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน (คาร์ล โธมัส โรเบิร์ต มาเรีย ฟรานซิสกัส จอร์ช แบนัม ฟอน ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน; Karl Thomas Robert Maria Franziskus Georg Bahnam von Habsburg-Lothringen) ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2504 ณ เมืองสแตนเบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เป็นประมุขแห่งราชวงศ์ของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี หรือออสเตรีย ฮังการี สาธารณรัฐเช็ก โครเอเชีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสองค์แรกในออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กและเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน พระองค์ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Order of the Golden Fleece ของประเทศออสเตรีย การสิ้นพระชนม์ของพระราชบิดาในต้นเดือนกรกฎาคมคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิกตะวันออก

ระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก หรือ ศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออก (Eastern Catholic Churches) เป็นคริสตศาสนจักรตะวันออก 23 ศาสนจักรที่ร่วมเอกภาพสมบูรณ์กับพระสันตะปาปาแห่งโรมโดยยอมรับพระองค์เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรแต่มีอำนาจปกครองตนเอง มีจารีตธรรมประเพณีเป็นของตนเองและเป็นส่วนหนึ่งของนิกายคาทอลิกทั่วโลก สถานะพิเศษของศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออกได้รับการรับรองโดยกฤษฎีกาจากสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ใน Orientalium ecclesiarum (กฤษฎีกาว่าด้วยพระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก) จากข้อมูลหนังสือ Annuario Pontificio ฉบับปี 2016 ได้ให้ข้อมูลว่ามีคริสตศาสนิกชนนิกายคาทอลิกที่เป็นคาทอลิกตะวันออกเกือบ 18 ล้านคน (จำนวนทั้งสิ้น 17,881,222 คน) คิดเป็นประมาณ 1.4-1.5% ของจำนวนคริสตศาสนิกชนคาทอลิกทั้งหมดและกระจายออกไปทั่วโลก ตราอาร์มของพระอัครสังฆราชใหญ่สวีอาโตสลาฟ เชฟชุคแห่งศาสนจักรยูเครนกรีกคาทอลิก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคาทอลิกตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คิม อู-กิล

ม อู-กิล (김우길, Kim U-gil) เกิดเมื่อ 17 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคิม อู-กิล · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งฮังการี

ณะกรรมการโอลิมปิกฮังการี (Magyar Olimpiai Bizottság ตัวย่อ: MOB) เป็นคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของประเทศฮังการี ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

ณิตศาสตร์โอลิมปิก เป็นการแข่งขันคณิตศาสตร์ประจำปี ซึ่งมีคำถามอยู่หกข้อ คะแนนเต็ม 42 คะแนน สำหรับนักเรียนระดับก่อนมหาวิทยาลัย และเป็นโอลิมปิกวิชาการที่เก่าแก่ที่สุด คณิตศาสตร์โอลิมปิกจัดขึ้นครั้งแรกในโรมาเนีย ใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

งานวันไปรษณีย์โลก

งานวันไปรษณีย์โลก หรือชื่อในอดีตคือ งานสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย เป็นงานที่จัดขึ้นโดยไปรษณีย์ของไทย ให้ตรงกับสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย (International Letter Writing Week) ซึ่งกำหนดโดยสหภาพสากลไปรษณีย์ (Universal Postal Union หรือ UPU) ในปี พ.ศ. 2500 มีวัตถุเพื่อส่งเสริมการเขียนจดหมายระหว่างชาติต่าง ๆ เพื่อสร้างสันติภาพในโลก โดยจะนับเอาสัปดาห์ที่มีวันที่ 9 ตุลาคม ซึ่งตรงกับวันสถาปนาสหภาพสากลไปรษณีย์เป็นหลัก งานวันไปรษณีย์โลก จัดขึ้นทุกปีในกรุงเทพ โดยเปลี่ยนชื่อจาก งานสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมายในปี พ.ศ. 2557 เนื่องจากเทคโนโลยีการสื่อสารทำให้คนเขียนจดหมายลดลง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและงานวันไปรษณีย์โลก · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51 · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 54

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 54 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 54 · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 เป็นงานประกาศมอบรางวัลที่จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์สำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 90 · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษายูรัล

ตระกูลภาษายูรัล เป็นตระกูลภาษาที่ประกอบด้วยภาษาประมาณ 30 ภาษา มีผู้พูดราว 20 ล้านคน ชื่อของตระกูลภาษานี้มีที่มาจากแหล่งกำเนิดของภาษา ซึ่งเชื่อกันว่ามาจากบริเวณเทือกเขายูรัล ภาษาในกลุ่มนี้ที่มีผู้พูดจำนวนมากได้แก่ ภาษาฟินแลนด์ ภาษาเอสโตเนีย และภาษาฮังการี ไช้ใน ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ฮังการี และยังมีภาษาอื่นอีกเช่น ภาษามอร์โดวิน ภาษาโคมิ ภาษาอุตมูร์ ภาษามอคชาฮ์ ภาษามาริ ภาษาอริสยา ภาษาคาเรเลีย ไช้ใน สาธารณรัฐโคมิ สาธารณรัฐคาเรเลีย สาธารณรัฐอุตมูร์ สาธารณรัฐมอร์โดเวีย ฯลฯ ซึ่งเป็น สาธารณรัฐปกครองตนเองของรัสเซีย *.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและตระกูลภาษายูรัล · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของฮังการี

ตราแผ่นดินของฮังการี (Coat of arms of Hungary) เป็นตราอาร์มของประเทศฮังการีที่ได้รับการอนุมัติให้ในการเป็นตราประจำชาติใช้ได้เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 หลังจากการปกครองระบบคอมมิวนิสต์สิ้นสุดลง ตราแผ่นดินเป็นตราที่เคยใช้มาก่อนทั้งที่มีและไม่มีมงกุฎศักดิ์สิทธิ์แห่งฮังการี หรือ มงกุฎเซนต์สตีเฟน บางครั้งก็เป็นส่วนหนึ่งของตราอาร์มที่ใหญ่กว่าและซับซ้อนกว่า และองค์ประกอบหลายอย่างบนตราก็มาจากสัญลักษณ์ที่มาจากยุคกลาง เมื่อไม่นานมานี้ประเทศในยุโรปตะวันออกหลายประเทศแม้จะเป็นสาธารณรัฐหันมาใช้มงกุฎในตราแผ่นดินเพื่อแสดงว่ามีประวัติศาสตร์ที่สืบมาจากการปกครองโดยกษัตริย์ ซึ่งตามกฎมุทราศาสตร์ (Heraldry) แล้วเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง แม้ว่ารัสเซียและโปแลนด์ต่างก็นำตราอาร์มที่มีมงกุฎกลับมาใช้ หรือออสเตรียและฟินแลนด์ที่ใช้ติดต่อกันมา มงกุฎเหล่านี้อยู่ภายในโล่ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการใช้สัญลักษณ์ตามหลักมุทราศาสตร์ ตามกฎแล้วประเทศที่เป็นสาธารณรัฐควรจะใช้มงกุฎเชิงเทิน (Mural crown) ซึ่งมีลักษณะเหมือนหยักเชิงเทินเช่นที่ใช้กันในมอลตาหรือสาธารณรัฐสเปน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและตราแผ่นดินของฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและตราแผ่นดินในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจฮังการี

ตำรวจฮังการี (Rendőrség, ความหมายตามตัวอักษรว่า "ผู้รักษาความเรียบร้อย") เป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย มีเขตรับผิดชอบทั่วประเทศฮังการี โดยอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงมหาดไทยของฮังการี หมวดหมู่:ประเทศฮังการี หมวดหมู่:ตำรวจ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและตำรวจฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ตีร์กูมูเรช

ตีร์กูมูเรช (Târgu Mureș) เป็นเมืองในประเทศโรมาเนีย ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ จากข้อมูลประชากรในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและตีร์กูมูเรช · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซอลอเลอเวอ

ซอลอเลอเวอ (Zalalövő) เป็นเมืองทางตะวันตกของประเทศฮังการี อยู่ในเขตเทศมณฑลซอลอ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซอลอเลอเวอ · ดูเพิ่มเติม »

ซอนย่า คูลลิ่ง

ซอนย่า คูลลิ่ง (Sonia Couling; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) ชื่อเล่น พิม เป็นนางแบบ, นักแสดง, วีเจ และพิธีกรหญิงชาวไท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซอนย่า คูลลิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ซันโดร บอตตีเชลลี

ซานโดร บอตติเซลลี อเลสซานโดร ดี มาริอาโน ดี วานนี ฟิลิเปปิ หรือ ซานโดร บอตติเชลลี หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า บอตติเชลลี (Alessandro di Mariano di Vanni Filipepi หรือ Sandro Botticelli เรียกย่อว่า Il Botticello; 1 มีนาคม ค.ศ. 1444 (พ.ศ. 1987/88) - 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1510(พ.ศ. 2053) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีแห่งตระกูลการเขียนแบบฟลอเรนซ์ระหว่างยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้น เพียงไม่ถึงร้อยปึต่อมาวิธีการเขียนตระกูลนี้ (ภายใต้การอุปถัมภ์ของลอเรนโซ เดอ เมดิชิ) ก็ถูกจัดโดยจอร์โจ วาซารีให้เป็น “ยุคทอง” ในบทนำของหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” ของชีวประวัติของบอตติเชลลี ชื่อเสียงของบอตติเชลลีได้รับความเสียหายหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาบอตติเชลลีก็ได้รับความนับถือว่าเป็นจิตรกรฝีมือดีของสมัยเรอเนสซองซ์ตอนต้นของอิตาลีหรือสมัยที่เรียกกันในภาษาอิตาลีว่า “ควัตโตรเชนโต” ผลงานที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของงานเขียนแบบฟลอเรนซ์ก็ได้แก่ “กำเนิดวีนัส” และ “ฤดูใบไม้ผลิ”.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซันโดร บอตตีเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

ซารีว็อน

ซารีว็อน (사리원시, 沙里院市) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดฮวังแฮเหนือ, ประเทศเกาหลีเหนือ มีประชากรอาศัยราว 310,100 คน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซารีว็อน · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาแมนเดอร์ไฟ

ำหรับซาลาแมนเดอร์ที่เป็นสัตว์ในตำนาน ดูที่: ซาลาแมนเดอร์ ซาลาแมนเดอร์ไฟ (Fire salamander) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดเล็กจำพวกซาลาแมนเดอร์ชนิดหนึ่ง จัดเป็นนิวต์ (Salamandridae) หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก ชื่อซาลาแมนเดอร์ไฟนั้น สันนิษฐานว่ามาจากการที่มนุษย์ในสมัยโบราณ จะใช้ฟืน ที่นำมาจากกิ่งไม้หรือโพรงไม้ต่าง ๆ โยนเข้ากองไฟเพื่อสร้างความอบอุ่นยามหนาว บางครั้งจะพบซาลาแมนเดอร์ชนิดนี้ซุกซ่อนอยู่ภายใน เมื่อฟืนถูกไฟ ด้วยความร้อนซาลาแมนเดอร์ก็จะคลานออกมา เหมือนกับว่าคลานออกมาจากกองไฟ อันเป็นที่มาของสัตว์ในตำนานที่ว่า เมื่อโยนซาลาแมนเดอร์เข้าไปในกองไฟแล้วก็ไม่ตาย เนื่องจากมีความชื้นในรูปแบบของเมือกที่ปกคลุมตัวอยู่ ซึ่งก็ไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด ซาลาแมนเดอร์ไฟ นับเป็นซาลาแมนเดอร์ชนิดที่พบได้ง่ายกว่าซาลาแมนเดอร์ชนิดอื่น ๆ ในทวีปยุโรป มีลำตัวสีดำมีจุดสีเหลืองหรือลายเส้นที่แตกต่างกันออกไป บางตัวอาจจะมีสีเกือบดำสนิทในขณะที่บางตัวมีแถบสีเหลืองสดตัดกันโดดเด่น และบางตัวก็มีสีออกไปทางเหลืองเฉดแดง หรือสีส้ม มีขนาดความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ในตัวที่โตเต็มวัย และมีอายุขัยที่ยาวนานถึง 50 ปี นับว่ายาวนานกว่าซาลาแมนเดอร์ชนิดอื่น ๆ มาก นอกจากนี้แล้ว ยังสามารถปล่อยสารพิษประเภทอัลคาลอยด์ ในรูปแบบของต่อมพิษที่ผิวหนังเพื่อป้องกันตัวได้ด้วย มีผลทำให้กล้ามเนื้อชักเกร็ง, ความดันโลหิตสูง โดยต่อมพิษนี้กระจายอยู่ทั่วตัว และกระจุกในพื้นผิวบางส่วนของร่างกายเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนหัว และผิวหลังส่วนผิวหนังมักจะตรงกับต่อมเหล่านี้ ซึ่งสารประกอบในการหลั่งผิวหนังอาจจะมีผลต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราของผิวหนังชั้นนอก พบกระจายพันธุ์ตามแหล่งน้ำที่สะอาดต่าง ๆ ในป่าประเภท ป่าผลัดใบ หรือภูเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นป่าที่มีพืชชั้นต่ำประเภทมอสส์ปกคลุม ในหลายประเทศของทวีปยุโรป ตั้งแต่ประเทศแอลเบเนีย, ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, ฮังการี, โครเอเชีย, สาธารณรัฐเช็ก, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, กรีซ, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, มอนเตเนโกร, ยูโกสลาเวีย, เนเธอร์แลนด์, โปแลนด์, โปรตุเกส, โรมาเนีย, สเปน, สวิสเซอร์แลนด์ โดยพบไปได้ไกลถึงภูมิภาคตะวันออกกลาง เช่น ตุรกี และอิหร่าน มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางคืน กินสัตว์ขนาดเล็กกว่า เช่น แมลง, กุ้ง, ปู, ทาก หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำด้วยกันขนาดเล็ก โดยปกติในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวตามโขดหินและขอนไม้ จะออกมาหากินในเวลากลางวันบ้างก็ต่อเมื่อมีฝนตก ความชื้นในอากาศมีสูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ยกเว้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์จะสามารถเห็นถึงความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจนที่สุด คือ ต่อมบวมรอบ ๆ ระบายชายของตัวผู้ ต่อมนี้มีหน้าที่ผลิตถุงเก็บสเปิร์ม ซึ่งประกอบด้วยสเปิร์มจำนวนมากที่ตอนปลาย เมื่อซาลาแมนเดอร์ตัวเมียขึ้นมาบนบก ตัวผู้หลังจากปล่อยถุงสเปิร์มลงบนพื้นดินแล้วพยายามที่จะให้ตัวเมียรับเข้าไปผสมพันธุ์ หากประสบความสำเร็จทั้งไข่และสเปิร์มมีการปฏิสนธิกัน ซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวของตัวเมีย ตัวอ่อนจะได้รับการเพาะฟักในแหล่งน้ำที่สะอาดต่อไป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซาลาแมนเดอร์ไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ซิลเวีย เฟรแร

ซิลเวีย อัลเบอร์กูแอกูว์ เฟรแร (Szilvia Albuquerque Freire; Freire Szilvia) เกิดวันที่ 23 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซิลเวีย เฟรแร · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย

Sukhoi Superjet 100 (Campeche, Mexico) 2015 ซุคฮอย (Sukhoi, Сухой) เป็นผู้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ของรัสเซียมีที่มีชื่อเสียงจากเครื่องบินขับไล่ มันถูกก่อตั้งโดยพาเวล ซุคฮอยเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซุคฮอย · ดูเพิ่มเติม »

ซูบอตีตซา

ซูบอตีตซา (อักษรซีริลลิก: Суботица, ฮังการี: Szabadka, โครเอเชีย: Subotica) เป็นเมืองทางตอนเหนือของประเทศเซอร์เบีย ตั้งอยู่ตำแหน่งพิกัด 46.07° เหนือ, 19.68° ตะวันออก ห่างจากชายแดนฮังการีราว 10 กิโลเมตร เป็นเมืองที่มีหลายเชื้อชาติ มีประชากร 99,981 คน (ค.ศ. 2002) เขตเมืองมีประชากร 148,401 คน ผลิตผลที่สำคัญได้แก่ สินค้าเหล็ก เครื่องเรือน เคมีภัณฑ์ มีการกล่าวถึงชื่อเมืองนี้ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซูบอตีตซา · ดูเพิ่มเติม »

ซูซูกิ สแปลช

ซูซูกิ สแปลช (Suzuki Splash) เป็นรถยนต์นั่งซิตี้คาร์ (City Car) ที่ผลิตโดย ซูซูกิ เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2551 โดยเป็นรถที่ผลิตร่วมกับ โอเปิล เพื่อป้อนตลาดยุโรปโดยเฉพาะ และมีจำหน่ายในเอเชียบางประเทศ เช่น อินเดีย ญี่ปุ่น เป็นต้น โดยใช้ชิ้นส่วนร่วมกับ โอเปิล อจิลา (Opel Agila) ซูซูกิ สแปลช เริ่มจัดแสดงครั้งแรกในงานแฟรงค์เฟิร์ทมอเตอร์โชว์ปี 2007 และเริ่มจำหน่ายจริงในปี พ.ศ. 2551 โดยมีเครื่องยนต์เบนซิน 1.0 และ 1.2 ลิตร และเครื่องยนต์ดีเซล 1.4 ลิตร ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีตัวถังแบบเดียวคือแฮทช์แบค 5 ประตู ใช้เกียร์ธรรมดา 5 สปีด เกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด และเกียร์อัตโนมัติแบบ CVT ระยะฐานล้ออยู่ที่ 2,360 มม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซูซูกิ สแปลช · ดูเพิ่มเติม »

ซูซูกิ คัลตัส

ซูซูกิ คัลตัส (Suzuki Cultus) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) ซึ่งเปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2526 ในงานโตเกียวมอเตอร์โชว์ครั้งที่ 25 โดยเป็นรถที่ผลิตขึ้นมาสำหรับตลาดญี่ปุ่น และส่งออกภายในแบรนด์อื่นๆ รวมถึงใช้ชื่อ ซูซูกิ สวิฟท์ (Suzuki Swift) ในบางประเทศด้วย ปัจจุบันคัลตัสเลิกผลิตในตลาดโลกแล้ว แต่ในปากีสถาน ยังมีการผลิตอยู่ ส่วนในประเทศอื่นจะนำซูซูกิ สวิฟท์มาจำหน่ายแทน คำว่า "Cultus" เป็นภาษาละตินที่แปลว่า "ดูแล" หรือ "ความรัก".

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซูซูกิ คัลตัส · ดูเพิ่มเติม »

ซูซูกิ SX4

ซูซูกิ SX4 (Suzuki SX4) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็ก (Compact Car) ซึ่งผลิตโดย ซูซูกิ ผู้ผลิตรถยนต์ชั้นนำจากประเทศญี่ปุ่น เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2549 และมีจำหน่ายอยู่ทั่วโลกในแบรนด์ซูซูกิ ยกเว้นในยุโรปจะมีจำหน่ายในแบรนด์เฟียต ภายใต้ชื่อ เฟียต เซดิซิ (Fiat Sedici) ซึ่งเป็นรถยนต์ที่เฟียตและซูซูกิร่วมกันผลิต ที่มาของชื่อ SX4 คือ "Sports X-over for 4 seasons" ซึ่งเป็นการผสานความเป็นรถเอสยูวีผนวกกับรถยนต์ขนาดเล็ก เพื่อให้เป็น Compact Crossover SUV หรือรถยนต์ขนาดเล็กสมรรถนะสูงนั่นเอง มีการประกอบที่ประเทศฮังการี,ญี่ปุ่น,อินเดียและอินโดนีเซีย (ซึ่งเป็นโรงงานที่ประกอบ SX4 มาขายในประเทศไทย) และออกแบบโดยจิโอเจ็ตโต จิวเจียโร (Giorgetto Giugiaro) สำหรับตัวถัง มีตัวถัง 2 แบบ โดยส่วนใหญ่จะเป็นรุ่นแฮทช์แบค 5 ประตู แต่ในบางประเทศ จะมีตัวถังซีดาน 4 ประตู ซึ่งเป็นการร่วมมือกับบริษัท Maruti Suzuki ในอินเดียเพื่อผลิตรุ่นซีดานออกมา ซึ่งในประเทศไทยเคยถูกสั่งเข้ามาใช้งานเป็นรถของประธานบริษัทซูซูกิ มอเตอร์ ประเทศไทยด้วย มีเครื่องยนต์เบนซินขนาด 1.5,1.6 และ 2.0 ลิตร และมีเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 1.3,1.6,1.9 และ 2.0 ลิตร และระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 และ 6 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด แต่ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการเปิดตัวรุ่นเกียร์อัตโนมัติแบบ CVT ด้วย ในประเทศไทยเปิดตัวเมื่อปลายปี พ.ศ. 2553 โดยบริษัทซูซูกิ มอเตอร์ ประเทศไทย ซึ่งเป็นรุ่น 1.6 ลิตร ตัวถังแฮทช์แบค 5 ประตู และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด มีความยาว 4,135 มิลลิเมตร กว้าง 1,755 มิลลิเมตร สูง 1,605 มิลลิเมตร และระยะฐานล้ออยู่ที่ 2,500 มิลลิเมตร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซูซูกิ SX4 · ดูเพิ่มเติม »

ซีชีอูยฟอลู

ซีชีอูยฟอลู (Zichyújfalu) เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งทางตอนกลางของประเทศฮังการี มีประชากรประมาณ 941 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2555).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซีชีอูยฟอลู · ดูเพิ่มเติม »

ซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 1961–62

ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 1961–62 (1961–62 CEV European Champions Cup) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับสูงสุดของสโมสรวอลเลย์บอลในทวีปยุโรป และเป็นครั้งที่ 3 ของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (CEV).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 1961–62 · ดูเพิ่มเติม »

ซีแอตเทิล

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซีแอตเทิล · ดูเพิ่มเติม »

ซ้าบ

ซ้าบ เอบี (Saab AB) เป็นบริษัทอากาศยานและการป้องกันที่อยู่ในสวีเดน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและซ้าบ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการมาร์กาเรต

ปฏิบัติการมาร์กาเรต เป็นแผนปฏิบัติการการยึดครองฮังการีโดยกองทัพนาซีเยอรมันในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง,ตามที่ได้รับคำสั่งโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและปฏิบัติการมาร์กาเรต · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการสปริงอะเวคะนิง

ปฏิบัติการสปริงอเวเคนนิ่ง (Unternehmen Frühlingserwachen) เป็นปฏิบัติการการรุกครั้งสุดท้ายที่สำคัญของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง.เกิดขึ้นในประเทศฮังการีบน (แนวรบด้านตะวันออก) การรุกครั้งนี้ได้ถูกเรียกในเยอรมนีว่า การรุกแพทเทนซี (Plattensee Offensive) และในสหภาพโซเวียตว่า ปฏิบัติการป้องกันบอลอโตน (Balaton Defensive Operation) (6 – 15 มีนาคม ค.ศ. 1945) การรุกได้เริ่มต้นขึ้นด้วยความลับสุดยอด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและปฏิบัติการสปริงอะเวคะนิง · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยโดยตรง

การชุมนุมตามกระบวนการประชาธิปไตยโดยตรงที่เรียกว่า Landsgemeinde ในแคนทอนกลารุสปี พ.ศ. 2549 ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประชาธิปไตยโดยตรง (direct democracy) หรือ ประชาธิปไตยบริสุทธิ์ (pure democracy.) เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ประชาชนตัดสินการริเริ่มออกกฎหมาย/นโยบายต่าง ๆ โดยตรง ไม่ว่าจะโดยออกเสียงลงคะแนนหรือลงประชามติเป็นต้น ซึ่งต่างจากรัฐประชาธิปไตยปัจจุบันโดยมากอันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ที่ประชาชนออกเสียงเลือกผู้แทนเพื่อทำหน้าที่ริเริ่มแล้วออกเสียงตัดสินนโยบายอีกทอดหนึ่ง ในระบอบนี้ ประชาชนอาจมีอำนาจการตัดสินใจทางฝ่ายบริหาร ริเริ่มแล้วตัดสินการออกกฎหมายทางฝ่ายนิติบัญญัติ เลือกตั้งและถอดถอนเจ้าหน้าที่ และดำเนินการทางฝ่ายตุลาการ ประชาธิปไตยโดยตรงมีรูปแบบหลัก ๆ สองอย่างคือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประชาธิปไตยโดยตรง · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประมุขแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ออสเตรีย

ตราแผ่นดินของออสเตรียปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ออสเตรีย ในช่วงก่อนปลายศตวรรษที่ 8 ประเทศออสเตรียมีชนชาติอพยพต่าง ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ได้แก่ ชนเผ่าเยอรมันที่ข้ามแม่น้ำดานูบลงมาทางตอนใต้ และชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ทางตอนใต้ออสเตรีย จนสิ้นสุดศตวรรษที่ 8 ชาร์เลอมาญ (Charlemagne) ได้ก่อตั้งเขตชายแดนระหว่างแม่น้ำอินส์ แรบและดราวา เพื่อเป็นป้อมปราการ ป้องกันการรุกราน ของชาวเอวาร์ และภายหลังจากที่ชาวโรมันได้อพยพออกไป นักบวชชาวไอริชและสก็อตจึงได้เข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนา ในดินแดนบริเวณเทือกเขาอัลไพน์แห่งนี้ ราชวงศ์บาเบนแบร์ก (Babenberg) ของชาวบาวาเรียนได้เข้าปกครองออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประวัติศาสตร์ออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประวัติศาสตร์เยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ประวัติสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรถึงฤดูกาลปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประวัติสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวีเนีย

ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1896

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1896 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1900

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1904

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1904 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1908

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1908 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1912

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1916

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1916 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1920

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1920 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1924

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1932

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1936

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1936 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1948

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1956

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1980

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2018

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิก

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ฮังการี หมวดหมู่:ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศฮังการีในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล

ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มักจะถูกนิยามว่าเป็นประเทศที่ถูกปิดล้อมหรือเกือบถูกปิดล้อมด้วยแผ่นดิน ในปี 2551 มีทั้งหมด 45 ประเทศ การเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลนับเป็นข้อด้อยทางภูมิศาสตร์ เพราะนอกจากจะถูกปิดกั้นจากทรัพยากรทางทะเลแล้ว ยังทำให้ไม่สามารถค้าขายทางทะเลได้อีกด้วย ประเทศที่มีชายฝั่งมีแนวโน้มที่จะร่ำรวยกว่าและมีประชากรมากกว่าประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล นอกจากนี้ยังมีคำว่า ทะเลปิด หมายถึงทะเลที่ไม่ได้เชื่อมกับมหาสมุทร เช่น ทะเลแคสเปียน ซึ่งในบางครั้งมองเป็นทะเลสาบ นอกจากนี้ทะเลอื่นๆ เช่น ทะเลดำ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลบอลติก และ ทะเลแดง มีช่องทางออกสู่ทะเลน้อ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซิมบับเว

ซิมบับเว (Zimbabwe) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซิมบับเว (Republic of Zimbabwe) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ทวีปแอฟริกา อยู่ระหว่างแม่น้ำซัมเบซีและแม่น้ำลิมโปโป มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศโมซัมบิก ทิศตะวันตกติดกับประเทศบอตสวานา และทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ มีพื้นที่ประเทศ 390,580 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือ กรุงฮาราเร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศซิมบับเว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบีย

ซอร์เบีย (Serbia; Србија, Srbija) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซอร์เบีย (Republic of Serbia; Република Србија, Republika Srbija) เป็นประเทศสาธารณรัฐตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เมืองหลวงคือกรุงเบลเกรด เซอร์เบียมีอาณาเขตติดต่อกับฮังการีทางทิศเหนือ ติดต่อกับโรมาเนียและบัลแกเรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับมาซิโดเนียและแอลเบเนียทางทิศใต้ (พื้นที่ชายแดนทางด้านนี้กำลังมีปัญหาเรื่องการเรียกร้องเอกราชของคอซอวอ) และติดต่อกับมอนเตเนโกร โครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาทางทิศตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญาโอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันปรัชญาโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Philosophy Olympiad: IPO) เป็นสาขาหนึ่งของโอลิมปิกวิชาการเกี่ยวกับปรัชญาของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา จัดโดยสหพันธ์สมาคมปรัชญานานาชาติ (Fédération Internationale des Sociétés de Philosophie: FISP) และได้รับการสนับสนุนจากองค์การยูเนสโก ซึ่งเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยครูผู้สอนปรัชญาจากประเทศบัลแกเรีย ประเทศโรมาเนีย ประเทศโปแลนด์ ประเทศตุรกี และประเทศเยอรมนี โดยผู้ที่เข้าร่วมการแข่งขันจะต้องเขียนเรียงความเกี่ยวกับปรัชญา จากหนึ่งในสี่ของหัวข้อที่กำหนดให้ และมีข้อกำหนดว่าห้ามเขียนเรียงความด้วยภาษาประจำชาติตน เช่น ผู้เข้าแข่งขันจากประเทศเยอรมนี ต้องเขียนเรียงความเป็นภาษาใดก็ได้ที่ไม่ใช่ภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและปรัชญาโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา นพรัตน์

ปรีชา นพรัตน์ (Preecha Nopparat) เกิดเมื่อ 21 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและปรีชา นพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาเต

ปาเตหลายหลายชนิดคู่กับแตรีน ปาเต (pâté) เป็นอาหารยุโรปประเภทหนึ่ง ในภาษาฝรั่งเศสหมายถึงเนื้อบดผสมไขมัน ปาเตโดยทั่วไปมีลักษณะเป็นซอสสำหรับทา ทำจากเนื้อบดละเอียดหรือส่วนผสมของเนื้อและตับบดหยาบ ๆ และมักผสมไขมัน ผัก สมุนไพร เครื่องเทศ หรือไวน์ เป็นต้น ในประเทศฝรั่งเศสและประเทศเบลเยียม ปาเตอาจใช้เป็นไส้พายหรือขนมปังแถว เรียก "ปาเตอ็องครุต" (pâté en croûte) หรือใช้อบด้วยแตร์รีนหรือแม่พิมพ์แบบอื่น เรียก "ปาเตอ็องแตรีน" (pâté en terrine) ปาเตประเภทที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ "ปาเตเดอฟัวกรา" (pâté de foie gras) ทำจากตับของห่านที่ขุนจนอ้วน คำว่า "ฟัวกราอ็องตีเย" (foie gras entier) หมายถึง ตับห่านธรรมดาที่ได้รับการปรุงสุกและหั่นเป็นแผ่น ไม่ใช่ปาเต ส่วนในประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศเยอรมนี ประเทศฟินแลนด์ ประเทศฮังการี ประเทศสวีเดน และประเทศออสเตรีย ปาเตที่ทำจากตับบางชนิดจะมีลักษณะอ่อนยวบ โดยมากเป็นไส้กรอกที่ใช้ทานได้ ภาษาดัตช์เรียก "leverworst" ภาษาเยอรมันเรียก "leberwurst" ส่วนในสหรัฐอเมริกาเรียก "ลีเวอร์วูสต์" (liverwurst) หรือ "โบรนชวีเจอร์" (braunschweiger) ลีเวอร์วูสต์บางชนิดหั่นได้ ซึ่งในสหรัฐอเมริกานิยมใช้รับประทานคู่กับแซนด์วิช หมวดหมู่:อาหารฝรั่งเศส หมวดหมู่:อาหารใช้ทา.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและปาเต · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ คูรุซ

ปีเตอร์ คูรุซ (Péter Kurucz) เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและปีเตอร์ คูรุซ · ดูเพิ่มเติม »

นพวรรณ เลิศชีวกานต์

นพวรรณ เลิศชีวกานต์ (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 -) ชื่อเล่น นก นักเทนนิสหญิงชาวไทย มีอันดับโลกสูงสุด ประเภทเดี่ยว อันดับ 314 เมื่อปี 2552 ประเภทคู่ อันดับ 606 เมื่อปี 2550 นพวรรณชนะเลิศการแข่งขันในระดับเยาวชนหลายครั้ง และได้รับเลือกให้อยู่ในโครงการ The Rising Stars Programme ของลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย มื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2552 ทางสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ไอทีเอฟ) ได้จัดงานเลี้ยงฉลองนักเทนนิสยอดเยี่ยมประจำปี 2551 ที่โรงแรมพาวิลอง อาร์เมนองเวียง มีนักเทนนิสทั้งอดีตที่มีชื่อเสียงไม่ว่าจะเป็น จอห์น แม็คแอนโร, มาร์ตินา นาฟราติโลวา ก็มาร่วมงานกันพร้อมกับแขกที่เชิญกว่า 500 คน โดยงานนี้ "น้องนก" นพวรรณ เลิศชีวกานต์ ได้รับตำแหน่งนักกีฬาเยาวชนหญิงยอดเยี่ยมไปครอง จากการครองเป็นเบอร์ 1 ของเยาวชนโลก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนพวรรณ เลิศชีวกานต์ · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1992

นางงามจักรวาล 1992 (Miss Universe 1992) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 41 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนางงามจักรวาล 1992 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2017

นที่จัดประกวดนางงามจักรวาล 2017 นางงามจักรวาล 2017 (Miss Universe 2017) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 66 กำหนดจัดในวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017 ณ ดิแอซิส ภายในพื้นที่แพลเน็ตฮอลลีวูดรีสอร์ทแอนด์คาสิโน ลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรัฐ โดยอีริส มีเตอนาร์ นางงามจักรวาล 2016 ชาวฝรั่งเศส ได้สวมมงกุฎแก่เดมี-ลีห์ เนล-ปีเตอร์ จากแอฟริกาใต้ เป็นผู้ครองตำแหน่งคนใหม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนางงามจักรวาล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

นาตาชา ดูเชฟ-ยานิช

นาตาชา ดูเชฟ-ยานิช (Dusev-Janics Natasa; Наташа Душев-Јанић, Nataša Dušev-Janić) เกิดวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1982 ที่บาชคาพาลางคา สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เป็นนักกีฬาแคนูสปรินท์ชาวฮังการี ผู้ได้รับรางวัลสองเหรียญทองโอลิมปิกในรายการแคนูสปรินท์ ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 กับอีกเหรียญทองและเหรียญเงินในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 เมื่อครั้งที่แข่งขันให้แก่ทีมชาติฮังการี เธอยังได้รับเหรียญรางวัล 22 เหรียญจากรายการ ICF แคนูสปรินท์เวิลด์แชมเปี้ยนชิป โดยเป็นเหรียญทอง 18 เหรียญ (เค-1 200 ม.: ค.ศ. 2007, ค.ศ. 2009, ค.ศ. 2010; เค-2 200 ม.: ค.ศ. 2005, ค.ศ. 2006, ค.ศ. 2009, ค.ศ. 2010; เค-2 500 ม.: ค.ศ. 2005, ค.ศ. 2006; เค-2 1000 ม.: ค.ศ. 2005, ค.ศ. 2006; เค-4 200 ม.: ค.ศ. 2002, ค.ศ. 2006; เค-4 500 ม.: ค.ศ. 2006, ค.ศ. 2009, ค.ศ. 2010; เค-4 1000 ม.: ค.ศ. 2003, ค.ศ. 2006) และ 4 เหรียญเงิน (เค-1 500 ม.: ค.ศ. 2010, เค-1 4 x 200 ม.: ค.ศ. 2009, ค.ศ. 2010; เค-4 200 ม.: ค.ศ. 2009) และเป็นแชมป์ยุโรป 17 สมัย นาตาชาเติบโตขึ้นในประเทศเซอร์เบียและเข้าแข่งขันให้แก่ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ก่อนที่จะย้ายไปยังประเทศฮังการี เธอเป็นลูกสาวคนสุดท้องของ มิลาน ยานิช นักพายเรือแคนูชาวเซอร์เบียที่ได้รับรางวัลเหรียญเงินสำหรับทีมชาติยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ที่ลอสแอนเจลิส พี่ชายทั้งสองของเธอ ซึ่งได้แก่ มีโช และ สเตียฟาน ยานิช ต่างก็เป็นนักพายเรือแคนูเช่นเดียวกัน และร่วมแข่งขันให้แก่ทีมชาติเซอร์เบียตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนาตาชา ดูเชฟ-ยานิช · ดูเพิ่มเติม »

นิยามของตรา

นิยามของตรา (Blazon) ในด้านการศึกษาทางด้านมุทราศาสตร์ และ ธัชวิทยา “Blazon” หรือ “นิยามของตรา” คือคำบรรยายอย่างเป็นทางการของลักษณะของตรา ที่ส่วนใหญ่เป็นการบรรยายตราอาร์ม หรือ ธง ที่สามารถทำให้ผู้สร้างสามารถสร้างตรา, ธง หรือ เครื่องหมายได้ตามความต้องการอย่างถูกต้อง ฉะนั้นรูปลักษณะและองค์ประกอบของตราอาร์ม หรือ ธงตามหลักแล้วไม่ใช่เป็นการบรรยายโดยการใช้รูป แต่จะเป็นการบรรยายโดยตัวอักษร (แต่ในสมัยปัจจุบัน จะมีการให้นิยามเพิ่มเติมและบรรยายอย่างเจาะจงกว่าที่เป็นมาด้วยรายละเอียดทางเรขาคณิต) “นิยามของตรา” ใช้ภาษาเฉพาะทางในการเขียนนิยามตั้งแต่หลักการวางตำแหน่งของคำบรรยาย การใช้คำกิริยา ไปจนถึงหลัก และลำดับการเขียนคำบรรยายของแต่ละส่วนที่ย่อยออกไป เช่นคำแรกที่พบในการบรรยายตราคือชื่อผิวตรา ที่หมายถึงสีหรือผิวของพื้นตรา เช่น “Azure...” ซึ่งหมายความว่า “ (พื้นตรา) น้ำเงิน” ผู้อ่านที่เข้าใจหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยามจะทราบว่า “Azure...” เป็นสีของพื้นตราโดยไม่ต้องมีคำว่า “Field” ที่แปลว่าพื้นตรานำหน้าคำว่า “Azure...” เพราะตำแหน่งการวางคำเป็นไปตามหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยาม นอกจากโครงสร้างการวางลำดับการบรรยายและการใช้ไวยากรณ์แล้ว นิยามของตราในมุทราศาสตร์ก็ยังใช้คำศัพท์ที่เป็นศัพท์เฉพาะกิจเช่นคำว่า “Charge” ที่หมายถึง “เครื่องหมาย” บน “พื้นตรา” (Field) หรือคำว่า “Attitude” ที่หมายถึง “ลักษณะการวางท่า” ของมนุษย์หรือสัตว์ที่ปรากฏบนตรา นอกจากตราอาร์ม หรือ ธง แล้ว “นิยามของตรา” ก็อาจจะใช้ในการบรรยายลักษณะของสิ่งอื่นๆ ด้วยเช่น ตรายศ (badge), แถบคำขวัญ (banner) และ ตราประทั.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนิยามของตรา · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นีช

นีช (Ниш / Niš) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเซอร์เบีย (รองจากกรุงเบลเกรดและนอวีซาด) จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนีช · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

นีคอลา กรูเอฟสกี

นีคอลา กรูเอฟสกี (Никола Груевски - Грујо; เกิด 31 สิงหาคม ค.ศ. 1970) เขาเป็นนักการเมืองชาวมาซิโดเนีย เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมาซิโดเนียตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2549 จนถึงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559 และอยู่ในพรรคการเมือง VMRO-DPMNE ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2546 เขาเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรีลืบโค โจกี้เอฟสกี จนถึงเดือนกันยายนปีพ.ศ. 2545.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนีคอลา กรูเอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

นีโอนาซี

นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนีโอนาซี · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว

Lao visa ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศลาวจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตลาว เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แฟแร็นตส์ ปุชกาช

แฟแร็นตส์ ปุชกาช (Puskás Ferenc; 1 เมษายน ค.ศ. 1927 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006) เป็นนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวฮังการี ยิงประตูได้ 84 ประตูในการลงสนาม 85 นัดให้กับทีมชาติฮังการี และยิง 514 ประตูในการลง 529 นัดในลีกของฮังการีและสเปน เขายังได้รับเหรียญทองในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 และเข้ารอบตัดสินในโอลิมปิกฤดูร้อน 1954 เขาได้รับถ้วยยุโรปในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแฟแร็นตส์ ปุชกาช · ดูเพิ่มเติม »

แกลเมอร์ (นิตยสาร)

แกลเมอร์ (Glamour) เป็นนิตยสารผู้หญิงตีพิมพ์โดยบริษัทกอนเดแนสต์พับบลิเคชันส์ (Condé Nast Publications) ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแกลเมอร์ (นิตยสาร) · ดูเพิ่มเติม »

แก็ชแกเมต

แก็ชแกเมต (Kecskemét) เป็นเมืองตอนกลางของประเทศฮังการี เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 8 ของประเทศ ในเทศมณฑลบาช-กิชกุน เป็นศูนย์กลางตลาดผลไม้ มีโรงกลั่นสุรา อุตสาหกรรมทำเครื่องหนัง ชื่อของเมือง คำว่า kecske ในภาษาฮังการี หมายถึง แพะ หมวดหมู่:เมืองในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแก็ชแกเมต · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์แดบีล

แอร์แดบีล (اردبیل; การถอดเป็นอักษรโรมัน Ardabīl หรือ Ardebīl) เป็นเมืองโบราณในอิหร่านอาเซอร์ไบจาน เมืองแอร์แดบีลเป็นศูนย์กลางของจังหวัดแอร์แดบีล จากการสำรวจสำมะโนประชากรปีใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแอร์แดบีล · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เฌแบ็ต บาโตรี

น์เทสส์แอร์เฌแบ็ต บาโตรี (Báthory Erzsébet) เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1560 ในเมืองญีร์บาโตร์ (Nyírbátor) ประเทศฮังการี เป็นคนในตระกูลบาโตรีซึ่งมีความเกี่ยวดองกับพระมหากษัตริย์ฮังการีในสมัยนั้น แอร์เฌแบ็ตเสียชีวิตเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1614 (54 ปี) ในเมืองแซย์แต (Csejte) ราชอาณาจักรฮังการี ปัจจุบันคือชัคติตเซ (Čachtice) ประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแอร์เฌแบ็ต บาโตรี · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรูว์ โกรฟ

แอนดรูว์ โกรฟ (ซ้าย) ระหว่างการประชุม World Economic Forum ในปี 1997 แอนดรูว์ สตีเฟน โกรฟ (Gróf András István; Andrew Stephen Grove) หรือ แอนดี โกรฟ (เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1936) เป็นวิศวกรและนักธุรกิจชาวอเมริกันเชื้อสายยิวฮังการี เป็นพนักงานยุคเริ่มแรกของบริษัทอินเทล ต่อมาได้เป็นซีอีโอและประธานบริษัท เป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จของบริษัท โกรฟเกิดในครอบครัวชาวยิวชนชั้นกลางในกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแอนดรูว์ โกรฟ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็ตแชร์

แอ็ตแชร์ (Ecser) เป็นหมู่บ้านหนึ่งในเทศมณฑลแป็ชต์ เขตมหานครบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแอ็ตแชร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มัน โอแบร์ธ

แฮร์มัน จูเลียส โอแบร์ธ (Hermann Julius Oberth; 25 มิถุนายน ค.ศ. 1894 - 28 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เชื้อสายออสเตรีย-ฮังการี เขาเป็นหนึ่งในสามของบิดาแห่งวิทยาการจรวดและการสำรวจอวกาศร่วมกับคอนสแตนติน ซีออลคอฟสกี (รัสเซีย) และโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด (อเมริกัน) ทั้งสามคนนี้ไม่เคยทำงานร่วมกัน แต่โดยการทำงานอิสระต่างก็สามารถสร้างผลงานของตนสำเร็จขึ้นได้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแฮร์มัน โอแบร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี ฮูดินี

แฮร์รี ฮูดินี ในปี ค.ศ. 1899 แฮร์รี ฮูดินี (Harry Houdini) อดีตนักมายากลชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี ผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง ฮูดินี เกิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1874 ในครอบครัวชาวยิว ที่กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี โดยมีชื่อเดิมว่า เอริช ไวลส์ (Erich Weisz) ขณะที่ตัวเขาเองสะกดจะชื่อว่า Ehrich Weiss แต่จากบทสัมภาษณ์ของฮูดินีเอง เขาอ้างว่าเขาเกิดที่เมืองแอปเปิลตัน รัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแฮร์รี ฮูดินี · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลก

แฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลก (Beach Handball World Championships) เป็นการแข่งขันแฮนด์บอลชายหาดชายและหญิงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลก

แฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลก (IHF World Women's Handball Championship) เป็นการแข่งขันแฮนด์บอลหญิงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

แดแบร็ตแซ็น

แดแบร็ตแซ็น (Debrecen) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศฮังการี เป็นรองกรุงบูดาเปสต์ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ ในเทศมณฑลฮ็อยดู-บิฮอร์ เคยเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในฮังการีในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และถือเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศAntal Papp: Magyarország (Hungary), Panoráma, Budapest, 1982, ISBN 963 243 241 X, p. 860, pp.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแดแบร็ตแซ็น · ดูเพิ่มเติม »

แคช แค็บ

แคช แค็บ เป็นรายการเกมส์โชว์ คิดค้นโดยอาดัม วูด  ต้นกำเนิดเกิดขึ้นที่สหราชอาณาจักร และได้ถูกซื้อลิขสิทธิ์ในการผลิตรายการหลายประเทศ กติกาการเล่นคือ ผู้โดยสารที่นั่งบนรถแท็กซี่จะต้องตอบคำถาม โดยเป็นคำถามประเภทความรู้ทั่วไป ตลอดเส้นปลายทางของแต่ละครั้ง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแคช แค็บ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นซาคาร์ปัตเตีย

แคว้นซาคาร์ปัตเตีย (Закарпатська область) เป็นหน่วยการปกครองประเภทแคว้น (Oblast) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ ประเทศยูเครน, เป็นที่ตั้งของภูมิภาคทางประวัติศาสตร์ Carpathian Ruthenia มีเมืองปกครองหลัก ที่เมืองอุจโกรอด แคว้นก่อตั้งขึ้นในวันที่ 22 มกราคม 1946 หลังจากที่ เชโกสโลวาเกีย มอบดินแดน Sub Carpathian Ruthenia (Podkarpatská Rus) ให้กับ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน ภายใต้สนธิสัญญาระหว่างเชโกสโลวาเกีย และ สหภาพโซเวียต แคว้นซาคาร์ปัตเตีย ยังเป็นที่ตั้งของ เทือกเขาคาร์เพเทียน ของยูเครนตะวันตก แคว้นนี้ยังเป็นหน่วยการปกครองเดี่ยวของยูเครนที่มีพรมแดนติดถึง 4 ประเทศคือ โปแลนด์, สโลวาเกีย, ฮังการี และ โรมาเนีย โดยรายได้ส่วนใหญ่ของแคว้นซาคาร์ปัตเตียมาจากการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแคว้นซาคาร์ปัตเตีย · ดูเพิ่มเติม »

แซแก็ด

แซแก็ด (Szeged; Szegedin; Seghedin; Segedin; Сегедин) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศฮังการี ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ บนเส้นเขตแดนประเทศเซอร์เบีย มีมหาวิทยาลัยแซแก็ด หนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดในฮังการี เป็นเมืองท่าสำคัญบนฝั่งแม่น้ำทิสซอ เมืองเก่าได้รับความเสียหายจากอุทกภัยใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแซแก็ด · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

โบริส ไทกอสสกี

ซอร์ โบริส ไทกอสสกี (Борис Трајковски; 25 มิถุนายน ค.ศ. 1956 – 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004) เขาเป็นประธานาธิบดีและผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งสาธารณรัฐมาซิโดเนียในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโบริส ไทกอสสกี · ดูเพิ่มเติม »

โฟรินต์ฮังการี

ฟรินต์ (สัญลักษณ์: Ft; โค้ต: HUF) เป็นสกุลเงินของ ประเทศฮังการี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโฟรินต์ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค

ันน์ เซบาสเตียน บาค, ปี พ.ศ. 2291 วาดโดย อีลิอาส ก็อตลอบ เฮาส์มันน์ (Elias Gottlob Haussmann) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนัค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และเบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทุกแง่มุม ด้วยความพิถีพิถันของบทเพลงที่เต็มไปด้วย ท่วงทำนอง เสียงประสาน หรือ เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่าง ๆ รูปแบบที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคที่ฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การศึกษาค้นคว้า แรงบันดาลใจอันเต็มเปี่ยม รวมทั้งปริมาณของบทเพลงที่แต่ง ทำให้งานของบาคหลุดจากวงจรทั่วไปของงานสร้างสรรค์ที่ปกติแล้วจะเริ่มต้น เจริญเติบโตถึงขีดสุด แล้วเสื่อมสลาย นั่นคือไม่ว่าจะเป็นเพลงที่บาคได้ประพันธ์ไว้ตั้งแต่วัยเยาว์ หรือเพลงที่ประพันธ์ในช่วงหลังของชีวิตนั้นจะมีคุณภาพทัดเทียมกัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค · ดูเพิ่มเติม »

โยโย่

(ในภาษาไทยอาจเรียกว่า ลูกดิ่ง) คือของเล่นชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นลูกล้อหรือจานหมุนจำนวน 2 ชิ้นประกบเข้าด้วยกันและมีแกนยึดตรงกลาง มีเชือก 1 เส้น คล้องแกนกลางนั้น วิธีการเล่นโดยทั่วไปคือจับปลายเชือกด้านที่อิสระ แล้วพันเชือกส่วนที่เหลือรอบแกนหมุนของโยโย่ จากนั้นกระตุกปลายเชือกให้ส่วนจานหมุนเริ่มหมุนคลายเชือกที่พันไว้นั้น ด้วยความเฉื่อยของการหมุนดังกล่าว สามารถทำให้จานหมุนเคลื่อนที่ห่างออกจนสุดระยะเชือก ก่อนจะหมุนต่อเนื่องพันทบเชือกกลับมายังปลายเชือกที่ผู้เล่นจับเอาไว้ได้ นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการเล่นอีกหลากหลาย การเล่นโยโย่เริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 และยังได้รับความนิยมทั้งในเด็กและผู้ใหญ่จวบจนถึงปัจจุบัน มีการแข่งขันแสดงลีลาการเล่นโยโย่จัดเป็นประจำทุกปี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโยโย่ · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ ไฮเดิน

วาดโยเซฟ ไฮเดิน ฟรันซ์ โยเซฟ ไฮเดิน (Franz Joseph Haydn) เป็นคีตกวีชาวออสเตรียในยุคคลาสสิก เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1732 และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1809 เนื่องจากเป็นคีตกวีในความดูแลของราชสำนัก จึงได้ประพันธ์บทเพลงไว้เป็นจำนวนมาก ได้ชื่อว่าเป็น บิดาแห่งซิมโฟนี และ บิดาแห่งสตริงควอเต็ต นอกจากนั้น ฟรันซ์ โยเซฟ ไฮเดิน ยังเป็นพี่ของโยฮันน์ มิคาเอล ไฮเดิน (Johann Michael Haydn) คีตกวีคนสำคัญอีกท่านหนึ่งของออสเตรียอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโยเซฟ ไฮเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต เอิร์นชอว์

รเบิร์ต เอิร์นชอว์ (Robert Earnshaw) อดีตนักฟุตบอลชาวเวลส์-แซมเบีย โดยเป็นผู้ที่ได้รับการบันทึกว่าเป็นนักฟุตบอลเพียงคนเดียวที่สามารถทำแฮตทริกได้ในการเล่นฟุตบอลอาชีพของอังกฤษในทุกระดับ ได้แก่พรีเมียร์ลีกและทั้ง 3 ดิวิชันของฟุตบอลลีก รวมถึงการยิงแฮตทริกได้ในเอฟเอคัพ, ลีกคัพและในนามทีมชาติ โรเบิร์ต เอิร์นชอว์ เริ่มสร้างชื่อเสียงกับสโมสรฟุตบอลคาร์ดิฟฟ์ ซิตี และเคยเล่นในระดับพรีเมียร์ลีกกับสโมสรเวสต์บรอมวิช อัลเบียนและดาร์บี เคาน์ตี รวมถึงสโมสรอื่นๆในอังกฤษอย่างนอริช ซิตี, น็อตติ้งแฮม ฟอเรสต์, แบล็คพูล นอกจากนี้ยังเคยเล่นฟุตบอลในประเทศอิสราเอลกับสโมสร มัคคาบี้ เทลอาวีฟ ในช่วงปลายอาชีพนักฟุตบอลเอิร์นชอว์ เล่นฟุตบอลที่สหรัฐอเมริกาและแคนาดาในเมเจอร์ลีก ซอคเกอร์ โดยเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลแวนคูเวอร์ ไวท์แคปส์ เป็นสโมสรสุดท้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโรเบิร์ต เอิร์นชอว์ · ดูเพิ่มเติม »

โลกันตนรก

ลกันตนรก (Inferno) เป็นภาพยนตร์ลึกลับ/ระทึกขวัญ กำกับโดยรอน ฮาวเวิร์ด เขียนบทโดยเดวิด เคปป์ โดยอิงจากนวนิยายเรื่อง สู่นรกภูมิ ของแดน บราวน์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคต่อจาก รหัสลับระทึกโลก (ค.ศ. 2006) และ เทวากับซาตาน (ค.ศ. 2009) ทอม แฮงส์กลับมารับบทเป็นศาสตราจารย์โรเบิร์ต แลงดอน สมทบด้วยเฟลิซิตี โจนส์, โอมาร์ ซี, เบน ฟอสเตอร์, อีร์ฟาน ข่านและซิดเซ บาเบตต์ คนุดเซน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโลกันตนรก · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 40

อลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 40 หรือ หมากรุกสากลโอลิมเปียดครั้งที่ 40 (40th Chess Olympiad) จัดขึ้นโดยสมาพันธ์หมากรุกโลก ซึ่งประกอบไปด้วยแบบโอเพ่น และการแข่งขันของสตรี ตลอดจนรายการต่างๆที่ได้ออกแบบมาเพื่อส่งเสริมการแข่งขันหมากรุกสากล ซึ่งจัดขึ้น ณ เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี, Chessdom.com.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโอลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 40 · ดูเพิ่มเติม »

โอซีเยก

อซีเยก (Osijek; Eszék; Esseg) คือเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่ในภูมิภาคทางทิศตะวันออกของโครเอเชียที่เรียกว่าสลาโวเนีย (Slavonija; Slavonia) ใกล้กับชายแดนประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย มีแม่น้ำดราวาเป็นแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านเมือง ได้รับการยกย่องอย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นเมืองหลวงของภูมิภาคสลาโวเนีย ด้านประวัติศาสตร์โอซีเยกมีอายุยืนยาวติดต่อกันมากว่า 800 ปี ผ่านการปกครองจากหลายอาณาจักรทั้งราชอาณาจักรฮังการี, อาณาจักรออตโตมัน, ฮับส์บูร์ก, ออสเตรีย-ฮังการี รวมถึง ยูโกสลาเวีย ในช่วงทศวรรษที่ 90 โอซีเยกเป็นหนึ่งในเมืองซึ่งได้รับความเสียหายมากที่สุดในสงครามการประกาศอิสรภาพของโครเอเชีย ทำให้เมืองซึ่งเคยเฟื่องฟูในฐานะเมืองอุตสาหกรรมหลักแห่งนึงของรัฐโครเอเชียในสหพันธรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียประสบกับปัญหาความซบเซาทางเศรษฐกิจ แม้กระทั่งทุกวันนี้ก็ยังไม่ฟื้นตัวดีนัก ปัจจุบันนี้ด้วยประชากรราวๆ 108,000 คน โอซีเยกจึงเป็นศูนย์กลางการปกครองของเขตโอซีเยก-บารานยา เป็นที่ตั้งของสนามบินเพียงแห่งเดียวในภูมิภาคสลาโวเนียตะวันออก มีความสำคัญในฐานะศูนย์รวมความเจริญทางเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา การคมนาคม และการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโอซีเยก · ดูเพิ่มเติม »

โอปอล

อปอล (Opal) เป็นอัญมณีในตระกูลควอตซ์ (Quartz) เช่นเดียวกับแอเมทิสต์ซึ่งเป็นอัญมณีประจำราศีกุมภ์ มีค่าความแข็งที่ 6 - 7 โมส์ (Moh) มีความวาวแบบแก้วและยางสน มีหลายสีด้วยกัน เช่น สีขาว แดง เหลือง เขียว ม่วง ดำ แต่ที่เป็นที่นิยมมากที่สุด คือ โอปอลไฟ จากสีสันลวดลายอันงดงามที่พาดผ่านบนตัวโอปอลนี้ ทำให้นักประวัติศาสตร์ ไพลนี (Pliny) ชื่นชมไว้ว่า มันคือศูนย์รวมความงามของเหล่าอัญมณี เพราะประกอบด้วยเปลวไฟสีแดงจากทับทิม ประกายสีม่วงเหมือนแอเมทิสต์ และสีเขียวน้ำทะเลจากมรกต คำว่า Opal มาจากภาษาสันสกฤตว่า Upula แปลว่า หินมีค่า โอปอลเป็นที่รู้จักมาเป็นเวลานานหลายพันปีมาแล้ว โดยเฉพาะประเทศในแถบตะวันตก นักโบราณคดีชื่อ Louis Leaky ขุดพบเครื่องประดับโอปอลที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งมีอายุถึง 6,000 ปี ในถ้ำที่ประเทศเคนยา มงกุฎของกษัตริย์แห่งอาณาจักร Holy Roman ประดับด้วยโอปอลชื่อ Orphanus มงกุฎของกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสก็ประดับด้วยโอปอลเช่นกัน อัญมณีสีรุ้งนี้ยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเขียนในสมัยก่อนมากมาย เช่น วิลเลียม เช็คสเปียร์ (William Shakespeare) เซอร์ วอลเตอร์ สก็อต (Sir Walter Scott) ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ใหม่ ๆ แก่โอปอล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโอปอล · ดูเพิ่มเติม »

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกมส์โอเวอร์วอตช์ที่กำลังจะเกิดขึ้น จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมส์ดังกล่าวขึ้น การแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันครั้งแรกของชุด และเกิดขึ้นที่งานบลิซซ์คอน ณ ศูนย์การประชุมแอนาไฮม์ ในวันที่ 4 ถึง 5 พฤศจิกายน 2016.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โฮดแมเซอวาชาร์แฮย์

โฮดแมเซอวาชาร์แฮย์ (Hódmezővásárhely) เป็นเมืองเมืองหนึ่งในเทศมณฑลโชงกราด ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฮังการี เป็นเมืองผลิตสิ่งทอ หมวดหมู่:เมืองในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโฮดแมเซอวาชาร์แฮย์ · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ พูลิตเซอร์

ซพ พูลิตเซอร์ โจเซฟ พูลิตเซอร์ (Joseph Pulitzer; 10 เมษายน พ.ศ. 2390 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2454) ผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกันผู้ได้รับการยกย่องหลังการเสียชีวิตว่าเป็นผู้ก่อตั้ง "รางวัลพูลิตเซอร์" (Pulitzer Prize) ร่วมกับวิลเลียม แรนดอฟ เฮิร์ส สำหรับการเป็นต้นตอของหนังสือพิมพ์แบบเยลโลว์ หรือ หนังสือพิมพ์ที่ตีข่าวตื่นเต้นเกินจริง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโจเซฟ พูลิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ แมกซิมิเลียน เพทช์วอล

ซฟ แมกซิมิเลียน เพทช์วอล (Jozef Maximilián Petzval Josef, Maximilian Petzval, Petzvál József Miksa) (6 มกราคม พ.ศ. 2350 – 17 กันยายน พ.ศ. 2434) เพทช์วอล เกิดในฮังการี เขาได้เข้ารับการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ในมหาวิทยาลัยแห่งบูดาเปสต์ ที่นั่นเขาได้ก้าวขึ้นมาเป็นผู้สอนบรรยายวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2378 (ค.ศ. 1835) และในปี พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) เขาได้ย้ายไปบรรยายที่มหาวิทยาลัยแห่งกรุงเวียนนา กล้อง Dagurre ได้ถูกเรียกว่า “Wollaston – Chevalies” เลนส์ด้วยเช่นกัน เลนส์ชนิดนี้ได้ถูกใช้ได้จริงกับกล้อง Daguerrotype แต่เลนส์ไม่มีความสามารถมากพอสำหรับช่องรับแสงที่ f/17และไม่มีทีเดียวที่จะได้รับความสะดวกว่องไวและคมชัดที่ดีพอในขณะที่เปิดช่องรับแสง เพทช์วอล ได้ออกแบบเลนส์ชนิดใหม่มา 2 ชน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโจเซฟ แมกซิมิเลียน เพทช์วอล · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1953

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1953 ในโทรทัศน์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1971

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1971 ในโทรทัศน์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1997

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1997 ในโทรทัศน์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 1997 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในโทรทัศน์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2012 ในโทรทัศน์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2015

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 ในโทรทัศน์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2015 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 ในโทรทัศน์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโทรทัศน์ประเทศฮังการีใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โซมบ็อตแฮย์

โซมบ็อตแฮย์ (Szombathely) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 10 ของประเทศฮังการี ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนประเทศออสเตรีย เป็นเมืองเก่าแก่ที่สุดในฮังการี เคยเป็นเมืองสำคัญในมณฑลพันโนเนียของอาณาจักรโรมัน ได้รับความเสียหายมากในสงครามโลกครั้งที่สอง แต่ส่วนใหญ่ได้รับการบูรณะขึ้นใหม่แล้ว หมวดหมู่:เมืองในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโซมบ็อตแฮย์ · ดูเพิ่มเติม »

โซเฟีย ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน

อาร์ชดัชเชสโซฟีแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: โซฟี มาเรีย ทาเทียน่า โมนิก้า เอลิซาเบธ แคเทอรีน; Sophie Maria Tatiana Monica Elisabeth Catherine von Habsburg-Lorraine, ภาษาฮังการี: Zsófia Mária Tatjana Monika Erzsébet Katalin) ประสูติเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2544 ณ กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์โตใน อาร์ชดยุกจอร์ชและอาร์ชดัชเชสอีไลก้าแห่งออสเตรีย พระองค์ทรงได้เข้าพิธีรับศีลล้างบาปที่ประเทศฮังการี พระองค์จึงได้รับพระนามเป็นภาษาฮังการีด้วย ซ ซ ซ หมวดหมู่:เจ้าหญิงฮังการี หมวดหมู่:สมาชิกของราชวงศ์ที่ยังทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโซเฟีย ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์

มเคิล แจ็คสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ (Michael Jackson: The Immortal World Tour) เป็นครั้งแรกของทั้งสองผลิตละครที่แตกต่างกันอย่างเป็นทางการโดย บริษัท Cirque du Soleil ซึ่งใช้ดนตรี และวิสัยทัศน์ของ ไมเคิล แจ็คสัน พร้อมกับ ลายเซ็นสไตล์ท่ากายกรรที่มีประสิทธิภาพของ Cirque du Soleil เพื่อสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตที่สมจริง การแสดงที่ได้รับการเขียนบทและกำกับการแสดงโดย เจมี คิง และการผลิตในการเป็นหุ้นส่วนกับธุรกิจของไมเคิล แจ็คสัน เวทีการแสดงซึ่งจะคล้ายกับคอนเสิร์ตเพลงร็อก เริ่มต้นการแสดงทัวร์เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเมืองมอนทรีออล หลังจากนั้นได้เดินทางไปแสดงที่ทวีปอเมริกาเหนือประมาณสองปี ต่อไปด้วยทวีปยุโรป และส่วนที่เหลือของโลก บริษัท Michael Jackson Company LLC ได้ร่วมมือกับ Cirque du Soleil เพื่อที่จะสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตครั้งนี้ ในส่วนของทำสัญญามูลค่า 250 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ พร้อมกับโซนี อนุญาตให้เผยแพร่เพลงดนตรีจนถึงปี ค.ศ. 2017 โดยในชื่ออัลบั้ม อิมมอร์ทัล ถูกใช้ในการผลิตด้วย ธุรกิจเริ่มต้นเปิดการแสดง 50 สถานที่จัดงานแล้วถามแฟน ๆ ที่จะทำตามคำขอถ้าพวกเขาต้องการสำหรับการแสดงที่จะมาไปยังเมืองนั้น ๆ ความต้องการตั๋วสูงได้รับแจ้งธุรกิจที่จะเพิ่มสถานที่จัดงานหลายแห่งและหลายวันการแสดงซึ่งรวมแล้วทั้งหมด 273 รอบในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปยุโรป แสดงครั้งแรกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2011 เวลาเพียงสองเดือนหลังจากที่ถูกเปิดตัวการแสดงที่มียอดจำหน่ายกว่า 100 ล้านตั๋ว และกลายเป็นการแสดงทัวร์ชั้นนำของอเมริกาตามฟอร์บ อิมมอร์ทัล ได้สร้างจนถึงขณะนี้ 340 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และได้รับการแสดงไปกว่า 2 ล้านผู้ชมทั่วโลก ติดท็อปชาร์ตในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอเซนชตัดท์

อเซนชตัดท์ (Eisenstadt; Kismarton, Željezni grad, Željezno, Železno) เป็นเมืองในประเทศออสเตรีย เมืองหลวงของรัฐบูร์เกนลันด์ มีประชากร 13,165 คน (ค.ศ. 2012).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและไอเซนชตัดท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 — สิ้นพระชนม์ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เป็นพระชายาองค์แรกของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารอังกฤษ ไดอานาถือกำเนิดในตระกูลขุนนางที่สืบทอดเชื้อสายจากราชวงศ์อังกฤษโบราณ  เป็นบุตรีคนที่ 3 ของ จอห์น สเปนเซอร์ ไวเคานต์อัลธอร์พ และฟรานเซส โรช ในวัยเด็กไดอานาพักอาศัยที่คฤหาสน์พาร์กเฮาส์ ซึ่งตั้งอยู่ภายในพื้นที่ตำหนักซานดริงแฮม ไดอานาเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนที่ประเทศอังกฤษและได้เข้าศึกษาต่อเป็นเวลาสั้นๆ ในโรงเรียนการเรือนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  เมื่ออายุได้ 14 ปี ไดอานาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เลดี้ เมื่อบิดาสืบทอดฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น เอิร์ลแห่งสเปนเซอร์ ไดอานาเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกเมื่อเป็นเข้าพิธีหมั้นหมายกับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบ-ลอ บอร์โตก

-ลอ วิกโตร์ ยาโนช บอร์โตก (Bartók Béla Viktor János) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1881) ที่เมืองน็อจแซ็นด์มิกโลช (Nagyszentmiklós) ฮังการี (ในปัจจุบันคือเมืองซึนนีกอลาอูมาเร ประเทศโรมาเนีย) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ที่นครนิวยอร์ก) เป็นทั้งคีตกวี นักเปียโน และนักสะสมดนตรีพื้นบ้านในแถบยุโรปตะวันออก เขาเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้จัดตั้งสาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา (ethnomusicology).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเบ-ลอ บอร์โตก · ดูเพิ่มเติม »

เบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)

"เบบี้" เป็นเพลงที่ร้องโดยศิลปินชาวแคนาดา จัสติน บีเบอร์ เพลงนี้เป็นเพลงครึ่งของอัลบั้มบีเบอร์ มายเวิลด์ 2.0 เพลงนี้แต่งโดยบีเบอร์ ร่วมกับ ทริกกี้ สตีวาสตร์ และดิดรีม ทั้งสองเคยร่วมแต่งเพลงของบีเบอร์ เช่น เพลงวัน ทาม (One Time) และเพลงนี้เป็นเพลงแนวอาร์แอนด์บีร่วมสมัย แร็ปโดย ลูดาคริส เพลงนี้ให้ดาวน์โหลดทางดิจิทัลเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์) · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบเลเน

ลเน เบเลเน (Белене) เป็นเมืองในจังหวัดเพลเวน ทางตอนเหนือของประเทศบัลแกเรีย เมืองตั้งอยู่ฝั่งขวาของแม่น้ำดานูบใกล้กับเมืองสวีชตอฟ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเบเลเน · ดูเพิ่มเติม »

เพนท์เฮาส์ (นิตยสาร)

นท์เฮาส์ (Penthouse) เป็นนิตยสารรายเดือนสำหรับผู้ชายที่ตีพิมพ์ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเพนท์เฮาส์ (นิตยสาร) · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์ก

อาร์ชดยุกจอร์จแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: พอล จอร์จ มาเรีย โจเซฟ โดมินิกัส; Paul Georg Maria Joseph Dominikus von Habsburg-Lothringen) ประสูติเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2507 ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรียและเจ้าฟ้าชายแห่งฮังการี เป็นพระราชโอรสองค์เล็ก และ พระราชบุตรองค์สุดท้องในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน พระองค์ทรงเป็นรัชทายาทลำดับที่ 3 แห่งราชบัลลังก์อิมพีเรียลออสเตรีย-ฮังการี พระองค์ทรงเป็นผู้สนับสนุนและทูตของสหภาพยุโรป เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 พระองค์ทรงเป็นองค์ประธานของสมาคมแกรนด์ยุโรปบอลล์ ซึ่งเคยมีการฉลองกาล่า ที่โรงแรมวาลดอร์ฟ แอสโตเรีย นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับดัชเชสอีไลก้า เฮเลน จูทต้า เซเลเมนตีน แห่งโอลเดนเบิร์ก ซึ่งเป็นพระธิดาองค์โตในท่านดยุกโจฮันแห่งโอลเดนเบิร์ก และท่านเค้านท์เตสอิลก้าแห่งออร์เทนเบิร์ก ทั้งสองพระองค์เข้าพิธีอภิเษกสมรสเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ณ กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี ทั้งสองพระองค์มีพระราชธิดา 2 พระองค์ และ พระราชโอรส 1 พระองค์ ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี ถูกจัดตั้งขึ้นโดยนาซีเยอรมนีเพื่อกักขังชาวยิว และบางครั้งอาจรวมชาวยิปซี เข้าไปในพื้นที่แออัดแน่นของนคร รวมแล้ว ตามบันทึกของพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์การล้างชาติโดยนาซีสหรัฐอเมริกา "พวกเยอรมันจัดตั้งเกตโตอย่างน้อย 1,000 แห่งเฉพาะในโปแลนด์และสหภาพโซเวียตส่วนที่เยอรมนียึดครองและผนวกไว้" ดังนั้น ตัวอย่างจึงตั้งใจเพียงเพื่อแสดงให้เห็นขอบเขตและสภาพความเป็นอยู่ของเกตโตทั่วยุโรปตะวันออก แม้คำว่า "เกตโต" จะใช้โดยทั่วไปในงานประพันธ์เกี่ยวกับการล้างชาติโดยนาซี แต่พวกนาซีมักเรียกสถานกักกันเหล่านี้บ่อยครั้งว่า "ย่านชาวยิว" (Jewish Quarter) ไม่นานหลังการรุกรานโปแลนด์ใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เยอร์

อร์ (Győr; Raab, Ráb) เป็นเมืองสำคัญทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศฮังการี เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ ตั้งอยู่บนถนนเส้นสำคัญในยุโรปกลาง.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเยอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เรลเจต

รลเจต เป็นรถไฟความเร็วสูงของประเทศออสเตรีย เปิดใช้งานประมาณ..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเรลเจต · ดูเพิ่มเติม »

เรนอินบลัด

รนอินบลัด (Reign in Blood) เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สามของวงแทรชเมทัลสัญชาติอเมริกัน สเลเยอร์ อัลบั้มออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเรนอินบลัด · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปกลาง

ตเวลาชาติยุโรปกลาง (Central European Time; CET) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานบบเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 1 ชั่วโมง (UTC+1) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเวลายุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เวลาออมแสงยุโรปกลาง

ตเวลาออมแสงยุโรปกลาง (Central European Summer Time; CEST) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 2 ชั่วโมง (UTC+2) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเวลาออมแสงยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เวลิบ

นีเวลิบและจักรยาน สถานีเวลิบบริเวณสถานีรถไฟ Gare de l'Est เวลิบ (ฝรั่งเศส:Vélib) เป็นโครงการจักรยานสาธารณะของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เริ่มให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเวลิบ · ดูเพิ่มเติม »

เวป (เทศมณฑลว็อช)

วป (Vép) เป็นเมืองทางตะวันตกของประเทศฮังการี อยู่ในเขตเทศมณฑลว็อช ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเวป (เทศมณฑลว็อช) · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท

อฟ-18 ฮอร์เน็ท (F-18 Hornet) ของแมคดอนเนลล์ ดักลาส (ปัจจุบันคือโบอิง) เป็นเครื่องบินโจมตีหลากบทบาทหลากสภาพอากาศที่สามารถใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบินและถูกออกแบบมาเพื่อการโจมตีทั้งภาคพื้นดินและภาคอากาศ มันถูกออกแบบในทศวรรษที่ 1970 ให้กับกองทัพเรือและกองนาวิกโยธินสหรัฐฯ ฮอร์เน็ทยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศในหลายประเทศ มันถูกเลือกให้ใช้ทำการแสดงโดยบลูแองเจิลของกองทัพเรือสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอรากอน กำเนิดนักรบมังกรกู้แผ่นดิน

อรากอน กำเนิดนักรบมังกรกู้แผ่นดิน (Eragon) เป็นภาพยนตร์แนวผจญภัยแฟนตาซีจากประเทศสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นจากนวนิยาย เอรากอน ของคริสโตเฟอร์ เปาลินี นักเขียนชาวอเมริกัน กำกับโดย สตีเฟ่น แฟงไมเออร์ นำแสดงโดย เอ็ดเวิร์ด สเพลเลียร์ เจเรมี ไอร่อนส์ เซียนน่า กิลเลอร์รี่ย์ เข้าฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ความยาว 104 นาที.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเอรากอน กำเนิดนักรบมังกรกู้แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

อ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller, 15 มกราคม ค.ศ. 1908 - 9 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นบิดาของระเบิดไฮโดรเจนที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันแทนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันในระเบิดนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮติ วิลากอสดาช้าก

ติ วิลากอสดาช้าก (Heti Világgazdaság) หรือ HVG เป็นนิตยสารฮังการีรายสัปดาห์ ที่นำเสนอเนื้อหาทางเศรษฐกิจ และการเมือง โดยมีสำนักบรรณาธิการอยู่ที่กรุงบูดาเปสต์ ซึ่งบทความบางส่วนได้เสนอในแบบออนไลน์และในภาษาอังกฤษ นิตยสารนี้ก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเฮติ วิลากอสดาช้าก · ดูเพิ่มเติม »

เจมี ลี เคอร์ติส

มี ลี เคอร์ติส (Jamie Lee Curtis) เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1958 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน นักประพันธ์หนังสือเด็ก เป็นลูกของนักแสดงที่มีชื่อเสียงอย่าง โทนี เคอร์ติส และ เจเน็ต ลีห์ เธอมีชื่อเสียงจากบทลอรี่ สโตรด ใน Halloween และยังได้แสดงในหนังแอ๊คชั่น ฟอร์มใหญ่อย่างเรื่อง True Lies คู่กับอาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเจมี ลี เคอร์ติส · ดูเพิ่มเติม »

เจนสัน บัตทัน

นสัน บัตทัน (Jenson Button) เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1980 เป็นนักแข่งรถสูตรหนึ่งชาวอังกฤษ ปัจจุบันเซ็นสัญญากับ โวดาโฟน แม็กลาเรน เมอร์เซเดส และได้ตำแหน่งแชมป์โลกรถสูตรหนึ่งในปี 2009 ประเภทคนขับ เขาเริ่มเข้าแข่งขันรถสูตรหนึ่งในฤดูกาลปี 2000 บัตตันชนะการแข่งขันกรังด์ปรีซ์ครั้งในแรกในฮังการี เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเจนสัน บัตทัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคริสเตียนแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ

้าชายคริสเตียนแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเจ้าชายคริสเตียนแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน

้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (Her Royal Highness Crown Princess Victoria of Sweden; Hennes Kungliga Höghet Kronprinsessan Victoria, Sveriges kronprinsessa; พระนามเต็ม วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 —) เป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งในราชบัลลังก์สวีเดน หากเมื่อเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ พระองค์จะทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถลำดับที่สี่ของประเทศ (ต่อจาก สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินา และสมเด็จพระราชินีนาถอุลริคา เอเลโอนอรา) ทั้งนี้พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 7 ของราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม

้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม (Princess Stéphanie of Belgium, Crown Princess of Austria-Hungary, Prinzessin Stephanie von Belgien, Kronprinzessin von Österreich-Ungarn.) (พระนามเต็ม: สเตฟานี่ คลอทิลด์ หลุยส์ เฮอร์มีนี่ มารี ชาร์ลอต, Stéphanie Clotilde Louise Herminie Marie Charlotte von Habsburg-Lothringen (ราชสกุลเดิม Saxe-Coburg and Gotha)) ทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงแห่งเบลเยียม เจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี นอกจากนี้ ยังเป็นพระชายาในอาร์ชดยุกรูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการีด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2435 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา และพระมเหสีในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย ดังนั้นจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย (Empress of Austria) สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี (Queen of Hungary) และสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย (Queen of Bohemia) โดยทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตกับราชวงศ์ฝรั่งเศส โปรตุเกส และสเปน เจ้าหญิงซีตา ซึ่งเป็นพระธิดาพระองค์ที่สิบเจ็ดในดยุกโรเบิร์ตที่ 1 แห่งปาร์มา ได้อภิเษกสมรสกับอาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017

ทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017 จัดขึ้นที่เมืองเยอร์, ประเทศฮังการี ระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม ถึง 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2017 · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรป

ทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรป หรือ ยูโรเปียนยูธโอลิมปิกเฟสติวัล (European Youth Olympic Festival) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศของยุโรป ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสองปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกชาวยุโรป (European Olympic Committee หรือ EOC).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลบาช-กิชกุน

-กิชกุน (Bács-Kiskun) เป็นเทศมณฑล (megye) ของประเทศฮังการี เทศมณฑลแห่งนี้ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ โดยเป็นเทศมณฑลที่เกิดขึ้นจากผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเป็นการรวมตัวกันของเทศมณฑลบาช-โบดโรกและตอนใต้ของเทศมณฑลแป็ชต์-ปิลิช-โชลต์-กิชกุน เทศมณฑลแห่งนี้มีเนื้อที่ 8,445 ตารางกิโลเมตร เป็นเทศมณฑลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบ เมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเทศมณฑลคือแก็ชแกเมต.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศมณฑลบาช-กิชกุน · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลอารัด

อารัด (Arad) เป็นเขตการปกครองระดับเทศมณฑล (judeţ) ของประเทศโรมาเนีย มีพรมแดนติดกับประเทศฮังการี ศูนย์กลางการบริหารเทศมณฑลตั้งอยู่ที่เมืองอารัด เทศมณฑลอารัดยังเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคดานูบ–กริช–มูเรช–ตีซาของสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศมณฑลอารัด · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลแฮแว็ช

แฮแว็ช (Heves) เป็นเทศมณฑลทางตอนเหนือของประเทศฮังการี ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำทิสซอกับมาตรอ และภูเขาบึกก์ มีพรมแดนติดกับเทศมณฑลแป็ชต์, เทศมณฑลโนกราด, เทศมณฑลโบร์โชด-ออบออูย-แซ็มเปลน และเทศมณฑลยาส-น็อจกุน-โซลโนก ศูนย์กลางของเทศมณฑลอยู่ที่เมืองแอแกร.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศมณฑลแฮแว็ช · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลโชงกราด

งกราด (Csongrád) เป็นเทศมณฑล (megye) ของประเทศฮังการี เทศมณฑลแห่งนี้ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ มีพรมแดนติดกับประเทศเซอร์เบียและประเทศโรมาเนียและติดกับ เทศมณฑลบาช-กิชกุน, เทศมณฑลยาส-น็อจกุน-โซลโนก และของเทศมณฑลเบเกช สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบ เมืองหลักเทศมณฑลคือแซแก็.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศมณฑลโชงกราด · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลโกมาโรม-แอ็สแตร์โกม

กมาโรม-แอ็สแตร์โกม (Komárom-Esztergom; Komitat Komorn Gran; Komárňansko-ostrihomská) เป็นเทศมณฑลทางตอนเหนือของประเทศฮังการี มีเนื้อที่ 2,264.52 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศมณฑลโกมาโรม-แอ็สแตร์โกม · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลเบเกช

กช (Békés) เป็นเทศมณฑล (megye) ของประเทศฮังการี เทศมณฑลแห่งนี้ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ มีพรมแดนติดกับประเทศโรมาเนีย สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบ เมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเทศมณฑลคือเบเกชชอบอ.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศมณฑลเบเกช · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลเยอร์-โมโชน-โชโปรน

อร์-โมโชน-โชโปรน (Győr-Moson-Sopron) เป็นเทศมณฑลทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศฮังการี มีเนื้อที่ 4,208.05 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเทศมณฑลเยอร์-โมโชน-โชโปรน · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์

อะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์ (The Martian) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ กำกับโดยริดลีย์ สก็อตต์ เขียนบทโดยดรูว์ ก็อดดาร์ด โดยดัดแปลงจากนวนิยายเรื่อง เหยียบนรกสุญญากาศ เขียนโดยแอนดี เวียร์ นำแสดงโดย แม็ตต์ เดม่อน, เจสสิกา แชสเทนและไมเคิล เปญา ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายครั้งแรกที่งานเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติโทรอนโตครั้งที่ 40 และออกฉายที่สหราชอาณาจักรในวันที่ 30 กันยายน 2015 สำหรับประเทศไทย เข้าฉายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2015.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์

อะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ (Moonshine Jungle Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน บรูโน มาร์ส โดยจัดทั้งหมด 154 รอบ โดยเกี่ยวโยงกับอัลบั้มที่เกี่ยวข้อง อันออร์โธดอกซ์จูกบอกซ์ (2012) หลังจากที่มีการประกาศไว้วันที่ 10 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนนิส กาบอร์

นนิส กาบอร์ ซีบีอี, เอฟอาร์เอส (Dennis Gabor CBE, FRS; 5 มิถุนายน ค.ศ. 1900 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979) นักประดิษฐ์และวิศวกรไฟฟ้าชาวอังกฤษเชื้อสายยิว-ฮังการี Arthur T. Hubbard (1995) CRC Press, 1995.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเดนนิส กาบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เคเมโรโว

มโรโว (p) เป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมและเป็นเมืองศูนย์กลางของแคว้นเคเมโรโว ประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ที่จุดบรรจบของแม่น้ำอิสกิติมและแม่น้ำทอม บริเวณเหมืองถ่านหิน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเคเมโรโว · ดูเพิ่มเติม »

เตะแหลกแล้วแหกค่าย

Escape to Victory หรือ Victory เป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับฟุตบอล และสงครามโลกครั้งที่สอง ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเตะแหลกแล้วแหกค่าย · ดูเพิ่มเติม »

เซาเปาลู

นตัวเมืองเซาเปาลู right right right เซาเปาลู (São Paulo) เป็นเมืองหลวงของรัฐเซาเปาลู ประเทศบราซิล เมืองนี้เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลกตามจำนวนประชากร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของบราซิล นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่มีความมั่งคั่งที่สุดในประเทศ ชื่อเซาเปาลูเป็นภาษาโปรตุเกส มีความหมายว่า "นักบุญพอล" เซาเปาลูมีเนื้อที่ 1,523 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 10,886,518 คน ซึ่งทำให้เมืองนี้เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศบราซิล ทวีปอเมริกาใต้ และซีกโลกใต้ (เขตมหานคร: ประมาณ 19 ล้านคน) เซาเปาลูเดิมเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1554 โดยคณะมิชชันนารีนิกายเยซูอิตชาวโปรตุเกส ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โปรตุเกสก็เริ่มเข้ามาขยายอำนาจในอเมริกาใต้ (ภายในเขตที่กำหนดไว้ในสนธิสัญญาตอร์เดซียัส) โดยส่งคณะนักสำรวจเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้และค้นหาทองคำ เพชร และทรัพยากรอื่น ๆ ซึ่งมีส่วนทำให้เซาเปาลูขยายตัวมากขึ้น จนในที่สุดก็ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1711 ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คลื่นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี โปรตุเกส สเปน เยอรมนี และประเทศอื่น ๆ ก็เริ่มเข้ามาในเซาเปาลูเพื่อทำงานในไร่กาแฟภายในรัฐ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 การค้ากาแฟตกต่ำลง ผู้ประกอบการจึงเริ่มหันไปลงทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรมในเมือง โดยในครึ่งแรกของศตวรรษ นอกจากชาวยุโรปแล้ว ชาวญี่ปุ่นและชาวอาหรับก็อพยพเข้ามาด้วย และตลอดศตวรรษเดียวกันนี้ เศรษฐกิจที่เฟื่องฟูของเซาเปาลูก็เป็นตัวดึงดูดให้ประชากรจากรัฐอื่น ๆ ที่ยากจนในบราซิลเข้ามาทำงานในเมืองนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเซาเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

เซแก็ชแฟเฮร์วาร์

ซแก็ชแฟเฮร์วาร์ (Székesfehérvár) เป็นเมืองตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศฮังการี เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 101,973 คน (ค.ศ. 2010) เป็นเมืองประกอบพิธีราชาภิเษกกษัตริย์ของฮังการี กษัตริย์ 37 พระองค์ ราชินี 39 พระองค์ ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเซแก็ชแฟเฮร์วาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เปแตร์ กูลาชี

ปแตร์ กูลาชี (Gulácsi Péter) เกิดวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 เป็นนักฟุตบอลชาวฮังการี โดยเล่นในตำแหน่งผู้รักษาประตู เขาติดทีมชาติฮังการีตั้งแต่วัย 17 ปี ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรแอร์แบ ไลพ์ซิจในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเปแตร์ กูลาชี · ดูเพิ่มเติม »

เนินปราสาท

ซิสเตอรงที่ตั้งอยู่เหนือตัวเมืองที่ตั้งอยู่ต่ำลงมารอบ ๆ ปราสาท โวบ็อง ซิทาเดลลาที่ตั้งอยู่บนเนินเหนือแม่น้ำดานูบที่บูดาเปสต์ในฮังการี เนินปราสาท (citadel) คือป้อมปราการสำหรับป้องกันเมือง บางครั้งก็จะมีปราสาทรวมอยู่ด้วย หรือบางครั้งก็อาจจะหมายถึงบริเวณที่สูงที่สุดของตัวเมือง ในภาษาอังกฤษคำว่า "citadel" มีรากจากภาษาละตินเช่นเดียวกับคำว่า "city" ว่า "civis" ที่แปลว่า "พลเมือง" ในระบบป้อมปราการที่มีมุขป้อมยื่นออกไป เนินปราสาทคือส่วนที่มั่นคงที่สุดของระบบ บางครั้งก็จะตั้งลึกเข้าไปจากกำแพงนอกและมุขป้อม แต่ก็มักจะมีส่วนหนึ่งที่ติดกับกำแพงด้านนอกเพื่อเป็นการประหยัดการสร้างกำแพงใหม่สำหรับตัวสิ่งก่อสร้างหลัก เนินปราสาทจะเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายถ้าข้าศึกสามารถบุกเข้าในปราสาทจากกำแพงชั้นต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่รอบนอกได้ นอกจากนั้นในยุคกลาง "เนินปราสาท" เป็นคำที่ใช้เรียกส่วนที่สามของปราสาทที่มีกำแพงที่สูงกว่ากำแพงอื่น ๆ ของเมือง ซึ่งเป็นที่มั่นสุดท้ายของระบบการป้องกันก่อนที่จะถึงตัวหอกลาง โครงสร้างที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบที่ใช้เป็นเนินปราสาทสร้างในสมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุเมื่อเนินปราสาทถือว่าเป็นศูนย์กลางของการบริหาร แต่วัตถุประสงค์ของโครงสร้างก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แม้ว่าโครงสร้างที่พบที่ซากโมเฮนโจ-ดาโร (ภาษาสินธี: मोइन जो दड़ो) หรือ "เนินมรณะ" จะเป็นโครงสร้างที่มีกำแพงล้อมรอบ แต่ก็ไม่เป็นที่ชัดแจ้งว่าจะเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อการป้องกันการโจมตีจากข้าศึกหรือไม่ ข้อสันนิษฐานข้อหนึ่งคือเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อเปลี่ยนทิศทางการไหลของกระแสน้ำท่วม ในสมัยกรีกโบราณ เนินปราสาทอะโครโพลิสตั้งเด่นอยู่บนเนินสูงที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้แต่ไกล อะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ประกอบด้วยสถานที่สำหรับหลบภัย และ ที่มั่น ที่เป็นที่เก็บเสบียงและอาวุธ, เทวสถานสำหรับเทพเจ้า และ พระราชวัง อะโครโพลิสที่มีชื่อเสียงที่สุดคืออะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ แต่อะโครโพลิสเป็นองค์ประกอบของการสร้างเมืองแทบทุกเมืองในสมัยกรีกโบราณ เช่นอะโครโพลิสแห่งคอรินท์ (Acrocorinth) ที่มีชื่อเสียงว่ามีระบบป้อมปราการที่มั่นคงที่แข็งแรง ในสมัยต่อมาเมื่อกรีซปกครองโดยจักรวรรดิละติน องค์ประกอบนี้ก็ได้รับการนำไปใช้โดยผู้ปกครองใหม่โดยมีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกัน เนินปราสาทมีชื่อเรียกกันไปต่าง ๆ ในแต่ละภูมิภาคเช่น "เครมลิน" (kremlin) ในรัสเซีย หรือ "อัลกาซาร์" (alcázar) ในคาบสมุทรไอบีเรีย ในเมืองในยุโรปคำว่า "citadel" และ "city castle" มักจะใช้สลับความหมายกันได้ หรือบางครั้งก็อาจจะใช้คำว่า "tower" แทนได้เช่น ทาวเวอร์ออฟลอนดอน หรือ ทาวเวอร์ออฟเดวิดในเยรูซาเลม ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ โดยเฉพาะในยุคกลาง เนินปราสาทที่มีระบบการป้องกันทางการทหารอิสระจากกำแพงเมืองเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายของข้าศึกที่มาล้อมเมือง เมืองจะเสียก็ต่อเมื่อเสียเนินปราสาท เช่นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและเนินปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R. (2003) in An Overview of the Siwalik Acheulian & Reconsidering Its Chronological Relationship with the Soanian - A Theoretical Perspective.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและHomo erectus · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

Mega Clever ฉลาดสุดสุด

Mega Clever ฉลาดสุดสุด (clever! – Die Show, die Wissen schafft) เป็นรายการโทรทัศน์แนวทดลองวิทยาศาสตร์ของเยอรมนีออกอากาศครั้งแรกทางช่อง Sat.1 ในวันที่ 3 มกราคม 2004 โดยมีพิธีกรประจำรายการคือ Barbara Eligmann และ Wigald Boning.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและMega Clever ฉลาดสุดสุด · ดูเพิ่มเติม »

UTC+01:00

UTC+01:00 เป็นช่วงเวลาที่การชดเชยที่เพิ่ม 1 ชั่วโมง ไปยังเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและUTC+01:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+02:00

UTC+02:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน: UTC +2 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและUTC+02:00 · ดูเพิ่มเติม »

.hu

.hu เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศฮังการี เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ.hu · ดูเพิ่มเติม »

1 E+10 m²

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 20,494 ตารางกิโลเมตร ประเทศปานามา มีพื้นที่ 78,200 ตารางกิโลเมตร ประเทศโปรตุเกส มีพื้นที่ 92,391 ตารางกิโลเมตร 1 E+10 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000 ถึง 100,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ1 E+10 m² · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ13 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 เมษายน

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ30 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤศจิกายน

วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 308 ของปี (วันที่ 309 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 57 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ4 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

434 ฮังกาเรีย

434 ฮังกาเรีย เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก จัดเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท E (คือมีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงสูง) ชื่อของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ใช้เป็นชื่อตระกูลดาวเคราะห์น้อยฮังกาเรีย ซึ่งเป็นกลุ่มของดาวเคราะห์น้อยที่มีวงโคจรต่ำกว่าช่องว่างเคิร์กวูด 1:4 ห่างออกมาจากแกนกลางของแถบหลัก แมกซ์ วูล์ฟ แห่งมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก เป็นผู้ค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงนี้เมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1898 ชื่อของดาวเคราะห์น้อยตั้งตามสถานที่จัดประชุมทางดาราศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ434 ฮังกาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

8 กรกฎาคม

วันที่ 8 กรกฎาคม เป็นวันที่ 189 ของปี (วันที่ 190 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 176 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฮังการีและ8 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hungaryสาธารณรัฐฮังการีฮังการี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »