โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศอุซเบกิสถาน

ดัชนี ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

221 ความสัมพันธ์: ชาวเกาหลีชาโคบิดิน ซอยรอฟฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถานฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถานฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปีฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2016ฟุตซอลทีมชาติออสเตรเลียพ.ศ. 2534พ.ศ. 2549พฤษภาคม พ.ศ. 2549กรกฎาคม พ.ศ. 2548กลุ่มภาษาเคียปชักกองทัพอุซเบกิสถานการากัลปักสถานการทารุณเด็กทางเพศการค้าประเวณีในประเทศไทยการปฏิวัติ ค.ศ. 1989การเลิกล้มราชาธิปไตยกีฬาภูมิภาคเอเชียกลางกีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 1995กีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 2005กีฬาใน พ.ศ. 2549ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาชะกะไตภาษาบูโครีภาษาการากัลปักภาษาอาหรับเอเชียกลางภาษาอุซเบกภาษาทาจิกภาษาดุงกานภาษาควาเรซม์ภาษาคาซัคภาษาคีร์กีซภาษาตาตาร์ไครเมียภาษาซอกเดียภาษาแบชเคียร์ภาษาโครยอ-มาร์ภาษาเลซกีภาษาเอิร์สยาภาษาเครียมชากภาษาเติร์กโคราซานีภาษาเปอร์เซียมวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์เอเชียมะซารีชะรีฟมัดดารอซะฮ์มารัท ดซูเมฟมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009...มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014มิสเวิลด์ 2013มิสเวิลด์ 2014มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์มีลิตซียารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถานรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์รายชื่อธงชาติในทวีปเอเชียรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถานรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตยูเรเนียมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศอุซเบกิสถานรายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอุซเบกิสถานรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศคาซัคสถานรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศคีร์กีซสถานรายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียเหนือและเอเชียกลางรายการภาพธงชาติรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์รายนามประธานาธิบดีอุซเบกิสถานรางรัสเซียรีวัลดูรถไฟใต้ดินอัลมาตีรถไฟใต้ดินทาชเคนต์ลาฮอร์วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายทีมชาติอุซเบกิสถานวันชาติวันครูวิษุวัต ธีรภาพไพสิฐวิสามัญฆาตกรรมวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์วิโอลิโต ปายลาศาสนาพุทธในเอเชียกลางสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียสมาคมมวยแห่งทวีปเอเชียสรรค์ชัย รติวัฒน์สริตา ผ่องศรีสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชียสะพานมิตรภาพอัฟกานิสถาน–อุซเบกิสถานสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกสุรพงษ์ ทมพาสนฉัตร รติวัฒน์สโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทยสเตปป์หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติห่านเทาปากดำอัฟกานิสตังอักษรอาหรับอักษรซอกเดียอัสตานาอันวาร์ ราจาบอฟอากาศยานไร้คนขับอาเซลีนู เฟรย์ตัสอิซมีร์อุยกูร์อุซเบกลีกอุซเบกิสถานแอร์เวย์อนุสัญญาแรมซาร์ฮาซันบอย ดุสมาตอฟจักรพรรดิบาบูร์จังหวัดธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกธงชาติอุซเบกิสถานทวีปเอเชียทะเลอารัลทาชเคนต์ทางหลวงสายเอเชียทางหลวงเอเชียสาย 5ทางหลวงเอเชียสาย 63ทางหลวงเอเชียสาย 65ทางหลวงเอเชียสาย 7ทางหลวงเอเชียสาย 76ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์ขบวนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถานดัสกร ทองเหลาดนัย อุดมโชคคริสต์สหัสวรรษที่ 3ความสำคัญของศาสนาตามประเทศคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคูราชคณะกรรมการการบินระหว่างรัฐคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถานตราแผ่นดินของอุซเบกิสถานตราแผ่นดินในทวีปเอเชียตุ๊กตาแม่ลูกดกตีมูร์ซามาร์คันด์ซีร์ดาร์ยาซ็องนัมประชาธิปไตยเสรีนิยมประวัติศาสตร์เอเชียกลางประวัติศาสนาพุทธประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศอัฟกานิสถานประเทศอิหร่านประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1994ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1996ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1998ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2000ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2002ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2004ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2006ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2008ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2010ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2012ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2014ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2016ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2020ประเทศอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012ประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2010ประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2014ประเทศทาจิกิสถานประเทศคาซัคสถานประเทศคีร์กีซสถานประเทศเยอรมนีประเทศเติร์กเมนิสถานนกกระจอกบ้านนาชา ปั้นทองนามางกานนิติภาวะนูกุสนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาวแมวทรายแม่น้ำอามูดาร์ยาแผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กานา พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558แดวู เลแมนส์โกกันด์โอลิมปิกฤดูร้อน 2000โปเกมอน โกไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไทยแลนด์ โอเพนไทยแลนด์ไฟฟ์ 2010เบอร์ลินเฟซบุ๊กเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถานเวลาสากลเชิงพิกัดเสือโคร่งแคสเปียนเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945"เอเชียนบีชเกมส์ 2012เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์เอเชียนเกมส์เอเชียนเกมส์ 1994เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพเอเอฟซีคัพ 2554เอเอฟซีคัพ 2555เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2014เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554เขตเวลาเครือรัฐเอกราชเต็มฟ้า กฤษณายุธ1 กันยายน ขยายดัชนี (171 มากกว่า) »

ชาวเกาหลี

วเกาหลี เป็นชนชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งซึ่งพูดภาษาเดียวกัน ผลการศึกษาด้านภาษาศาสตร์ และมานุษยวิทยา และแหล่งตำนานต่างๆ แสดงให้เห็นว่า เกาหลีแตกต่างจากจีน หรือญี่ปุ่น ลักษณะเด่นทางร่างกายที่เหมือนกันทำให้เชื่อว่าเกาหลีสืบเชื้อสายมาจากชาวมองโกลหลายเผ่าที่อพยพจากเอเชียกลางเข้ามายังคาบสมุทรเกาหลีในปัจจุบัน ชาวเกาหลีรวมกันเป็นชนชาติเดียวกันตั้งแต่ตอนต้นคริสต์ศักราช ในคริสต์ศตวรรษที่เจ็ด ชาวเกาหลีรวมกันเป็นชาติเดียวรวมอยู่ใต้การปกครองเดียวกันเป็นครั้งแรกในสมัยอาณาจักรชิลลา (57 ปีก่อนคริสต์ศักราช-คริสต์ศักราช 935) ยังส่งผลให้เกิดความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมอย่างใหญ่หลวง ชาวเกาหลีต่อสู้มาอย่างสัมฤทธิ์ผลเป็นเวลาหลายพันปี เพื่อดำรงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และการเมืองของตน แม้จะเผชิญกันเพื่อนบ้านอย่างจีน และความโน้มเอียงที่จะรุกรานของญี่ปุ่นเมื่อไม่นานมานี้ก็ตาม ชาวเกาหลีเป็นชนชาติที่ภาคภูมิใจ ด้วยมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานที่สุดชาติหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและชาวเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ชาโคบิดิน ซอยรอฟ

น ซอยรอฟ (Shakhobidin Zoirov) เกิดเมื่อ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและชาโคบิดิน ซอยรอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010

ฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010 ได้จัดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม ถึง 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตบอลชายหาดในเอเชียนบีชเกมส์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน

ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน (อุซเบก: Oʻzbekiston milliy futbol terma jamoasi / Ўзбекистон миллий футбол терма жамоаси; รัสเซีย: Национальная сборная Узбекистана по футболу) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอุซเบกิสถาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอุซเบกิสถาน สนามเหย้าของทีมชาติคือสนามกีฬาบุนยอดกอร์ในทาชเคนต์ หัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบัน Timur Kapadze ซึ่งอยู่ในช่วงรักษาการ อุซเบกิสถานไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลก แต่ผ่านรอบคัดเลือกของเอเชียนคัพทุกครั้งนับตั้งแต่ก่อตั้งทีมชาติ ผลงานที่สำคัญ ได้แก่ อันดับที่สี่ในเอเชียนคัพ 2011 และชนะเลิศเอเชียนเกมส์ 1994 และยังได้เข้าชิงแอโฟร-เอเชียนคัพออฟเนชันส์ใน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถาน

ฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศคีร์กีซสถาน ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลสาธารณรัฐคีร์กีซ ทีมชาติคีร์กีซสถานเริ่มครั้งแรกภายหลังจากที่ ประเทศคีร์กีซสถานได้แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต โดยเกมแรก แข่งกับทีมชาติอุซเบกิสถาน ในวันที่ 23 สิงหาคม 2535 (ค.ศ. 1992) โดยในปี 2537 (ค.ศ. 1994) ได้เข้าร่วมกับฟีฟ่าและเอเอฟซี ทีมชาติคีร์กีซสถานนั้นยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับโลกหรือในระดับเอเชียเท่าใดนัก แต่ในปี 2549 (ค.ศ. 2006) ได้อันดับที่ 3 ในฟุตบอลเอเอฟซีแชลเลนจ์คั.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010

ฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010 ได้มีการจัดขึ้นที่เมืองกว่างโจว ประเทศจีน ตั้งแต่วันที่ 7 ถึง 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตบอลในเอเชียนเกมส์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่ 16 ปี (AFC U-16 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 16 ปี จัดขึ้นทุก 2 ปี จัดการโดยเอเอฟซี โดย 4 ทีมที่คะแนนสูงสุด จะมีสิทธิเข้าไปร่วมแข่งขันใน ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 17 ได้มีการเริ่มแข่งในปี พ.ศ. 2528 ที่ประเทศกาตาร์ โดยเป็นการแข่งขันฟุตบอลสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 17 ปี มีการจัดทุกปีจนกระทั่ง 2529 ได้เปลี่ยนมาจัดทุก 2 ปีแทน และในปี พ.ศ. 2551 ได้มีการเปลี่ยนแปลงเป็นสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 16 ปี จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย (AFC Futsal Championship) เป็นการแข่งขันฟุตซอลในทวีปเอเชีย จัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย มีการจัดการแข่งขันขึ้นต่อเนื่องทุกปี โดยเริ่มการแข่งขันครั้งแรกเมื่อ ปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2016

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2016 จัดขึ้นที่ประเทศ อุซเบกิสถาน ในวันที่ 10 ถึง 21 กุมภาพันธ์ 2556.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติออสเตรเลีย

ฟุตซอลทีมชาติออสเตรเลีย(Australia national futsal team) เป็นตัวแทนของประเทศออสเตรเลียในการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียและอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลออสเตรเลีย(FFA)ซึ่งปัจจุบันเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (AFC) และสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนในภูมิภาค (AFF) และได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (AFC) หลังออกจากสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (OFC) ในปี 2006 ฟุตซอลทีมชาติออสเตรเลียเคยไปเล่นฟุตซอลชิงแชมป์โลกมาแล้ว7ครั้งแต่อันดันที่ดีที่สุดคือรอบแบ่งกลุ่มเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฟุตซอลทีมชาติออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเคียปชัก

การแพร่กระจายของกลุ่มภาษาเคียปชัก กลุ่มภาษาเคียปชัก (Kypchak languages) หรือกลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นสาขาหลักของกลุ่มภาษาเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากกว่า 12 ล้านคน ในบริเวณตั้งแต่ลิธัวเนียถึงจีน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและกลุ่มภาษาเคียปชัก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอุซเบกิสถาน

กองทัพแห่งสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน เป็นองค์การของรัฐซึ่งมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รายงานว่าเป็นกองทัพที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียกลาง ตามกฎหมายการป้องกันประเทศ ค.ศ. 1992 กองทัพอุซเบกิสถานมีเพื่อวัตถุประสงค์การป้องกันประเทศเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและกองทัพอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

การากัลปักสถาน

การากัลปักสถาน (Karakalpakstan; ภาษาการากัลปัก:Qaraqalpaqstan Respublikası (Қарақалпақстан Республикасы); Qoraqalpogʻiston Respublikasi (Қорақалпоғистон Республикаси) เป็น สาธารณรัฐปกครองตนเอง ของ อุซเบกิสถาน ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอุซเบกิสถาน เมืองหลวงคือ นูกุส (ภาษาการากัลปัก: No'kis (Нөкис)) สาธารณรัฐการากัลปักสถานมีพื้นที่ เขตการปกครองนี้อยู่ในพื้นที่เดิมของควาเรซม์ ซึ่งในวรรณคดีคลาสสิกของเปอร์เซียเรียกกาต ("Kāt";کات).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและการากัลปักสถาน · ดูเพิ่มเติม »

การทารุณเด็กทางเพศ

การทารุณเด็กทางเพศ (Child sexual abuse ตัวย่อ CSA, child molestation) หรือ การกระทำทารุณต่อเด็กทางเพศ หรือ การทำร้ายเด็กทางเพศ เป็นรูปแบบการกระทำทารุณต่อเด็กที่ผู้ใหญ่, หรือเยาวชนหรือวัยรุ่นที่มีอายุมากกว่าและต่างระดับพัฒนา ใช้เด็กกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ มีรูปแบบตั้งแต่การขอหรือบังคับให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศ (ไม่ว่าจะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่), การแสดงสิ่งลามกอนาจารไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเพศ หัวนมหญิง เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน เพื่อขู่ขวัญเด็ก หรือเพื่อปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม, การสัมผัสเด็กทางเพศ, หรือการใช้เด็กเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร ทารุณกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายที่หลายสถาน รวมทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือสำนักงานที่มีเด็กทำงานเป็นปกติ การจับเด็กแต่งงานเป็นรูปแบบการทารุณหลักอย่างหนึ่ง ที่กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้กล่าวไว้ว่า "อาจเป็นรูปแบบการทารุณและฉวยผลประโยชน์จากเด็กหญิงทางเพศที่แพร่หลายที่สุด" ทารุณกรรมต่อเด็กส่งผลทางจิตใจ ให้เกิดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจแบบซับซ้อน (complex post-traumatic stress disorder) ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่อทารุณกรรมอีกในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งการบาดเจ็บทางกาย และเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาทั้งหมด ทารุณกรรมโดยสมาชิกครอบครัวซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการร่วมประเวณีกับญาติสนิท จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงยิ่งกว่าต่อเด็ก ส่งผลกระทบต่อจิตใจในระยะยาว โดยเฉพาะในกรณีที่ทำโดยผู้ปกครอง ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง พ่อบุญธรรม แม่บุญธรรม ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น "เพื่อน"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง(โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก ในกฎหมายบางประเทศ คำว่า child sexual abuse (การทารุณเด็กทางเพศ) ใช้เป็นคำคลุมทั้งการละเมิดกฎหมายอาญาและแพ่ง ที่ผู้ใหญ่ทำกิจทางเพศร่วมกับผู้เยาว์ หรือฉวยประโยชน์จากผู้เยาว์เพื่อสนองความรู้สึกทางเพศ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) ยืนยันว่า "เด็กไม่สามารถยินยอมมีกิจกรรมทางเพศร่วมกับผู้ใหญ่" และประณามการทำเช่นนั้นของผู้ใหญ่ คือ "ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางเพศร่วมกับเด็ก กำลังละเมิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ที่ไม่มีทางพิจารณาได้ว่าเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือที่ยอมรับได้ในสังคม".

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและการทารุณเด็กทางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณีในประเทศไทย

การค้าประเวณีเป็นสิ่งผิดกฎหมายในประเทศไทย แต่ในทางปฏิบัติพบว่ามีการค้าประเวณีอยู่และถูกควบคุมในบางส่วน การค้าประเวณีพบได้ทั่วประเทศ เจ้าพนักงานในท้องถิ่นที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องมักจะปกป้องการค้าประเวณี จำนวนของผู้ค้าบริการทางเพศประมาณให้แน่นอนได้ยาก แต่ละสำนักมีตัวเลขและนิยามที่ต่างกันไป และเป็นที่ถกเถียงกันทั้งในระดับชาติและนานาชาติ, Bureau of Democracy, Human Rights, and Labor; February 25, 2009, U.S. State Department ตั้งแต่สงครามเวียดนามเป็นต้นมาประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในประเทศจุดหมายปลายทางสำหรับเซ็กซ์ทัวร.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและการค้าประเวณีในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การปฏิวัต..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง

กีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศภาคพื้นทวีปของภูมิภาคเอเชียกลางจัดขึ้นครั้งแรกที่ เมืองทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน โดยจะมีการจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี (ปี 2001 และ 2007 ได้ถูกยกเลิก).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและกีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 1995

กีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 1995 เป็นการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่เมืองทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 5 ประเทศ ใน 12 ชนิดกีฬ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและกีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 1995 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 2005

กีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 2005เป็นการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียกลางครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่ประเทศอุซเบกิสถาน มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 5 ประเท.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและกีฬาภูมิภาคเอเชียกลาง 2005 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาใน พ.ศ. 2549

กีฬาใน พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและกีฬาใน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชะกะไต

ษาชะกะไต (ภาษาชะกะไต: جغتای; ภาษาตุรกี: Çağatayca; ภาษาอุยกูร์: چاغاتاي Chaghatay; ภาษาอุซเบก: ﭼىﻐﺎتوي Chig'atoy) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในเอเชียกลางและบริเวณโคราซาน คำว่า “ชะกะไต” มีความเกี่ยวพันกับเขตของชะกะไตข่านทางตะวันตกของจักรวรรดิมองโกเลียที่อยู่ในความครอบครองของชะกะไตข่าน ลูกชายคนที่สองของเจงกีสข่าน ชาวตุรกีชะกะไตและชาวตาตาร์จำนวนมากที่เคยพูดภาษานี้เป็นลูกหลานที่สืบตระกูลมาจากชะกะไตข่าน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาชะกะไต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูโครี

ภาษาบูโครี เป็นภาษาตระกูลอินโด-อิหร่าน ชื่ออื่นของภาษานี้คือภาษาทาจิก-เปอร์เซียของชาวยิว เป็นภาษาของชาวยิวในบูคาราน ภาษาบูโครีได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียคลาสสิก โดยมีคำยืมจากภาษาฮีบรูเป็นจำนวนมาก รวมทั้งคำยืมจากภาษาในบริเวณข้างเคียงเช่น ภาษารัสเซียและภาษาอุซเบก เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกับชาวทาจิก ปัจจุบันมีชาวยิวที่พูดภาษานี้ 10,000 คนในอุซเบกิสถาน และมีอยู่ในอิสราเอลราว 50,000 คน เขียนด้วยอักษรฮีบรู สถานีวิทยุ Kol Israel (קול ישראל) กระจายเสียงด้วยภาษาบูโครี บูโครี บูโครี บูโครี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาบูโครี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาการากัลปัก

ษาการากัลปักเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวการากัลปักที่อยู่ในการากัลปักสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ใกล้เคียงกับภาษาคาซัคและภาษาโนไก คำศัพท์และไวยากรณ์ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบก เป็นภาษารูปคำติดต่อที่มีการเปลี่ยนเสียงสระเช่นเดียวกับภาษาฮังการีและภาษาตุรกี ไม่มีการแบ่งเพศทางไวยากรณ์ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา เริ่มแรกภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับจนถึง..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาการากัลปัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเอเชียกลาง

ษาอาหรับเอเชียกลาง (Central Asian Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน ปัจจุบันเป็นภาษาที่ใกล้ตายแล้ว เคยใช้พูดระหว่างชุมชนชาวอาหรับและเผ่าต่างๆในเอเชียกลาง ที่อยู่ในซามาร์คันด์ บูคารา กิซกวาดัรยา สุรคันดัรยา (ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถาน) และคัตลอน (ปัจจุบันอยู่ในทาจิกิสถาน) รวมไปถึงอัฟกานิสถาน การอพยพเข้าสู่เอเชียกลางของชาวอาหรับครั้งแรกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการแพร่ขยายของศาสนาอิสลามภาษาอาหรับกลายเป็นภาษาทั่วไปทางด้านวิทยาศาสตร์และวรรณคดีอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ชาวอาหรับในเอเชียกลางส่วนใหญ่จะแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่วและไม่แต่งงานข้ามเผ่า ทำให้ภาษาของพวกเขายังคงอยู่มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 25 เมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาอาหรับเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดุงกาน

ษาดุงกาน (ดุงกาน: Хуэйзў йүян Xuejzw jyian, Дунганский Язык Dunganskij jazyk) เป็นภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ใช้พูดโดยชาวดุงกานหรือชาวหุยในเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาดุงกาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาควาเรซม์

ภาษาควาเรซม์ (Khwarezmian language) เป็นภาษาของชาติควาเรซม์ (Khwarezm) ทางเหนือของแม่น้ำจาซาร์เตส (ซีร์ดาร์ยา) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน โดยเป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือที่ตายแล้ว ความรู้เกี่ยวกับภาษานี้มีจำกัด ภาษานี้เคยเขียนด้วยอักษรที่ใกล้เคียงกับอักษรซอกเดียและอักษรปะห์ลาวีที่มาจากอักษรอราเมอิกก่อนที่ศาสนาอิสลามจะแพร่มาถึงบริเวณนี้ เมื่อศาสนาอิสลามแพร่เข้ามาจึงเปลี่ยนไปเขียนด้วยอักษรอาหรับ-เปอร์เซีย ซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกับที่ใช้เขียนภาษาพาซตูในปัจจุบัน ภาษานี้ใช้มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 แล้วจึงถูกแทนที่ด้วยภาษาตุรกีและภาษาเปอร์เซีย ควาเรซม์.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาควาเรซม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซัค

ษาคาซัค (Kazakh, Kazak, Qazaq, Қазақ тілі, Qazaq tili: คาซัค ติลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ที่มีรหัส ISO 639 ว่า kaz และ kk ภาษาคาซัคเป็นหนึ่งในภาษาราชการของประเทศคาซัคสถาน และนอกจากนี้ยังมีคนพูดภาษานี้ในอัฟกานิสถาน จีน อิหร่าน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย รัสเซีย ทาจิกิสถาน ตุรกี เติร์กเมนิสถาน ยูเครน และอุซเบกิสถาน ในเยอรมนีมีคนที่พูดภาษาคาซัคตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ทั่วโลกมีคนพูดภาษาคาซัคเป็นภาษาแม่ประมาณ 6.5 ล้านคน เขียนโดยใช้อักษรซีริลลิก อักษรละติน (ในตุรกี) และอักษรอาหรับที่มีการดัดแปลง (ในประเทศจีน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคีร์กีซ

ษาคีร์กีซ (Kyrgyz Language; Кыргыз тили, Kyrgyz tili; قىرعىز تىلى) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการของประเทศคีร์กีซสถานคู่กับภาษารัสเซีย มีผู้พูด 7 ล้านคน ในคีร์กีซสถาน จีน อัฟกานิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน ตุรกี อุซเบกิสถาน ปากีสถานและรัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีริลลิกดัดแปลงในคีร์กีซสถาน และอักษรอาหรับดัดแปลงในจีน เคยเขียนด้วยอักษรละตินในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์ไครเมีย

ษาตาตาร์ ไครเมีย หรือภาษาไครเมีย ภาษาตุรกีไครเมีย เป็นภาษาของชาวตาตาร์ไครเมีย ใช้พูดในไครเมีย เอเชียกลาง โดยเฉพาะในอุซเบกิสถาน และผู้อพยพชาวตาตาร์ ไครเมียในตุรกี โรมาเนีย บัลแกเรีย เป็นคนละภาษากับภาษากวาซัน ตาตาร.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาตาตาร์ไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซอกเดีย

ษาซอกเดีย เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตอนกลางใช้พูดในบริเวณซอกเดียนา (หุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำซาราฟฮาน) ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน เป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณคดี ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซียกลางและภาษาพาร์เทียน เป็นภาษาทางการค้าในเอเชียกลางและเป็นภาษากลางระหว่างพ่อค้าชาวจีนและชาวอิหร่าน ไม่พบหลักฐานของภาษาที่เก่ากว่าภาษานี้ ไวยากรณ์ของภาษาซอกเดียมีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาเปอร์เซียกลาง ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและการค้าทำให้ภาษานี้ยังคงมีการใช้อยู่ในช่วง 100 ปีแรกหลังการแพร่เข้าสู่บริเวณนี้ของศาสนาอิสลามเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาซอกเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแบชเคียร์

ษาแบชเคียร์ (Bashkir language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซียมากกว่า 1,047,000 คน เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาแบชเคียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโครยอ-มาร์

ษาโครยอ-มาร์ (ฮันกึล: 고려말; Корё маль; ภาษาเกาหลีมาตรฐาน: 중앙아시아 한국어, ความหมาย ภาษาเกาหลีเอเชียกลาง) เป็นภาษาถิ่นหนึ่งของภาษาเกาหลีที่ใช้พูดโดยชาวโครยอ-ซารัม กลุ่มชาติพันธุ์เกาหลีที่อาศัยอยู่ในพื้นที่อดีตสหภาพโซเวียต ซึ่งชาวเกาหลีกลุ่มนี้มีบรรพบุรุษอาศัยในเขตฮัมกยอง ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเกาหลีเหนือ แต่ภาษานี้เข้าใจได้ยากเมื่อใช้พูดคุยกับภาษาเกาหลีมาตรฐาน ซึ่งอาจเป็นเพราะภาษาโครยอ-มาร์รับคำยืมจากภาษารัสเซีย และชาวโครยอ-ซารัมก็นิยมที่ใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาแม่ มากกว่าใช้ภาษาโครยอ-มาร์เอง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาโครยอ-มาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเลซกี

ษาเลซกี (Lezgi language) เป็นภาษาของชาวเลซกินส์ซึ่งอยู่ทางใต้ของดาเกสถานในรัสเซียและทางเหนือของอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาเลซกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอิร์สยา

ภาษาเอิร์สยา มีผู้พูด 360,000 คนทางเหนือและทางตะวนออกของสาธารณรัฐมอร์โดเวียในประเทศรัสเซียและบริเวณใกล้เคียง เขียนด้วยอักษรซีริลลิก อยู่ในตระกูลฟินโน-ยูริก เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาเอิร์สยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเครียมชาก

ษาเครียมชาก (Krymchak language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดในไครเมียโดยชาวเครียมชาก บางครั้งจัดเป็นสำเนียงของภาษาตาตาร์ไครเมียเรียกภาษาตาตาร์ไครเมียของชาวยิว ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาฮีบรูมาก ก่อนยุคสหภาพโซเวียต เคยเขียนด้วยอักษรฮีบรู จนถึงยุคของสหภาพโซเวียตเมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาเครียมชาก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กโคราซานี

ษาเติร์กโคราซานี (تركي خراساني / Turki Khorasani) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มเตอร์กิกใช้พูดทางตอนเหนือของโคราซาน ผู้พูดภาษานี้พูดภาษาเปอร์เซียได้ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาเติร์กโคราซานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

มวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์เอเชีย

มวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์เอเชีย (Asian Amateur Boxing Championships) เป็นการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่นเพื่อชิงแชมป์ระดับทวีปเอเชีย เริ่มการแข่งขันครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

มะซารีชะรีฟ

มะซารีชะรีฟ (Mazar-i-Sharif หรือ Mazar-e-Sharif; เปอร์เซีย/พัชโต: مزارِ شریف) เป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศอัฟกานิสถาน มีประชากร 693,000 คน (ค.ศ. 2015) เป็นเมืองเอกของจังหวัดบัลข์ เชื่อมต่อโดยทางด่วนกับเมืองคันดุซทางทิศตะวันออก คาบูลทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เฮราตทางทิศตะวันตกและประเทศอุซเบกิสถานทางทิศเหนือ เมืองมะซารีชะรีฟรวมกับเฮราต จะลาลาบาดทางทิศตะวันออกและกันดะฮาร์ทางทิศใต้ ถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของอัฟกานิสถานในเอเชีย เมืองเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการท่องเที่ยวเพราะมีชื่อเสียงจากการมีมัสยิดที่มีชื่อเสียง เช่นเดียวกับเป็นสถานที่สำคัญด้านโบราณสถานในสมัยเฮลเลนิสติก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมะซารีชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

มัดดารอซะฮ์

นศึกษา Ulugh Beg ในซามาร์คันด์ในอุซเบกิสถาน ราว ค.ศ. 1912 มัดดารอซะฮ์ (مدرسة; madrasah) เป็นคำภาษาอาหรับใช้เรียกสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นระบบใด ทั้งของศาสนาและของฆราวาส มัดดารอซะฮ์แบ่งออกเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมัดดารอซะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

มารัท ดซูเมฟ

มารัท ดซูเมฟ (Marat Dzhumaev; 12 มกราคม ค.ศ. 1976 —) เป็นนักหมากรุกสากลระดับแกรนด์มาสเตอร์ (ค.ศ. 2001) ชาวอุซเบกิสถาน ผู้เข้าแข่งขันรายการไทยแลนด์โอเพ่น 2010 ที่ซึ่งเขาเป็นฝ่ายชนะวิษุวัต ธีรภาพไพสิฐ ในรอบที่ 5.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมารัท ดซูเมฟ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขัน เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 (Miss Grand International 2014.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 2 กำหนดจัดกิจกรรมกองประกวด ณ จังหวัดสุโขทัย และประกวดรอบตัดสินในวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2013

มิสเวิลด์ 2013, ครั้งที่ 63 จัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมิสเวิลด์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2014, การประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 64 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมิสเวิลด์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์

อัลคอวาริซมีย์ บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต ในโอกาสระลึกถึงชาตกาลครบรอบ 1,200 ปี อะบู อับดัลลาหฺ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (Abū ʿAbdallāh Muḥammad ibn Mūsā al-Khwārizmī) (ค.ศ. 780-ค.ศ. 850) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ นักภูมิศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นนักเขียน และนักแปล.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มีลิตซียา

ตราติดหมวก "มีลิตซียา" โซเวียต (ชั้นนายพล) มีลิตซียา (mʲɪˈlʲitsɨjə, міліцыя, miilits, միլիցիա, милиция, milicija, milicja, miliția, Serbo-Croatian: милиција / milicija, milica, милитсия, міліція, militsiya or милиция) เป็นคำเรียกของตำรวจมักใช้กับกลุ่มของอดีตสหภาพโซเวียตและกลุ่มตะวันออก ในปัจจุบันมีลิตซียาของประเทศต่าง ๆ ได้เปลี่ยนรูปแบบเป็นรูปแบบตำรวจตะวันตกอย่างบัลแกเรีย โปแลนด์ โรมาเนีย เอสโตเนีย ลิทัวเนีย มอลโดวา ลัตเวีย มองโกเลีย มาซิโดเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ยูโกสลาเวีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา คาซัคสถาน อาร์มีเนีย เติร์กเมนิสถาน รัสเซีย และยูเครน แต่ในบางประเทศได้การเรียกตำรวจว่ามีลิตซียาเช่น เบลารุส ทาจิกิสถาน อุซเบกิสถาน คีร์กีซสถาน และประเทศที่ไม่ได้รับการรับรองอย่างอับคาเซีย เซาท์ออสซีเซีย และทรานส์นิสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและมีลิตซียา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี้คือรางวัลทางการศึกษานานาชาติของ ดร.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน

รายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน;วันหยุดนอกเหนือจากทางราชการ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายทางการให้บริการของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย

นี่คือรายชื่อธงชาติประเทศและดินแดนของทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่

ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามจำนวนพื้นที่ ซึ่งทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งสิ้น 44,579,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศแผนที่แสดงจำนวนผลผลิตมะเขือเทศของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตยูเรเนียม

300x300px ด้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตยูเรเนียม ข้อมูลจากปี 2557.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตยูเรเนียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตเฟลด์สปาร์ของแต่ละประเทศ (ข้อมูลจากปี 2011) รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตเฟลด์สปาร์ (ข้อมูลจาก เมื่อปี ค.ศ. 2013)  .

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศอุซเบกิสถาน

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อปีในประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย

โบสถ์พระคริสตสมภพ ซึ่งถือกันว่าเป็นสถานที่ประสูติของพระเยซู เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ถูกกำหนดให้เป็นแหล่งมรดกโลก และเป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอุซเบกิสถาน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอุซเบกิสถานทั้งสิ้น 5 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศคาซัคสถาน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศคาซัคสถานทั้งสิ้น 5 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศคีร์กีซสถาน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศคีร์กีซสถานทั้งสิ้น 3 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียเหนือและเอเชียกลาง

องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 6 ประเทศในภูมิภาคเอเชียเหนือและเอเชียกลาง เป็นมรดกโลก ทั้งสิ้น 26 แห่ง, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียเหนือและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์

ตารางต่อไปนี้จะแสดงข้อมูลส่วนหนึ่งในบรรดาซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ที่เป็นสายพันธุ์มนุษย์ (hominin) ซึ่งใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นตั้งแต่การตั้งขึ้นของวงศ์ย่อย "Hominini" ในสมัย Miocene ปลายคือประมาณ 6 ล้านปีก่อน (ดูการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ที่บทความการจำแนกชั้นของไพรเมต-วงศ์ลิงใหญ่) เนื่องจากว่า มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์เป็นพัน ๆ โดยมากไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งเป็นเพียงแค่กระดูกหรือฟันชิ้นเดียว และน้อยครั้งจะได้โครงกระดูกหรือแม้แต่กะโหลกศีรษะทุกชิ้น ตารางนี้ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะแสดงซากดึกดำบรรพ์ที่ได้ค้นพบทั้งหมด แต่เพื่อจะแสดงสิ่งค้นพบที่สำคัญที่สุด รายการจะเรียงลำดับตามอายุโดยประมาณ ตามการหาอายุโดยสารกัมมันภาพรังสี (เช่นจากคาร์บอนกัมมันตรังสี) หรือเทคนิคอื่น ๆ (เช่น incremental dating) ชื่อสปีชีส์เป็นชื่อตามมติในปัจจุบัน หรือว่า ถ้าไม่มี ก็จะแสดงชื่ออื่น ๆ ไว้ด้วย ส่วนชื่อสปีชีส์ที่เคยใช้แต่ตกไปแล้วอาจจะพบได้ในเว็บไซต์ของซากดึกดำบรรพ์เอง ให้สังเกตว่า ซากดึกดำบรรพ์ที่แสดงโดยมากไม่ได้รับการพิจารณาว่า เป็นสัตว์บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens) แต่เป็นญาติใกล้ชิดกับบรรพบุรุษมนุษย์ และดังนั้น จึงมีความสำคัญในการศึกษาเรื่องการสืบทอดสายพัน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีอุซเบกิสถาน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรายนามประธานาธิบดีอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รางรัสเซีย

รถไฟสายมอสโก-เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ใช้รางรัสเซีย รางรัสเซีย มีขนาดความกว้างของราง ระหว่าง 1,520 มิลลิเมตร -, retrieved 2008-07-20.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรางรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รีวัลดู

รีวัลดู หรือชื่อเต็ม รีวัลดู วีตูร์ บอร์บา เฟร์เรรา (Rivaldo Vítor Borba Ferreira) เกิดวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1972 ที่ประเทศบราซิล เป็นนักฟุตบอลทีมชาติบราซิล ปัจจุบันสังกัดสโมสรฟุตบอลบูนิออดคอร์ในประเทศอุซเบกิสถาน รีวัลดูเป็นส่วนสำคัญของบราซิลชุดแชมป์ฟุตบอลโลก 2002 เขายังได้รับตำแหน่งนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปในปี 1999 และได้ชื่อว่าเป็นผู้เล่นตำแหน่งกองกลางตัวรุกที่ยอดเยี่ยมตลอดกาลคนหนึ่ง รีวัลดูยังมีชื่อเสียงจากลูกเตะจักรยานอากาศ (bicycle shoot) มีฉายาที่เรียกโดยแฟนฟุตบอลชาวไทยว่า "นิเชา".

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรีวัลดู · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินอัลมาตี

การก่อสร้างในปี ค.ศ. 2007 รถไฟใต้ดินอัลมาตี (Алматы метрополитені.; Алматинский метрополитен)เป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงในเมืองอัลมาตี ประเทศคาซัคสถาน เปิดให้บริการครั้งแรกในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2011 ใช้เวลาก่อสร้างนานกว่า 23 ปี เป็นระบบขนส่งมวลชนแห่งที่สองในภูมิภาคเอเชียกลาง ถัดจากรถไฟใต้ดินทาชเคนต์ ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรถไฟใต้ดินอัลมาตี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินทาชเคนต์

รถไฟใต้ดินทาชเคนต์ (Toshkent metropoliteni, Ташкентский метрополитен) เป็นระบบขนส่งทางรางในกรุงทาชเคนต์ เมืองหลวงของประเทศอุซเบกิสถาน เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดิน 1 ใน 2 แห่งของภูมิภาคเอเชียกลาง (อีกแห่งคือเมืองอัลมาตี) เริ่มก่อสร้างในสมัยโซเวียต เริ่มเปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1977 เป็นเส้นทางที่มีสถานีรถไฟฟ้าหรูหราที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและรถไฟใต้ดินทาชเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาฮอร์

ลาฮอร์ (لہور, لاہور, Lahore) เป็นเมืองหลวงของแคว้นปัญจาบ ประเทศปากีสถาน และเป็นเมืองหลวงอันดับ 2 ของประเทศ รองจากการาจี ตั้งขนาบด้วยแม่น้ำราวี มีประชากร 6,318,745 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 5 ของภูมิภาคเอเชียใต้ และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและลาฮอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือก

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันรอบคัดเลือกระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1998 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติอุซเบกิสถาน

วอลเลย์บอลชายทีมชาติอุซเบกิสถาน (Uzbekistan men's national volleyball team) เป็นตัวแทนของประเทศอุซเบกิสถาน และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ปัจจุบันอยู่อันดับที่ 77 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวอลเลย์บอลชายทีมชาติอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วิษุวัต ธีรภาพไพสิฐ

วิษุวัต ธีรภาพไพสิฐ เจ้าของฉายา หนูเพชร (พ.ศ. 2514 —) เป็นทั้งนักหมากรุกสากล, หมากรุกไทย และหมากรุกญี่ปุ่นชาวไทย ซึ่งทางสมาพันธ์หมากรุกโลกได้จัดให้เขาเป็นนักหมากรุกสากลอันดับ 1 ของประเทศ ผู้ครองตำแหน่งแชมป์ประเทศไทยใน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวิษุวัต ธีรภาพไพสิฐ · ดูเพิ่มเติม »

วิสามัญฆาตกรรม

วิสามัญฆาตกรรม (extrajudicial killing) เป็นการที่เจ้าพนักงานฆ่าผู้อื่นตายโดยอ้างว่าเป็นการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ หรือฆ่าผู้อื่นตายระหว่างที่เขาอยู่ในความควบคุมของตน โดยอ้างว่าเป็นการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143 วรรคสาม"ในคดีฆาตกรรม ซึ่งผู้ตายถูกเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ฆ่าตาย หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ อธิบดีกรมอัยการ หรือผู้รักษาการแทนเท่านั้น มีอำนาจออกคำสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้อง" วิสามัญฆาตกรรมนั้นเป็นฆาตกรรมที่เจ้าพนักงานกระทำโดยปราศจากการอนุมัติตามกระบวนการยุติธรรมหรือตามวิถีทางแห่งกฎหมาย เพราะฉะนั้น โดยสภาพแล้ว จึงเป็นความผิดตามกฎหมาย วิสามัญฆาตกรรมเกิดขึ้นจนกลายเป็นสิ่งสามัญในตะวันออกกลาง (โดยมากใน ดินแดนปาเลสไตน์ อิสราเอล และอิรัก), อัฟกานิสถาน, บังกลาเทศ, ปากีสถาน, จาไมกา, โคโซโว, อเมริกาใต้, อเมริกากลาง, รัสเซีย, อุซเบกิสถาน, ฟิลิปปินส์ และ ประเทศไท.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวิสามัญฆาตกรรม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์

SAIS - วอชิงตัน ดี.ซี. วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิโอลิโต ปายลา

วิโอลิโต ปายลา (Violito Payla) นักมวยสากลสมัครเล่นชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 8 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและวิโอลิโต ปายลา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในเอเชียกลาง

อเชียกลาง เป็นสถานที่อันเป็นที่ตั้งของประเทศคีร์กีซสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศเติร์กเมนิสถาน และทางตอนใต้ของประเทศคาซัคสถาน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงเขตปกครองตนเองทิเบต เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน บางส่วนของประเทศมองโกเลีย และไซบีเรียตอนใต้ด้วย ในดินแดนเอเชียกลางนี้เองที่เป็นแหล่งชุมนุมศิลปกรรมวัตถุที่เคารพบูชาในพุทธสาสนา โดยในอดีตได้เคยเป็นศูนย์กลาง และเส้นทางเผยแผ่พุทธศาสนามาหลายศตวรรษ โดยประเทศจีนเองก็ได้รับพุทธศาสนาจากอินเดียโดยผ่านมาจากเส้นทางนี้ นอกจากนี้เอเชียกลางยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างจีน อินเดีย และประเทศต่างๆในแถบยุโรป จนเกิดตำนานเส้นทางสายไหม ฉะนั้นเอเชียกลางจึงเป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมอันหลากหลาย โดยมีพุทธสถาน และปูชนียสถานมากมายในอดีต เช่น วัดวาอาราม ถ้ำ สถูป ภาพจิตรกรรม ประติมากรรม คัมภีร์ และเอกสารจดหมายเหตุต่างๆ ที่เป็นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาโขรฐี และภาษาจีน เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและศาสนาพุทธในเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย

อลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชียในปัจจุบัน สืบต่อจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อวันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) โดยมี เชค อะห์หมัด อัล-ฟาฮัด อัล-อะห์เหม็ด อัล-ซาบะห์ (Sheikh Ahmad Al-Fahad Al-Ahmed Al-Sabah) เป็นประธาน และสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงคูเวตซิตีของรัฐคูเวต.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมมวยแห่งทวีปเอเชีย

มาคมมวยแห่งทวีปเอเชีย หรือที่นิยมเรียกกันว่า พาบา (Pan Asian Boxing Association; ตัวย่อ: PABA) เป็นสถาบันมวยในเครือข่ายของสมาคมมวยโลก (WBA) ถือกำเนิดขึ้นจากการประชุมที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เมื่อ 27 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสมาคมมวยแห่งทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สรรค์ชัย รติวัฒน์

การแข่งขันที่เกียวโต ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2547 (ภาพจากเว็บไซต์ญี่ปุ่น แสดงวิธีแยกแยะว่าคนไหนคือสนฉัตร คนไหนคือสรรค์ชัย สรรค์ชัย รติวัฒน์ นักเทนนิสชายไทย เป็นแฝดผู้น้องของ สนฉัตร รติวัฒน์ (ต้น) ทั้งสองคนลงแข่งขันเทนนิสอาชีพประเภทคู่ด้วยกัน มีอันดับโลกประเภทชายคู่สูงสุดที่ อันดับ 39 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2551 (สนฉัตร อยู่ที่อันดับ 39) สนฉัตร และสรรค์ชัย เป็นบุตรของนายฉัตรชัย และนางสายพิณ รติวัฒน์ เริ่มเล่นเทนนิสเมื่ออายุได้ 5 ปี โดยมีบิดาเป็นผู้ฝึกสอน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2549 สนฉัตร-สรรค์ชัย ได้เหรียญเงินจากการแข่งขันเทนนิสประเภทคู่ ในเอเชียนเกมส์ 2006 ที่โดฮา ประเทศกาตาร์ โดยในรอบชิงชนะเลิศกับคู่ของ มาเฮช บูปาติ (en) และ ลีนเดอร์ เพส (en) นักเทนนิสประเภทคู่ชาวอินเดีย อดีตมืออันดับหนึ่งของโลก อดีตคู่ชนะเลิศเทนนิสวิมเบิลดัน โรลัง การ์ลอส และยูเอสโอเพน คู่สนฉัตร-สรรค์ชัย พ่ายแพ้หวุดหวิด 1 ต่อ 2 เซต 5-7, 7-6 (9-7), 6-3 สนฉัตร-สรรค์ชัย ได้แชมป์เอทีพีแรก ในการแข่งขันไทยแลนด์ โอเพ่น ประเภทชายคู่ เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550 ชนะคู่จากฝรั่งเศส มิชาแอล ลอดร้า และ นิโกลาส์ มาฮุต 2 ต่อ 1 เซต 3-6, 7-5, 10-7.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสรรค์ชัย รติวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สริตา ผ่องศรี

ริตา ผ่องศรี เกิดวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2534 ที่โรงพยาบาลรามคำแหง กรุงเทพมหานคร เป็นนักกีฬาเทควันโดหญิงทีมชาติไทย และเป็นนักกีฬาชาวไทยคนแรก ที่ได้รับเหรียญทอง ในการแข่งขันเทควันโดในเอเชียนเกมส์ 2010 โดยเอาชนะเหงียน ธิ ฮอย ธู นักกีฬาจากเวียดนาม ในรุ่นน้ำหนักไม่เกิน 53 กก.หญิง ที่นครกว่างโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมี ชเว ยองซอก เป็นหัวหน้าโค้ช สริตาสำเร็จการศึกษาในระดับชั้นอุดมศึกษา จากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมีบ้านพักอาศัยอยู่ที่เขตบางกะป.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสริตา ผ่องศรี · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย

ตสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย (Eurasian Economic Union; มักย่อเป็น: EAEU หรือ EEU หรือ สหภาพยูเรเชีย (Eurasian Union; Евразийский Союз) เป็นสหภาพเศรษฐกิจ จัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2557 และมีผลในวันที่ 1 มกราคม 2558 โดยในปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 5 ประเทศ ได้แก่ เบลารุส คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน อาร์มีเนีย และรัสเซีย ซึ่งสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชียนี้ได้สร้างตลาดเศรษฐกิจเดียวที่มีขนาดประชากรกว่า 180 ล้านคน และผลิตภัณฑ์มวลรวม 2.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถานยังแสดงความสนใจเข้าร่วมองค์การด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมิตรภาพอัฟกานิสถาน–อุซเบกิสถาน

นมิตรภาพอัฟกานิสถาน–อุซเบกิสถาน เป็นสะพานถนนกับรางรถไฟข้ามแม่น้ำอามูดาร์ยา เชื่อมเมืองฮัยราทอนในจังหวัดบัลค์ทางเหนือของประเทศอัฟกานิสถาน เข้ากับเมืองเตร์มึซของประเทศอุซเบกิสถาน สะพานนี้สหภาพโซเวียตสร้างขึ้น และเปิดใช้งานใน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสะพานมิตรภาพอัฟกานิสถาน–อุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic; Ўзбекистон Совет Социалистик Республикаси, O'zbekiston Sovet Sotsialistik Respublikasi; Узбе́кская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต ได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1924 และในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 ได้กลายเป็นรัฐเอกราชโดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน" หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ ทมพา

รพงษ์ ทมพา เป็นอดีตผู้รักษาประตูฟุตซอลชาวไทย และปัจจุบันเป็นสมาชิกของฟุตซอลทีมชาติไทย เขาได้เข้าแข่งขันให้แก่ทีมชาติไทยในฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2008 ที่ประเทศบราซิล ซึ่งสุรพงษ์เป็นกัปตันฟุตซอลทีมชาติไทย และได้รับการยกย่องให้เป็นนายทวารมือ 1 อย่างไรก็ตาม เขาเคยรับโทษแบนย้อนหลัง 2 นัด จากการได้รับใบแดงในการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2010 ที่ประเทศอุซเบกิสถาน ในรอบ 8 ทีมสุดท้าย สุรพงษ์ ทมพา ได้ทำหน้าที่เป็นผู้รักษาประตูในการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 แทนประกิต ด่านขุนทด ที่บาดเจ็บในเกมแรก จากที่ซึ่งเดิมได้วางแผนไว้ในกรณีที่ประกิตอาจเกิดอาการตื่นสนาม และใน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสุรพงษ์ ทมพา · ดูเพิ่มเติม »

สนฉัตร รติวัฒน์

การแข่งขันที่เกียวโต ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2547 (ภาพจากเว็บไซต์ญี่ปุ่น แสดงวิธีแยกแยะว่าคนไหนคือสนฉัตร คนไหนคือสรรค์ชัย สนฉัตร รติวัฒน์ หรือชื่อเล่น ต้น นักเทนนิสชายไทย เป็นแฝดผู้พี่ของ สรรค์ชัย รติวัฒน์ (ต้อง) ทั้งสองคนลงแข่งขันเทนนิสอาชีพประเภทคู่ด้วยกัน มีอันดับโลกประเภทชายคู่สูงสุดที่ อันดับ 39 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2551 สนฉัตร และสรรค์ชัย เป็นบุตรของนายฉัตรชัย และนางสายพิณ รติวัฒน์ เริ่มเล่นเทนนิสเมื่ออายุได้ 5 ปี โดยมีบิดาเป็นผู้ฝึกสอน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2549 สนฉัตร-สรรค์ชัย ได้เหรียญเงินจากการแข่งขันเทนนิสประเภทคู่ ในเอเชียนเกมส์ 2006 ที่โดฮา ประเทศกาตาร์ โดยในรอบชิงชนะเลิศกับคู่ของ มาเฮช บูปาติ (en) และ ลีนเดอร์ เพส (en) นักเทนนิสประเภทคู่ชาวอินเดีย อดีตมืออันดับหนึ่งของโลก อดีตคู่ชนะเลิศเทนนิสวิมเบิลดัน โรลัง การ์ลอส และยูเอสโอเพน คู่สนฉัตร-สรรค์ชัย พ่ายแพ้หวุดหวิด 1 ต่อ 2 เซต 5-7, 7-6 (9-7), 6-3 สนฉัตร-สรรค์ชัย ได้แชมป์เอทีพีแรก ในการแข่งขันไทยแลนด์ โอเพ่น ประเภทชายคู่ เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550 ชนะคู่จากฝรั่งเศส มิชาแอล ลอดร้า และ นิโกลาส์ มาฮุต 2 ต่อ 1 เซต 3-6, 7-5, 10-7.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสนฉัตร รติวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย

มสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย และ เป็นส่วนหนึ่งในสายงานของ ธนาคารกสิกรไทย โดยผลงานในอดีตของทีม นับว่าประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติมากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยเป็นสโมสรเดียวในประเทศไทยที่ชนะเลิศการแข่งขัน เอเชียนแชมเปียนส์คัพ ถึง 2 สมัย ซึ่งต่อมา สหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชียได้ทำการรวมการแข่งขันดังกล่าวกับเอเชียนคัพวินเนอร์คัพ และเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สเตปป์

ทุ่งหญ้าสเตปป์ในมองโกเลีย สเตปป์ในอุซเบกิสถาน ทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe) คือลักษณะทางภูมิศาสตร์ “ทุ่งหญ้าสเตปป์” เป็นบริเวณที่มีลักษณะทางสภาวะอากาศและภูมิภาคที่เป็นเอกลักษณ์ที่ประกอบด้วยที่ราบที่เป็นทุ่งหญ้ากว้างที่ไม่มีต้นไม้ นอกจากบริเวณริมแม่น้ำหรือทะเลสาบ ทุ่งหญ้าแพรรี (prairie) (โดยเฉพาะทุ่งหญ้าเตี้ยแพรรี) อาจจะถือว่าเป็นทุ่งหญ้าสเตปป์ ภูมิภาคของทุ่งหญ้าสเตปป์อาจจะเป็นพื้นที่กึ่งทะเลทราย หรือปกคลุมด้วย หญ้า หรือพุ่มไม้ หรือทั้งสองอย่างขึ้นอยู่กับฤดูและละติจูด “สเตปป์” อาจจะใช้หมายถึงสภาพภูมิอากาศที่พบในบริเวณที่แห้งจนไม่สามารถมีป่าได้ แต่ก็ไม่แห้งจนกระทั่งเป็นทะเลทราย “สเตปป์” เป็นลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีป (continental climate) และภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง (semi-arid climate) อุณภูมิสูงสุดในฤูดูร้อนอาจจะสูงถึง 40 °C (104 °F) และต่ำสุดในฤดูหนาวอาจจะลดลงถึง -40 °C (-40 °F) นอกจากความแตกต่างกันมากของอุณหภูมิระหว่างฤดูร้อนกับฤดูหนาวแล้ว ก็ยังมีความแตกต่างกันมากระหว่างอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืน ทางบริเวณที่สูงของมองโกเลียอุณหภูมิตอนกลางวันอาจจะสูงถึง 30 °C (86 °F) แต่กลางคืนอาจจะลดต่ำลงต่ำกว่าศูนย์ °C (sub 32 °F) ทุ่งหญ้าสเตปป์ในช่วงละติจูดตอนกลางมีลักษณะที่หน้าร้อนจะร้อนจัดและหน้าหนาวจะหนาวจัด โดยมีปริมาณฝนหรือหิมะตกเฉลี่ยราว 250-500 มิลลิเมตร (10-20 นิ้ว) ต่อปี คำว่า “steppe” มาจากภาษารัสเซียว่า “степь” ที่แปลว่า “ดินแดนที่ราบและแห้ง”.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและสเตปป์ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ห่านเทาปากดำ

ห่านเทาปากดำ หรือ ห่านคอขาว (Swan goose) เป็นห่านขนาดใหญ่ มีน้ำหนักประมาณ 4-5 กิโลกรัม ลำตัวสีเทา ปากสีดำ เล็บสีดำ ลำคอยาว มีการกระจายพันธุ์ในประเทศมองโกเลีย, เหนือสุดของประเทศจีน, และทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศรัสเซียซึ่งเป็นแหล่งผสมพันธุ์วางไข่ และอพยพหนีหนาวไปภาคกลางและภาคตะวันออกของจีน เป็นพวกนกผลัดหลงในประเทศญี่ปุ่นและเกาหลี พบเห็นได้ยากในประเทศคาซัคสถาน, ลาว, ชายฝั่งไซบีเรีย, ไต้หวัน, ไทย และ อุซเบกิสถานMadge & Burn (1987), Carboneras (1992) มีลักษณะคล้ายห่านบ้าน ซึ่งเป็นชนิดย่อยของห่านชนิดนี้ และถือเป็นต้นสายพันธุ์ของห่านบ้านในปัจจุบันBuckland, R., & Guy, G. (2002).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและห่านเทาปากดำ · ดูเพิ่มเติม »

อัฟกานิสตัง

อัฟกานิสตัง (Afghanis-tan) เป็นการ์ตูนสี่ช่องซึ่งวาดโดย ちまきing ซึ่งเดิมทีเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต เนื้อหาของอัฟกานิสตังสะท้อนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของประเทศอัฟกานิสถานตั้งแต่ยุคของลัทธิจักรวรรดินิยม โดยใช้ตัวละครเป็นเด็กผู้หญิงแทนประเทศต่างๆ กลุ่มรัฐบาลทาลีบันและกลุ่มก่อการร้ายอัลกออีดะยังได้ปรากฏตัวในเรื่องนี้เช่นกัน ในการ์ตูนสี่ช่องแต่ละหน้าจะมีเนื้อหาซึ่งอธิบายเรื่องราวและประวัติศาสตร์ในความเป็นจริงประกอบ เนื่องจากใช้งานศิลป์ซึ่งมีลักษณะน่ารัก อัฟกานิสตังจึงถูกวิพากษ์วิจารณ์ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะเหตุการโศกนาฏกรรม เช่น วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งในเรื่องอัฟกานิสตังกลายเป็นอเมริกาถูกแมวอัลเควดากัด แต่ขณะเดียวกันก็ได้รับความนิยมเนื่องจากสามารถอธิบายเรื่องราวในเอเชียกลางให้เข้าใจได้ง่าย หลังจากที่ผู้เขียนได้แต่งอัฟกานิสตังจนจบ ได้ทำภาคต่อคือ ปากิสตัง แต่หยุดไปหลังจากเผยแพร่ได้เพียงสี่ตอน เนื่องจากคอมพิวเตอร์ติดไวรัส อัฟกานิสตังได้วางจำหน่ายเป็นเล่ม ในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอัฟกานิสตัง · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซอกเดีย

อักษรซอกเดีย (Sogdian)พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก เริ่มใช้ครั้งแรกราว..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอักษรซอกเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อัสตานา

อัสตานา (Астана) เดิมชื่อ อัคโมลา (Ақмола) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศคาซัคสถาน มีประชากร 577,300 คน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ จัดเป็นเมืองเขตการปกครองพิเศษ มีพื้นที่อยู่ในจังหวัดอัคโมลา ตั้งอยู่ริมแม่น้ำอีชิม มีสูงเหนือน้ำทะเล 347 เมตร (1,138 ฟุต) มีสถานที่ที่เป็นจุดสังเกต (แลนด์มาร์ก) คือ หอคอยไบเตเรค (Bayterek).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอัสตานา · ดูเพิ่มเติม »

อันวาร์ ราจาบอฟ

อันวาร์ ราจาบอฟ (uz: Анвар Ражабов) เกิดเมื่อวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 1988 เป็นนักฟุตบอลชาว อุซเบกิสถาน เล่นในตำแหน่ง กองหน้า ปัจจุบันเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก ลีกฟุตบอลชั้นสูงสุดของ ประเทศไทย ราจาฟบอฟ เคยเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลบุนยอดกอร์ สโมสรฟุตบอลชื่อดังใน ประเทศอุซเบกิสถาน ในศึก เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ในปี ค.ศ. 2008 ในรอบแบ่งกลุ่ม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอันวาร์ ราจาบอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อากาศยานไร้คนขับ

รนของบริษัท DJI เป็นอากาศยานไร้คนขับ เอ็มคิว-9 รีพเปอร์ ยูเอวีนักล่าสังหารที่ใช้โดยกองกำลังสหรัฐและกองกำลังอังกฤษในอิรักและอัฟกานิสถาน แม้ว่ายูเอวีส่วนมากจะเป็นอากาศยานปีกนิ่ง แต่เอ็มคิว-8 ไฟร์สเกาท์ที่เป็นยูเอวีแบบใบพัดก็ถูกใช้เช่นกัน อากาศยานไร้คนขับ หรือ ยูเอวี (Unmanned Aerial Vehicle, UAV) หมายถึงอากาศยานที่ไม่มีคนขับ ต่างจากขีปนาวุธตรงที่นำมาใช้ใหม่ได้ เป็นพาหนะไร้คนขับที่สามารถควบคุม ได้รับความเสียหาย บินต่างระดับ และใช้เครื่องยนต์ไอพ่นหรือเครื่องยนต์ลูกสูบ กระนั้นขีปนาวุธก็ไม่ถูกจัดว่าเป็นยูเอวีเพราะว่ามันเหมือนกับขีปนาวุธนำวิถีมากกว่า ซึ่งเป็นอาวุธที่ไม่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ แม้ว่ามันจะไร้คนขับและถูกควบคุมจากระยะไกลก็ตาม ยูเอวีนั้นมีรูปร่าง ขนาด รูปแบบ และเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไป ตามหลักแล้วยูเอวีคือโดรน (Drone) (เป็นอากาศยานที่ควบคุมจากระยะไกล) แต่การควบคุมอัตโนมัติที่เหมือนกับยูเอวีมากกว่า ยูเอววีมีสองแบบ บ้างควบคุมจากระยะไกล และบ้างก็บินได้ด้วยตนเองโดยอาศัยการโปรแกรมที่เป็นระบบซึ่งซับซ้อนกว่า ปัจจุบันยูเอวีของทหารนั้นทำหน้าที่สอดแนมและภารกิจโจมตี ในขณะที่โดรนโจมตีมากมายที่ประสบความสำเร็จถูกรายงานว่าพวกมันได้รับความเสียหายได้ง่ายและมักมีข้อผิดพลาด ยูเอวียังถูกใช้ในจำนวนที่น้อยในทางพลเรือน อย่างการดับเพลิง ยูเอวีนั้นมักจะทำหน้าที่ในภารกิจที่ยากและอันตรายเกินกว่าที่จะใช้เครื่องบินที่มีคนขับทำ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอากาศยานไร้คนขับ · ดูเพิ่มเติม »

อาเซลีนู เฟรย์ตัส

อาเซลีนู เฟรย์ตัส (Acelino Freitas) ยอดนักมวยชาวบราซิล เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1975 ที่เมืองซัลวาดอร์ รัฐบาเยีย ประเทศบราซิล เฟรย์ตัสมีชื่อเล่นว่า "ปอปอ" (Popó) เป็นชื่อที่แม่ของเขาตั้งให้ ซึ่งเป็นเสียงของเฟรย์ตัสในวัยทารกที่กำลังดูดนม อาเซลีนู เฟรย์ตัส ถือได้ว่าเป็นนักมวยชาวบราซิล ที่ทำให้วงการกีฬาบราซิลตื่นตัวขึ้นมาอีกครั้ง ด้วยสถิติการชกที่น่าทึ่ง นอกเหนือจากฟุตบอลที่เป็นกีฬาอันดับหนึ่งของประเทศ และทั่วโลกก็รู้จักบราซิลจากการเป็นแชมป์ฟุตบอลโลกถึง 5 สมัยด้วยกัน มีการเปรียบเทียบเฟรย์ตัสว่าเสมือนกับเอเดร์ โชฟรี (Eder Jofre) อดีตยอดนักมวยชาวบราซิลในรุ่นแบนตัมเวตในยุคทศวรรษที่ 60 และในงานแต่งงานของเฟรย์ตัสมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ไปทั่วประเทศบราซิลอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอาเซลีนู เฟรย์ตัส · ดูเพิ่มเติม »

อิซมีร์

อิซเมียร์ (Σμύρνη Smyrne; Smyrna) เป็นมหานครในปลายสุดทางตะวันตกของอานาโตเลีย และเป็นเมืองอันดับที่สามมีประชากรมากที่สุด ในประเทศตุรกี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอิซมีร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุยกูร์

อุยกูร์ (อุยกูร์: ئۇيغۇر; Uyghurs) เป็นกลุ่มชนเตอร์กิกกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ในเอเชียตะวันออกและเอเชียกลาง ปัจจุบันชาวอุยกูร์ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุซเบกลีก

อุซเบกิสถานซูเปอร์ลีก (Uzbekistan Super League) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศอุซเบกิสถาน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1992.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอุซเบกลีก · ดูเพิ่มเติม »

อุซเบกิสถานแอร์เวย์

อุซเบกิสถานแอร์เวย์ (O‛zbekiston Havo Yo‛llari, Ўзбекистон Ҳаво Йўллари; Узбекские Авиалинии) เป็นสายการบินแห่งชาติของอุซเบกิสถาน มีฐานหลักที่ทาชเคนต์ สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอุซเบกิสถานแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาซันบอย ดุสมาตอฟ

ซันบอย ดุสมาตอฟ (Hasanboy Dusmatov) เกิดเมื่อ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและฮาซันบอย ดุสมาตอฟ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบาบูร์

ซาฮีร์-อุด-ดิน มูฮัมมัด บาบูร์ หรือนิยมเรียกพระนามว่า จักรพรรดิบาบูร์ (نصیر الدین محمد همایون, Zahir-ud-din Muhammad Babur, พระบรมราชสมภพ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1483 - เสด็จสวรรคต 26 ธันวาคม ค.ศ. 1530) ทรงเป็นนักรบจากเอเชียกลางซึ่งมีชัยชนะและสถาปนาราชวงศ์โมกุลขึ้นบริเวณอนุทวีปอินเดีย และสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิบาบูร์ แห่งจักรวรรดิโมกุล ทรงเป็นทายาทโดยตรงจากตีมูร์ผ่านทางพระราชบิดา และยังมีเชื้อสายของเจงกีส ข่านผ่านทางพระราชมารดา พระองค์เป็นผู้ที่นำอิทธิพลและวัฒนธรรมเปอร์เซียเข้าไปเผยแพร่ในอาณาจักรของพระองค์ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการขยายอาณาจักรของโมกุลในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและจักรพรรดิบาบูร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก เป็นธงชาติของอุซเบกิสถานในสมัยที่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประกาศใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีฟ้าขอบสีขาวพาดผ่าน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ความหมายของสัญลักษณ์ในธง คือ สีแดง หมายถึงการต่อสู้เพื่อการปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ สีฟ้า หมายถึงผืนฟ้าในอุซเบกโซเวียต สีขาว หมายถึงฝ้าย อันเป็นทรัพยากรหลักของประเทศ ค้อนเคียว หมายถึงการร่วมมือกันระหว่างกรรมกรกับชาวนา ดาวแดง หมายถึง ชั้นกรรมาชี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอุซเบกิสถาน

งชาติอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ФЛАГ РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН; Oʻzbekiston davlat bayrogʻi) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและธงชาติอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลอารัล

ทะเลอารัล (ภาษาคาซัค: Арал Теңізі, Aral Tengizi; ภาษาอุซเบก: Orol dengizi; ภาษารัสเซีย: Аральскοе мοре; ภาษาทาจิก/ภาษาเปอร์เซีย: Daryocha-i Khorazm, Lake Khwarazm) เป็นทะเลปิดที่อยู่ในเอเชียกลาง อยู่ระหว่างประเทศคาซัคสถานกับสาธารณรัฐคาราคัลปัคสถานซึ่งเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศอุซเบกิสถาน ปัจจุบันปริมาณน้ำในทะเลลดลงมากจนทะเลถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ทะเลอารัลเหนือ ทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันออกและทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันตก ครั้งหนึ่งทะเลอารัลมีพื้นที่ 68,000 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต่ประมาณปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทะเลอารัล · ดูเพิ่มเติม »

ทาชเคนต์

ทางอากาศกรุงทาชเคนต์ ทาชเคนต์ (Tashkent หรือ Toshkent; อุซเบก: Тошкент; Ташкент; ชื่อมีความหมายในภาษาอุซเบกว่า "นครศิลา") เป็นเมืองหลวงของประเทศอุซเบกิสถาน มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทาชเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสายเอเชีย

แผนที่ทางหลวงสายเอเชีย ป้ายทางหลวงเอเชียสาย 2 ที่จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย ป้ายทางหลวงสายเอเชีย ป้ายนี้ใช้ในทางหลวงเอเชียสาย 18 ทางหลวงสายเอเชีย หรือย่อเป็น AH เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชียและยุโรป และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (เอสแคป) สหประชาชาติ เพื่อปรับปรุงระบบทางหลวงในเอเชีย เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของโครงการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกของทวีปเอเชีย อนุมัติโดยคณะกรรมการเอสแคป ในการประชุมครั้งที่ 48 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทางหลวงสายเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 5

ทางหลวงเอเชียสาย 5 (AH5) เป็นถนนในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย มีแนวเส้นทางจากตะวันออกไปตะวันตก รวมระยะทาง เริ่มต้นจากเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ผ่านคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ถึงพรมแดนระหว่างประเทศตุรกีกับบัลแกเรีย ทางตะวันตกของเมืองอิสตันบูล โดยเชื่อมต่อกับทางหลวงเอเชียสาย 1 และทางหลวงยุโรป E80.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทางหลวงเอเชียสาย 5 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 63

ทางหลวงเอเชียสาย 63 (AH63) เป็นถนนในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทาง 2,500 กิโลเมตร จากเมืองซามารา ประเทศรัสเซีย ถึงเมือง G‘uzor ประเทศอุซเบกิสถาน เชื่อมต่อระหว่างทางหลวงเอเชียสาย 6 กับทางหลวงเอเชียสาย 62 เข้าด้วยกัน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทางหลวงเอเชียสาย 63 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 65

ทางหลวงเอเชียสาย 65 (AH65) เป็นถนนในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทาง 1,250 กิโลเมตร (781 ไมล์) จากเมือง Kashgar เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน ถึงเมือง Termez ประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทางหลวงเอเชียสาย 65 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 7

ทางหลวงเอเชียสาย 7 (AH7) เป็นเส้นทางในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย มีเส้นทางจากเยคาเตรินบุร์ก รัสเซีย ถึงการาจี ปากีสถาน ระยะทางตลอดทั้งสาย 5,868 กิโลเมตร ผ่านประเทศต่าง ๆ ได้แก่ รัสเซีย คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน อุซเบกิสถาน ทาจิกิสถาน อัฟกานิสถาน และปากีสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทางหลวงเอเชียสาย 7 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 76

ทางหลวงเอเชียสาย 76 (AH76) เป็นทางหลวงทางตอนเหนือของประเทศอัฟกานิสถาน ระยะทาง 986 กิโลเมตร (613 ไมล์) ซึ่งเป็นถนนในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและทางหลวงเอเชียสาย 76 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์

ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์ (Toshkent Xalqaro Aeroporti –) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติของอุซเบกิสถานเป็นท่าอากาศยานที่คึกคักมากที่สุดของภูมิภาคเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถาน

วนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถาน (Islamic Movement of Uzbekistan) เป็นกลุ่มนิยมอิสลามในเอเชียกลางที่ต่อต้านการปกครองของนายอิซลอม คาลิมอฟ ประธานาธิบดีอุซเบกิสถานที่แยกรัฐออกจากศาสนา ผู้นำกลุ่มคือนายโทเฮอร์ โยลคาเชฟ แนวคิดของกลุ่มต้องการก่อตั้งรัฐอิสลามในอุซเบกิสถาน รวมทั้งเน้นการต่อต้านอิสราเอลและชาติตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและขบวนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ดัสกร ทองเหลา

ัสกร ทองเหลา (เกิดวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2526) เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเล่นให้กับอุดรธานี ในตำแหน่งกองกลาง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและดัสกร ทองเหลา · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย อุดมโชค

นัย อุดมโชค เป็นนักเทนนิสชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2524 ที่กรุงเทพมหานคร อันดับโลกสูงสุดของดนัย อยู่ที่อันดับ 77 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2550 หลังจากทำผลงานได้ดีในเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน ประจำปี 2007 เอาชนะฮวน คาร์ลอส เฟอร์เรโร อดีตมืออันดับ 1 ของโลก 7-6, 7-5, 4-6, 6-1 ผ่านเข้ารอบสามของรายการ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและดนัย อุดมโชค · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ความสำคัญของศาสนาตามประเทศ

้านล่างนี้เป็นชาร์ตแสดงรายชื่อประเทศเรียงตามความสำคัญของศาสน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและความสำคัญของศาสนาตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คูราช

ูราชแบบของชาวตาตาร์ คูราช (Kurash, Кураш) เป็นกีฬาพื้นบ้านของอุซเบกิสถาน ที่ได้มีการปรับปรุงรูปแบบการเล่นให้เป็นแบบสากล และได้แพร่หลายไปยังประเทศต่างๆหลายประเทศ และได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 ชนิดกีฬาที่จะมีการแข่งขันในกีฬาศิลปะการต่อสู้แห่งเอเชีย หลักการพื้นฐานของกีฬาชนิดนี้มีลักษณะผสมผสานระหว่างมวยปล้ำกับยูโด โดยแบ่งผู้แข่งขันเป็น 2 ฝ่าย สู้กันบนเวทีสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 15 x 15 เมตร คู่ต่อสู้จะต้องทุ่มอีกฝ่ายหนึ่งให้ล้มลงกับพื้นให้ได้ภายในเวลา 4 นาที สำหรับผู้ชาย และ 3 นาทีสำหรับผู้หญิง การให้คะแนน แบ่งเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและคูราช · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการการบินระหว่างรัฐ

IAC/MAK head office คณะกรรมการการบินระหว่างรัฐ (IAC) (Межгосударственный авиационный комитет; MAK) เป็นองค์การบริหารซึ่งควบคุมการใช้และการบริหารการบินพลเรือนในเครือจักรภพรัฐเอกราช คณะกรรมการดังกล่าวได้รับการก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและคณะกรรมการการบินระหว่างรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอุซเบกิสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของอุซเบกิสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอุซเบกิสถาน

ตราแผ่นดินของอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ГЕРБ РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН O'ZBEKISTON RESPUBLIKASI DAVLAT GERBI) ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม, พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและตราแผ่นดินของอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศและดินแดนต่างๆในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กตาแม่ลูกดก

ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่ง เมื่อถอดออกมาทั้งหมด ตุ๊กตาแม่ลูกดก หรือ มาโตรชก้า (матрёшка) เป็นตุ๊กตาของรัสเซียที่เรียงซ้อน ๆ กันหลายตัว ชื่อนี้แผลงมาจากชื่อสตรีภาษารัสเซีย ว่า "มาตรีโยนา" หรืออาจจะถูกเรียกว่าตุ๊กตาคุณยาย ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่ง ประกอบด้วยตุ๊กตาไม้หลายตัวเรียงซ้อนกันอยู่ข้างใน แต่ละตัวประกอบด้วยสองส่วน คือส่วนบนและส่วนล่าง นำมาประกบกันได้สนิทตามร่องที่เซาะเอาไว้ ตุ๊กตาทุกตัวมีโพรงข้างใน เว้นแต่ตัวสุดท้ายซึ่งมีขนาดเล็กสุด จะเป็นตุ๊กตาเต็มตัว ตัน ชิ้นเดียว ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่งจะมีตุ๊กตาซ้อนข้างในกี่ตัวก็ได้ ถ้ามีจำนวนมาก ตุ๊กตาตัวใหญ่สุดที่อยู่นอกสุดก็จะต้องมีขนาดใหญ่มากด้วย ตุ๊กตาทุกตัวจะมีรูปร่างเหมือนกันหมด คือ คล้ายกระบอก โป่งตรงกลาง ด้านบนโค้งมน ส่วนฐานเรียบ ไม่มีมือหรือส่วนใดยื่นออกมา แต่จะใช้สีวาดเป็นหน้าเป็นตาหรือขาทั้งหมด ให้ตุ๊กตาแต่ละตัวมีใบหน้าและเสื้อผ้าที่เหมือนกันด้วย ทั้งยังเคลือบเงาอย่างสวยงาม หน้าตาของตุ๊กตาแม่ลูกดกนั้นเดิมนั้นทำเป็นหญิงชาวนา แต่งกายแบบดั้งเดิม มีผ้าคลุมศีรษะ แต่ในภายหลังมีการวาดตุ๊กตาเป็นรูปเทพธิดา นางฟ้า และบุคคลที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้นำของรัสเซีย เช่นเลนิน ปูติน หรือจะดาราระดับตำนานอย่างมาริลิน หรือนักร้องชื่อดังอย่างไมเคิล แจ็คสัน และมาดอนน่า ไม่เว้นแม้แต่คาแรคเตอร์ของตัวละครชื่อดังอย่างหมีพูห์ มิคกี้เม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและตุ๊กตาแม่ลูกดก · ดูเพิ่มเติม »

ตีมูร์

ติมูร์ (Timur bin Taraghay Barlas หรือ Tamerlane) มีชีวิตอยู่ในปี ค.ศ. 1336 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1405 เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวตะวันตกว่า Tamerlane ติมูร์เป็นขุนศึกที่มีเชื้อสายผสมระหว่างมองโกลและเติร์ก และเป็นผู้พิชิตดินแดนส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันตกและเอเชียกลาง และยังเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรรดิตีมูร์ และ ราชวงศ์ตีมูร์ ซึ่งจะคงอยู่ต่อไปจนถึงปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและตีมูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซามาร์คันด์

ซามาร์คันด์ (سمرقند; อุซเบก: Самарқанд) เป็นเมืองเก่าแก่ที่สุดเมืองหนึ่งในเอเชียกลาง ตั้งอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน เป็นโอเอซิสซึ่งได้รับน้ำมาจากคลองที่ขุดมาจากแม่น้ำซารัฟชาน ชื่อเดิมของเมืองซามาร์คันด์ คือ เมืองมาระกันดะ เมื่อปี 329 ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิโดเนียเสด็จผ่านเมืองนี้เพื่อที่จะเดินทางไปอินเดีย จึงได้ยึดเอาไว้ ต่อจากนั้น พวกเติร์ก พวกอาหรับ และพวกเปอร์เซียก็เข้าปกครองเมืองนี้ต่อ ๆ กันมา เมืองซามาร์คันด์แห่งนี้เจริญรุ่งเรืองสูงสุดในยุคกลาง และในปี พ.ศ. 1758 (ค.ศ. 1215) เจงกิสข่านแผ่อาณาจักรเข้าควบคุมเส้นทางสายไหม แล้วได้ยึดซามาร์คันด์ในปี พ.ศ. 1764 (ค.ศ. 1221) อีก 100 ปีต่อมา เมืองนี้ก็เหลือแต่ซาก ข่านติมูร์ เลงค์ เป็นผู้ทรงทำให้เมืองนี้เจริญขึ้น ติมุร์สถาปนาพระองค์เป็นกษัตริย์สืบสายวงศ์จากซากะไตข่าน ราวปี พ.ศ. 1910 (ค.ศ. 1367) จักรวรรดิมองโกลเสื่อมลง ติมุร์มุ่งมั่นจะเป็นผู้นำความรุ่งโรจน์คืนสู่จักรวรรดิดังเดิม จึงนำทัพเข้ายัดดินแดนตั้งแต่ทะเลดำไปจรดลุ่มน้ำสินธุ บุกทำลายบ้านเมืองจนสิ้นซาก ฆ่าฟันผู้คนจนสิ้นเมือง แล้วนำกะโหลกมากองสร้างเป็นพีระมิด ติมุร์ไว้ชีวิตแต่พวกช่างฝีมือ ทั้ง จากอาเซอร์ไบจาน อิสฟาฮาน ชิราซ เดลี และดามัสกัส ช่างเหล่านี้ได้ถูกส่งมาเนรมิตซามาร์คันด์ให้กลายเป็นนครที่สวยงามอีกครั้ง มีสิ่งก่อสร้างรูปโดม ประดับประดาไปด้วยลวดลายโมเสกที่สวยงาม และได้สร้างสุเหร่าที่ใหญ่ที่สุดในโลกอิสลาม สุเหร่าแห่งนี้ชื่อว่า บิบิ คะนุม เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 1942 (ค.ศ. 1399) ใช้เวลาก่อสร้างนาน 5 ปี ใช้ช่างฝีมือ 200 คน แรงงาน 500 คน ช้างอีก 95 เชือก ปัจจุบันยังคงโดดเด่นตระหง่านเหนือเมือง และที่หน้าสุเหร่ายังมีแท่นซึ่งเดิมวางคัมภีร์อัลกุรอานที่ใหญ่ถึง 2 เมตร พระเจ้าติมุร์สิ้นพระชนม์ในจีนเมื่อปี พ.ศ. 1948 (ค.ศ. 1405) พระศพฝังอยู่ที่สุสานในเมืองซามาร์คันด์ ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าอุลุค เบก ซามาร์คันด์ได้กลายเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและวิทยาการ พระองค์ทรงสร้างอาคารสองชั้นเพื่อใช้เป็นวิทยาลัยเทววิทยา ด้านหน้าอาคารประดับไปด้วยลวดลายที่งดงาม และยังทรงสร้างหอดูดาวที่มีเครื่องมือสังเกตการณ์ทันสมัยที่สุดในเวลานั้น และ ในปี พ.ศ. 1992 (ค.ศ. 1449) พระเจ้าอุลุค เบก ถูกลอบปลงพระชนม์ หลังจากนั้นนครนี้ก็ได้เสือมถอยลงอย่างรวดเร็วพร้อมกับเส้นทางสายไหมได้ถูกปิดลง และในปี พ.ศ. 2043 (ค.ศ. 1500) นครนี้ก็ได้ถูกพวกโกลเดน ฮอร์ด มองโกลผู้ครอบดินแดนเหนือทะเลสาบแคสเปี่ยนจนไปถึงรัสเซีย มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเคียฟ เข้ายึดครอบครอง และ ราวศตวรรติที่ 18 นครแห่งนี้จนเสื่อมและร้างผู้คนเป็นเวลา 50 ปี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็ตกเป็นดินแดนของรัสเซีย ซามาร์คันด์มีฐานะเป็นเมืองหลวงของเขตปกครองนี้ มีการตัดเส้นทางรถไฟในปี พ.ศ. 2439 (ค.ศ. 1896) และกลายเป็นศูนย์กลางการส่งออกสินค้าเกษตร ภายหลังดินแดนนี้ได้ถูกแยกกลายเป็นส่วนหนึ่งประเทศอุซเบกิสถานปัจจุบันและก็ได้กลายเป็นเมืองมรดกโลก หมวดหมู่:เมืองในประเทศอุซเบกิสถาน หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศอุซเบกิสถาน หมวดหมู่:มรดกโลกทางวัฒนธรรม หมวดหมู่:ประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและซามาร์คันด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีร์ดาร์ยา

แม่น้ำซีร์ดาร์ยา (سيردريا; Сирдарё; Сырдария; سيحون; Sirdaryo, อักษรโรมัน: Syrdarya หรือ Sirdaryo) เป็นแม่น้ำในทวีปเอเชีย อยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของทวีป ในประเทศคีร์กีซสถาน อุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานและคาซัคสถาน เกิดจากแคว 2 สาย ซึ่งมีต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาเทียนซานไหลมารวมกันในประเทศคาซัคสถาน แล้วไหลไปทางตะวันตกและตวันตกเฉียงเหนือ ผ่านหุบเขาเฟอร์กานา ไหลไปลงทะเลอารัล.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและซีร์ดาร์ยา · ดูเพิ่มเติม »

ซ็องนัม

ซ็องนัม เป็นเมืองในจังหวัดคย็องกี,ประเทศเกาหลีใต้ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัดคย็องกี ต่อจากเมืองซูว็อน และเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดอันดับ 10 ของเกาหลีใต้ (ตามจำนวนประชากร) มีประชากรเกือบ 1 ล้านคน ซ็องนัมเป็นเมืองบริวารของโซล เป็นพื้นที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของโซลอยู่ในภูมิภาคเขตเมืองหลวงโซล เมืองซ็องนัมเป็นเมืองที่มีการจัดผังเมืองไว้ล่วงหน้าเป็นเมืองแรกในประวัติศาสตร์ของเกาหลี ตามดำริในสมัยประธานาธิบดีปัก ชอง-ฮี ที่ต้องการจะทำให้เกาหลีใต้เป็นชาติอุตสาหกรรมโดยมุ่งที่อุตสาหกรรมประเภทอิเล็กทรอนิกส์, สิ่งทอและอุตสาหกรรมเกี่ยวกับปิโตรเคมี ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาในระหว่างทศวรรษที่ 1970 ถึง 1980 ทำให้มีการพัฒนาทั้งเครือข่ายถนนจากโซลมาสู่ซ็องนัมและจากซ็องนัมไปยังเมืองอื่นๆ ตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 1970 ปัจจุบันนี้ซ็องนัมถูกรวมเป็นเครือข่ายมหานครของโซล โดยเขตบุนดังในซ็องนัมได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างมากในทศวรษที่ 1990 จากการขยายตัวอย่างรวดเร็วของประชากรในโซลไปสู่เขตชานเมืองและเพื่อลดความแออัดของโซล ทำให้รัฐบาลเกาหลีจัดเตรียมมาตรการกระตุ้นทั้งภาครัฐและบริษัทเอกชนในการตั้งสำนักงานใหญ่ที่เขตบุนดัง ทำให้ปัจจุบันเขตบุนดังกลายเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของหลายบริษัทเช่นเคทีคอร์เปอร์เรชั่น (อดีตชื่อโคเรียเทเลคอม), บริษัทก๊าซเกาหลี (KOGAS), บริษัทการไฟฟ้าเกาหลี (KEPCO)และบริษัทที่ดินเกาหลี ในช่วงเวลาไม่กี่ปีก่อนหน้านี้มีความพยายามที่จะผลักดันให้เมืองซ็องนัมได้รับการยกระดับจากเมืองเป็น "มหานคร" (광역시, ควังย็อก-ชี) ซึ่งจะทำให้มีอำนาจปกครองตัวเองมากขึ้น และในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและซ็องนัม · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ ''Equus przewalskii'' หรือม้าป่ามองโกเลีย, หรือทาคี, อาจเป็นบรรพบุรุษของม้าบ้าน. ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง คือ ประวัติศาสตร์ของดินแดนเอเชียกลาง ซึ่งเป็นบริเวณที่ทำการเกษตรได้ยากและอยู่ห่างไกลจากทะเล ทำให้ถูกตัดขาดจากเส้นทางการค้า เมืองใหญ่ๆจึงเกิดขึ้นน้อย ชนร่อนเร่ที่เชี่ยวชาญการขี่ม้าเป็นกลุ่มชนหลักในทุ่งหญ้าสเตปป์ และความสัมพันธ์ระหว่างชนร่อนเร่และกลุ่มชนอื่นๆในเอเชียกลางเต็มไปด้วยความขัดแย้ง ทักษะในการขี่ม้าของพวกเขาทำให้กลายเป็นนักรบที่มีประสิทธิภาพกลุ่มหนึ่งของโลก ผู้นำเผ่าจะเป็นผู้จัดการนำเผ่าย่อย ๆ มารวมกันเป็นกองทัพ ตัวอย่างของกลุ่มชนเหล่านี้ เช่น ชาวฮันที่เข้ารุกรานยุโรป กลุ่มชนเตอร์กิกที่อพยพเข้าสู่ทรานโซเซียนา(Transoxiana) พวกหูทั้ง 5 ชนกลุ่ม(Five Barbarians)ที่โจมตีจักรวรรดิฮั่น และชาวมองโกลที่มีอิทธิพลในเอเชียและยุโรป ความโดดเด่นของชนร่อนเร่สิ้นสุดลงในพุทธศตวรรษที่ 21 เมื่ออาวุธสมัยใหม่เข้ามามีบทบาทในสงคราม จักรวรรดิรัสเซีย ราชวงศ์หมิงของจีน และมหาอำนาจอื่นเข้าครอบครองเอเชียกลางทั้งหมดในพุทธศตวรรษที่ 24 หลังการปฏิวัติรัสเซี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประวัติศาสตร์เอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิกเตนสไตน์

ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถาน

อัฟกานิสถาน (Afghanistan; افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ. 2546 ชาวตะวันตกเรียกอัฟกานิสถานว่า Transitional Islamic State of Afghanistan อย่างไรก็ดี ภายใต้รัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถานฉบับปัจจุบัน ประเทศนี้เรียกว่า สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1994 ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1998 ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2002 ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2020

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานใน ค.ศ. 2020 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

รณรัฐอุซเบกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 30..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2010

ประเทศอุซเบกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 16..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2014

ประเทศอุซเบกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศอุซเบกิสถานในเอเชียนเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศทาจิกิสถาน

ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคีร์กีซสถาน

ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเติร์กเมนิสถาน

ติร์กเมนิสถาน (Türkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน เติร์กเมนิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและประเทศเติร์กเมนิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นาชา ปั้นทอง

นาชา ปั้นทอง เป็นนักกีฬาเทควันโดชายทีมชาติไทย จบการศึกษาจากโรงเรียนทวีธาภิเศก ได้เข้าร่วมการแข่งขันเทควันโดในเอเชียนเกมส์ 2010 และสามารถเอาชนะจาวัด ลัคซาอี ซึ่งเป็นนักกีฬาเทควันโดจากอัฟกานิสถาน ด้วยคะแนน 7-3 ก่อนเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ ในรุ่นน้ำหนักไม่เกิน 63 กก.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและนาชา ปั้นทอง · ดูเพิ่มเติม »

นามางกาน

นามางกาน (Namangan / Наманган; Наманган) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศอุซเบกิสถาน มีประชากร 449,200 คน (ค.ศ. 2011) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดนามางกาน ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ ทางเหนือสุดของหุบเขาเฟียร์กานา หมวดหมู่:เมืองในประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและนามางกาน · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นูกุส

นูกุส (Nukus; Nukus / Нукус; ภาษาการากัลปัก:No‘kis / Нөкис; Нөкіс; Нукус) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับหกของ อุซเบกิสถาน และเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐปกครองตนเองการากัลปักสถาน มีประชากรราว 271,400 คน (ประมาณการเมื่อ พ.ศ. 2553) แม่น้ำอามูดาร์ยาไหลผ่านเมืองนี้ สถานที่ในเมืองนี้ที่เป็นที่มีชื่อเสียงระดับโลกคือพิพิธภัณฑ์ศิลปะนูกุส หมวดหมู่:ประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและนูกุส · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว

Lao visa ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศลาวจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตลาว เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แมวทราย

แมวทราย หรือ แมวเนินทราย (Sand cat, Sand dune cat) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทกินเนื้อชนิดหนึ่ง จำพวกแมวป่า นับเป็นแมวป่าขนาดเล็กที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและแมวทราย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำอามูดาร์ยา

แผนที่บริเวณรอบ ๆ ทะเลอารัล แม่น้ำอามูดาร์ยา (آمودریا Āmūdaryā) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในเอเชียกลาง เป็นเส้นแบ่งพรมแดนทางธรรมชาติระหว่างประเทศอัฟกานิสถานกับประเทศทาจิกิสถาน ชื่อโบราณคือแม่น้ำออกซุส (Oxus) เกิดจากธารน้ำแข็งบนชุมเขาปามีร์ เริ่มต้นจากจังหวัดบาดัคชานแล้วไหลไปทางตะวันตกเข้าสู่จังหวัดตาคาร์ จังหวัดกอนดอซ จังหวัดซามันกัน และจังหวัดบัลค์ แล้วจึงไหลเข้าประเทศเติร์กเมนิสถานและประเทศอุซเบกิสถานไปลงทะเลอารัล.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและแม่น้ำอามูดาร์ยา · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กานา พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กาน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและแผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กานา พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558

แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและแผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

แดวู เลแมนส์

แดวู เลแมนส์ (Daewoo Lemans) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) ผลิตโดย แดวู เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2529 และเลิกผลิตในปี พ.ศ. 2540 โดยมีแดวู ลาโนสมาทดแทน มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 2 Generation (รุ่น) โดยในแต่ละรุ่นจะมีชื่อหลักๆ ในการทำตลาดในเกาหลีแตกต่างกัน รวมถึงชื่อที่ใช้ในตลาดโลกด้วย เช่น Lemans Fantasy Cielo Nexia Racer เป็นต้น และในรุ่นแรกยังเคยส่งออกไปในแบรนด์อื่นๆ เช่น พอนทิแอค เชฟโรเลตด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและแดวู เลแมนส์ · ดูเพิ่มเติม »

โกกันด์

กกันด์ หรือ กูกอน (Qo‘qon / Қўқон; Хӯқанд; خوقند; ชะกะไต: خوقند; Коканд; Kokand) เป็นเมืองในจังหวัดเฟอร์กานา ทางตะวันตกของประเทศอุซเบกิสถาน มีประชากรราว 192,500 คน (ค.ศ. 1999) อยู่ห่างจากกรุงทาชเคนต์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 228 กม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและโกกันด์ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2000

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 24 ประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแลนด์ โอเพน

(2003-2008)ATP World Tour 250 series(2009-current) | Surface.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและไทยแลนด์ โอเพน · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแลนด์ไฟฟ์ 2010

ทยแลนด์ ไฟฟ์ 2010 อุดรธานี อินเตอร์เนชันแนล ฟุตซอล ทัวร์นาเมนต์ เป็นการแข่งขัน อุ่นเครื่อง ที่จัดขึ้น ในระหว่าง วันที่ 8-10 เมษายน 2553 ณ ห้องคอนเวนชั่น เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ประเทศไทย เพื่อเตรียมความพร้อม เข้าแข่งขันในการเข้าร่วมการแข่งขันระดับนานชาติ ซึง่การแข่งขันครั้งนี้จัดการแข่งขันเป็นครั้งที่4 โดยมี ทีมฟุตซอลชั้นนำของโลก เข้าร่วมการแข่งขัน4ทีม คือ อิหร่าน (อันดับโลกอยู่ที่ 5) อาร์เจนตินา (อันดับ 7) อุซเบกิสถาน (อันดับ18) และไทย (อันดับ 10) ใช้ระบบการแข่งขันแบบพบกันหม.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและไทยแลนด์ไฟฟ์ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เฟซบุ๊ก

ฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเฟซบุ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Ўзбекистон Совет Социалист Республикасининг давлат мадҳияси) เป็นเพลงชาติของอุซเบกิสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน

ลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ГИМН РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН O`zbekiston Respublikasining Davlat Madhiyasi) ที่ใช้ในปัจจุบันนี้เริ่มใช้เมื่อประเทศได้รับเอกราชจากสหภาพโซเวียตภายหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 โดยนำทำนองเพลงนี้มาจากเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก ซึ่งประพันธ์โดย มูตาล บูร์ฮานอฟ (Mutal Burhanov) และใช้ในช่วงที่อุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต แต่เนื้อร้องได้ประพันธ์ขึ้นใหม่โดยอับดุลลา อาริปอฟ (Abdulla Aripov).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งแคสเปียน

ือโคร่งแคสเปียน หรือ เสือโคร่งเปอร์เซีย (Caspian tiger, Persian tiger.; ببر قزويني) เสือโคร่งสายพันธุย่อยสายพันธุ์หนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้ว มีการกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงตะวันออกกลาง เช่น อัฟกานิสถาน, เทือกเขาคอเคซัส, ภาคตะวันตกของจีน, ที่ราบสูงแมนจูเรีย, อิหร่าน, อิรัก, ตุรกี, มองโกเลีย, คาซัคสถาน, ทาจิกิสถาน, คีร์กีซสถาน, เติร์กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน รวมถึงอาจจะแพร่กระจายพันธุ์ไปถึงซูดานในแอฟริกาเหนือด้วยก็เป็นได้ เนื่องจากมีผู้พบขนเสือโคร่งวางขายในตลาดของไคโร อียิปต์ ในปี ค.ศ. 1951 ซึ่งขนเสือผืนนี้มาจากซูดาน เสือโคร่งแคสเปียน มีลักษณะคล้ายคลึงกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) มาก นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่อีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยตัวผู้ในเตอร์กิสถานมีความยาวลำตัว 270 เซนติเมตร นับเป็นสถิติที่ใหญ่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา ในขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมา น้ำหนักตัวเต็มที่ประมาณ 240 กิโลกรัม ล่ากวางและหมูป่า รวมถึงไก่ฟ้า กินเป็นอาหาร ถิ่นที่อยู่อาศัยของเสือโคร่ง 2 สายพันธุ์นี้ต่อติดกัน โดยเสือโคร่งแคสเปียนจะกระจายพันธุ์อยู่แถบตะวันตกของภูมิภาคเอเชียกลาง และเสือโคร่งไซบีเรียจะกระจายพันธุ์อยู่ทางตะวันออกของภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงเอเชียเหนือ ภาพวาดแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของลายที่หางของเสือโคร่งแคสเปียน (ซ้าย) กับเสือโคร่งไซบีเรีย (ขวา) เสือโคร่งแคสเปียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 โดยที่เทือกเขาคอเคซัสตัวสุดท้ายถูกฆ่าตายไปในปี ค.ศ. 1922 ใกล้กับทบิลิซี จอร์เจีย หลังจากไปฆ่าสัตว์เลี้ยงในฟาร์มของชาวบ้าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายในตุรกีถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1970 ใกล้กับอูลูเดเร ฮักการี ในอิรักเคยพบเสือโคร่งแคสเปียนเพียงตัวเดียว ถูกฆ่าใกล้กับโมซูล ในปี ค.ศ. 1887 ในอิหร่าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1959 ในโกลีสตาน เสือโคร่งแคสเปียนตัวหนึ่งในลุ่มแม่น้ำทาริม ของจีนถูกฆ่าตายในปี ค.ศ. 1899 ใกล้กับทะเลสาบลอปนอร์ในมณฑลซินเจียง และหลังจากทศวรรษที่ 20 ก็ไม่มีใครเห็นเสือโคร่งสายพันธุ์นี้ในลุ่มแม่น้ำนี้อีกเลย เสือโคร่งแคสเปียนหายไปจากลุ่มแม่น้ำมานัสในเทือกเขาเทียนซานทางตะวันตกของอุรุมชี ในทศวรรษที่ 60 ที่แม่น้ำไอรี ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยสำคัญแหล่งสุดท้ายในบริเวณทะเลสาบบัลฮัช มีผู้พบครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1948 และตอนปลายแม่น้ำอามูดาร์ยาบริเวณชายแดนระหว่างเติร์กเมนิสถาน, อุซเบกิสถาน และอัฟกานิสถาน เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 แล้ว แม้จะมีรายงานอย่างไม่เป็นทางการว่าพบเสือโคร่งแคสเปียนบริเวณทะเลอารัลใกล้กับนูคัส ในปี ค.ศ. 1968 หรือในเขตสงวนทางธรรมชาติทิโกรวายาบัลกา ซึ่งเป็นป่ากกริมแม่น้ำอามูดาร์ยา บริเวณชายแดนทาจิกิสถานและอัฟกานิสถาน มีผู้พบเห็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1953 แต่มีผู้อ้างว่าพบเห็นรอยเท้าคล้ายรอยเท้าเสือโคร่งขนาดใหญ่ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเสือโคร่งแคสเปียน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945"

หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาต..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 60 ปีชัยในมหาสงครามผู้รักชาติ ค.ศ. 1941–1945" · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์ 2012

อเชียนบีชเกมส์ 2012 (2012 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขัน เอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่ ไห่หยาง ประเทศจีน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเชียนบีชเกมส์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันศิลปะการป้องกันตัว ในระดับทวีปเอเชีย โดยครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1-9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1994

อเชียนเกมส์ 1994 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 12 จัดขึ้นที่ ฮิโระชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 2 ตุลาคม ถึง 16 ตุลาคม พ.ศ. 2537 มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 42 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 34 ชนิด โดยสนามแข่งขันที่ใช้เป็นหลัก คือ ฮิโรชิมา บิ๊ก อาร์ช มีมาสคอทหรือสัญลักษณ์เป็นนกพิราบคู่ ตัวผู้ ตัวเมีย เป็นการสื่อถึงสันติภาพ นับเป็นครั้งแรกด้วยที่การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติใช้มาสคอทเป็นคู่ สำหรับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งนี้ของนักกีฬาทีมชาติไทย ปรากฏว่าสามารถได้เพียงเหรียญทองเดียวจากมวยสากลสมัครเล่นในรุ่นเฟเธอร์เวทจากสมรักษ์ คำสิงห์ แต่ต่อมาภายหลังจบการแข่งขันได้มีมติให้เพิ่มอีก 2 เหรียญทองจากกีฬาว่ายน้ำจากรัฐพงษ์ ศิริสานนท์ เนื่องจากมีนักกีฬาคนเดิมที่ได้เหรียญไปนั้นถูกตรวจสอบใช้สารกระตุ้น และพิธีเปิดการแข่งขันมีนักร้องไทยร่วมในการแสดงด้วยคือ กุ้งนาง ปัทมสูต แต่การถ่ายทอดทางทีวีที่ถ่ายกลับมาไม่ทัน และในพิธีปิดการแข่งขัน การส่งมอบธงจัดการแข่งขันต่อให้ไทย ในปี พ.ศ. 2541 หรือ..

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเชียนเกมส์ 1994 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ

อเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ เป็นการแข่งขันฟุตซอลของทีมสโมสรอาชีพจากประเทศที่เป็นสมาชิกของเอเอฟซี โดยทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจะมาจากทีมสโมสรที่ชนะเลิศ โดยในการแข่งขันแชมเปียนส์ลีกนี้จะมี 16 สโมสร จาก 10 ลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปเอเชียเข้าร่วมแข่งขัน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีคัพ 2554

อเอฟซีคัพ 2554 เป็นการแข่งขันเอเอฟซีคัพครั้งที่ 8 ทีมที่เข้าร่วมการขันขันเป็นทีมระดับสองในสังกัดของเอเอฟซี รวมไปถึงทีมที่ตกจากรอบคัดเลือกรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีคัพ 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีคัพ 2555

อเอฟซีคัพ 2012 เป็นการแข่งขันถ้วยฟุตบอลในถ้วยระดับรองจาก เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ของสโมสรในเอเชีย โดยมี สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) เป็นผู้ควบคุมการแข่งขัน โดยเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยในครั้งนี้ตัวแทนสโมสรฟุตบอลจาก ประเทศไทย คือ สโมสรฟุตบอลชลบุรี เป็นตัวแทนในการแข่งขันฟุตบอลถ้วยรายการนี้.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีคัพ 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 เป็นการแข่งขันฟุตบอลในถ้วยสูงสุดของสโมสรในเอเชียโดยมีสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี)เป็นผู้ควบคุมการแข่งขัน, และนับเป็นครั้งที่ 10 ผ่านใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก สโมสรที่ชนะเลิศมีสิทธิ์เข้าร่วม ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013 เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่เป็นระดับสูงสุดของสโมสรฟุตบอลในทวีปเอเชีย ครั้งที่ 32 โดยจัดการแข่งขันโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และเป็นครั้งที่ 11 ในการแข่งขันภายใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก โดยผู้ชนะเลิศจะได้เข้าไปแข่งขัน ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ 2013.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2014

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2014 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 12 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 33 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย โดยสโมสรที่ชนะเลิศจะได้รับสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2014 สำหรับทีมที่ชนะเลิศในรายการนี้เมื่อปี 2013 คือสโมสรฟุตบอลกว่างโจว เอเวอร์แกรน.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2014 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 13 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 34 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย โดยสโมสรที่ชนะเลิศจะได้รับสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2015 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 13 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 35 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เป็นทีมแชมป์เก่าที่จะมาป้องกันแชมป์ในปีนี้.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554 เป็นการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกครั้งที่ 30 ผู้ชนะจะมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ 2554.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เครือรัฐเอกราช

รือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States หรือ CIS Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก).

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเครือรัฐเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

เต็มฟ้า กฤษณายุธ

ต็มฟ้า กฤษณายุธ เป็นนักร้อง นักแสดง นางแบบ และอดีตนักกีฬายิมนาสติกลีลาทีมชาติไทย เต็มฟ้าจบการศึกษาจาก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาติ (EBA Program) ด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 และเป็นลูกสาวของ แหวน ฐิติมา สุตสุนทร นักร้องในสังกัด จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ กับบรรเจิด กฤษณ.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและเต็มฟ้า กฤษณายุธ · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอุซเบกิสถานและ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Uzbekistanวัดหยุดราชการในอุซเบกิสถานสาธารณรัฐอุซเบกิสถานอุซเบกิสถานอูซเบกิสถาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »