โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศอียิปต์

ดัชนี ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

832 ความสัมพันธ์: บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติชะรีฟ อิกรอมีบัวอียิปต์ชาญวิทย์ ผลชีวินชายฝั่งมะละบาร์ชาวอียิปต์ชาวแคนาดาบิลาดี บิลาดี บิลาดีชื่อวันของสัปดาห์บุญญาณี สังข์ภิรมย์บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บูร์ฮานุดดีน รับบานีชีกาบาลาชีวิตอารามวาสีบีเอ็ม-21 แกรดชนเบอร์เบอร์ช่องโค้งช็อกโกแลตช้างแอฟริกาฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน)ฟร็องซัว มีแตร็องฟัตฮียะฮ์ ฆอลีฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟฟาลาเฟลฟาโรห์พซัมมูธิสฟาโรห์ทุตโมสที่ 1ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2ฟาโรห์ทุตโมสที่ 4ฟาโรห์แอเมนโฮเทปที่ 2ฟาโรห์แฮตเชปซุตฟาโรห์ไอย์ฟาโรห์เมเนสฟาโรห์เวกาฟฟิตน่าฟุตบอลทีมชาติยูกันดาฟุตบอลทีมชาติอิสราเอลฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ฟุตบอลทีมชาติตาฮีตีฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์ฟุตบอลทีมชาติโอมานฟุตบอลทีมชาติไทยฟุตบอลทีมชาติเยเมนฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้ฟุตบอลในออลแอฟริกาเกมส์ฟุตบอลโลก 2006ฟุตบอลโลก 2010ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือกฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี...ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2009ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกาฟุตซอลทีมชาติอียิปต์ฟีลิปโป ตอมมาโซ มารีเนตตีฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์พ.ศ. 1781พ.ศ. 2341พ.ศ. 2342พ.ศ. 2425พ.ศ. 2466พ.ศ. 2488พ.ศ. 2496พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2513พ.ศ. 2514พ.ศ. 2521พ.ศ. 2525พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2540พ.ศ. 2549พ.ศ. 2555พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พรชัย ทองบุราณพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวังแวร์ซายพระราชินีแห่งชีบาพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์พระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ)พระคัมภีร์คนยากพระเจ้าบอลดวินที่ 1 แห่งเยรูซาเลมพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรักพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบียพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวายพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียพระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4พฤศจิกายน พ.ศ. 2548พอร์ตซาอิดพะยูนพัก ซองฮยอนพาราลิไททันพาวเวอร์เรนเจอร์ ออปเปรชั่น โอเวอร์ไดรฟ์พาไพรัส (กระดาษ)พิมล แจ่มจรัสพิสตาชีโอพีระมิดอียิปต์พีระมิดที่ไม่เสร็จแห่งอะบูศีรพีระมิดเตติพีระมิดเนเฟอร์อิร์คาเรกกอียิปต์กรกฎาคม พ.ศ. 2548กระดาษกรีซโบราณกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มภาษาเคียปชักกองทัพมาเกโดเนียโบราณกองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์กัฟรุชชัยค์กัมพูชาประชาธิปไตยกัสซะมันกังหันลมกันยายน พ.ศ. 2548กายภาพบำบัดการบุกครองอียิปต์ของอิตาลีการยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลีการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009การล้อมสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโดมินิกันในกรุงโบโกตา พ.ศ. 2523การสำรวจแอฟริกาก่อนคริสตกาลการทัพทะเลทรายตะวันตกการทัพแอฟริกาเหนือการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020การค้าระหว่างโรมันกับอินเดียการประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36การประชุมไคโรการประกวดเพลงยูโรวิชันการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิตการแสดงความรักในที่สาธารณะการแผลงเป็นอาหรับการ์ลา บรูนีการใช้ปากกับอวัยวะเพศชายของตัวเองการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซลการเน่าเปื่อยกาแฟกำแพงฮาดริอานุสกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548กีฬาว่ายน้ำกีฬาใน พ.ศ. 2549กีซาญิฮาดอิสลามอียิปต์ญิดดะฮ์ฏ็อนฏอภัยพิบัติแห่งอียิปต์ภัยแล้งภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาพเหมือนภาษาฝรั่งเศสภาษาอาหรับภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ภาษาแอกแคดภูมิศาสตร์เอเชียภูมิทัศน์วัฒนธรรมภูเขาซีนายมรดกโลกมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรมหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรียมหาสฟิงซ์มหาสุสานกิซามอลต์มัมมี่มัรวาน มัวะห์ซินมัทมอนส์มัดแฟล็ปส์มังกรจีนมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสารมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกรมาเรียแห่งเท็คมิสอินเตอร์คอนติเนนตัลมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014มิสเวิลด์มิสเวิลด์ 2012มิสเวิลด์ 2014มิสเวิลด์ 2015มิสเวิลด์ 2016มิสเอิร์ธ 2016มิสเตอร์อีโคไทยแลนด์มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมุฮัมมัด มุรซีมุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวีมุฮัมมัด อับดุชชาฟีมุฮัมมัด อัลบะรอดะอีมุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวียัสเซอร์ อาราฟัตยาโคบยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งยุทธการที่เอนจาลูตยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคโลหะยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวีรหัสมรณะรอนัลดีนโยรัฐเคดีฟอียิปต์ราชวงศ์ทอเลมีราชวงศ์ที่สองแห่งอียิปต์ราชวงศ์ที่สามแห่งอียิปต์ราชวงศ์ที่สิบสามแห่งอียิปต์ราชวงศ์ที่สี่แห่งอียิปต์ราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์ราชวงศ์ที่หนึ่งแห่งอียิปต์ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์ราชวงศ์ที่เจ็ดและแปดแห่งอียิปต์ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมนราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรอียิปต์ราชอาณาจักรทอเลมีราชอาณาจักรแนบาเทียราชอาณาจักรเยรูซาเลมรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลารายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อหอดูดาวรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อธงในประเทศอียิปต์รายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิงรายชื่อตัวละครในปริศนาสมบัติอัจฉริยะรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็กรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อนครในประเทศอียิปต์รายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายรายชื่อเขตการปกครองรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่รายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชรายพระนามกษัตริย์อไบดอสรายการภาพธงชาติรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ริสก์รถถังโจเซฟ สตาลินรถไฟใต้ดินไคโรละติฟา อัลซัยยัตลักซอร์ลัทธิอาณานิคมลัทธิเอเรียสลาลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิงลาป่าแอฟริกาลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114ลูกเต๋าล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1983วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1989วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2014วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปีวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017วอลเลย์บอลชายทีมชาติอียิปต์วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1977วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1985วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์โลก 2013วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017วัฒนธรรมวัดเส้าหลินวัดเดโบดวันชาติวันครูวันแม่วันแรงงานวาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮีวิกฤตการณ์การทูตกาตาร์วิกฤตการณ์คลองสุเอซวิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515วิกิเมเนียวิวัฒนาการของมนุษย์วิศวกรรมศาสตร์วิทยาศาสตรบัณฑิตวินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้นวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตวีรา ลินน์ศาสนาพุทธในประเทศอียิปต์ศาสนาอิสลามในประเทศไทยศาสนาคริสต์ศิลาจารึกศิลาโรเซตตาศิลปศาสตรบัณฑิตศิลปะสกัดหินศิลปะอียิปต์โบราณศิลปะเกี่ยวกับความตายสฟิงซ์ ฟาโรห์สกอร์โปนอคสกุลผักกาดหอมสมพงษ์ เวชสิทธิ์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกาสมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกาสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์สมเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปนสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวียสวนสัตว์กิซาสหพันธรัฐอาหรับสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับสหรัฐอาหรับสันนิบาตอาหรับสาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501)สิงโตสุริยุปราคา 2 สิงหาคม พ.ศ. 2570สุลตานะห์เมเลก ตูร์ฮานสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2สุสานแห่งอเล็กซานเดรียสุธี สุขสมกิจสีกลุ่มชนอาหรับสถานพักตากอากาศสถานการณ์ฉุกเฉินสงครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่งสงครามการบั่นทอนกำลังสงครามยมคิปปูร์สงครามหกวันสงครามอาณานิคมโปรตุเกสสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามครั้งสุดท้ายของสาธารณรัฐโรมันสงครามครูเสดครั้งที่ 3สงครามครูเสดครั้งที่ 4สงครามครูเสดครั้งที่ 5สงครามครูเสดครั้งที่ 7สงครามครูเสดครั้งที่ 8สงครามครูเสดครั้งที่ 9สงครามปฏิวัติฝรั่งเศสสงครามไบแซนไทน์-อาหรับสตราโบสตาร์บัคส์สนามฟุตบอลสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกสนธิสัญญาแบร์นสโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลีสโมสรกีฬาซะมาลิกหม้อข้าวหม้อแกงลิงหอสมุดนักฮัมมาดีหอดูดาวหุบเขากษัตริย์หุบเขากาฐมาณฑุหนังสืออพยพหนังสือปฐมกาลหนังตะลุงหนึ่งอำเภอหนึ่งทุนหน้าบันห้องสมุดแห่งอะเล็กซานเดรียอะบูซิมเบลอะลาอุดดีน อะบูลกอซิมอะลี ญุมอะฮ์อะห์มัด ฟัตฮีอะห์มัด มุฮัมมัด อัฏฏ็อยยิบอะห์มัด อุมัร ฮาเช็มอะเล็กซานเดรียอับราฮัมอับราฮัม ออร์ทีเลียสอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์อักษรคอปติกอักษรคานาอันไนต์อักษรคาเรียอักษรเอธิโอเปียอัยมัน อัซเซาะวาฮิรีอัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (อียิปต์)อัลมะฮัลละตุลกุบรออัลลอหุ อักบัร (เพลงชาติ)อัลไพน์สโตนรีฟอัศวินฮอสปิทัลเลอร์อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรียอังค์ฮาฟอังค์เซนเปปิที่ 1อังค์เซนเปปิที่ 3อังค์เซนเปปิที่ 4อันวัร อัสซาดาตอันดับพะยูนอันดับของขนาด (พื้นที่)อันดับของขนาด (ความยาว)อันดับด้วงอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรียอาร์ซิโนเอที่ 4อาหรับอาหรับวินเทอร์อาอีดาอาดานาอาซาเซลอานุบิสึอาโมส-ซิทามุนอาโมส-ซิแพร์อิศอม ชะร็อฟอิสเมอิลีอาอิซมีร์อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์อิเนนัค-อินติอุมัร อัชชะรีฟอีมาน (นางแบบ)อียิปต์ (มณฑลของโรมัน)อียิปต์แอร์อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864อียิปต์โบราณอียิปต์โบราณก่อนยุคราชวงศ์อีซูซุ วิซาร์ดอีเลฟเทริออส เวนิเซลอสอนัญญา มงคลไทยอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบอนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิลอนุสัญญาแรมซาร์อ่าวอะกาบาอ่าวจอดเรืออ่างเก็บน้ำอเล็กซานเดรีย (แก้ความกำกวม)อเล็กซานเดอร์มหาราชฮอรัส (นักกีฬา)ฮะมาฮ์ฮะซัน อิบน์ อะลีฮัมมัสฮายาโซฟีอาฮาร์ปฮาซัน อัลบันนาฮาโลไซลอนขาวฮิปโปโปเตมัสฮุมาฮ์อัดดิยารฮุสนี มุบาร็อกฮุนได ทูซอนฮุนได แอคเซนท์ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียงจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดิเซิร์กซีสมหาราชจักรวรรดิบริติชจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิอะคีเมนิดจักรวรรดิอียิปต์จักรวรรดินิยมจักรวรรดิโรมันจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรวรรดิเอธิโอเปียจัตุรัสทาห์รีร์จามาล อุดดีน อัล-อัฟกานีจิมมี คาร์เตอร์จิตรกรรมฝาผนังจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์จูเซปเป แวร์ดีจีเมลธรรมศาลาธูปธีระศักดิ์ โพธิ์อ้นธงชาติลิเบียธงชาติอิรักธงชาติอียิปต์ถุงยางอนามัยถนนกษัตริย์ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้นทวีปมูทวีปแอฟริกาทอร์ (เครือข่ายนิรนาม)ทอเลมีทอเลมีที่ 2ทอเลมีที่ 3ทะเลทรายสะฮาราทะเลแดงทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทุพภิกขภัยทีมฟุตบอลท่อส่งแก๊สอาหรับท่าอากาศยานนานาชาติไคโรท็อปโมเดลออฟเดอะเวิลด์ขบวนการไซออนิสต์ดาวเทียมไทยคมดาเมียตตาดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)ดิอะเมซิ่งเรซ 5ดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิมดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)ดีวีดีคริสต์สหัสวรรษที่ 3คลองสุเอซคลีโอพัตราคลีโอพัตรา ธีอาความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวีความตกลงฉันทไมตรีความเอนเอียงเพื่อยืนยันควายคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศคอปติกออร์ทอดอกซ์คาบสมุทรไซนายคาทอลิกตะวันออกคานาอันคาเนเฟอร์คำสาปฟาโรห์ (มังงะ)คำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505งานกระจกสีงานฝังประดับวัสดุงูเส้นด้ายบาร์เบโดสตราแผ่นดินของอียิปต์ตะวันออกกลางต้นสมัยกลางฉนวนกาซาซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลาซัยยิด กุฏบ์ซัดดัม ฮุสเซนซามูไรทรูปเปอร์ซาจิตต้า เทรมี่ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดีซินเดอเรลล่าซุคฮอยซูโคไมมัสซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธาซีเอช-53 ซีสตัลเลียนปฏิบัติการครูเซเดอร์ปฏิบัติการแอ็บเซนชันปฏิบัติการเข็มทิศประมุขแห่งรัฐประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประวัติศาสตร์อานาโตเลียประวัติศาสตร์อิสราเอลประวัติศาสตร์โรมประวัติศาสตร์โลกประวัติศาสนาคริสต์ประเทศกรีซประเทศมอนเตเนโกรประเทศลิเบียประเทศสเปนประเทศอิสราเอลประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1883ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1889ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1895ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1901ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1907ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1912ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1913ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1920ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1924ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1925ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1926ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1928ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1929ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1932ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1936ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1942ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1945ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1948ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1950ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1952ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1956ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1957ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1960ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1964ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1968ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1972ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1976ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1979ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1980ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1984ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1987ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1988ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1990ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1992ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1995ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1996ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1999ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2000ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2004ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2005ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2008ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2010ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2011ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2012ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2015ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2016ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกประเทศจอร์แดนประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซูดานประเทศเอริเทรียประเทศเอธิโอเปียปริมณฑลสาธารณะปริศนาสมบัติอัจฉริยะปริสกุสปลากระเบนชายธงปลากะพงแม่น้ำไนล์ปลาอะโรวานาแอฟริกาปลาปักเป้าจมูกแหลมปอนด์อียิปต์ปัสคาปูนปลาสเตอร์นกกระจอกบ้านนกกระเต็นน้อยธรรมดานกอินทรีทองนะญีบ มะห์ฟูซนักบุญอันนานักบุญโยเซฟนักปราชญ์แห่งคริสตจักรนารีมาน ศอดิกนาธาน โอร์มานนางงามจักรวาล 1987นางงามจักรวาล 1991นางงามจักรวาล 1992นางงามจักรวาล 1993นางงามจักรวาล 1994นางงามจักรวาล 2012นางงามจักรวาล 2014นางงามจักรวาล 2015นางงามจักรวาล 2017นางงามนานาชาติ 2014นางงามนานาชาติ 2015นาซีเยอรมนีนิวเบียนิติภาวะนูนนีกอลา ซาร์กอซีนีโครโนมิคอนนน บุญจำนงค์แบล็กเดทแช่ม พรหมยงค์แพนอาหรับเกมส์แพนอาหรับเกมส์ 1953แกะภูเขาแมรี เคแซตแม่น้ำไนล์แร้งแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก กลุ่ม อีแอฟริกาเหนือแอฟริกาเหนือของอิตาลีแอร์อาระเบียแอสมาราแอดแดกซ์แอตแลนติสแอนโทนีอธิการแฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลกแฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลกแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560แทนิสแดวู ลาโนสแดวู นิวบีราแดวู เลแมนส์แคช แค็บแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรียแตงกวาอาร์มีเนียโบว์ลิ่งโบโกตาโมราโมเช ดายันโมเสสโยเซฟ (บุตรยาโคบ)โรมโรคพยาธิใบไม้ในเลือดโรงพยาบาล 57357โลกาภิวัตน์โอเอซิสโอเปิล คอร์ซาโอเปิล เวคตร้าโฌแซ็ฟ ฟูรีเยโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรียโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3โทบุเวิลด์สแควร์โคกาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268โครงสร้างทรงโค้งโคนอนแห่งซามอสโปเกมอน โกไพศาล ยิ่งสมานไมยราบยักษ์ไมเคิล แจ็กสันไวน์ไอพุตที่ 2ไอยคุปต์ไอด้าไฮพาเทียไฮแรกซ์จุดเหลืองไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไทยในอียิปต์ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ไคโรไปรษณีย์ไป่ตู้เบวะซิซิวแมบเชิงเทินเบเรนิซที่ 4เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซเกรตริฟต์แวลลีย์เกลียวอาร์คิมิดีสเกษตรกรรมเกีย ซีเฟียเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1951เมดีตาซียงเมนาเฮม เบกินเราะมะฎอน ศุบฮีเรือดำน้ำเลกอสเลียร์เซอ เอส.กา.เลขาธิการสหประชาชาติเวลาเวลายุโรปตะวันออกเวลาออมแสงยุโรปตะวันออกเศาะลาฮุดดีนเสรีภาพเสือโคร่งเสือโคร่งแคสเปียนเส้นทางสายอำพันเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออกเส้นเวลาของคณิตศาสตร์เหยี่ยวออสเปรเหตุการณ์ฟาโชดาเหตุระเบิดในอเล็กซานเดรีย พ.ศ. 2554เหตุปลาฉลามโจมตีที่ซาร์มอัลชีค พ.ศ. 2553เหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560เอ แอนด์ ดับบลิวเอบียูโรบอตคอนเทสต์เอบียูโรบอตคอนเทสต์ 2002เอกราชอัสซีเรียเออแฌน เดอลาครัวเอจออฟมีโธโลจีเอจออฟเอ็มไพร์ส (วีดีโอเกม)เอ็มไอเอ็ม-104 แพทริออตเอเคอร์ (อิสราเอล)เฮอรอโดทัสเฮอร์เมทิคาเฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์เฮเทปเฮอร์เนบติเฮเทปเฮเอสที่ 1เฮเตเฟอร์เรสเจิ้งเหอเจนเนลี ชาปาร์โรเจ็ทไฟเออร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3เจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนียเจ้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิมเจ้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรียเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนเจ้าหญิงซาบิฮา ฟาซิละ ฮานิม สุลต่านเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวีเจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์เธลีสเทคเคนเขื่อนเขื่อนอัสวานเขตเวลาเด เวอร์มิส มิสเทรีสเดอะซิมส์ 3เดอะซิมส์ 3 เวิลด์ แอดเวนเจอร์สเคมีเควี 29เควี 62เซาเปาลูเปอโยต์ 405เปตราเนลสัน แมนเดลาเนเฟรูที่ 1เนเฟอร์ติติMENA.eg1 กุมภาพันธ์1 มกราคม1 E+12 m²14 ตุลาคม15 พฤษภาคม15 กรกฎาคม16 กุมภาพันธ์16 มกราคม18 มิถุนายน19 พฤศจิกายน2 กุมภาพันธ์2020 ตุลาคม21 กรกฎาคม22 พฤศจิกายน22 มีนาคม23 กรกฎาคม26 มกราคม26 มีนาคม29 ตุลาคม4 พฤษภาคม4 กุมภาพันธ์5 มิถุนายน6 ตุลาคม7 มกราคม7 ตุลาคม ขยายดัชนี (782 มากกว่า) »

บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ

ริษัท การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งชาติ (ชื่อย่อ: เอ็นบีซี; NBC) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ของสหรัฐอเมริกา มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่อาคารจีอี ร็อกกีเฟลเลอร์ เซ็นเตอร์ ในนครนิวยอร์ก มีสมญานามว่า "เครือข่ายนกยูง'" (Peacock Network) ตามสัญลักษณ์ของสถานี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2469 โดยบริษัทวิทยุแห่งอเมริกา (Radio Corporation of America ชื่อย่อ: อาร์ซีเอ; RCA) โดยนับเป็นเครือข่ายโทรทัศน์แห่งแรกในสหรัฐอเมริกา ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 เอ็นบีซี ได้เริ่มส่งสัญญาณโทรทัศน์สี นับว่าเป็นสถานีโทรทัศน์สีแห่งแรกของโลก ในปีพ.ศ. 2529 เจเนอรัล อิเล็กทริค (จีอี) เข้าซื้อกิจการเอ็นบีซี ด้วยมูลค่า 6,400 ล้านเหรียญ ต่อมาทางสถานีฯ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของ "เอ็นบีซี ยูนิเวอร์แซล" ซึ่งเป็นองค์กรในเครือจีอี และวีวองดี เอ็นบีซีมีพนักงานประมาณ 10,000 คน และมีผู้ชม 112 ล้านครัวเรือน หรือร้อยละ 98.6 ของประเทศ นอกจากนี้เอ็นบีซียังมี สถานีร่วมอีก 10 สถานี และเกือบ 200 สถานี ที่สามารถรับชมได้ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และบริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ชะรีฟ อิกรอมี

รีฟ อิกรอมี (شريف إكرامي; เกิด 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1983) เป็นผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลีและทีมชาติอียิปต์ โดยก่อนหน้านี้เขาเคยเล่นให้กับไฟเยอโนร์ด, Ankaragücü และ El Gouna อิกรอมีเคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชน 2 ครั้ง ในปี 2001 (จัดขึ้นที่อาร์เจนตินา) ที่อียิปต์ได้เหรียญทองแดง และปี 2003 (จัดขึ้นที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) และในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชะรีฟ อิกรอมี · ดูเพิ่มเติม »

บัวอียิปต์

ัวอียิปต์ เป็นพืชในวงศ์ Nymphaeaceae พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาตอนกลางและเหนือ เป็นพืชน้ำลำต้นอยู่ในโคลน ใบลอยบนผิวน้ำ ใบเกือบกลมขอบเรียบ มีจุดสีม่วงด้านล่างของใบ ดอกสีน้ำเงินอ่อน ตรงกลางสีขาว บานเฉพาะตอนเช้า มีสารออกฤทธิ์ที่ทำให้มีอาการคล้ายถูกสะกดจิต ประสาทหลอน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และบัวอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญวิทย์ ผลชีวิน

ญวิทย์ ผลชีวิน หรือ โค้ชหรั่ง เป็น กรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โฆษกกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และเป็นอดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา อดีตรองอธิบดีกรมพลศึกษา อดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอลทีมชาติไทย ในช่วงปี 2547-2550 โดยรับตำแหน่งต่อจาก ซิกกี้ เฮลด์ เมื่อ พ.ศ. 2547 และในปี พ.ศ. 2536, พ.ศ. 2537 เคยพาทีมสโมสรธนาคารกสิกรไทย คว้าแชมป์ฟุตบอลเอเชียนแชมเปียนส์คัพ (ฟุตบอลสโมสรชิงแชมป์เอเชีย) สองสมัยติดต่อกัน และพาทีมเยาวชน 17 ปีของไทย ไปเล่นฟุตบอลเยาวชนโลกเป็นครั้งแรกที่อียิปต์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชาญวิทย์ ผลชีวิน · ดูเพิ่มเติม »

ชายฝั่งมะละบาร์

หาดป้อมเบคัล (Bekal Fort) รัฐเกรละ ชายฝั่งมะละบาร์ (Malabar Coast) เป็นแนวชายฝั่งทะเลยาวและแคบทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย บริเวณที่ราบรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะ ระหว่างเทือกเขาฆาฏตะวันตก (Western Ghats) กับทะเลอาหรับ กินพื้นที่ตั้งแต่รัฐกัวถึงเมืองกันยากุมารี (Kanyakumari; เดิมเรียก เคปคอโมริน) ในขณะที่ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดียเรียกว่า ชายฝั่งโคโรมันเดล (Coromandel Coast) บางครั้งชายฝั่งมะละบาร์ยังหมายถึงพื้นที่ชายฝั่งทั้งหมดของอินเดียตั้งแต่ชายฝั่งกงกัณ (Konkan) จนถึงเมืองกันยากุมารี มีความยาวมากกว่า 845 กิโลเมตร (525 ไมล์) ตั้งแต่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐมหาราษฏระ ผ่านรัฐกัวและชายฝั่งทั้งหมดของรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะถึงเมืองกันยากุมารี ชายฝั่งแห่งนี้ทิศตะวันตกจรดทะเลอาหรับ ทิศตะวันออกจรดเทือกเขาฆาฏตะวันตก และทางใต้มีป่าผลัดใบที่ชุ่มชื้นที่สุดในอินเดียใต้ ชายฝั่งมะละบาร์มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นจุดทำการค้าหลักกับเมโสโปเตเมีย อียิปต์ กรีซ โรม เยรูซาเลม และอาหรับ และยังมีเมืองท่าหลายเมือง เช่น โกจจิ (Kochi), โคชิโคด (Kozhikode), กัณณูร์ (Kannur) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญของมหาสมุทรอินเดียมานานนับศตวรรษ ในสมัยศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์หมิงได้ให้เจิ้งเหอนำกองเรือออกเดินทางสำรวจดินแดนต่าง ๆ ชายฝั่งมะละบาร์เป็นจุดหนึ่งที่กองเรือจีนมักจะมาขึ้นฝั่ง หลังจากนั้นไม่นาน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชายฝั่งมะละบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอียิปต์

วอียิปต์ (Egyptians) เป็นผู้อยู่อาศัยหรือประชากรของประเทศอียิปต์ โดยชาวอียิปต์โบราณเป็นคนละกลุ่มชาติพันธ์กับชาวอียิปต์ในปัจจุบันที่พูดภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชาวอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแคนาดา

วแคนาดา (Canadians) เป็นการบ่งบอกถึงบุคคลจากประเทศแคนาดา โดยความหมายนี้อาจสื่อถึงทางพันธุกรรม, ที่อยู่อาศัย, กฎหมาย, ประวัติศาสตร์, วัฒนธรรม หรือชาติพันธุ์ สำหรับชาวแคนาดาส่วนใหญ่ บ่อยครั้งมักจะสื่อถึงการดำรงอยู่และแหล่งที่มาของพวกเขาเพื่อการพิจารณาว่าเป็น ชาวแคนาดา นอกเหนือจากชาวอะบอริจินอล ที่ปรากฏตามสำรวจสำมะโนประชากรใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชาวแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

บิลาดี บิลาดี บิลาดี

ลาดี บิลาดี บิลาดี (بلادي بــلادي بلادي) เป็นเพลงชาติของประเทศอียิปต์ ที่ใช้ขับร้องในปัจจุบัน บทร้องประพันธ์โดย มูฮัมมัด ยูนุส อัลกอดี (محمد يونس القاضي) และ เรียบเรียงทำนองโดย ซัยยิด ดัรวีช (سيد درويش) ซึ่งความจริงนั้นคือ บทร้องของเพลงนี้มาจากสุนทรพจน์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของ มุสตาฟา คาเมล ประกาศใช้อย่างเป็ทางการเมื่อ พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และบิลาดี บิลาดี บิลาดี · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อวันของสัปดาห์

วันในสัปดาห์ ถูกตั้งชื่อตามวัตถุบนท้องฟ้าที่สำคัญ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และ ดาวเสาร์ ซึ่งเป็นวัตถุบนท้องฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ตั้งแต่ในสมัยโบราณ ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสนใจในเรื่องของฟากฟ้าแล้ว วันเสาร์และวันอาทิตย์ถูกเรียกกันโดยทั่วไปว่าเป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ วันแห่งการพักผ่อนหรือนันทนาการในประเทศตะวันตก ส่วนวันศุกร์และวันเสาร์ เป็นวันแห่งการพักผ่อนในประเทศมุสลิมบางประเทศ ในอิสราเอล ถือว่าวันเสาร์และวันศุกร์หรือวันอาทิตย์เป็นวันพักผ่อนของสัปดาห์ตามโอกาส แต่ในบางประเทศ เช่น อิหร่าน มีวันหยุดของสัปดาห์เพียงแค่หนึ่งวัน คือ วันศุกร์เท่านั้น และสัปดาห์ใหม่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์ ประเทศมุสลิมอื่น ๆ มักจะมีวันหยุดเป็นวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์ตามวิชาโหราศาสตร์ ในศาสนายูดาย และใน Ecclesiastical Latin รวมไปถึงในสหรัฐอเมริกา และในบางประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ รวมไปถึง ประเทศไทย ด้วย ส่วนประเทศจำนวนมากในยุโรป อเมริกาใต้ และบางส่วนของเอเชีย ถือว่าวันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างนานาชาติมาตรฐานสำหรับการใช้วันและเวลา ISO 8601 ซึ่งกำหนดให้วันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ และวันอาทิตย์เป็นวันสุดท้ายของสัปดาห.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชื่อวันของสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญญาณี สังข์ภิรมย์

ญญาณี สังข์ภิรมย์ (ชื่อเล่น: โบว์) มิสอินเตอร์คอนติเนนตัลไทยแลนด์ 2015.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และบุญญาณี สังข์ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บูร์ฮานุดดีน รับบานี

ูร์ฮานุดดีน รับบานี (Burhanuddin Rabbani; برهان‌الدین ربانی, 20 กันยายน ค.ศ. 1940 – 20 กันยายน ค.ศ. 2011) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และบูร์ฮานุดดีน รับบานี · ดูเพิ่มเติม »

ชีกาบาลา

มะห์มูด อับดุรรอซิก ฮะซัน ฟัฎลุลลอฮ์ (محمود عبد الرازق حسن فضل الله; เกิด 5 มีนาคม ค.ศ. 1986) หรือ ชีกาบาลา (شيكابالا) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลอัรรออิดในซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีก โดยเป็นการปล่อยยืมตัวจากซะมาลิก ซึ่งเป็นสโมสรที่เขาเล่นมาตั้งแต่ชุดเยาวชน ส่วนใหญ่เขาเล่นตำแหน่งปีกขวา แต่ก็สามารถเล่นตำแหน่งกองกลางตัวรุกหรือปีกซ้ายได้ ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชีกาบาลา · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตอารามวาสี

อารามเซนต์แคเธอริน เขาไซนายในอียิปต์ ก่อตั้งราวระหว่าง ค.ศ. 527 ถึง ค.ศ. 565 ชีวิตอารามวาสีสมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน, นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 27 (monasticism) มาจากภาษากรีก “μοναχός” - “monachos” ที่มีรากมาจากคำว่า “monos” ที่แปลว่า “สันโดษ” หรือ “ผู้เดียว” หมายถึงวิถีชีวิตทางศาสนาที่นักบวชเน้นสละชีวิตทางโลกเพื่ออุทิศตนอย่างเต็มตัวในทางธรรม คำนี้ที่มาจากภาษากรีกโบราณและอาจเกี่ยวกับภิกษุซึ่งเป็นนักพรตในพุทธศาสนา ในคริสต์ศาสนา บุรุษที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต ถ้าเป็นหญิงก็เรียกว่านักพรตหญิง นักพรตทั้งชายและหญิงจะเรียกโดยรวมว่าอารามิกชน (monastics) ศาสนาอื่นต่างก็มีชีวิตอารามวาสีเป็นของตนเองโดยเฉพาะในศาสนาพุทธ และรวมทั้งลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน แต่รายละเอียดของแต่ละระบบของแต่ละศาสนาหรือแต่ละนิกายก็แตกต่างจากกันมาก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชีวิตอารามวาสี · ดูเพิ่มเติม »

บีเอ็ม-21 แกรด

รื่องยิงจรวดบีเอ็ม-21 (БМ-21 "Град"; BM-21 "Grad" launch vehicle; BM ย่อมาจาก boyevaya mashina หรือ ‘combat vehicle’) เป็นเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องแบบติดตั้งท้ายรถบรรทุกของสหภาพโซเวียต ใช้กับจรวด M-21OF ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 122 ม.ม. ระบบจรวดแบบนี้ได้รับการพัฒนาในช่วงต้นทศวรรษ 1960 เพื่อแทนที่เครื่องยิงจรวดบีเอ็ม-14 ขนาด 140 ม.ม. รุ่นก่อนหน้า โดยพัฒนามาจากเครื่องยิงจรวดคัทยูชา (บีเอ็ม-13) ที่ใช้งานมาตั้งแต่ยุคสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มประจำการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และบีเอ็ม-21 แกรด · ดูเพิ่มเติม »

ชนเบอร์เบอร์

นเบอร์เบอร์ (Berber people) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของแอฟริกาเหนือทางตะวันตกของลุ่มแม่น้ำไนล์ ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในบริเวณตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงโอเอซิสซิวา (Siwa oasis) ในอียิปต์ และจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงแม่น้ำไนเจอร์ ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก ในปัจจุบันชนเบอร์เบอร์บางกลุ่มพูดภาษาอาหรับ ชนเบอร์เบอร์ที่พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ในบริเวณที่ว่านี้มีด้วยกันราว 30 ถึง 40 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นอยู่ในบริเวณแอลจีเรียและโมร็อกโก และเบาบางลงไปทางตะวันออกไปทางมาเกรบ (Maghreb) และเลยไปจากนั้น บริเวณของชนเบอร์เบอร์ ชนเบอร์เบอร์เรียกตนเองด้วยชื่อต่าง ๆ ที่รวมทั้ง “Imazighen” (เอกพจน์ “Amazigh”) ที่อาจจะแปลว่า “ชนอิสระ” ตามความเห็นของนักการทูตและนักประพันธ์ชาวอาหรับเลโอ อาฟริคานัส “Amazigh” แปลว่า “คนอิสระ” แต่ความเห็นนี้ก็ยังเป็นที่โต้แย้งกันเพราะไม่มีรากของความหมายของ “M-Z-Gh” ที่แปลว่า “อิสระ” ในภาษากลุ่มเบอร์เบอร์สมัยใหม่ นอกจากนั้นก็ยังมีคำภาษา Tuareg “amajegh” ที่แปลว่า “ศักดิ์ศรี” (noble) คำเรียกนี้ใช้กันทั่วไปในโมร็อกโก แต่ในบริเวณอื่นในท้องถิ่นก็มีคำอื่นที่เฉพาะเจาะจงลงไปอีกเช่น “Kabyle” หรือ “Chaoui” ที่มักจะใช้กันมากกว่า ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์ก็รู้จักกันในชื่อต่างๆ เช่นในลิเบียโบราณโดยชาวกรีกโบราณ ว่า “นูมิเดียน” และ “มอเนเทเนีย” โดยโรมัน และ “มัวร์” โดยชายยุโรปในยุคกลาง ภาษาอังกฤษสมัยปัจจุบันอาจจะแผลงมาจากภาษาอิตาลีหรืออาหรับแต่รากที่ลึกไปกว่านั้นไม่เป็นที่ทราบ ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่นักประพันธ์ชาวโรมันอพูเลียส (Apuleius), จักรพรรดิโรมันเซ็พติมิอัส เซเวอรัส และ นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือดารานักฟุตบอลซีเนอดีน ซีดาน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และชนเบอร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่องโค้ง

วาดสามมิติของช่องโค้งทั่วไป ช่องโค้ง (arch) คือโครงสร้างลักษณะโค้งที่ใช้รองรับน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างด้านบนเหนือตัวมันเอง เทคนิคการสร้างอาร์ชถูกพัฒนาขึ้นในเมโสโปเตเมีย อัสซีเรีย อียิปต์ และอีทรูเรีย แต่ถูกปรับปรุงและใช้อย่างแพร่หลายในโรมันโบราณ หลังจากนั้นอาร์ชกลายเป็นโครงสร้างสำคัญของอาคารโบสถ์ในศาสนาคริสต์ และในปัจจุบันยังมีการใช้อาร์ชในส่วนของโครงสร้างสะพาน ประโยชน์ของอาร์ชคือใช้เป็นโครงสร้างในการเชื่อมต่อบริเวณช่องของส่วนโครงสร้างอื่น ออกแบบเพื่อรับแรงอัดในแนวดิ่ง โดยการเปลี่ยนแรงอัดในแนวดิ่งเป็นแรงอัดในแนวระนาบของอาร์ชและถ่ายแรงลงสู่ฐานทั้งสองข้างของอาร์ช ไฟล์:Treledsbåge.png|อาร์ชสามเหลี่ยม ไฟล์:Rundbåge.png|อาร์ชกลม หรือ อาร์ชครึ่งวงกลม ไฟล์:Segmentbåge.png|Segmental arch ไฟล์:Stigande båge.png|Unequal round arch or Rampant round arch ไฟล์:Lansettbåge.png|Lancet arch ไฟล์:Spetsbåge.png|Equilateral pointed arch ไฟล์:Skulderbåge.png|Shouldered flat arch ไฟล์:Trepassbåge.png|Three-foiled cusped arch ไฟล์:Hästskobåge.png|Horseshoe arch ไฟล์:Korgbåge.png|Three-centred arch ไฟล์:Ellipsbåge.png|Elliptical arch ไฟล์:Draperibåge.png|Inflexed arch ไฟล์:Kölbåge.png|Ogee arch ไฟล์:Karnisbåge.png|Reverse ogee arch ไฟล์:Tudorbåge.png|Tudor arch ไฟล์:Parabelbåge.png|Catenary or Parabolic arch.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และช่องโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

ช็อกโกแลต

็อกโกแลต ช็อกโกแลต (chocolate; ช็อก(กะ)เล็ต) คือผลิตผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้เขตร้อน ช็อกโกแลตเป็นส่วนผสมของของหวานหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นไอศกรีม ลูกอม คุกกี้ เค้ก หรือว่าพาย ช็อกโกแลตถือได้ว่าเป็นของหวานอย่างหนึ่งที่ถูกใจคนทั่วโลก ช็อกโกแลตทำจากการหมัก คั่ว และบดอย่างละเอียดของเมล็ดโกโก้ซึ่งได้มาจากต้นโกโก้เขตร้อน (tropical cacao tree) ซึ่งมีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและเม็กซิโก ต้นโกโก้นั้นค้นพบโดยชาวอินเดียนแดงและชาวอัซเตก (Aztecs) แต่ในปัจจุบันได้แพร่กระจายและปลูกไปทั่วเขตร้อน เมล็ดของต้นโกโก้นั้นมีรสฝาดที่เข้มข้นมาก ผลผลิตของเมล็ดโกโก้รู้จักกันในนาม "ช็อกโกแลต" หรือบางส่วนของโลกในนาม "โกโก้" ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดโกโก้รู้จักภายใต้หลายชื่อที่แตกต่างกันไปในส่วนต่าง ๆ ของโลก ในอเมริกา อุตสาหกรรมช็อกโกแลตได้จำกัดความไว้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และช็อกโกแลต · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแอฟริกา

้างแอฟริกา หรือ ช้างแอฟริกัน (African elephant) เป็นช้างสกุลหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา จากหลักฐานฟอสซิลที่ค้นพบทำให้ทราบว่า ช้างแอฟริกาอาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกามาตั้งแต่ยุคไพลสโตซีน ช้างแอฟริกา จัดอยู่ในสกุล Loxodonta (/โล-โซ-ดอน-ตา/; เป็นภาษากรีกแปลว่า "ฟันเอียงข้าง") ซึ่งปัจจุบันหลงเหลือเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และช้างแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน)

ฟรานซิส เบคอน เป็นศิลปินชาวอังกฤษในยุคสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ที่สร้างสรรค์ผลงานในลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ หรือลัทธิแสดงพลังอารมณ์(expressionism) ลัทธิแสดงพลังอารมณ์ถือเป็นความเคลื่อนไหวในช่วงต้นคริสศตวรรษที่ 20 งานเหล่านี้มักแสดงถึงความเป็นจริงที่บิดเบือนและอารมณ์อันรุนแรง ดังจะเห็นได้ในผลงานของเบคอนที่มักจะใช้ลายเส้นแสดงความบิดเบี้ยว และอารมณ์ความรู้สึกเร่าร้อนรุนแรง โดยศิลปินมักสะท้อนแนวคิดด้านร้ายของสังคม การเมือง หรือเรื่องทางเพศผ่านผลงานของตน ช่วงชีวิตของฟรานซิส เบคอนมีโอกาสได้เดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ และได้รับแรงบันดาลใจจนเกิดผลงานที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งนับได้ว่าฟรานซิส เบคอนเป็นศิลปินคนหนึ่งที่ถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ รอบตัวผ่านผลงานไว้อย่างมากม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน) · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2538 โดยชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในฐานะตัวแทนพรรคสังคมนิยม (PS) เขาชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2524 กลายเป็นประธานาธิบดีสังคมนิยมคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5และเป็นประมุขแห่งรัฐที่มาจากฝ่ายซ้ายคนแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 และในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2531นั้น เขาก็ชนะอีกครั้งหนึ่งและดำรงตำแหน่งจนถึงปี พ.ศ. 2538 ก่อนที่จะต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในปีเดียวกัน ในการดำรงตำแหน่งทั้งสองวาระนั้น เขาได้ยุบสภาเพื่อที่จะได้เสียงข้างมากในสภา แต่ทว่าพรรคสังคมนิยมก็ได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองครั้ง และทำให้เกิด "การบริหารร่วมกัน" ในสองปีสุดท้ายของทั้งสองวาระ โดยมีฌัก ชีรักเป็นแกนนำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2531 และเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดด้วยระยะเวลา 14 ปี ทั้งยังเป็นประธานาธิบดีที่อาวุโสที่สุดอีกด้วย (สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งเมื่ออายุ 78 ปี) ฟร็องซัว มีแตร็องถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟร็องซัว มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฟัตฮียะฮ์ ฆอลี

้าหญิงฟัตฮียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فتحية غالي‎) หรือ ฟัตฮียะห์ กาลี (Fathia Ghali) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1930 ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ โดยเป็นพระราชธิดาองค์ในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ พระองค์ถือเป็นพระขนิษฐาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟัตฮียะฮ์ ฆอลี · ดูเพิ่มเติม »

ฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ

ซัยยิดาฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ (فاطمة الشريف) หรือ ฟาฏิมะฮ์ อัซซานูซี (فاطمة السنوسي; ค.ศ. 1911 – 3 ตุลาคม ค.ศ. 2009) เป็นพระราชินีในพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย เป็นสมเด็จพระราชินีเพียงพระองค์เดียวของลิเบียก่อนการปฏิวัติโดยพันเอกมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาลาเฟล

ฟาลาเฟล (falafel) หรือ ฟะลาฟิล (فلافل) เป็นของทอดที่ทำจากถั่วลูกไก่ ถั่วปากอ้า หรือทั้งสองผสมกัน ฟาลาเฟลเป็นอาหารตะวันออกกลาง โดยมากนิยมรับประทานกับขนมปังพีตาซึ่งนำมาห่อฟาลาเฟลไว้ข้างใน ฟาลาเฟลสามารถนำมารับประทานกับสลัด ผักดอง ซอสพริก หรือซอสที่ทำจากทาฮีนีได้ด้วย อนึ่ง ฟาลาเฟลสามารถนำมารับประทานเป็นของว่างหรือนำไปเสิร์ฟเป็นส่วนหนึ่งของอาหารเรียกน้ำย่อย (เมเซ) ก็ได้เช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาลาเฟล · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์พซัมมูธิส

ฟาโรห์พซัมมูธิส(ภาษาอังกฤษ: Psammuthes) เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ที่ยี่สิบเก้าแห่งอียิปต์ เสวยราชเมื่อปี 392/1 ก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์พซัมมูธิส · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1ในตลอดรัชสมัยของฟาโรห์ทุตโมสที่ 1 ได้ทรงนำกองทัพรุกเข้าพิชิตเมืองใหญ่น้อยในเขตปาเลสไตน์และซีเรีย จากนั้นจึงได้บุกเข้าทำลายศูนย์อำนาจของชาวนิวเบียที่ยู่ทางใต้จนราบคาบ แล้วจัดการกวาดต้อนแรงงานก่อนจะผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอียิปต์ ทุตโมสที่ 1ได้ทรงยกทัพลึกลงไปกว่าฟาโรห์องค์ใดๆ ในสมัยก่อนหน้า และทรงกลับสู่อียิปต์โดยมีร่างไร้ชีวิตของผู้นำชาวนิวเบียห้อยมากับหัวเรือ เป็นการประกาศพระราชอำนาจและเตือนสติผู้ที่หวังมาท้าทายพระองค์ไปในตัว ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1 สั่งให้สร้างอาคารและสลักพระนามแผ่นจารึกทั่วแผ่นดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินแดนแถบนิวเบียที่พระองค์ที่พึ่งจะพิชิตได้ ขณะเดียวกันก็ทรงประกาศความศรัทธาแด่เทพ อมุน-เร ด้วยการเสริมซุ้มประตูศิลามหึมาและลานกว้างของพระองค์เข้าไปยังมหาวิหารคาร์นัก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์ทุตโมสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 ผู้สืบบัลลังก์ได้ครองอียิปต์อยู่ 14 ปี แต่ดูเหมือนว่าจะทรงป่วยออดๆแอดๆ อยู่ตลอด ทุตโมสที่ 2 จึงหาทางครองบัลลังก์อย่างมั่นคงด้วยการสมรสกับฮัตเชปซุตน้องสาวร่วมบิดาและธิดาของทุตโมสที่ 1 คงหวังจะได้สายเลือดของฟาโรห์ทุตโมสที่ 1 เข้ามาช่วยเพิ่มสิทธิธรรมในการปกครอง ราชินีฮัตเชปซุตนั้นนับเป็นบุคคลที่น่าสนใจมากที่สุด และอาจจะทรงเชี่ยวชาญด้านการปกครองยิ่งกว่าบุรุษส่วนมาก ก่อนที่ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 สวรรคตในราวปี 1479 ก่อนคริสตกาล ทรงได้แต่งตั้งทุตโมสที่ 3 ซึ่งเป็นพระโอรสขอพระองค์กับสนมอีกนางหนึ่ง ให้ครองฐานะฟาโรห์องค์ต่อไป ถึงกระนั้นทุตโมสที่ 3ยังทรงอ่อนเยาว์ไม่สามารถปกครองอาณาจักรได้ด้วยตนเอง ฮัตเชปซุตจึงอ้างวัยวุฒินี้เพื่อรั้งตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนทุตโมสที่ 3ทว่านางกลับมีความมุ่งมั่นที่จะครองอาณาจักรโดยเป็นฟาโรห์เอง ท หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 15 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 4

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 4 นำความเปลี่ยนแปลงมาสู่ระบอบการปกครองของอียิปต์ไม่น้อย ทรงส่งเสริมอำนาจของระบบราชการในส่วนกลางและเสริมระบบการป้องกันพรมแดนทั้งหมด พร้อมกันนั้นก็ไม่พลาดการสร้างอนุสาวรีย์ที่มีพระนามจารึกอยู่ขึ้นทั่วพระราชอาณาจักร นักประวัติศาสตร์ตีความเรื่องนี้ว่าบางทีการที่พระองค์ไม่ได้เป็นผู้สืบสายเลือดโดยตรงเป็นปมด้อยที่กดดันให้ทรงป่าวประกาศ และอ้างเรื่องพระนิมิตใต้เงามหาสฟิงซ์มาสร้างความชอบธรรมในการปกครองด้วย ตำนานเรื่องของฟาโรห์ทุตโมสที่ 4 กับ สฟิงซ์ แผ่นหินจารึกตรงหน้าอกของสฟิงซ์มีเรื่องราวของฟาโรห์ทุสโมสที่ 4 พระองค์มีนิมิตว่าหากช่วยนำทรายที่กลบฝังสฟิงซ์ออกก็จะเป็นกษัตริย์ ตามตำนานพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์หลังจากปฏิบัติตามนิมิตดังกล่าว หมวดหมู่:ฟาโรห์ยุคราชวงศ์ที่สิบแปด หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 14 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์ทุตโมสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์แอเมนโฮเทปที่ 2

ฟาโรห์แอเมนโฮเทปที่ 2 (บางเรียกอาเมโนฟิสที่ 2 และความหมายความพึงใจของอามุน) เป็นฟาโรห์ลำดับที่เจ็ดของราชวงศ์ที่ 18 ของอียิปต์ ฟาโรห์แอเมนโฮเทปที่ 2 ได้รับมรดกจากอาณาจักรอันกว้างใหญ่ของบิดาของฟาโรห์ทุตโมสที่ 3 และจัดให้มีการรบทางทหารในซีเรียกับไม่กี่ครั้ง อย่างไรก็ตามเขาต่อสู้น้อยกว่าพ่อของเขาและรัชสมัยของพระองค์เห็นการหยุดชะงักที่มีประสิทธิภาพของสงครามระหว่างอียิปต์และมิทานิ อาณาจักรที่มีอำนาจในประเทศซีเรีย รัชกาลของพระองค์อยู่ระหว่าง 1427-1401 ปีก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์แอเมนโฮเทปที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์แฮตเชปซุต

thumb แฮตเชปซุต (Hatshepsut; /hætˈʃɛpsut/ "สตรีชั้นสูงผู้เป็นเอก") เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ห้าในราชวงศ์ที่สิบแปดแห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ ซึ่งเป็นสตรี เจมส์ เฮนรี บรีสด์ (James Henry Breasted) นักไอยคุปต์วิทยา กล่าวว่า พระนางทรงเป็นที่รู้จักกันว่า "เป็นอิสตรีผู้ยิ่งใหญ่พระองค์แรกในประวัติศาสตร์ ที่พวกเรามีข้อมูล" เดิมนักวิชาการมิได้จัดว่าพระนางแฮตเชปซุตเป็นพระเจ้าแผ่นดิน แต่เป็นผู้สำเร็จราชการซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 21 ปี เนื่องจากปรากฏว่าพระนางสิ้นพระชนม์ในปี 1458 ก่อนคริสต์ศักราช จึงคำนวณว่าพระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ปี 1479 ถึง 1458 ก่อนคริสต์ศักราช แต่ปัจจุบัน นักวิทยาการอีปยิปต์เห็นพ้องกันว่า พระนางแฮตเชปซุตได้ราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ และเสวยราชย์เป็นเวลา 22 ปี ทั้งยังนับถือกันว่า พระนางเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ทรงประสบความสำเร็จในการบริหารราชการแผ่นดินมากที่สุดพระองค์หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์แฮตเชปซุต · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ไอย์

ฟาโรห์ไอย์ ปกครองอียิปต์อยู่เพียง 4 ปี แต่อำนาจที่แท้จริงกลับตกอยู่ในมือขุนนางฝ่ายทหารอีกคนคือ โฮเรมเฮบ ที่มีอำนาจชี้ขาดอยู่เบื้องหลังราชบัลลังก์ โฮเรมเฮบได้รับใช้ฟาโรห์ตั้งแต่ฟาโรห์อเมนโฮเตปที่สาม ฟาโรห์แอเคนาเทน และ ตุตันคามุนเมื่อไอย์สวรรคต โฮเรมเฮบจึงขึ้นครองราชย์และลบพระนามของไอย์ทั้งหมดทั่วราชอาณาจักร เมื่อฟาโรห์ตุตันคามุนสวรรคตโดยไม่มีผู้สืบสกุล จะมีเพียงราชินี "อังเซนามุน" ซึ่งปราศจากอำนาจ เราทราบจากบันทึกโบราณว่านางผู้สิ้นหวังตัดสินใจเขียนจดหมายไปถึงกษัตริย์ฮิตไทต์ซึ่งเป็น มหาอำนาจในตุรกีและซีเรีย เพื่อให้ส่งพระโอรสมาเป็นคู่ครองของนาง ในตอนแรกกษัตริย์ ฮิตไทต์แปลกใจกับคำขอนี้มากและมองเห็นโอกาสทางลัดที่จะได้อาณาจักรอียิปต์มาอยู่ใต้อำนาจ จึงจัดการส่งเจ้าชายชื่อซานนันซาไปตาคำขอ แต่โชคร้ายเจ้าชายผู้นี้ถูกสังหารโดยฝ่ายอียิปต์แถบชายแดน อังเซนามุนที่ปราศจากทางเลือกจึงจำต้องอภิเษกกับไอย์ ข้าราชสำนักผู้ชรา อาจมีศักดิ์เป็นปู่ของนาง และกลายเป็นราชินีของไอย์ซึ่งขึ้นครองบัลลังก์เป็นฟาโรห์องค์ใหม่ ในวัฒนธรรมร่วมสมัย ฟาโรห์ไอย์ และฟาโรห์ตุตันคาเมน ได้ถูกอ้างอิงถึงในนวนิยายเรื่อง กฤตยา โดย ทมยันตี ซึ่งบทประพันธ์เรื่องดังกล่าวได้ถูกดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ออกอากาศทางช่อง 3 เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์ไอย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์เมเนส

ฟาโรห์เมเนส (Pharaoh Menes) ทรงเป็นผู้รวบรวมประเทศอียิปต์ให้เป็นปรึกแผ่นและทรงเป็นฟาโรห์องค์ที่ 1 แห่งอียิปต.ฟาโรห์เมเนสทรงปกครองอียิปต์ในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลและมีพระนามแบบกรีก (Greek) คือมิน (Min), มินาออส (Mina ios),เมนาส (Menas) และ นาเมอร์ (Narmer) ยังมีพระนามอื่นๆอีก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์เมเนส · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์เวกาฟ

ฟาโรห์เวกาฟ (Wegaf) หรือ ยูกาฟ (Ugaf) เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์ในราชวงศ์ที่ 13 ซึ่งเป็นที่รู้จักจากหลายแหล่งรวมไปถึงศิลาจารึก และรูปปั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟาโรห์เวกาฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิตน่า

Fitna เป็นภาพยนตร์โดยเคร์ต วิลเดร์ส นักการเมืองชาวดัตช์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้นับถือศาสนาอิสลามและคำสอนในอัลกุรอาน เผยแพร่ครั้งแรกวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในอินเทอร์เน็ต ชื่อของภาพยนตร์มาจากคำในภาษาอาหรับ วิลเดร์สเผยแพร่ภาพยนตร์นี้ครั้งแรกในเว็บไซต์วิดีโอ Liveleak เมื่อเวลา 7 นาฬิกาของวันที่ 27 มีนาคม ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศเนเธอร์แลนด์ อย่างไรก็ตาม Liveleak ถอดวิดีโอนี้ออกจากเว็บไซต์ในเวลาต่อมา ให้เหตุผลว่าเพื่อปกป้องพนักงานขององค์กรจากคำขู่ ภาพยนตร์นี้แสดงบางบท (ซูเราะหฺ) จากอัลกุรอาน ประกอบกับข่าวหนังสือพิมพ์และคลิปสื่อต่างๆ ปัจจุบันกูเกิลได้มีการนำมาวิดีโอจาก Liveleak โฮสต์ไว้ให้ผู้เข้าชมได้ที่เว็บกูเกิลวิดีโอ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟิตน่า · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา

ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศยูกันดา อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์แห่งสมาคมฟุตบอลยูกันดา เคยจบอันดับที่สองในสหพันธ์แห่งสมาคมฟุตบอลยูกันดา เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติยูกันดา · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล

ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล (נבחרת ישראל בכדורגל) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศอิสราเอล ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิสราเอล (IFA).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอียิปต์

ฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ (مُنتخب مَــصـر, Montakhab Masr) ฉายา เดอะฟาโรห์ เป็นทีมฟุตบอลชายตัวแทนของประเทศอียิปต์ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลอียิปต์ (EFA) ซึ่งก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติตาฮีตี

ฟุตบอลทีมชาติตาฮีตี เป็นทีมฟุตบอลสัญชาติฝรั่งเศส และเป็นทีมตัวแทนของเฟรนช์พอลินีเชีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลตาฮีเตียน ทีมประกอบด้วยผู้เล่นจากเฟรนช์พอลินีเชีย และได้เข้าร่วมสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (OFC) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติตาฮีตี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์

ฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากรัฐปาเลสไตน์ สำหรับการแข่งขันในระดับชาติ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลปาเลสไตน์ (PFA) โดยเป็นชาติสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (AFC) ในสมัยที่รัฐปาเลสไตน์ยังเป็นดินแดนปาเลสไตน์ในอาณัติที่ปกครองโดยสหราชอาณาจักร สมาคมฟุตบอลปาเลสไตน์ในอาณัติได้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติโอมาน

ฟุตบอลทีมชาติโอมาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศโอมาน อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลโอมาน ทีมชาติโอมานยังไม่มีผลงานในระดับโลก สำหรับในระดับภูมิภาคเอเชีย ทีมชาติโอมานได้ร่วมเล่นใน เอเชียนคัพ 2 ครั้ง คือใน เอเชียนคัพ 2004 และ 2007.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ปัจจุบันทีมชาติไทยอยู่อันดับที่ 122 ของโลก อันดับที่ 23 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน จากการจัดอันดับโดยฟีฟ่า (12 เมษายน พ.ศ. 2561).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยเมน

ฟุตบอลทีมชาติเยเมน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเยเมน ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเยเมน ในอดีตช่วงที่ประเทศเยเมนแบ่งออกเป็นเยเมนเหนือและเยเมนใต้นั้น ได้มีทีมชาติเกิดขึ้นมาสองทีม และภายหลังจากการรวมประเทศในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ทีมชาติเยเมนเหนือได้เปลี่ยนมาเป็นทีมชาติเยเมน โดยถือได้ว่าสืบต่อทีมมา (เช่นเดียวกับทีมชาติเยอรมนีที่ถือว่าต่อจากเยอรมนีตะวันตก ภายหลังจากการรวมประเทศ) ทีมชาติเยเมนนั้นยังไม่มีผลงานร่วมเล่นในฟุตบอลโลกหรือเอเชียนคัพ ในขณะที่ทีมชาติเยเมนใต้เคยร่วมเล่นเอเชียนคัพ 1976.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้

ฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้ เป็นฟุตบอลทีมชาติของประเทศ เยเมนใต้ ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในออลแอฟริกาเกมส์

การแข่งขันฟุตบอล ในการแข่งขันกีฬาออลแอฟริกาเกมส์ เริ่มขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1965 และฟุตบอลหญิงเริ่มในปี ค.ศ. 2003 จะมีการจัดขึ้นทุกครั้งที่มีการแข่งขันออลแอฟริกาเกม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลในออลแอฟริกาเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2006

ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีทีมเข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย 32 ทีม ทีมชาติอิตาลีคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วยการเอาชนะฝรั่งเศสในการยิงจุดโทษ 5-3 หลังเสมอกัน 1-1 ประตู อันดับสามตกเป็นของเจ้าภาพเยอรมนีหลังเอาชนะโปรตุเกส 3-1 ประตู ประเทศเยอรมนีชนะได้สิทธิจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลโลก 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2010

ฟุตบอลโลก ฟีฟ่า 2010 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 19 ที่เป็นรายการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติ ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศแอฟริกาใต้ ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยเริ่มการคัดเลือกในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550 และมีฟุตบอลทีมชาติสมาชิกฟีฟ่า เข้าร่วมแข่งขันจำนวน 204 จาก 208 ทีม ฟุตบอลโลกครั้งนี้จึงเป็นการแข่งขันซึ่งมีประเทศเข้าร่วมแข่งขันจำนวนมากที่สุด เทียบเท่ากับจำนวนประเทศในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 และยังเป็นฟุตบอลโลกครั้งแรกที่ชาติจากทวีปแอฟริกาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน หลังจากที่แอฟริกาใต้ประมูลชนะโมร็อกโกและอียิปต์ในการเสนอชื่อ ทั้งนี้ ทีมชาติอิตาลีจะลงแข่งขันเพื่อป้องกันตำแหน่งชนะเลิศที่ได้มาในฟุตบอลโลก 2006 ซึ่งจัดขึ้นในประเทศเยอรมนี ทีมชาติสเปนซึ่งชนะเลิศมาจากการแข่งขันชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป เมื่อปี พ.ศ. 2551 ชนะเลิศในการแข่งขันกับทีมชาติเนเธอร์แลนด์ 1 ต่อ 0 ประตูในช่วงต่อเวลาพิเศษ โดยอันเดรส อีเนียสตาทำประตูให้กับสเปน และทำให้ทีมสเปนชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลโลกเป็นสมัยแรก, ผู้ชนะเลิศครั้งก่อนอย่างอิตาลี รวมถึงฝรั่งเศสซึ่งเป็นทีมรองชนะเลิศครั้งก่อน ล้วนแต่ตกรอบแรก โดยที่อาร์เจนตินา (รอบ 8 ทีม), บราซิล (รอบ 8 ทีม) และเยอรมนี (รอบรองชนะเลิศ) ส่วนเจ้าภาพตกรอบแรก โดยมี 4 คะแนน ได้อันดับ 3 ของกลุ่ม A.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลโลก 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก

ฟุตบอลโลก 2018 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3

รอบที่สาม ของ ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา (ซีเอเอฟ) จะแข่งขันตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา – รอบที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997

การแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997, เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่ 4 ถึง 21 กันยายน ค.ศ. 1997 นับเป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี ครั้งที่ 7 จัดขึ้นใน4เมืองของประเทศอียิปต์ ได้แก่ ไคโร, อิสเมอิลีอา, อะเล็กซานเดรีย, และ พอร์ตซาอ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี

ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 20 (FIFA U-20 World Cup หรือชื่อเดิมคือ FIFA World Youth Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายในระดับเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี จัดโดยฟีฟ่า เริ่มจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2520 ที่ประเทศตูนีเซีย และมีการจัดต่อเนื่องทุก 2 ปี และในปี 2545 ได้มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี เช่นกัน โดยการแข่งขันครั้งต่อไปจะจัดขึ้นที่ ประเทศตุรกี ระหว่างวันที่ 21 มิถุนายน-13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2009

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2009 (2009 FIFA U-20 World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับเยาวชนระหว่างประเทศ ครั้งที่ 17 ซึ่งมีกำหนดจัดขึ้นที่ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 24 กันยายน - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2009 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา

ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา (Africa Futsal Cup of Nations) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ แอฟริกันฟุตซอลแชมป์เปียนชิพ จนถึงปี 2015) เป็นการแข่งขันฟุตซอลระดับนานาชาติในทวีปแอฟริกาถูกจัดขึ้นครั้งแรกในปี 1996 โดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) และจัดต่อกันเรื่อย4ปีครั้ง ในวันที่ 6 สิงหาคม 2015, คณะกรรมการบริหารของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกาได้เปลี่ยนชื่อทัวร์นาเมนต์นี้จากชื่อ แอฟริกันฟุตซอลแชมป์เปียนชิพ (African Futsal Championship) เป็น ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกาหรือแอฟริกาฟุตซอลคัพออฟเนชันส์ (Africa Futsal Cup of Nations), ให้เหมือนกับ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติอียิปต์

ฟุตซอลทีมชาติอียิปต์ (Egypt national futsal team)เป็นทีมฟุตซอลซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศอียิปต์ในการแข่งขันระดับนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา และอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลแห่งอียิปต์ อียิปต์เป็นหนึ่งในทีมที่แข็งแกร่งที่สุดในแอฟริกาที่ได้รับถ้วยรางวัลจากฟุตซอลแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ถึง 3 สมัย ได้เข้าร่วมฟุตซอลชิงแชมป์โลก6ครั้ง โดยเข้าร่วมครั้งแรกในปี1996 และในปี2004อียิปต์ได้ประเดิมสนามพบกับเจ้าภาพซึ่งผลการแข่งขันนั้นอียิปต์เป็นผ่ายชนะไป 12-0.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟุตซอลทีมชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป ตอมมาโซ มารีเนตตี

ฟิลิปโป ตอมมาโซ เอมิลิโอ มาริเนตติ (Filippo Tommaso Emilio Marinetti) (22 ธันวาคม 1876 – 2 ธันวาคม 1944) เป็นนักเขียนและกวีชาวอิตาลี เขาเป็นที่จดจำในฐานะผู้ก่อตั้งกลุ่มเคลื่อนไหวทางศิลปะในกระแสฟิวเจอริสม์ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยการเคลื่อนไหวดังกล่าวเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศอิตาลี มาริเนตติ ได้รับการศึกษาจากนักบวชคณะเยซูอิตในอะเล็กซานเดรีย ก่อนที่จะย้ายมาศึกษาวิชากฎหมายที่ปารีส ในปี 1893 และสำเร็จการศึกษาในปี 1899 อย่างไรก็ตาม มาริเนตติตัดสินใจที่จะเป็นนักเขียนแทนที่จะเป็นทนายความ โดยงานเขียนของเขานั้นมีอิทธิพลต่อความคิดของศิลปินอิตาลีในช่วงเวลานั้นเป็นอย่างมาก และเขายังเป็นหนึ่งในผู้ที่ให้การสนับสนุนพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) ของเบนิโต มุสโสลินีอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟีลิปโป ตอมมาโซ มารีเนตตี · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์

ฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์ มีชื่อจริงว่า สุรศักดิ์ มะกอแด เกิดที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชาวไทยภูเขาเชื้อสายกะเหรี่ยง ฟ้าใส เป็นนักมวยหมัดหนัก แต่มีจุดอ่อนคือ ออกหมัดช้า เคยติดอันดับรองแชมป์โลกอันดับ 3 มีโอกาสขึ้นชกกับมาร์ติน ออนอริโอ รองอันดับ 4 ชาวฟิลิปปินส์ เพื่อหาผู้ชนะไปชิงแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์ไลต์เวต สหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) ภาคบังคับกับฮวน คาร์ลอส ซัลกาโด (เจ้าของตำแหน่งชาวเม็กซิกัน ณ เวลานั้น) เมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 ผลปรากฏว่าฟ้าใสเป็นฝ่ายแพ้คะแนนลงมาอย่างไม่เป็นเอกฉันท์ 2-1 เสียง ทำให้พลาดโอกาสชิงแชมป์โลกไปอย่างน่าเสียดาย ถึงแม้ต่อมา ฟ้าใสจะไม่เคยชิงหรือป้องกันแชมป์ย่อยของสถาบัน IBF อีกเลย และยังเบนเข็มไปชิงแชมป์ย่อยสถาบันสภามวยโลก (WBC) อีก แต่กลับไม่หลุดไปจากอันดับของ IBF มิหนำซ้ำอันดับกลับขยับขึ้นจากอันดับ 9 ขึ้นมาอยู่อันดับ 5 อีก ต่อมา ฟ้าใสยังได้รับโอกาสอีกครั้งเมื่อได้พบกับ แรนเซส บาร์เตเลมี รองแชมป์อันดับ 2 ชาวคิวบา ในวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 (ตรงกับเช้าวันเสาร์ 22 มิถุนายน ตามเวลาในประเทศไทย) ที่สังเวียนมวยคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองมินนิแอโปลิส รัฐมินนิโซตา สหรัฐอเมริกา โดยผู้ชนะจะขึ้นเป็๋นรองแชมป์โลกอันดับ 1 เพื่อรอชิงแชมป์โลกในภาคบังคับกับ อาร์เกนิส เมนเดซ แชมป์โลกชาวโดมินิกันต่อไป ผลการชกปรากฏว่า ฟ้าใสเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปเพียงยกที่ 2 เท่านั้นเมื่อเป็นฝ่ายโดนหมัดตัดลำตัวเข้าที่ชายโครง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฟ้าใส ศักดิ์กรีรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1781

ทธศักราช 1781 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1238.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 1781 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2341

ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2341 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2342 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2425 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย ทองบุราณ

รือเอก พรชัย ทองบุราณ (ชื่อเล่น: หมี, อู๊ด; เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 ที่อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี เป็นอดีตนักมวยสากลสมัครเล่นเหรียญทองแดงทีมชาติไทย ในการชกโอลิมปิก 2000 ที่เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพรชัย ทองบุราณ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแวร์ซาย

ระราชวังแวร์ซาย (Château de Versailles) เป็นพระราชวังหลวงแห่งหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ที่แวร์ซาย ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกรุงปารีส พระราชวังแวร์ซายเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยงามแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระราชวังแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชินีแห่งชีบา

''พระราชินีแห่งชีบา'' ภาพช่วงศตวรรษที่ 15 พระราชินีแห่งชีบา (ملكة سبأ, กีเอซ: ንግሥተ ሳባ, 'מלכת שבא) เป็นพระราชินีนาถที่ปรากฏในพระคัมภีร์ไบเบิลที่ว่านางได้เสด็จไปเข้าเฝ้ากษัตริย์ซาโลมอน ซึ่งเรื่องดังกล่าวได้แพร่หลายในหมู่ชาวยิว, อาหรับ และเอธิโอเปีย และกลายเป็นตำนานที่แพร่หลายที่สุดเรื่องหนึ่งของโลกตะวันออก ตามคติชนยิวว่า พระราชินีแห่งชีบาปกครองอียิปต์และเอธิโอเปียสลับกัน บ้างก็ว่าเป็นกษัตริย์บุรุษเพศปกครองอาณาจักรชีบาแถบอาระเบียใต้ (ปัจจุบันคือบริเวณประเทศเยเมน) ในคติชนเอธิโอเปียว่า พระราชินีแห่งชีบาทรงมีสัมพันธ์สวาทกับกษัตริย์ซาโลมอน ดังปรากฏใน เกแบรแนแกสต์ (กีเอซ: ክብረ ነገሥት) อันเป็นวรรณกรรมของเอธิโอเปีย กล่าวถึงผลจากความสัมพันธ์ดังกล่าวทำให้นางตั้งพระหน่อประสูติกาลเป็นจักรพรรดิเมเนลิกที่ 1 จักรพรรดิพระองค์แรกแห่งเอธิโอเปี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระราชินีแห่งชีบา · ดูเพิ่มเติม »

พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์

แผนที่แสดงเขตพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์เป็นสีแดง เขต พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) ที่รู้จักกันโดยเป็นอู่อารยธรรม เป็นบริเวณรูปจันทร์เสี้ยวที่รวมแผ่นดินที่ชื้นและอุดมสมบูรณ์โดยเทียบกับบริเวณข้างเคียงในเอเชียตะวันตกที่เป็นเขตกึ่งแห้งแล้ง และรวมบริเวณรอบ ๆ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำและลุ่มแม่น้ำไนล์ เป็นบริเวณอยู่ติดกับเขตเอเชียน้อยหรือที่เรียกว่าอานาโตเลีย คำนี้เริ่มใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์โบราณ แล้วต่อมาจึงกลายมาเป็นคำที่นิยมใช้ในโลกตะวันตกแม้ในสาขาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขตเมโสโปเตเมีย คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีส และรวมเขตลิแวนต์ คือฝั่งทิศตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันที่มีดินแดนร่วมอยู่ในเขตนี้รวมทั้งประเทศอิรัก คูเวต ซีเรีย เลบานอน จอร์แดน อิสราเอล และปาเลสไตน์ โดยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศตุรกีและทางทิศตะวันตกของอิหร่าน เขตนี้บ่อยครั้งเรียกว่าอู่อารยธรรม (cradle of civilization) เพราะเป็นเขตที่เกิดพัฒนาการเป็นอารยธรรมมนุษย์แรก ๆ สุด ซึ่งเจริญรุ่งเรืองโดยอาศัยทรัพยากรน้ำและเกษตรกรรมที่มีอยู่ในเขต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในเขตนี้รวมทั้งการพัฒนาภาษาเขียน การทำแก้ว ล้อ และระบบชลประทาน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ)

ระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑโฒ)อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์ อดีตเจ้าอาวาสวัดแสงบูรพา ตำบลสวาย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ และเป็นอดีตเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์-กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ รูปสุดท้าย กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ได้รับการยกฐานะให้เป็นอำเภอเขวาสินรินทร์ ก็มีการกำหนดเขตปกครองคณะสงฆ์ในระดับอำเภอใหม่ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ) · ดูเพิ่มเติม »

พระคัมภีร์คนยาก

หน้าต่าง “พระคัมภีร์คนยาก” ที่ มหาวิหารแคนเทอร์เบอรีจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่อาจจะสร้างจากชิ้นส่วนของบานหน้าต่างเดิมสองบาน รายละเอียดจากหน้าต่างสองหน้าต่างจากมหาวิหารแคนเทอร์เบอรีที่เป็นเรื่องสองเรื่องที่ต่างกัน แต่ตัวแบบสองตัวในภาพทางด้านซ้ายเป็นตัวเดียวกัน และเสา โต๊ะ เชิงเทียน และหนังสือ ภาพซ้ายสร้างในสมัยกลาง และภาพขวาในสมัยวิกตอเรีย พระคัมภีร์คนยาก (Poor Man's Bible) คำว่า “พระคัมภีร์คนยาก” ในปัจจุบันหมายถึงงานศิลปะภายในคริสต์ศาสนสถานที่อาจจะเป็นงานชิ้นเดียวหรืองานชุดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนสาระของคัมภีร์ไบเบิลต่อประชากรส่วนใหญ่ที่ไร้การศึกษา ศิลปะ “พระคัมภีร์คนยาก” อาจจะเป็นงานประติมากรรม งานแกะสลัก จิตรกรรม งานโมเสก หรือหน้าต่างประดับกระจกสี ในโบสถ์บางแห่งหน้าต่างบานเดียวก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “พระคัมภีร์คนยาก” ขณะที่ในโบสถ์อื่นทั้งโบสถ์อาจจะตกแต่งด้วยบทบรรยายพระคัมภีร์ไบเบิลอันซับซ้อนภายใต้หัวใจของเรื่องที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระคัมภีร์คนยาก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบอลดวินที่ 1 แห่งเยรูซาเลม

มเด็จพระเจ้าบอลวินด์ที่ 1 แห่งเยรูซาเลม เดิม บอลวินด์ที่ 1 เคานท์แห่งเอเดสสา เมื่อประสูติ บอลวินด์แห่งบูลอญ (Baldwin I of Jerusalem หรือ Baldwin I of Edessa) (ราว ค.ศ. 1058 - 2 เมษายน ค.ศ. 1118) ทรงเป็นเคานท์แห่งเอเดสสาคนแรกมาก่อนที่จะขึ้นครองราชย์เป็นประมุของค์ที่สองแห่งราชอาณาจักรเยรูซาเลม แต่เป็นองค์แรกที่มีตำแหน่งเป็นพระมหากษัตริย์ บอลวินด์เป็นพระอนุชาของกอดฟรีย์แห่งบูลิยอง ผู้เป็นประมุขคนแรกของราชอาณาจักรเยรูซาเลม แต่ไม่ได้มีตำแหน่งเป็นกษัตริย์ บอลวินด์ครองเยรูซาเลมระหว่างวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1100 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1118 บอลวินด์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ราว ค.ศ. 1058 เป็นพระราชโอรสของยูสตัซที่ 2 เคานต์แห่งบูลอญ และไอดาแห่งลอร์แรน (บุตรีของกอดฟรีย์ที่ 3 ดยุคแห่งโลเวอร์ลอร์แรนและโดดา) ทรงเป็นผู้นำคนหนึ่งผู้มีบทบาทในสงครามครูเสดครั้งที่ 1.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าบอลดวินที่ 1 แห่งเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก

ระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก (الملك فيصل الثان, Al-Malik Fayṣal Ath-thānī) พระนามเต็ม อัลมะลิก ฟัยศ็อล อัษษานี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์อิรัก ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فؤاد الأول‎) (26 มีนาคม ค.ศ. 1868-28 เมษายน ค.ศ. 1936) สุลต่านและกษัตริย์อียิปต์และซูดาน, องค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ พระองค์เป็นกษัตริย์องค์ที่เก้าแห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์เป็นสุลต่านแห่งอียิปต์และซูดานเมื่อ ค.ศ. 1917 โดยครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ คือ สุลต่านฮุสเซน คามิล โดยพระองค์ตั้งตนเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของอียิปต์ หลังจากพ้นจากการปกครองของสหราชอาณาจักร เมื่อ ค.ศ. 1922.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส (อังกฤษ: Emmanuel II; 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและแอลการ์ฟพระองค์สุดท้าย ทรงมีพระราชสมัญญานามว่า "ผู้รักชาติ" (the Patriot; โปรตุเกส: o Patriota) หรือพระนามว่า "ผู้เคราะห์ร้าย" (the Unfortunate; โปรตุเกส: o Desventurado) ทรงสืบราชบัลลังก์หลังจากเกิดเหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์พระเจ้าคาร์ลอสที่ 1 แห่งโปรตุเกส ผู้เป็นพระราชบิดาและเจ้าชายลูอิส ฟิลิเป รัชทายาทแห่งโปรตุเกส ผู้เป็นพระเชษฐา ก่อนที่จะทรงสืบราชบัลลังก์พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ "ดยุกแห่งเบฌา" รัชสมัยของพระองค์สิ้นสุดลงด้วยการล้มล้างราชาธิปไตยจากเหตุการณ์การปฏิวัติ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2453 และพระเจ้ามานูเอลทรงดำรงพระชนม์ชีพอย่างสงบในระหว่างทรงถูกเนรเทศโดยสาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย

มเด็จพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย (إدريس الأول), (พระนามเดิม: ซัยยิด มุฮัมมัด อิดริส บิน มุฮัมมัด อัลมะห์ดี อัสเซนุสซียะห์; Sayyid Muhammad Idris bin Muhammad al-Mahdi as-Senussi), 12 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

ระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย (Kalākaua) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาคาอัว (David Laamea Kamanakapuu Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์คาลาคาอัวและถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย

มเด็จพระเจ้าซ็อกที่ 1 สคันเดอร์เบ็กที่ 3 แห่งแอลเบเนีย (Zog I, Skanderbeg III) พระนามเดิม อาเหม็ด มุห์ตา เบย์ โซโกลลี ภายหลังเปลี่ยนเป็น อาเหม็ด โซกู (8 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 9 เมษายน พ.ศ. 2504) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งแอลเบเนียตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2482 ก่อนหน้านั้นพระองค์ทรงเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2465 - 2467) และประธานาธิบดีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2468 - 2471).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4

มเด็จพระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4 (His Royal Highness Omukama Oyo Nyimba Kabamba Iguru Rukidi IV) พระบรมราชสมภพในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2535 หลังจากนั้น 3 ปีต่อมา ในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2538 ทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรโตโร ในประเทศยูกันดา (โอมูกามา) ทำให้พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระชนมพรรษาน้อยที่สุดในโลก ตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป พระองค์จะมีพระราชอำนาจทางราชการงานเมือง ปกครองประชาชนชาวโตโรอย่างสมบูรณ์ ซึ่งผ่านต่อมาจากสมเด็จพระราชินีนาถเบสต์ ผู้เป็นพระราชมารดาที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ โดยมีพิธีนี้ได้มีการจัดงานฉลองขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ถึง 4 วัน 4 คืนติดต่อกัน ที่พระราชวังบนเขาของพระองค์ในเมืองฟอร์ต พอร์ทอล ซึ่งเป็นเมืองหลวงของโตโร โดยมีผู้นำจากมิตรประเทศหลายชาติร่วมเป็นสักขีพยานในครั้งนี้ อาทิ โตกเบ อาเฟเดที่ 14 ทำหน้าที่เป็นประธานในพิธี และมีสักขีพยานคือ 4 ผู้นำจากสาธารณรัฐกานา, มามา อักบลาตสุที่ 3 ราชินีแห่งโฮ บันโค, ชิยิเว มันต์ฟอมบี ราชินีแห่งเผ่าซูลูในแอฟริกาใต้ในพระนามของกษัตริย์สวาติแห่งสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีบรรดาผู้แทนจากสาธารณรัฐเบนิน โกตดิวัวร์ คองโก มาลี มอริเตเนีย ซิมบับเว และอียิปต์ เข้าร่วมเป็นสักขีพยานอีกเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพระเจ้าโอมูกามาโอโย อึนยิมบา กาบามบา อิกูรู รูกิดีที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พอร์ตซาอิด

อร์ตซาอิด (Port Said) หรือ บูรซะอีด (بورسعيد) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางเหนือ-ตะวันออกของประเทศอียิปต์ เป็นเมืองท่าชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ที่ปลายเหนือสุดของคลองสุเอซ มีประชากรราว 603,787 คน (ค.ศ. 2010) เมืองนี้ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพอร์ตซาอิด · ดูเพิ่มเติม »

พะยูน

ูน เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่ง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดเดียวที่เป็นสัตว์น้ำ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเลเขตอบอุ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dugong dugon อยู่ในอันดับพะยูน (Sirenia).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพะยูน · ดูเพิ่มเติม »

พัก ซองฮยอน

ัก ซองฮยอน (박성현; Park Sung-Hyun) เกิดวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1983 ที่คุนซัน จังหวัดจ็อลลาเหนือ เป็นนักยิงธนูแชมป์โลกจากประเทศเกาหลีใต้ เธอเป็นผู้ครองสถิติโลกในระยะ 70 ม.ในรอบการแข่งยิงธนูที่ 72 ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่กรุงเอเธนส์ และได้รับรางวัลเหรียญทองร่วมกับทีมของเธอทั้งในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 และ 2008 ซึ่งเธอได้รับการบันทึกสถิติโลกในรอบ FITA ด้วยคะแนน 1,405 แต้ม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพัก ซองฮยอน · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิไททัน

ราไลไททัน (แปลว่า “ยักษ์ใหญ่แห่งลุ่มน้ำ”) เป็นซอโรพอด สกุลไททันโนซอร์ พบในประเทศอียิปต์ อาศัยอยู่ในปลายยุคครีเตเชียส ประมาณ 99.6 – 93.5 ล้านปีก่อนมันมีขนาดใหญ่ที่สุดในซอร์โรพอดแอฟริกาจนสตรูตามธรรมชาติน้อยมากเห็นคงจะมีแค่ คาร์ชาโรดอนโทซอรัส หรือซาร์โคซูคัส ความสูงของมันมีขนาดพอๆกับตึก 15 ชั้นมันยังปรากฏใน Planet Dinosaur ตอน Giant Dinosaur.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพาราลิไททัน · ดูเพิ่มเติม »

พาวเวอร์เรนเจอร์ ออปเปรชั่น โอเวอร์ไดรฟ์

วเวอร์เรนเจอร์ ออปเปรชั่น โอเวอร์ไดรฟ์ (Power ranger Operation Overdrive) ออกฉายเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 จนถึงวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 มีจำนวนตอน 32 ตอน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพาวเวอร์เรนเจอร์ ออปเปรชั่น โอเวอร์ไดรฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

พาไพรัส (กระดาษ)

ต้นกก กระดาษพาไพรัส (Papyrus) เป็นกระดาษทำจากลำต้นกกอียิปต์ (พาไพรัส) ซึ่งเป็นกกชนิดหนึ่ง และเป็นที่มาของ "paper" ซึ่งแปลว่ากระดาษ กระดาษพาไพรัสยืดหยุ่นและคงต่อสภาพอากาศอันแห้งแล้งของอียิปต์ได้ดี กระดาษพาไพรัสทำโดยการเฉือนต้นพาไพรัสบาง ๆ ตามแนวยาวแล้วนำไปตากแดด นำลำเลียงของลำต้นจะทำให้เยื่อไม้ติดกันเป็นแผ่น ส่วนขนาดก็จะขึ้นอยู่กับจำนวนแผ่นของลำต้น เมื่อแสร็จแล้วก็ม้วนเก็บไว้ได้ พ หมวดหมู่:อียิปต์โบราณ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพาไพรัส (กระดาษ) · ดูเพิ่มเติม »

พิมล แจ่มจรัส

มล แจ่มจรัส (เกิด พ.ศ. 2477 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก กรรมการผู้ตัดสินรางวัลซีไรต์ เป็นนักเขียน นักแปล ผลงานด้านประวัติศาสตร์ และเรื่องราวในราชสำนักไทย เจ้าของนามปากกา "พิมาน แจ่มจรัส" และ "แคน สังคีต" พิมล แจ่มจรัส เกิดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://matichon.co.th/news-photo/khaosod/2007/06/03col18180650.txt เคยใช้ชีวิตเป็นครูสอนภาษาไทย เป็นอาจารย์สอนวิชาการเขียน และแต่งตำราเกี่ยวกับการเขียนชื่อ "เขียน" และยังมีผลงานแปลเรื่อง รุไบยาต ของโอมาร์ คัยยาม และแปลผลงานของนากิ๊บ มาห์ฟูซ์ (Naguib Mahfuz) นักเขียนรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพิมล แจ่มจรัส · ดูเพิ่มเติม »

พิสตาชีโอ

ตาชีโอ (pistachio) เป็นถั่วชนิดหนึ่ง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับมะม่วงและมะม่วงหิมพานต์) มีต้นกำเนิดในอิหร่าน พบได้ในซีเรีย เลบานอน ตุรกี กรีซ คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน อินเดีย ปากีสถาน อียิปต์ เกาะซิซิลี และอาจจะมีในอัฟกานิสถาน (โดยเฉพาะในจังหวัดซะมันกานและบาดฆีส) เมล็ดมีเปลือกแข็ง รับประทานได้ มีวิตามินเอ เมล็ดสีเขียวมีคุณภาพดีกว่าเมล็ดสีอื่น ๆ มีเมล็ดของพืชในสกุลนี้ที่เรียกว่าพิสตาชีโอเช่นเดียวกับ P. vera แต่มีความแตกต่างกันที่บริเวณของการกระจายพันธุ์ในป่าและเมล็ดซึ่งเล็กกว่า มีกลิ่นและเปลือกนุ่มกว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพิสตาชีโอ · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดอียิปต์

หมู่พีระมิดแห่งกีซา พีระมิดในประเทศอียิปต์ เป็นหนึ่งในพีระมิดที่เป็นที่รู้จักโดยมีหลายแห่งในประเทศอียิปต์ เป็นสิ่งก่อสร้างของชาวอียิปต์โบราณสมัยก่อนยุคเหล็ก โดยเฉพาะ พีระมิดคูฟู ใน หมู่พีระมิดแห่งกิซ่า นับเป็นสิ่งก่อสร้าง ขนาดใหญ่ที่สุด ที่มนุษย์เคยสร้างขึ้นมา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางวิทยาการ ที่น่าอัศจรรย์ของอียิปต์โบราณ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพีระมิดอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดที่ไม่เสร็จแห่งอะบูศีร

ีระมิดที่ไม่เสร็จแห่งอะบูศีร คือที่ฝังพระศพของฟาโรห์เชปเซสคาเรแห่งอียิปต์โบราณซึ่งถูกทิ้งร้างหลังจากเริ่มก่อสร้างในราชวงศ์ที่ 5 อียิปต์โบราณซึ่งตั้งอยู่ในอะบูศีร ฟาโรห์เชปเซสคาเรเป็นกษัตริย์ฟาโรห์ทีี่คนส่วนมากไม่ค่อยรู้จัก แต่เป็นที่รู้จักจากรูปปั้นตราประทับที่ฝังพระศพของเนเฟอร์อิร์คาเร จนฟาโรห์เชปเซสคาเรได้รับการเสนอว่าเป็นผู้สร้างพีระม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพีระมิดที่ไม่เสร็จแห่งอะบูศีร · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดเตติ

ีระมิดเตติ เป็นพีรามิดแบบเรียบตั้งอยู่ในเขตพีระมิดซักการา เป็นที่รู้จักของพีรามิดของพระราชินีสองพระองค์โดยรู้จากทางดาวเทียม พีระมิดถูกเปิดโดยแกนสตอน แมสโปร์ ในปีค.ศ. 1882 เป็นการสำรวจที่ซับซ้อนเนื่องจากโครงสร้างของพีระมิดตั้งแต่ปีค.ศ. 1907 ถึง ค.ศ. 1965 ปัจจุบันสถานที่นี้เหมือนเนินเขาเล็ก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพีระมิดเตติ · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดเนเฟอร์อิร์คาเร

ีระมิดเนเฟอร์อิร์คาเร เป็นสุสานของราชวงศ์ที่ 5 ของอียิปต์โบราณที่สร้างไม่เสร็จซึ่งตั้งอยู่ในสุสานของอบิวเสีย ประเทศอียิปต์ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของฟาโรห์เนเฟอร์อิร์คาเร พีระมิดที่ยังไม่เสร็จกลายเป็นสถานที่ฝังศพของกษัตริย์ฟาโรห์เนเฟอร์อิร์คาเร แม้ผู้สืบทอดจะมีการปรับแต่งใหม่ให้สมบูรณ์แต่ก็ยากเพราะมีโครงสร้างที่ซับซ้อน พีระมิดแห่งนี้ถูกละเลยโดยนักโบราณคดีในสมัยก่อน การเจอพีระมิดครั้งแรกเจอโดยคาร์ล ริชาร์ด ผู้ซึ่งเรียกมันว่า Lepsius XXVI แต่การวิจัยเกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2517 โดยทีมมหาวิทยาลัยในประเทศเช็ก มีการเจอรูปปั้นประกอบด้วยข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับฟาโรห์เนเฟอร์อิร์คาเรพร้อมข้อความระยะสั้นว่า nTri bAw nfrf ra ("พระเจ้าเป็นอำนาจของเนเฟอร์อิร์คาเร") พีระมิดเนเฟอร์อิร์คาเรไกลที่สุดในทะเลทรายของพีระมิดแห่งอบิวเสียทั้งหมด เป็นพีระมิดที่มีขนาดเล็กที่สุดเป็นอันดับสองในประเทศอียิปต์รองจากจากพีระมิดแห่งเอนั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และพีระมิดเนเฟอร์อิร์คาเร · ดูเพิ่มเติม »

กกอียิปต์

กกอียิปต์ หรือ พาไพรัส (Egyptian papyrus)เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง ที่เติบโตในพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกกอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กระดาษ

กระดาษ กระดาษ เป็นวัสดุที่ผลิตขึ้นมาสำหรับการจดบันทึก มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เชื่อกันว่ามีการใช้กระดาษครั้งแรกๆ โดยชาวอียิปต์และชาวจีนโบราณ แต่กระดาษในยุคแรกๆ ล้วนผลิตขึ้นเพื่อการจดบันทึกด้วยกันทั้งสิ้น จึงกล่าวได้ว่าระบบการเขียนคือแรงผลักดันให้เกิดการผลิตกระดาษขึ้นในโลก ปัจจุบันกระดาษไม่ได้มีประโยชน์ในการใช้จดบันทึกตัวหนังสือ หรือข้อความ เท่านั้น ยังใช้ประโยชน์อื่นๆ ได้มากมาย เช่น กระดาษชำระ กระดาษห่อของขวัญ กระดาษลูกฟูกสำหรับทำกล่อง เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเคียปชัก

การแพร่กระจายของกลุ่มภาษาเคียปชัก กลุ่มภาษาเคียปชัก (Kypchak languages) หรือกลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นสาขาหลักของกลุ่มภาษาเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากกว่า 12 ล้านคน ในบริเวณตั้งแต่ลิธัวเนียถึงจีน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกลุ่มภาษาเคียปชัก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพมาเกโดเนียโบราณ

กองทัพของราชอาณาจักรมาเกโดนีอา นับเป็นหนึ่งในกองกำลังทางทหารที่แข็งแกร่งที่สุดในโลกยุคโบราณ กองทัพนี้ถูกพัฒนาขึ้นโดยพระเจ้าฟิลิปส์ที่ 2 แห่งมาเกโดเนีย จนมีขีดความสามารถในการสู้รบสูงและมีความคล่องตัวในการใช้งานหลายภูมิประเทศ พระเจ้าฟิลิปโปสคิดค้นนวัตกรรมในการสงครามหลายอย่าง แต่ที่สำคัญคือการสร้างกองกำลังทหารอาชีพประจำการ ซึ่งทำให้พระเจ้าฟิลิปโปสสามารถฝึกทหารของตนได้สม่ำเสมอ ทำให้ทหารมาเกดอนมีระเบียบวินัย สามารถเคลื่อนทัพและแปรขบวนรบได้โดยไม่แตกแถว ภายในระยะเวลาสั้นๆกองกำลังนี้ก็ถูกแปรสภาพกลายเป็นหนึ่งเครื่องจักรสงครามที่ทรงพลานุภาพที่สุดในโลกยุคโบราณ โดยสามารถพิชิตกองกำลังพันธมิตรกรีก และรวบรวมกรีซให้เป็นหนึ่งได้ภายใต้ผู้ปกครองคนเดียวเป็นครั้งแรก หลังจากนั้นก็สามารถพิชิตกองทัพของจักรวรรดิเปอร์เซีย และเป็นแบบอย่างที่กองทัพของราชวงศ์แอนติโกนีด จักรวรรดิเซลิวซิด และราชอาณาจักรทอเลมี ยึดถือร่วมกันในช่วงศตวรรษที่ 3 และ 2 ก่อนคริสตกาล การพัฒนาทางยุทธวิธีได้แก่ การปรับปรุงการใช้กระบวนทัพฟาลังซ์ของกรีก ซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนายพลอีพามินอนดัส (Epaminondas) แห่งธีบส์ และอิฟิเครตีส (Iphicrates) แห่งเอเธนส์ ฯ พระเจ้าฟิลิปโปสที่ ๒ รับมาใช้ ทั้งการตั้งขบวนฟาลังซ์แบบแถวลึกของเอปามินอนดัส และ นวัตกรรมของอิฟิเครตีสที่ริเริ่มใช้หอกที่ยาวขึ้นกับโล่ที่ขนาดเล็กและเบาลง โดยฟิลิปโปสปรับหอกให้ยาวขึ้นไปอีก จนกลายเป็นหอกยาวสิบแปดฟุตที่ต้องถือสองมือ เรียกว่าซาริสซา (Sarissa) ความยาวของซาริสซาทำให้พลทหารราบแถวฟาลังซ์มีความได้เปรียบทั้งในการโจมตี และตั้งรับ และเปลี่ยนโฉมหน้าการสงครามของกรีซ โดยทำให้กองทหารม้ากลายเป็นอาวุธชี้ขาดแพ้ชนะเป็นครั้งแรกในสมรภูมิ กองทัพของมาเกโดเนียฝึกการประสานการรบระหว่างหน่วยต่อสู้ประเภทต่างๆจนถึงขีดสมบูรณ์แบบ - ตัวอย่างของยุทธวิธีผสม (หรือการปฏิบัติการร่วมทางยุทธวิธี) ของกองทัพมาเกโดเนีย ประกอบไปด้วย พลทหารราบฟาลังซ์ติดอาวุธหนัก หน่วยทหารราบเข้าปะทะ พลธนู พลทหารม้าติดอาวุธหนักและเบา และอาวุธปิดล้อม ซึ่งแต่ละหน่วยจะใช้ความได้เปรียบของตนให้เหมาะสมกับสถาณการณ์ และสนับสนุนซึ่งกันและกัน กองทัพของมาเกโดเนียเป็นกองกำลังผสมหลายชาติ พระเจ้าฟิิลิปโปสรวบรวมกองกำลังทหารจากทั้งในมาเกโดเนีย และนครรัฐกรีกต่างๆ (โดยเฉพาะกองกำลังมหารม้าจากเทสซาลี) เข้าด้วยกัน โดยยังมีกองทหารรับจ้างจากทั่วหมู่เกาะอีเจียน และจากบอลข่านรวมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพด้วย พอถึงปีที่ ๓๓๘ ก่อน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกองทัพมาเกโดเนียโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์

กองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Palestinian Liberation Army) เป็นกองกำลังทางทหารขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกองทัพปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

กัฟรุชชัยค์

กัฟรุชชัยค์ หรือ กัฟรุชเชค (كفر الشيخ) เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการกัฟรุชชัยค์ ประเทศอียิปต์ ห่างจากกรุงไคโรไปทางทิศเหนือราว 134 กิโลเมตร บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ จากข้อมูลเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกัฟรุชชัยค์ · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาประชาธิปไตย

กัมพูชาประชาธิปไตย (កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Democratic Kampuchea) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกัมพูชาประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

กัสซะมัน

ลง "กัสซะมัน" (قَسَمًا, หมายถึง "ขอสาบาน") เป็นเพลงซึ่งได้รับการรับรองว่าเป็นเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรียภายหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2506 ไม่นานนัก คำร้องของเพลงนี้แต่งโดยมุฟดี ซาการีอะห์ (Mufdi Zakariah) นักกวีชาตินิยม เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2498 ระหว่างที่ถูกฝ่ายฝรั่งเศสคุมขังที่ห้องขังหมายเลข 69 เรือนจำบาร์แบร์รูส (Barberousse) กรุงแอลเจียร์ โดยใช้เลือดของตนเองเขียนคำร้องลงบนฝาผนังห้องขัง ส่วนทำนองเพลงเป็นผลงานการประพันธ์ของโมฮัมเม็ด เฟาซี (Mohamed Fawzi) นักดนตรีชาวอียิปต์ บทเพลงดังกล่าวนี้ได้มีการบรรเลงเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกัสซะมัน · ดูเพิ่มเติม »

กังหันลม

กังหันลมในเบลเยียม กังหันลม คือเครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่สามารถรับและแปลงพลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่ของลมให้เป็นพลังงานกลได้ และนำพลังงานกลมาใช้เพื่อสูบน้ำโดยตรงหรือผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า การพัฒนากังหันลมเพื่อนำมาใช้ประโยชน์เริ่มมีมาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณจนถึงยุคปัจจุบัน โดยการออกแบบกังหันลมต้องอาศัยความรู้ทางด้านพลศาสตร์ของลมและหลักวิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่าง ๆ เพื่อให้ได้กำลังงาน พลังงาน และประสิทธิภาพสูงสุด ชื่อในภาษาอังกฤษของกังหันลมได้แก่ wind turbine, wind generator, wind power unit (WPU), wind energy converter ซึ่งจะแตกต่างกับกังหันลมยุคเก่าที่ใช้คำว่า windmill.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกังหันลม · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2548

อห์น โรเบิร์ต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกันยายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กายภาพบำบัด

กายภาพบำบัด (physical therapy หรือ physiotherapy) เป็นวิชาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน รักษา และจัดการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวที่ผิดปรกติ ที่เกิดขึ้นจากสภาพและภาวะของโรค ที่เกิดขึ้นในทุกช่วงของชีวิต กายภาพบำบัด จะกระทำโดย นักกายกายภาพบำบัด (Physical therapist หรือ Physiotherapist หรือย่อว่า PT) หรือผู้ช่วยนักกายภาพบำบัด (Physical Therapy Assistant) ภายใต้การดูแลและแนวทางของนักกายภาพบำบัด อย่างไรก็ตาม ได้มีการใช้การรักษาทางกายภาพบำบัดบางอย่างโดยผู้ประกอบวิชาชีพสุขภาพอื่นๆ เช่น ไคโรแพรคเตอร์, แพทย์ทางด้านการจัดกระดูก และโปรแกรมการรักษาทางกายภาพบำบัด ยังเกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการสาธารณสุขอื่นๆอีกด้วย นักกายภาพบำบัด จะใช้ประวัติทางการรักษา และข้อมูลจากการตรวจร่างกาย เพื่อประกอบการให้การบำบัด ถ้าหากว่าจำเป็น นักกายภาพบำบัดอาจจะใช้ผลจากห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และการศึกษาภาพถ่ายทางรังสี ประกอบการบำบัดรักษาด้วย เป็นต้น นักกายภาพบำบัด ปฏิบัติงานในหลายลักษณะงาน เช่น ในส่วนของผู้ป่วยนอก คลินิค หรือสำนักงาน, แผนกผู้ป่วยใน เกี่ยวกับเวชกรรมฟื้นฟู, ผู้ป่วยที่ทำการฟื้นฟูอยู่บ้าน, วงการการศึกษา หรือศูนย์วิจัย, โรงเรียน, สถานพักฟื้น,โรงงานอุตสาหกรรม,ศูนย์ฟิตเนส และ สถานการฝึกสอนนักกีฬา แพทย์อย่างเช่น ฮิปโปกราเตส และ เฮกเตอร์ เป็นผู้ที่ซึ่งเชื่อว่า เป็นบุคคลกลุ่มแรกที่ริเริ่มการรักษาทางกายภาพบำบัดในสมัยโบราณ ได้นำการรักษาโดยการนวดและการทำธาราบำบัด มาใช้รักษาผู้ป่วย ตั้งแต่ 460 ปีก่อนคริสตกาล หลักฐานในสมัยแรกสุดที่ถูกบันทึกไว้เกี่ยวกับกายภาพบำบัดจัดว่า กายภาพบำบัด คือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เมื่อย้อนไปในปี 1894 เมื่อพยาบาลสี่คนในอังกฤษ รวมตัวกันเพื่อจัดตั้ง ชมรมผู้ประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด ประเทศอื่นๆ ก็ได้ดำเนินการเช่นกันและเริ่มมีการทำหลักสูตรการสอนที่เป็นระบบ เช่นเมื่อปี 1913 ได้มีโรงเรียนกายภาพบำบัด ที่มหาวิทยาลัยโอทาโก ในนิวซีแลนด์, และในสหรัฐอเมริกา ในปี 1914 ที่ Reed College ในพอร์ทแลนด์ รัฐ ออริกอน งานวิจัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพบำบัด งานวิจัยทางกายภาพบำบัดฉบับแรก ถูกตีพิมพ์ในสหรัฐอเมริกา เมื่อ เดือนมีนาคม ปี 1921 ใน The PT Review ในปีเดียวกันนั้น แมรี่ แมคมิลลาน ได้ก่อตั้ง สมาคมกายภาพบำบัด (ปัจจุบันคือ สมาคมกายภาพบำบัดแห่งสหรัฐอเมริกา หรือ APTA) ในปี 1924 มูลนิธิ Georgia Warm Spring ได้สนับสนุนองค์กรนี้ โดยกล่าวว่า กายภาพบำบัดคือการรักษาสำหรับโรคโปลิโอ การรักษา ในช่วงทศวรรษที่ 1940 มีหลักที่ประกอบไปด้วย การออกกำลัง การนวด และการดึง ในช่วงต้นของทศวรรษที่ 1950 วิธีการใช้มือกดหรือทำการเคลื่อนไหวโดยตรง (Manipulation) ลงบนกระดูกสันหลัง และข้อต่อของกระดูกระยางค์ ได้ถูกนำมาใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเทศเครือจักรภพอังกฤษ ในช่วง 10 ปีหลังจากนั้น นักกายภาพบำบัด ได้เริ่มมีบทบาทในโรงพยาบาล สำหรับผู้ป่วยนอก ในส่วนของคลินิคผู้ป่วยทางออโธปิดิกส์, โรงเรียนรัฐบาล, วิทยาลัย/มหาวิทยาลัย, การดูแลผู้สูงวัย, ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู, โรงพยาบาล, และศูนย์การแพทย์ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านสำหรับกายภาพบำบัดในสหรัฐอเมริกา เริ่มขึ้นในปี 1974 ในสาขาของ ออร์โธปิดิกส์ หน่วยงานใน APTA ก็ได้รวมตัวเพื่อนักกายภาพบำบัดที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่อง ออร์โธปิดิกส์ ในปีเดียวกัน ได้เกิด สหพันธ์ออร์โธปิดิกส์หัตถการนานาชาติ (the International Federation of Orthopedic Manipulative Therapy) ซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับ หัตถการขั้นสูงนับตั้งแต่นั้นมา ในช่วงทศวรรษที่ 1980 เกิดการตื่นตัวทางทางด้านเทคโนโลยีและ คอมพิวเตอร์ ทำให้มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยต่างๆมากขึ้นสำหรับการฟื้นฟูสมรรถภาพ จากผลของความก้าวหน้านี้ ก่อให้เกิดเครื่องมือการรักษาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ยกตัวอย่างเช่น เครื่องกำเนิดคลื่นเหนือเสียง หรือ Ultrasound, เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า, เครื่องผลักประจุไฟฟ้า iontophoresis, และล่าสุดคือ การรักษาด้วยเลเซอร์เย็น ซึ่งผ่านการรับรองโดยองค์การอาหารและยา ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 2002 ปัจจุบันในประเทศไทย นักกายภาพบำบัดสามารถใช้คำนำหน้านามว่า ก. นำหน้าชื่อสกุลได้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกายภาพบำบัด · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองอียิปต์ของอิตาลี

การรุกรานอียิปต์ของอิตาลี เป็นการรุกรานที่ของราชอาณาจักรอิตาลีต่อดินแดนอียิปต์ของสหราชอาณาจักรและฝ่ายสัมพันธมิตร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการบุกครองอียิปต์ของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลี

การยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลี เป็นยุทธการในแหลมแอฟริกา ซึ่งเกิดขึ้นในฤดูร้อนปี ค.ศ. 1940 ระหว่างกองกำลังของราชอาณาจักรอิตาลีกับสหราชอาณาจักรและกองทัพเครือจักรภพแห่งชาติ การรบที่เกิดขึ้นครั้งนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของการทัพแอฟริกาตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการยึดครองบริติชโซมาลิแลนด์ของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นการระบาดทั่วโลกของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1 สายพันธุ์ใหม่ หรือโดยทั่วไปมักเรียกว่า "ไข้หวัดหมู" เริ่มพบการระบาดตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโดมินิกันในกรุงโบโกตา พ.ศ. 2523

การล้อมสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโดมินิกันในกรุงโบโกตา ประเทศโคลอมเบีย เริ่มขึ้นเมื่อช่วงเที่ยงของวันที่ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการล้อมสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโดมินิกันในกรุงโบโกตา พ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจแอฟริกาก่อนคริสตกาล

การสำรวจ ขุดค้นเมืองนาปาตาซึ่งเป็นมืองหลวงของนิวเบีย ในสมัยโบราณนั้น ชาวอียิปต์ โดยสำรวจไปตามแม่น้ำไนล์ ในครั้งนั้นจักรวรรดิ มีอาณาเขตกว้างใหญ่มาก มีทิศใต้จรดนิวเบีย การเดินทางเพื่อการสำรวจทางทะเลเริ่มขึ้นในสมัยราชวงศ์ต้น ๆ ของอียิปต์ ในปี 2750 ปี ก่อนคริสตกาล อียิปต์ได้ส่งกองเรือไปจนถึงดินแดนพันท์ เพื่อนำเอาทองคำ งาช้าง ไม้มะเกลือ และยางไม้หอม 1100 ปี ก่อนคริสตกาล จักรวรรดิมีอำนาจมากสามารถรวบรวมเอาดินแดนกุช มาได้ ในครั้งนั้นได้มีการสำรวจกันอีกครั้งโดยมุ่งตรงมาที่นาปาตา ซึ่งเป็นเมืองหลวงของนิวเบีย แต่เมื่อถึง 725 ปีก่อนคริสตกาล พระเจ้าไพแองไฮ ได้ประกาศอิสรภาพให้ดินแดนกุชและนำกองทัพเข้าพิชิตอียิปต์ 70 ปีต่อมา กองทัพของแอสมิเชียนได้เช้าโจมตีอียิปต์ เป็นเหตุให้ชาวกุชหนีเข้าไปอยู่ภายในทวีปและขยายดินแดนไปในทวีปแอฟริกา พวกฟินิเซียนซึ่งป็นชาวเรือที่มีความสามารถ ไดสร้างนครคาเทจขึ้น และสำรวจทวีปแอฟริกาโดยเลาะไปตามชายฝั่ง เพื่อจะแสวงหาสินค้าแปลก ๆ พวกฟินิเซียนได้ติดต่อกับแอฟริกาตะวันตกบ้างโดยอาศัยพวกนูเมเดียน อีกทั้งยังเคยไปดินแดนพันท์ เช่นเดียวกับอียิปต์ ในปี 600 ปีก่อนคริสตกาล อียิปต์ได้เคยส่งกองเรืออ้อมทวีปแอฟริกาตั้งแต่ตะวันออกถึงตะวันตกมาแล้วโดยใช้เวลาทั้งหมด 3 ปี ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการสำรวจแอฟริกาก่อนคริสตกาล · ดูเพิ่มเติม »

การทัพทะเลทรายตะวันตก

การทัพทะเลทรายตะวันตก (สงครามทะเลทราย),เกิดขึ้นในทะเลทรายของอียิปต์และลิเบียและเป็นส่วนหลักของการทัพแอฟริกาเหนือในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.การทัพได้เริ่มขึ้นเมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการทัพทะเลทรายตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การทัพแอฟริกาเหนือ

การทัพแอฟริกาเหนือ (North African Campaign) ใน สงครามโลกครั้งที่สอง เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ถึง 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1943 ในทะเลทรายแถบแอฟริกาเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ทะเลทรายของประเทศลิเบีย อียิปต์ (การรบในทะเลทรายตะวันตก หรือที่รู้จักกันในชื่อ"สงครามทะเลทราย") และในประเทศแอลจีเรีย โมร็อกโก (ปฏิบัติการคบเพลิง) และตูนิเซีย(การทัพตูนิเซีย) เป็นการรบระหว่างฝ่ายอักษะ นำโดยนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิอิตาลี กับฝ่ายสัมพันธมิตร นำโดยสหราชอาณาจักรและประเทศในเครือจักรภพ ในช่วงแรก จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งแต่ ค.ศ. 1941 และร่วมรบในแอฟริกาเหนืออย่างเต็มตัวตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1942.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการทัพแอฟริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก 2020 และพาราลิมปิก 2020 มีเมื่องที่เสนอตัวเป็นเจ้าภาพทั้งหมด 6 เมือง ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 · ดูเพิ่มเติม »

การค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย

“เส้นทางการค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย” ตาม “บันทึกเส้นทางการเดินเรือในทะเลอีริทเธรียน” จากคริสต์ศตวรรษที่ 1 การค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย (Roman trade with India) เป็นการติดต่อค้าขายโดยการขนส่งสินค้าข้ามอานาโตเลียและเปอร์เซียที่พอจะมีบ้างเมื่อเทียบกับเวลาต่อมาที่ใช้เส้นทางสายใต้ผ่านทางทะเลแดงโดยการใช้ลมมรสุม การค้าขายเริ่มขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 1 หลังจากรัชสมัยของออกัสตัสเมื่อโรมันพิชิตอียิปต์ได้จากราชวงศ์ทอเลมีShaw, Ian (2003).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36

การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36 จัดขึ้นในฮันท์วิลล์ รัฐออนแทริโอAndreatta, David.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมไคโร

การประชุมไคโร (รหัสนามว่า เซ็กทันท์; sextant) เมื่อวันที่ 22–26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการประชุมไคโร · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

นายช่างโบฮีเมีย ราวปี ค.ศ. 1350 แสดงให้เห็นอิทธิพลของไบเซนไทน์แบบอิตาลีในราชสำนักของจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ การประสูติของพระเยซู (Nativity หรือ Nativity of Jesus) เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งในศิลปะศาสนาคริสต์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 องค์ประกอบของศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันคริสต์มาสตามข้อมูลในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกา และต่อมาก็มีการเพิ่มเรื่องราวจากข้อเขียนอื่น ๆ หรือเรื่องเล่าต่างๆ ศิลปะคริสต์ศาสนามักจะมีรูปเคารพของพระนางมารีย์พรหมจารีและพระกุมารเยซู งานศิลปะแบบนี้จะเรียกว่า “แม่พระและพระกุมาร” หรือ “พระนางพรหมจารีและพระกุมาร” แต่รูปนี้จะไม่รวมอยู่ในชุด “การประสูติของพระเยซู” ฉากการประสูติของพระเยซูจะมีคำบรรยายอย่างชัดเจนจากหลักฐานหลายแห่ง การกำเนิดของพระเยซูเป็นฉากที่ใช้ในการสร้างศิลปะหลายแบบทั้งทางจักษุศิลป์และประติมากรรม และศิลปะแบบอื่นๆ ในรูปของจักษุศิลป์ก็อาจจะเป็น ไอคอน, จิตรกรรมฝาผนัง, บานพับภาพ, ภาพเขียนสีน้ำมัน, หนังสือวิจิตร และ หน้าต่างประดับกระจกสี บางครั้งการแสดงภาพก็อาจจะผสมระหว่างจักษุศิลป์และประติมากรรม ที่ตั้งของภาพหรืองานศิลปะก็อาจจะเป็น ฉากประดับแท่นบูชา (Altarpiece) ศิลปะแบบอื่นๆ ก็อาจจะเป็นจุลจิตรกรรม งานแกะงาช้าง การแกะภาพบนโลงหิน การสลักบนหน้าบันเหนือประตูทางเข้าโบสถ์ หรือคานเหนือประตู หรืออาจจะเป็นรูปปั้นแบบลอยตัว รูปปั้นแบบลอยตัวของ “การประสูติของพระเยซู” มักจะทำเป็น “Creche” หรือ “Presepe” ซึ่งเรียกว่า “ฉากพระเยซูประสูติ” (Nativity scene) ซึ่งอาจจะใช้ตั้งตรงมุมใดมุมหนึ่งของโบสถ์ หน้าหรือในสถานที่สาธารณะ, บ้าน หรือกลางแจ้งเป็นการชั่วคราว ขนาดของกลุ่มรูปปั้นก็มีตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ไปจนขนาดเท่าคนจริง ที่มาของการสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” อาจจะมาจากการแสดงกลุ่มรูปปั้น ที่เรียกว่า “Tableau vivant” ที่กรุงโรม ซึ่งนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมีบทบาททำให้เป็นที่นิยมกันมากขึ้น การสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” ก็ยังเป็นที่นิยมกันถึงปัจจุบันนี้ โดยบางครั้งฉากเล็กอาจจะทำจากกระเบื้องพอร์ซิเลน (Porcelain), พลาสเตอร์, พลาสติก หรือ กระดาษ เพื่อใช้ตั้งภายในที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ) · ดูเพิ่มเติม »

การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต

นายกรัฐมนตรีอิสราเอลต้อนรับชาลิตกลับสู่มาตุภูมิ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2554 การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต หลังความตกลงระหว่างอิสราเอลกับกลุ่มฮามาส ในการปล่อยตัวทหารอิสราเอล กิลัด ชาลิต แลกกับการปล่อยตัวนักโทษ 1,027 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวปาเลสไตน์และอาหรับ-อิสราเอล แม้ในบรรดานักโทษที่ปล่อยตัวมานั้นจะมีนักโทษชาวยูเครน ชาวจอร์แดน และชาวซีเรีย อย่างละคนด้วยก็ตาม นักโทษจำนวนนี้ 280 คนถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิตในข้อหาวางแผนและเตรียมการก่อการร้ายต่อเป้าหมายอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต · ดูเพิ่มเติม »

การแสดงความรักในที่สาธารณะ

การแสดงความรักในที่สาธารณะ (public displays of affection, PDA) เป็นการแสดงความใกล้ชิดทางกายให้คนอื่นเห็น ความหมาะสมในการแสดงความรักแตกต่างกันไปในแต่ละบริบทและวัฒนธรรม การแสดงความรักในที่สาธารณะ เช่น บนถนน มีโอกาสถูกวิจารณ์มากกว่าการกระทำแบบเดียวกันในพื้นที่ส่วนตัวที่มีแต่คนจากวัฒนธรรมเดียวกัน บางองค์กรมีกฎจำกัดหรือห้ามการแสดงความรักในที่สาธารณะ การแสดงความรักทางกาย (physical affection) ถูกให้ความหมายว่าเป็น "การแตะต้องเพื่อแสดงความรู้สึกรักหรือเพื่อให้ผู้รับรู้สึกถึงความรัก".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการแสดงความรักในที่สาธารณะ · ดูเพิ่มเติม »

การแผลงเป็นอาหรับ

การแผลงเป็นอาหรับ (Arabization, تعريب ทาอะรีบ) คือการทำให้ประชากรที่เดิมทีไม่ใช่ชาวอาหรับ กลายเป็นประชากรที่พูดภาษาอาหรับ และมีวัฒนธรรมแบบชาวอาหรับ โดยในอดีต การแผลงเป็นอาหรับมักเกิดขึ้นหลักจากการที่ชาวอาหรับ ซึ่งอดีตอาศัยในอยู่บริเวณอาระเบีย (บริเวณประเทศซาอุดีอาระเบียและเยเมนปัจจุบัน) ได้พิชิตดินแดนต่าง ๆ ในช่วงการเผยแพร่ของศาสนาอิสลามในศตวรรษที่ 7 ดินแดนเหล่านี้ได้แก่ แอฟริกาเหนือ (เช่น อียิปต์ มอร็อกโค อัลจีเรีย ตูนิเซีย) อิรัก จอร์แดน ซีเรีย เลบานอน เป็นต้น โดยประชากรในดินแดนเหล่านี้ ไม่ได้พูดภาษาอาหรับหรือถือวัฒนธรรมอาหรับมาก่อน อาทิ ก่อนการพิชิตดินแดนโดยชาวอาหรับ ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่พูดภาษาคอปต์ ส่วนประชากรซีเรียส่วนใหญ่พูดภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการแผลงเป็นอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

การ์ลา บรูนี

การ์ลา บรูนี-ซาร์กอซี (Carla Bruni-Sarkozy; 23 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) นักประพันธ์เพลง นักร้อง นางแบบชาวอิตาลีและเป็นอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการ์ลา บรูนี · ดูเพิ่มเติม »

การใช้ปากกับอวัยวะเพศชายของตัวเอง

ผู้ชายขณะกำลังใช้ปากกับอวัยวะเพศตนเอง การใช้ปากกับอวัยวะเพศชายของตัวเอง (Autofellatio) คือการปลุกเร้าตัวเองด้วยการใช้ปากหรือลิ้นสัมผัสกับอวัยวะเพศของตัวเองในฝ่ายชาย ด้วยวิธีการต่าง ๆ จึงถือได้ว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของการสำเร็จความใคร่ด้วยตัวเอง มีผู้ชายจำนวนไม่มากที่สามารถทำแบบนี้ได้Savage, Dan.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการใช้ปากกับอวัยวะเพศชายของตัวเอง · ดูเพิ่มเติม »

การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

ตัวอย่างราคาน้ำมันจากประเทศเยอรมนีเมื่อปี พ.ศ. 2550 ราคาอยู่ที่ 1.319 €/L.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

การเน่าเปื่อย

การเน่าเปื่อย (Decomposition) เป็นการเปลี่ยนแปลงหลังการตายตามธรรมชาติอย่างหนึ่งของร่างกายสิ่งมีชีวิต เมื่อเกิดการตายและหัวใจหยุดเต้น ร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลังการตายตามลำดับก่อนหลัง โดยเกิดรอยเขียวช้ำหลังตาย สภาพแข็งทื่อหลังตาย การลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตายและเกิดการเน่าเปื่อยในลำดับสุดท้าย ซึ่งการเน่าเปื่อยของร่างกาย จะเกิดจากการสลายตัวของเนื้อเยื่อภายในร่างกายโดยมีหลักการเน่าเปื่อยสองประการคือ การสลายตัวเองและการเน่าสล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และการเน่าเปื่อย · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟ

กาแฟดำ ซึ่งบรรจุในถ้วย กาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากเมล็ดซึ่งได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟ คั่ว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทำให้มีสรรพคุณชูกำลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกำลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบอาระเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยายในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็นหลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหาร ซูฟี ในเยเมน แถบอาระเบีย จาก โลกมุสลิม กาแฟได้แพร่ขยายไปยังทวีปยุโรป อินโดนีเซีย และทวีปอเมริกา ในระหว่างที่กาแฟเริ่มเดินทางจากทวีปอเมริกาเหนือและตะวันออกกลางสู่ทวีปยุโรป กาแฟได้ถูกส่งผ่านไปยังซิซิลีและอิตาลีในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นผ่านตุรกีไปยังกรีซ ฮังการี และออสเตรียในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากอิตาลีและออสเตรีย กาแฟได้แพร่ขยายไปยังส่วนที่เหลือของทวีปยุโรป กาแฟได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคมหลายแห่งตลอดประวัติศาสตร์ ในแอฟริกาและเยเมน มันถูกใช้ร่วมกับพิธีกรรมทางศาสนา ผลที่ตามมาคือ ศาสนจักรเอธิโอเปีย ได้สั่งห้ามการบริโภคกาแฟตลอดกาล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ จักรพรรดิเมเนลิกที่ 2 มันยังได้ถูกห้ามใน จักรวรรดิออตโตมันระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสาเหตุทางการเมือง และมีส่วนเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางการเมืองหัวรุนแรงในทวีปยุโรป ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กใน จีนัส Coffea หลายสปีชีส์ โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ Coffea arabica และกาแฟ "โรบัสต้า" ที่ได้จากชนิด Coffea canephora ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อราสนิมใบกาแฟ (Hemileia vastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งคู่มีการปลูกในละตินอเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นำไปผ่านกรรมวิธีและทำให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่ต้องการ และจะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนำเสนอได้ในหลายวิธี กาแฟเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของโลก โดยในปี คริสต์ศักราช 2004 กาแฟเป็นสินค้าการเกษตรส่งออกที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งในจำนวน 12 ประเทศ และเป็นพืชที่มีการส่งออกอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งมีมูลค่าสูงที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ในปี คริสต์ศักราช 2005 กาแฟได้รับการโต้เถียงบางส่วนในด้านการเพาะปลูกต้นกาแฟและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม และมีการศึกษาจำนวนมากที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกาแฟกับข้อจำกัดทางยาอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดว่ากาแฟให้คุณหรือให้โทษกันแน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงฮาดริอานุส

กำแพงฮาดริอานุส (Hadrian’s Wall; Vallum Aelium (the Aelian wall)) “กำแพงฮาดริอานุส” เป็นกำแพงหินบางส่วนและกำแพงหญ้าบางส่วนที่สร้างโดยจักรวรรดิโรมันขวางตลอดแนวตอนเหนือของเกาะอังกฤษใต้แนวพรมแดนอังกฤษและสกอตแลนด์ในปัจจุบัน การก่อสร้างกำแพงเริ่มขึ้นในรัชสมัยของจักรพรรดิฮาดริอานุสในปี ค.ศ. 122 “กำแพงฮาดริอานุส” เป็นหนึ่งในสามแนวป้องกันการรุกรานอาณานิคมบริเตนของโรมัน แนวแรกเป็นแนวตั้งแต่แม่น้ำไคลด์ไปจนถึงแม่น้ำฟอร์ธที่สร้างในสมัยจักรพรรดิอากริโคลา และแนวสุดท้ายคือกำแพงอันโตนิน (Antonine Wall) แนวกำแพงทั้งสามสร้างขึ้นเพื่อ ในบรรดากำแพงสามกำแพงฮาดริอานุสเป็นกำแพงที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเพราะยังคงทิ้งร่องรอยไว้ให้เห็นกันในปัจจุบัน กำแพงฮาดริอานุสเป็น “กำแพงโรมัน” (limes) ของเขตแดนทางเหนือของบริเตนและเป็นกำแพงที่สร้างเสริมอย่างแข็งแรงที่สุดในจักรวรรดิ นอกจากจะใช้ในการป้องกันศัตรูแล้วประตูกำแพงก็ยังใช้เป็นด่านศุลกากรในการเรียกเก็บภาษีสินค้าด้วย กำแพงบางส่วนยังคงเหลือให้เห็นกันในปัจจุบันโดยเฉพาะส่วนกลาง และตัวกำแพงสามารถเดินตามได้ตลอดแนวซึ่งทำให้เป็นสิ่งที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวที่นิยมกันมากที่สุดแห่งหนึ่งของทางตอนเหนือของอังกฤษ กำแพงนี้บางครั้งก็เรียกกันง่ายๆ ว่า “กำแพงโรมัน” กำแพงฮาดริอานุสได้รับฐานะเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี ค.ศ. 1987 องค์การอนุรักษ์มรดกอังกฤษ (English Heritage) ซึ่งเป็นองค์การราชการในการบริหารสิ่งแวดล้อมทางประวัติศาสตร์ของอังกฤษบรรยายกำแพงฮาดริอานุสว่าเป็น “อนุสาวรีย์ที่สำคัญที่สุดที่สร้างโดยโรมันในบริเตน”.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกำแพงฮาดริอานุส · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาว่ายน้ำ

ว่ายน้ำ เป็นกิจกรรมนันทนาการทางน้ำได้รับการบริหารโดยสหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกีฬาว่ายน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาใน พ.ศ. 2549

กีฬาใน พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกีฬาใน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กีซา

กีซา (Giza) หรือ อัลญีซะฮ์ (الجيزة) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ อยู่ห่างจากศูนย์กลางของไคโรไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ราว 20 กิโลเมตร กีซาเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการกีซา เมืองมีประชากร 2,681,863 คนจากการสำรวจประชากรใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และกีซา · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาดอิสลามอียิปต์

ญิฮาดอิสลามอียิปต์ (Egyptian Islamic Jihad; الجهاد الإسلامي المصري) หรือ อัลญิฮาด เป็นกลุ่มที่ออกปฏิบัติการร่วมกับกลุ่มอัลกออิดะฮ์ของอุซามะฮ์ บิน ลาดิน มีเป้าหมายเพื่อโค่นล้มรัฐบาลอียิปต์และตั้งรัฐอิสลามรวมทั้งโจมตีผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาและอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และญิฮาดอิสลามอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ญิดดะฮ์

แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองญิดดะฮ์ ญิดดะฮ์ (جدّة) หรือ เจดดาห์ (Jeddah, Jiddah) เป็นเมืองที่อยู่ในประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และญิดดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฏ็อนฏอ

ฏ็อนฏอ (طنطا) เป็นนครในประเทศอียิปต์ที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ มีประชากรประมาณ 429,000 คน (ค.ศ. 2008) เมืองตั้งอยู่ห่างจากกรุงไคโรไปทางทิศเหนือ 94 กิโลเมตร (58 ไมล์) และห่างจากเมืองอะเล็กซานเดรียไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 130 กิโลเมตร (81 ไมล์) เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการอัลฆ็อรบียะฮ์ เป็นศูนย์กลางการปั่นฝ้าย และมีถนนสายหลักที่มุ่งหน้าสู่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฏ็อนฏอ · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติแห่งอียิปต์

มื่อพระเจ้าทรงใช้โมเสสและอาโรนให้เข้าเฝ้าฟาโรห์เพื่อทูลขอให้ทรงปล่อยวงศ์วานอิสราเอลเป็นไทนั้น โมเสสและอาโรนต้องเข้าไปทูลขอถึง 10 ครั้ง กว่าที่องค์ฟาโรห์จะยอมปล่อยชนชาติอิสราเอลให้ออกจากอียิปต์ได้ ในแต่ละครั้งที่ฟาโรห์ทรงละเลยต่อคำขอของโมเสสและอาโรนนั้น พระเจ้าก็ทรงมอบภัยพิบัติต่าง ๆ ให้แก่อียิปต์ทุกครั้ง จนกระทั่งองค์ฟาโรห์ทรงพบกับภัยพิบัติครั้งสุดท้ายด้วยพระองค์เอง จึงยอมปล่อยให้อิสราเอลออกเดินทางจากอียิปต์ได้ โดยในการขอให้ฟาโรห์ปล่อยอิสราเอลนั้น โมเสสได้ทูลขอองค์ฟาโรห์ ให้ตนนำอิสราเอลออกไปถวายเครื่องบูชาแด่พระเจ้าในถิ่นทุรกันดาร ภัยพิบัติที่จะกล่าวถึงนี้ อ้างอิงมาจากคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม หนังสืออพยพ บทที่ 7-13.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภัยพิบัติแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภัยแล้ง

ื้นดินแตกระแหง พื้นที่แห้งแล้ง เป็นสภาพอากาศที่แห้งและไม่มีน้ำ เกิดขึ้นเมื่อพื้นที่ที่ได้รับฝนตกน้อย ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย สิ่งที่มีผลมากที่สุดคือการเกษตร องค์การสหประชาชาติคาดว่าในแต่ละปี พื้นที่ดินอุดมสมบูรณ์มีจำนวนลดลงเท่ากับขนาดเนื้อที่ของประเทศยูเครน เนื่องจากภาวะฝนแล้ง และความไม่แน่นอนของสภาพอาก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภัยแล้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่

การแพร่กระจายของภาษาอาหรับในโลกอาหรับ. ภาษาราชการภาษาเดียว (เขียว); ภาษาราชการร่วม (ฟ้า) ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية الفصحى‎ al-luġatu l-ʿarabiyyatu l-fuṣḥā) หรือภาษาอาหรับมาตรฐานหรือภาษาเขียนของภาษาอาหรับ เป็นรูปแบบมาตรฐานของภาษาอาหรับที่ใช้สำหรับการเขียนและการพูดที่เป็นทางการ นักวิชาการตะวันตกได้แบ่งมาตรฐานภาษาอาหรับไว้เป็นสองแบบคือภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية التراثية) ซึ่งใช้ในอัลกุรอ่าน จักเป็นรูปแบบคลาสสิกของภาษาและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ (Modern Standard Arabic; MSA; ภาษาอาหรับ: اللغة العربية المعيارية الحديثة) ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน ชาวอาหรับส่วนใหญ่จะถือว่าทั้งสองภาษานี้เป็นภาษาเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอกแคด

ษาแอกแคด (lišānum akkadītum; Akkadian language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดในเมโสโปเตเมียโบราณ รวมทั้งชาวบาบิโลเนียและชาวอัสซีเรีย ชื่อของภาษานี้มาจากเมืองแอกแคดซึ่งเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมเมโสโปเตเมี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภาษาแอกแคด · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์เอเชีย

แผนที่ภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชียในปี 1730 ของ Johan Christoph Homann โดยแบ่งภูมิภาคเอเชียเป็นสีต่างๆ ภาพรวมของทวีปเอเชีย ภาพทวีปเอเชีย ภูมิศาสตร์เอเชีย (Geography of Asia) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่างๆของทวีปเอเชียซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปของโลก ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาด 44,579,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 8.7 ของผิวโลก (ร้อยละ 30 ของส่วนที่เป็นพื้นดิน) และมีประชากรราว 3,900 ล้านคน หรือร้อยละ 60 ของประชากรมนุษย์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภูมิศาสตร์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิทัศน์วัฒนธรรม

มรดกโลก หุบเขาเดรสเดน อเลเบ เยอรมนีที่ยูเนสโกถือว่าเป็น "ตัวอย่างที่ดีเด่นของการใช้ที่ดินทีเป็นตัวอย่างการพัฒนาเมืองของยุโรปกลาง" เป็นเมืองที่มีประชากรมากถึงครึ่งล้านคน ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural landscape) คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดยกรรมาธิการมรดกโลกว่าเป็นพื้นที่เด่นทางภูมิศาสตร์ หรือทรัพย์สินที่ “...เป็นตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของมนุษย์” ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ แนวคิดนี้เกิดจากการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาขึ้นในแวดวงของมรดกโลกนานาชาติ (ยูเนสโก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ยปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่งธรรมชาติและวัฒนธรรม” ที่โด่งดังแพร่หลายมากในโลกตะวันตก กรรมาธิการมรดกโลกได้บ่งชี้และรับรองประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมไว้ 3 ประเภท ได้แก่ (1) ภูมิทัศน์ที่เกิดจากการจงใจของมนุษย์ (2) ภูมิทัศน์ทั้งหมดที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ทั้งด้วยความจงใจทำ และไม่ได้จงใจทำ และ (3) ภูมิทัศน์ที่มีร่องรอยการปรุงแต่งโดยมนุย์น้อยที่ (แต่มีคุณค่าสูง) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่คัดจาก “แนวทางปฏิบัติของกรรมาธิการ” มีดังนี้: (1) “ภูมิทัศน์ที่ได้รับการออกแบบและสรรค์สร้างอย่างจงในโดยมนุษย์” (2) “ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการมาในเชิงอินทรีย์” (organically evolved) ซึ่งอาจเป็น “ภูมิทัศน์แผ่นดินร้าง” (หรือซากดึกดำบรรพ์) หรือ “ภูมิทัศน์ต่อเนื่อง” (continuing landscape) (3) “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเชิงเชื่อมโยง” (associative cultural landscape) ที่อาจมีคุณค่าทาง “ศาสนา ศิลปะหรือที่เชื่อมโยงทางวัฒนธรรมกับองค์ประกอบทางธรรมชาติ”.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภูมิทัศน์วัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาซีนาย

ูเขาซีนาย ภูเขาซีนาย (Sinai Mountain) เป็นสถานที่ที่ปรากฏขึ้นครั้งแรกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหนังสืออพยพ เป็นสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับโมเสสและเป็นที่ที่พระเป็นเจ้าให้บัญญัติสิบประการแก่โมเสสอีกด้วย ปัจจุบันภูเขาแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และภูเขาซีนาย · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร

มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (جامعة الأزهر الشريف; Al-Azhar University) เป็นองค์กรศาสนาแห่งโลกอิสลาม ก่อตั้ง ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ประวัติศาสตร์ได้จารึกว่า อัลอัซฮัร ก่อกำเนิดในต้นรัชสมัยแห่งราชวงศ์ฟาติมียะห์ ในอียิปต์ เมื่อปี พ.ศ. 1517 เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านภาษาอาหรับและวรรณคดี มีหลักสูตรการสอนตามแนวของซุนนี เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่อันดับที่สองที่มีการเรียนการสอนจนถึงปัจจุบัน มีพื้นที่เชื่อมต่อกับมัสยิดอัลอัซฮัร เจตนารมณ์ของมหาลัยอัลอัซฮัร คือให้การศึกษาและเผยแผ่ศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรีย

มหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรีย มหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรีย (جامعة الإسكندرية, Alexandria University) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลของอียิปต์ ตั้งอยู่ที่เมืองอเล็กซานเดรีย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1938) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยในเครือของมหาวิทยาลัยฟูอัดฺ (ต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น) มหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรีย ในเป็นที่รู้จักในนามมหาวิทยาลัยฟารูคฺ จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1952) เกิดการปฏิวัติในประเทศอียิปต์ ทำให้มหาวิทยาลัยเปลี่ยนชื่อมาเป็นมหาวิทยาลัยของอเล็กซานเดรียจนถึงทุกวันนี้ ตอหา ฮุสเซน (Taha Hussein) เป็นอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรีย ปัจจุบันมหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรียเป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในประเทศอียิปต์ และมีเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยต่างๆ มากมาย เพื่อการวิจัยอย่างต่อเนื่อง และมีนักศึกนักศึกษาระดับปริญญาตรี 175,591 คน และระดับปริญญาโท-เอก 19,510 คน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาสฟิงซ์

มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร มหาสฟิงซ์ (The Great Sphinx of Giza) คือ รูปสฟิงซ์แกะสลักด้วยหินขนาดใหญ่ที่สุด ใน ประเทศอียิปต์ มีตัวเป็น สิงโต และมีหัวเป็น มนุษย์ อยู่ในบริเวณหมู่พีระมิดทั้ง 3 แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร โดยหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก สฟิงซ์คือชื่อ สัตว์ประหลาด ในตำนานไอยคุปต์วิทยา และมีในตำนานชนชาติอื่นด้วย มีลักษณะต่างกันไป แต่จะมีตัวเป็นสิงโตเหมือนกัน สฟิงซ์ในตำนานกรีก มีใบหน้าและช่วงอก เป็นหญิงสาว มีปีกแบบนกอินทรีย์ และสามารถพูดภาษามนุษย์ได้ สฟิงซ์จะคอยถามคำถาม กับมนุษย์ที่หลงมาพบมันเข้า หากตอบคำถามไม่ได้ มนุษย์ผู้เคราะห์ร้ายนั้นก็จะถูกสังหาร ส่วนสฟิงซ์ของอียิปต์โบราณ ไม่มีปีกมีหน้าเป็นมนุษย์ผู้ชาย และยังมีแบบที่หัวเป็นแกะ (Criosphinx) และหัวเป็นนกเหยี่ยว (Hierocosphinx) อีกด้วย ชาวอียิปต์โบราณ แกะสลักหินเป็นรูปสฟิงซ์ไว้เป็นจำนวนมาก แต่ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า นี้เอง โดยนักโบราณคดีเชื่อว่า มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่าเป็นอนุสาวรีย์ของ ฟาโรห์คาเฟร (Khafre) หรือ คีเฟรน(Chephren) ฟาโรห์ในราชวงศ์ที่ 4 ผู้สร้างพีระมิดคาเฟร เมื่อประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล โดยเชื่อว่าใบหน้าของมหาสฟิงซ์ จำลองมาจากใบหน้า ของฟาโรห์คีเฟรน และสามารถสังเกตว่าส่วนหัวของ มหาสฟิงซ์ มีสัญลักษณ์ของฟาโรห์อียิปต์ แสดงเอาไว้อย่างชัดเจน คือมีเคราที่คาง มีงูจงอางแผ่แม่เบี้ยที่หน้าผาก และยังมีเครื่องประดับ รัดเกล้าแบบฟาโรห์ ประกอบเข้ากับผ้าคลุมศีรษะ และคออีกด้วย จึงถือกันว่ามหาสฟิงซ์นี้ เป็นอนุสาวรีย์แกะสลักเก่าแก่ที่สุดที่รู้จักกัน อียิปต์โบราณถือกันว่าสฟิงซ์เป็นร่างจำแลงภาคหนึ่งของเทพเจ้า การที่ฟาโรห์คาเฟร ให้แกะสลักใบหน้าสฟิงซ์เป็นใบหน้าของพระองค์ จึงเป็นการแสดงว่าพระองค์เปรียบดังเทพเจ้านั่นเอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมหาสฟิงซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสุสานกิซา

มหาสุสานกิซา (أهرامات الجيزة,"พีรามิดแห่งกิซา") เป็นโบราณสถานในเขตชานเมืองของกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ มหาสุสานโบราณที่ซับซ้อน ซึ่งรวมถึงพีระมิดขนาดเล็ก พีรามิดนี้เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นที่ประติมากรรมยิ่งใหญ่ของชาวอียิปต์ สฟิงซ์ขนาดใหญ่ที่รู้จักกันว่าเป็นสุสานที่ยิ่งใหญ่ สุสานที่สร้างขึ้นจากคนงานโดยใช้กลวิธีที่ซับซ้อน มันตั้งอยู่ลึก 9 กิโลเมตร (5 ไมล์) เข้าไปในทะเลทรายจากเขตเมืองเก่าของกิซ่าบนแม่น้ำไนล์ ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองไคโรประมาณ 25 กิโลเมตร (15 ไมล์) พีรามิดนี้มีประวัติศาสตร์ปรากฏอยู่ว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดและเป็นสัญลักษณ์ของอียิปต์โบราณ ที่มี่ถูกคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ มันคือของสิ่งมหัศจรรย์ยุคโบราณแห่งเดียวที่ยังเหลืออยู่ องค์การยูเนสโกได้ประกาศให้ที่นี่เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมหาสุสานกิซา · ดูเพิ่มเติม »

มอลต์

ร์เลย์มอลต์ โดยจะเห็นหน่อสีขาว มอลต์ (malt) ได้มาจากข้าวบาเลย์ ซึ่งเป็นธัญพืชที่นิยมปลูกในประเทศ ที่มีภูมิภาคเย็น จะมีการปลูกกันมาก ในประเทศทางทวีปยุโรป เช่น เยอรมนี ออสเตรีย อังกฤษ เดนมาร์ก และออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยมีการนำ สายพันธุ์ ข้าวบาร์เลย์เข้ามาปลูกในแถบ ภาคเหนือ ซึ่งมีภูมิอากาศเย็น ข้าวมอลต์ มีรสชาติ สี และกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นที่นิยมของผู้บริโภคและมีคุณค่าทางโภชนาการสูงซึ่งเกิดจากสารอาหารชนิดต่างๆ ที่สร้างสะสมอยู่ในเมล็ดข้าวระหว่างการงอก ข้าวมอลต์สามารถจำหน่ายในรูปข้าวกล้องมอลต์ พร้อมหุงรับประทานหรือนำไปใช้เป็นวัตถุดิบผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ อาทิ เบียร์ วิสกี้ โจ๊กข้าวมอลต์ ผงชงดื่มเพื่อสุขภาพ เครื่องดื่มมอลต์ สกัดเข้มข้น น้ำมอลต์สกัด เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมอลต์ · ดูเพิ่มเติม »

มัมมี่

มัมมี่ มัมมี่ (Mummy) คือศพที่ดองหรือแช่ในน้ำยาพิเศษในประเทศอียิปต์ พันทั่วทั้งร่างกายด้วยผ้าลินินสีขาว เพื่อเป็นการรักษาสภาพของศพเพื่อรอการกลับคืนร่างของวิญญาณผู้ตาย ตามความเชื่อของชาวอียิปต์โบราณ คำว่า "มัมมี่" มาจากคำว่า "มัมมียะ" (Mummiya) ซึ่งเป็นคำในภาษาเปอร์เซีย มีความหมายถึงร่างของซากศพที่ถูกดองจนกลายเป็นสีดำ โดยชาวอียิปต์โบราณจะทำมัมมี่ของฟาโรห์และเชื้อพระวงศ์ทุกพระองค์ และนำไปฝังในลักษณะแนวนอนภายใต้พื้นแผ่นทรายของอียิปต์ อาศัยแรงลมที่พัดผ่านในแถบทะเลทรายอาระเบียและทะเลทรายในพื้นที่รอบบริเวณของอียิปต์ เพื่อป้องกันการเน่าเปื่อยของซากศพที่อาบด้วยน้ำยา ในอียิปต์โบราณมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องของชีวิตหลังความตาย เกี่ยวกับการหวนกลับคืนร่างของวิญญาณ โดยมีความเชื่อว่าเมื่อวิญญาณออกจากร่างไปชั่วระยะเวลาหนึ่งจะหวนกลับคืนสู่ร่างเดิมของผู้เป็นเจ้าของ จึงต้องมีการถนอมและรักษาสภาพของร่างเดิม โดยการแช่และดองด้วยน้ำยาบีทูมิน ซึ่งจะช่วยรักษาและป้องกันไม่ให้ซากศพเน่าเปื่อยผุผังไปตามกาลเวล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมัมมี่ · ดูเพิ่มเติม »

มัรวาน มัวะห์ซิน

มัรวาน มัวะห์ซิน (مروان محسن فهمي ثروت; เกิด 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับอัลอะฮ์ลีในพรีเมียร์ลีกอียิปต์ และยังเล่นให้กับทีมชาติอียิปต์ด้วย เขาลงเล่นทีมชาตินัดแรกเมื่อวันที่ 3 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมัรวาน มัวะห์ซิน · ดูเพิ่มเติม »

มัทมอนส์

มัทมอนส์ (Maat Mons) เป็นภูเขาไฟที่สูงที่สุดบนดาวศุกร์ และเป็นภูเขาที่สูงเป็นอันดับที่ 2 ของดาว รองจากแมกซ์เวลมอนทีส ตั้งอยู่ที่พิกัด ของดาวศุกร์ ภูเขาไฟลูกนี้มีความสูง 8 กิโลเมตรเหนือระดับเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของดาวศุกร์ ชื่อของภูเขาไฟมีที่มาจากเทพีแห่งความจริงและความเที่ยงตรงของอียิปต์นามว่า มัท (Maat).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมัทมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

มัดแฟล็ปส์

มัดแฟล็ปส์ (Mudflap) เป็นตัวละครจากเรื่องทรานส์ฟอร์มเมอร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมัดแฟล็ปส์ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรจีน

วาดมังกรจีนโบราณ มังกรจีน (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: เล้ง; ไทยถิ่นเหนือ: ลวง) เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นอันหนึ่งของจักรพรรดิและวัฒนธรรมจีน มีลักษณะที่มาจากสัตว์หลาย ๆ ชนิดผสมผสานกัน ลักษณะลำตัวยาวเหมือนงู มีเขี้ยวขนาดใหญ่หนึ่งคู่อยู่ที่บริเวณขากรรไกรด้านบน มีหนวดยาวลักษณะเหมือนกับไม้เลื้อย และมีแผงคอเหมือนกับของสิงโตอยู่บน คอ, คาง และข้อศอก มีเกล็ดสีเขียวเข้มทั่วทั้งบริเวณลำตัวรวมทั้งสิ้น 117 เกล็ด ซึ่งเกล็ดมังกรจำนวน 81 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยางซึ่งเป็นเกล็ดที่มีความดี เกล็ดมังกรจำนวน 36 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยินซึ่งจะเป็นเกล็ดที่มีความชั่ว ลักษณะเขาของมังกรจะมีสันหลังทอดยาวไปตามหลังและหาง เป็นหนามยาวและสั้นสลับกัน มีขา 4 ขาและกรงเล็บแข็งแรง เกล็ดของมังกรจีนนั้น จะมีลักษณะเฉพาะเปลี่ยนไปตามแต่ละชนิดของมังกร ตั้งแต่สีเขียวเข้มจนถึงสีทอง หรือบางแหล่งกล่าวกันว่า มังกรจีนนั้นมีหลายสี เช่น สีน้ำเงิน สีดำ สีขาว สีแดง สีเขียว หรือสีเหลือง แต่ในกรณีของมังกรชนิด chiao หลังของมังกรจะเป็นสีเขียว บริเวณด้านข้างเป็นสีเหลือง และใต้ท้องเป็นสีแดงเข้ม มังกรจีนชนิดหนึ่งจะมีปีกที่ด้านข้างของลำตัว และสามารถที่จะเดินบนน้ำได้ แต่สำหรับมังกรจีนอีกชนิดหนึ่งเมื่อสะบัดแผงคอไปข้างหน้าและข้างหลัง จะทำให้เกิดเสียงที่ฟังดูเหมือนกับเสียงขลุ่ย มังกรจีนจะมีโหนกอยู่บนหัวซึ่งทำให้สามารถบินได้ เรียกโหนกที่อยู่บนหัวว่า ch’ih muh แต่ถ้ามังกรจีนตัวใดไม่มีโหนกที่บริเวณหัว จะกำคทาเล็ก ๆ ที่เรียกว่า po-shan ซึ่งสามารถทำให้มังกรลอยตัวในอากาศได้(ปัจจุบัน ประเทศทางตะวันตก ก็เพิ่งเจอ วัตถุลึกลับบางอย่างสามารถลอยในอากาศได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ) ในประเทศจีนคนโบราณมีความเชื่อกันว่ามังกรคือสัตว์ที่ทรงพลังและศักดิ์สิทธิ์แห่งฟ้าและดิน ได้รับการกล่าวกันว่ามีความเป็นมิตร มากกว่าความร้ายกาจ เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาซึ่งความสุข และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง พบได้ใน แม่น้ำและทะเลสาบ ชอบที่จะอยู่ท่ามกลางสายฝน มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นให้แก่กษัตริย์ในราชวงศ์ชิง กษัตริย์จะนั่งบนบัลลังก์มังกร เดินทางโดยเรือมังกร เสวยอาหารบนโต๊ะมังกร และบรรทมบนเตียงมังกร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมังกรจีน · ดูเพิ่มเติม »

มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร

มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร (Mark the Evangelist; מרקוס; Μάρκος) เป็นหนึ่งในผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน อีกสามท่านได้แก่มัทธิว ยอห์น และลูกา เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์พระวรสารนักบุญมาระโกซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของพันธสัญญาใหม่และเป็นเพื่อนกับซีโมนเปโตร นักบุญมาระโกได้ร่วมเดินทางกับเปาโลและบารนาบัสเมื่อนักบุญเปาโลเริ่มเดินทางไปเผยแพร่ศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากที่มีข้อขัดแย้งกัน บารนาบัสก็แยกตัวจากเปาโลโดยเอามาระโกไปไซปรัสด้วย (กิจการของอัครทูต 15:36-40) การแยกตัวครั้งนี้ทำให้เกิดพระวรสารนักบุญมาระโกขึ้น ต่อมาเปาโลเรียกตัวมาระโกกลับมา ฉะนั้นมาระโกจึงกลับมาเป็นผู้ติดตามเปาโลอีกครั้ง คริสตจักรคอปติกออร์ทอดอกซ์ถือว่ามาระโกเป็นผู้วางรากฐานคริสต์ศาสนาในทวีปแอฟริกา เป็นคนแรกที่ดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งอะเล็กซานเดรีย เช่นเดียวกับผู้นิพนธ์พระวรสารอีกสามองค์นักบุญมาระโกมักจะปรากฏในภาพเขียนทางคริสต์ศาสนาใช้สัญลักษณ์สิงโต ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ตามหนังสือดาเนียลบทที่ 7 (Book of Daniel).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

มาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกร

รัฐบาลของประเทศทั่วโลกมีมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โดยที่บางประเทศออกมาตรการซึ่งอาจผิดธรรมดาอย่างมากต่อสุกร ซึ่งได้รวมไปถึงการกำจัดสุกรภายในประเทศทั้งหมดในอียิปต์ และการลดจำนวนหมูป่าในสวนสัตว์แบกแดดในอิรัก การฆ่าหมูจำนวนมากเหล่านี้เกิดขึ้นในประเทศมุสลิม และมีการกล่าวอ้างว่าการจำกัดทางศาสนาต่อการบริโภคสุกรเป็นอิทธิพลต่อการตัดสินใจดำเนินการดังกล่าว ประเทศอื่นหลายประเทศได้สั่งห้ามการค้าสุกรและผลิตภัณฑ์สุกรระหว่างประเทศ องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่า ไม่มีเหตุผลที่จะเชื่อได้ว่าสุกรเป็นพาหะนำไวรัสไข้หวัดใหญ่มาสู่มนุษย์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม เหตุการณ์การค้นพบการเป็นพาหะไข้หวัดใหญ่จากมนุษย์สู่สุกรถูกค้นพในไร่ในอัลเบอร์ตา ที่ซึ่งมีการค้นพบสุกรที่ติดเชื้อ เป็นที่น่าสงสัยว่าคนงานรับจ้างในไร่ดังกล่าวติดโรคซึ่งเพิ่งจะกลับมาจากเม็กซิโก ได้ส่งไวรัสไข้หวัดใหญ่ไปสู่สัตว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกร · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล

มิสอินเตอร์คอนทิเนนทัล (อังกฤษ: Miss Intercontinental) เป็นการประกวดนางงามเวทีการประกวดนางงามที่จัดการประกวดมานานเวทีหนึ่ง โดยเริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี 1971 ที่ ประเทศอารูบา ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบันคือ เวโรนิกา ซาลาส จากประเทศเม็กซิโก ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 24 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014, ครั้งที่ 43 จัดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 (Miss Grand International 2014.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 2 กำหนดจัดกิจกรรมกองประกวด ณ จังหวัดสุโขทัย และประกวดรอบตัดสินในวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์

มิสเวิลด์ (Miss World) เป็นการประกวดนางงามระดับนานาชาติ ก่อตั้งในสหราชอาณาจักรโดย เอริค มอร์ลีย์ ใน ค.ศ. 1951 หรือ พ.ศ. 2494 หลังจากที่เอริค มอร์เลย์เสียชีวิตลงใน ค.ศ. 2000 ภรรยา จูเลีย มอร์ลีย์ ได้ขึ้นมาเป็นประธานของการประกวดมิสเวิดล์ในปัจจุบัน มิสเวิลด์เป็นการประกวดนางงามที่มีผู้เข้าร่วมและถ่ายทอดออกอากาศมากที่สุด โดยมีตัวแทนเข้าประกวดประมาณ 100 คน และเป็นเวทีการประกวดที่มีผู้เข้าร่วมประกวดมากที่สุด (นางงามจักรวาลมีประมาณ 80 ประเทศในแต่ละปี) โดยปัจจุบันมีผู้ที่ได้ตำแหน่งมิสเวิลด์แล้วทั้งหมด 65 คน (ปี 2558) มิสเวิลด์ 2008 มิสเวิลด์ 2009.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2012

มิสเวิลด์ 2012, การประกวด มิสเวิลด์ ครั้งที่ 62 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสเวิลด์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2014

มิสเวิลด์ 2014, การประกวดมิสเวิลด์ ครั้งที่ 64 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสเวิลด์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสเวิลด์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอิร์ธ 2016

มิสเอิร์ธ 2016, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 16 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสเอิร์ธ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์อีโคไทยแลนด์

มิสเตอร์อีโคไทยแลนด์ (Mister Eco Thailand) เป็นการประกวดความงามชายในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมิสเตอร์อีโคไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด มุรซี

มุฮัมมัด มุรซี อีซา อัลอัยยาฏ (محمد مرسى عيسى العياط; Muhammad Morsi Isa al-Ayyat; 8 สิงหาคม ค.ศ. 1951 —) เป็นอดีตประธานาธิบดีของประเทศอียิปต์ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมุฮัมมัด มุรซี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวี

El Shaarawy มุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวี (محمد متولى الشعراوى; Muhammad Metwally El-Shaarawy) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เชคชะอ์รอวี มีชีวิตในช่วงปี พ.ศ. 2464-2541 เป็นนักอธิบายกุรอานที่มีชื่อเสียงในยุคใหม่ มีความสามารถอธิบายกุรอานโดยใช้สำนวนที่เข้าใจง่าย และเป็นผู้มีความอุตสาหะยิ่งยวดในการเผยแผ่ศาสนาอิสลาม เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2464 ณ หมู่บ้านดากอดูส เมืองมิตฆ็อม จังหวัดดากอลียะฮ์ ประเทศอียิปต์ จบการศึกษาคณะอักษรศาสตร์อาหรับจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร เมื่อปี พ.ศ. 2484 ท่านได้รับยกย่องให้เป็น "นักเทศนาแห่งศตวรรษ" อีกทั้งเป็นคนแรกและคนสุดท้ายที่ไม่ใช่ชาวซาอุดีอาระเบีย ที่ได้รับเกียรติให้ให้โอวาท (คุตบะฮ์) ณ ทุ่งอารอฟัต ระหว่างพิธีฮัจญ์ หมวดหมู่:มุสลิมชาวอียิปต์ หมวดหมู่:มุสลิมนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อับดุชชาฟี

มุฮัมมัด อับดุชชาฟี (محمد عبد الشافي; เกิด 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1985) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งแบ็คซ้ายให้กับสโมสรฟุตบอลอัลอะฮ์ลีในซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีกและทีมชาติอียิปต์ อับดุชชาฟีติดทีมชาติครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมุฮัมมัด อับดุชชาฟี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี

มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี ดร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมุฮัมมัด อัลบะรอดะอี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี

มุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี (Muhammad Sayyid Tantawi; محمد سيد طنطاوي; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1928-10 มีนาคม ค.ศ. 2010) ท่องจำกุรอานที่เมืองอะเล็กซานเดรีย เคยดำรงตำแหน่งอิหม่ามคนสำคัญแห่งมัสยิดอัลอัซฮัร และผู้นำสูงสุดแห่งอัซฮัร เสียชีวิตระหว่างการเดินทางเยือนกรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และมุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี · ดูเพิ่มเติม »

ยัสเซอร์ อาราฟัต

ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และยัสเซอร์ อาราฟัต · ดูเพิ่มเติม »

ยาโคบ

ป็นบุตรคนที่สองของอิสอัค กับนางเรเบคาห์ ยาโคบมีพี่ชายฝาแฝดชื่อ เอซาว แต่ทั้งสองแตกต่างกัน เอซาว ตัวแดงมีขนทั่วตัว เป็นนายพรานมือแม่น เป็นที่รักของอิสอัค ขณะที่ยาโคบ เป็นเด็กเงียบ ๆ อยู่กับบ้าน แต่เป็นที่รักของนางเรเบคาห์ ผู้เป็นแม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และยาโคบ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง

ทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง (1–27 กรฏาคม ค.ศ. 1942) เป็นการสู้รบของการทัพทะเลทรายตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง,ซึ่งได้ทำการต่อสู้รบกันบนแผ่นดินอียิปต์ระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะ (เยอรมันและอิตาลี) ของกองทัพยานเกราะแอฟริกา (Panzerarmee Afrika, ซึ่งได้รวมถึงกองทัพน้อยแอฟริกา หรือแอฟริกา คอร์) ภายใต้การบัญชาการของจอมพลแอร์วิน รอมเมิลและกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร (จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ ซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร, บริติชอินเดีย, ออสเตรเลีย, แอฟริกาใต้ และ นิวซีแลนด์) ของกองทัพที่แปด ภายใต้การบัญชาการของนายพล Claude Auchinleck.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอนจาลูต

ทธการที่เอนจาลูต (Battle of Ain Jalut หรือ Ayn Jalut; เอนจาลูต แปลว่า "บ่อน้ำพุของโกไลแอธ") เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1260 เป็นการสู้รบระหว่างมุสลิมมัมลุกกับชาวมองโกล สนามรบอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกาลิลี ยุทธการครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ทัพมองโกลต้องถอยร่นหลังจากเข้าปะทะ หลังมองเกอ ข่านขึ้นเป็นข่านผู้ยิ่งใหญ่ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และยุทธการที่เอนจาลูต · ดูเพิ่มเติม »

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ: Prehistory) โดยทั่วไปหมายถึงช่วงเวลาที่ไม่มีการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ โดยมนุษย์ (ในบางครั้งหมายถึง ช่วงเวลาก่อนมีอารยธรรมมนุษย์).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และยุคก่อนประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโลหะ

ลหะ (Metal Age) เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000-900 ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนำเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาตินำมาใช้เพื่อประโยชน์ เช่น ทองแดง, สำริด และเหล็ก นำมาหล่อหรือขึ้นเป็นมีด, หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และยุคโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

ยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวี

ยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวี ยูซุฟ อับดุลลอฮ์ อัลเกาะเราะฎอวี (يوسف عبد الله القرضاوي; Yusuf 'Abdullah al-Qaradawi) เป็นปราชญ์ด้านศาสนาอิสลาม เกิดที่จังหวัดฆ็อรบียะ ประเทศอียิปต์ สามารถท่องจำอัลกุรอานก่อนอายุ 10 ขวบ เข้ารับการศึกษาจากมัธยมอัลอัซฮัร และปี 1953 ศึกษาต่อจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร คณะศาสนศาสตร์ ปี 1954 เรียนต่อคณะอักษรศาสตร์ และได้รับประกาศนียบัตรระดับอนุปริญญาด้านอักษรศาสตร์และวรรณคดี ได้รับปริญญาโทด้านการศึกษากุรอานและวจนะของศาสดามุฮัมมัด ได้ปริญญาเอกในคณะเดียวกันด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ในวิทยานิพนธ์เรื่อง "ผลดีในการจ่ายภาษีของมุสลิมต่อการแก้ปัญหาสังคม" บิดาของเขาเสียชีวิตขณะเขามีอายุเพียงสองขวบ อาของเขาจึงรับภาระเลี้ยงดู เขาถูกจำคุกหลายครั้งเนื่องการเข้าร่วมกับ "อิควานมุสลิมีน" ถูกจับกุมครั้งแรกปี 1949 ในสมัยการปกครองแบบกษัตริย์ และอีกสามครั้งในสมัยประธานาธิบดีญะมาล อับดุนนาศิร คือปี 1954, 1961 และ 1963 หลังจากนั้นเขาเดินทางไปประเทศกาตาร์ และได้รับตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมสอนศาสนา ต่อมาจึงได้รับสัญชาติกาตาร์ ปี 1977 เขาจึงได้เลื่อนตำแหน่งเป็นคณบดีแห่งมหาวิทยาลัยกาตาร์ เขายังเป็นอาจารย์ของศูนย์วิจัยศึกษาชีวประวัติและจริยวัตรแห่งศาสดามุฮัมมัด จนถึงปัจจุบัน ด้านครอบครัว ท่านมีภรรยาสองคน ภรรยาคนแรก อิสอาด เป็นชาวอียิปต์ มีบุตรด้วยกัน 7 คน (ชาย 3 หญิง 4) ภรรยาคนที่สอง อัสมา ชาวแอลจีเรีย เป็นผู้ผลิตรายการแห่งสำนักข่าวอัลญะซีเราะฮ์ หมวดหมู่:มุสลิมชาวอียิปต์ หมวดหมู่:อิมาม หมวดหมู่:มุสลิมนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวี · ดูเพิ่มเติม »

รหัสมรณะ

รหัสมรณะ ชื่อภาษาไทยของนวนิยายภาษาอังกฤษเรื่อง The Key to Rebecca เขียนโดย เคน ฟอลเลตต์ นักเขียนชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรหัสมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

รอนัลดีนโย

รอนัลดู จี อาซิส โมเรย์รา (Ronaldo de Assis Moreira) หรือที่รู้จักกันในชื่อ โรนัลจินยู (Ronaldinho "โรนัลโดน้อย") หรือ รอนัลดีนโย ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) เป็นนักฟุตบอลฝีเท้าดีคนหนึ่ง มีทักษะการเล่นดีทีมชาติบราซิล ปัจจุบันเป็นผู้เล่นของสโมสรฟลูมิเนนเซ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรอนัลดีนโย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคดีฟอียิปต์

รัฐเคดีฟอียิปต์ (Khedivate of Egypt; خديوية مصر; ออตโตมันเติร์ก: خدیویت مصر Hıdiviyet-i Mısır) เป็นรัฐบรรณาการของจักรวรรดิออตโตมัน ปกครองโดยราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี คำว่า "เคดีฟ" (khedive) ในภาษาตุรกีออตโตมัน หมายถึง "อุปราช" ใช้ครั้งแรกโดยมูฮัมหมัด อาลี ปาชา แต่ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรัฐเคดีฟอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทอเลมี

ทอเลมีที่ 1ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ทอเลมี ราชวงศ์ทอเลมี (Πτολεμαῖοι หรือ Λαγίδαι, Ptolemaic dynasty หรือ Lagids) หรือบางครั้งก็เรียกว่า ราชวงศ์ลากิดส์ ซึ่งมาจาก ลากัส ชื่อของพระราชบิดาของทอเลมีที่ 1 ราชวงศ์ทอเลมีเป็นราชวงศ์กรีก ผู้ปกครองจักรวรรดิทอเลมีในอียิปต์ระหว่างสมัยกรีก ราชวงศ์ทอเลมีรุ่งเรืองอยู่เกือบ 300 ปี จากตั้งแต่ 305 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนถึง 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทอเลมี หนึ่งในองครักษ์เจ็ดคนผู้รับราชการเป็นนายพลและผู้ช่วยภายใต้อเล็กซานเดอร์มหาราช ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นข้าหลวงของอียิปต์ หลังจากที่อเล็กซานเดอร์เสด็จสวรรคตในปี 323 ก่อนคริสต์ศักราช ในปี 305 ก่อนคริสต์ศักราช ทอเลมีก็ประกาศตนเป็นพระเจ้าทอเลมี และต่อมาเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “โซเตอร์” ที่แปลว่าผู้มาช่วย ต่อมาชาวอียิปต์ก็ยอมรับราชวงศ์ทอเลมีว่าเป็นราชวงศ์ที่สืบการเป็นฟาโรห์ของอียิปต์ ราชวงศ์ทอเลมีปกครองอียิปต์จนมาถูกพิชิตโดยโรมัน ในปี 30 ก่อนคริสต์ศักราช ประมุขผู้เป็นชายทุกองค์ใช้ชื่อทอเลมี ที่เป็นสตรีบางคนก็เป็นพระขนิษฐาของพระราชสวามีมักจะใช้ชื่อ “คลีโอพัตรา” หรือ “อาร์ซิโนเอ” หรือ “เบเรนิเซ” สมาชิกคนสำคัญที่สุดของราชวงศ์คือ พระราชินีองค์สุดท้ายคลีโอพัตราที่ 7 ที่เป็นที่รู้จักกันจากการมีบทบาทในความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์ และ ปอมเปย์ และต่อมาระหว่าง อ็อคเตเวียน และ มาร์ก แอนโทนี การฆ่าตัวตายคลีโอพัตราเป็นการสิ้นสุดการครองอียิปต์ของราชวงศ์ทอเลมี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ทอเลมี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่สองแห่งอียิปต์

thumb ราชวงศ์ที่สอง แห่งอียิปต์โบราณ (หรือราชวงศ์ที่สองระหว่าง 2890 - 2686 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นราชวงศ์ในช่วงต้นๆ ของอียิปต์โบราณโดยมีศูนย์กลางของราชวงศ์ที่เมืองธีนีส และมีฟาโรห์พระองค์สุดท้ายนามว่าคาเซเคมวี ก็นับเป็นหนึ่งในช่วงเวลาที่คลุมเครือมากที่สุดในประวัติศาสตร์อียิปต์โบราณ ราชวงศ์ที่สองปกครองอียิปต์เป็นเวลาประมาณ 204 ปี แม้ว่าหลักฐานทางโบราณคดีของราชวงศ์ที่สองมีน้อยมากและยังคลุมเครือมากตัดกันข้อมูลจากราชวงศ์ที่หนึ่งและราชวงศ์ที่สามแสดงให้เห็นการพัฒนาสถาบันและเศรษฐกิจที่สำคัญในช่วงราชวงศ์ที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่สองแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่สามแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่สาม แห่งอียิปต์โบราณเป็นราชวงศ์แรกของราชอาณาจักรเก่า และราชวงศ์อื่น ๆ ของราชอาณาจักรเก่ารวมถึงราชวงศ์ที่สี่ ราชวงศ์ที่ห้าและราชวงศ์ที่หก เมืองหลวงใหม่ในช่วงระยะเวลาของอาณาจักรเก่าคือเมืองเมมฟิส ปกครองระหว่าง 2686 - 2610 ปีก่อนคริสตกาล รวมเป็นเวลา 64 ปี มีฟาโรห์ 5 พระอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่สามแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่สิบสามแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่สิบสาม แห่งอียิปต์โบราณ (Thirteenth Dynasty of Egypt,Dynasty XIII) มักจะรวมกับราชวงศ์ที่สิบเอ็ด,สิบสอง,สิบสี่ ภายใต้กลุ่มใน อาณาจักรกลาง นักเขียนบางคนมักแยกออกจากราชวงศ์เหล่านี้และเข้าร่วมกับราชวงศ์ที่ 14 ตลอดจนราชวงศ์ที่สิบเจ็ด จนเป็นส่วนหนึ่งในยุคกลางที่ 2 ราชวงศ์ที่ 13 ปกครองตั้งแต่ประมาณ 1,802 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงประมาณ 1649 ปีก่อนคริสตกาล รวม 153 ปี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่สิบสามแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่สี่แห่งอียิปต์

หินปาเลโม ราชวงศ์ที่สี่ แห่งอียิปต์โบราณ เป็น "ยุคทอง" ของราชอาณาจักรเก่า ราชวงศ์ที่สี่ปกครองตั้งแต่ 2613 - 2494 ปีก่อนคริสตกาล รวมเป็นเวลาประมาณ 119 ปี เป็นช่วงเวลาของความสงบสุขและความเจริญรุ่งเรืองเช่นเดียวกับในระหว่างที่มีการค้ากับประเทศอื่น ๆ ราชวงศ์ที่สาม, ราชวงศ์ที่สี่, ราชวงศ์ที่ห้า และราชวงศ์ที่หก มักจะรวมภายใต้ชื่อกลุ่มเก่าราชอาณาจักรซึ่งมักจะอธิบายว่าเป็นยุคของปิรามิด เมืองหลวงในเวลานั้นคือเมืองเมมฟ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่สี่แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่หก แห่งอียิปต์โบราณ มักจะรวมกับราชวงศ์ที่สาม, ราชวงศ์ที่สี่ และราชวงศ์ที่ห้า ในช่วงระยะเวลาของราชอาณาจักรเก่า ฟาโรห์ของราชวงศ์ที่หกครองราชย์ตั้งแต่เวลาประมาณ 2345 ถึง 2181 ปีก่อนคริสตกาล รวมเป็นเวลา 164 ปี มีฟาโรห์ทั้ง 8 พระองค์ หมวดหมู่:ราชวงศ์อียิปต์โบราณ หมวดหมู่:ราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่หนึ่งแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่หนึ่งแห่งอียิปต์โบราณ (First Dynasty of Egypt) มักจะรวมกับราชวงศ์ที่สองภายใต้ชื่อสมัยที่อยู่ระหว่างราชวงศ์ต้นแห่งอียิปต์ ช่วงเวลานั้นเมืองหลวงคือ ไทนิส ปกครองตั้งแต่ประมาณ 3050 – 2890 ปีก่อนคริสตกาล รวม 160 ปี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่หนึ่งแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่ห้า แห่งอียิปต์โบราณ มักจะรวมกับราชวงศ์ที่สาม, ราชวงศ์ที่สี่ และราชวงศ์ที่หก ในช่วงระยะเวลาของราชอาณาจักรเก่า ฟาโรห์ของห้าราชวงศ์ครองราชย์ตั้งแต่เวลาประมาณ 2,494 ถึง 2,345 ปีก่อนคริสตกาล รวมเป็นเวลา 149 ปี มีฟาโรห์ทั้ง 9 พระอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ที่เจ็ดและแปดแห่งอียิปต์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชวงศ์ที่เจ็ดและแปดแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์ (المملكة المتوكلية) หรือ ราชอาณาจักรเยเมน เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยเมนในปัจจุบัน หลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอียิปต์

ราชอาณาจักรอียิปต์ (المملكة المصرية) เป็นชื่อของรัฐอิยิปต์สมัยใหม่รัฐแรก ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1922 - ค.ศ. 1953 ราชอาณาจักรได้รับสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1922 เมื่อสหราชอาณาจักรตัดสินใจจะให้อียิปต์พ้นจากฐานะความเป็นรัฐในอารักขาของตนซึ่งเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1914 สุลต่านฟูอัดที่ 1 เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของราชอาณาจักรแห่งนี้ ต่อมาพระเจ้าฟารุกที่ 1 จึงทรงสืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 1936 ก่อนหน้าสมัยราชอาณาจักร ประเทศอียิปต์ได้ถูกยึดครองและควบคุมโดยสหราชอาณาจักรนับตั้งแต่ ค.ศ. 1882 เมื่อมหาอำนาจยุโรปได้ส่งกองทัพเข้ามาสนับสนุนการปกครองระบอบเคดีฟเพื่อต่อต้านการลุกฮือของขบวนการชาตินิยม เหตุการณ์ดังกล่าวได้เป็นจุดเริ่มต้นให้สหราชอาณาจักรเข้าควบคุมอียิปต์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันแต่เพียงในนาม ในปี ค.ศ. 1914 ผลจากการประกาศสงครามต่อจักรวรรดิออตโตมันได้ทำให้สหราชอาณาจักรต้องประกาศให้อียิปต์เป็นรัฐในอารักขาและถอดถอนเคดีฟออกจากตำแหน่ง พร้อมทั้งแต่งตั้งฮุสเซน กามิล พระญาติของเคดีฟ ขึ้นเป็นสุลต่านแห่งอียิปต์แทน อียิปต์ได้รับการสถาปนาและได้รับการยอมรับโดยสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1922 โดยมีพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ ทรงเป็นปฐมกษัตริย์ และได้ต่อสู้ทางการเมืองกับพรรควาฟด์ (Wafd) อันเป็นพรรคการเมืองขนาดใหญ่แนวทางชาตินิยมที่ต่อต้านทั้งอิทธิพลของสหราชอาณาจักรและประเทศสหราชอาณาจักร ซึ่งพรรคดังกล่าวต้องการจะให้อียิปต์เข้าควบคุมคลองสุเอซโดยตรง นอกจากนั้นยังมีขบวนการทางการเมืองอื่นๆ ที่เคลื่อนไหวในยุคนี้ เช่น พรรคคอมมิวนิสต์อียิปต์ (ก่อตั้ง ค.ศ. 1925) และขบวนการภราดรภาพมุสลิม (Muslim Brotherhood - ก่อตั้ง ค.ศ. 1928) ซึ่งขบวนการหลังนี้เป็นขบวนการที่ทรงอำนาจทั้งทางการเมืองและศาสนา พระเจ้าฟูอัดที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1936 ราชสมบัติจึงตกอยู่กับเจ้าชายฟารุกซึ่งขณะนั้นมีพระชนม์ได้ 16 พรรษา การรุกรานเอธิโอเปียโดยอิตาลีในระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน เป็นสัญญานเตือนให้พระองค์ต้องลงพระนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-อียิปต์ เพื่อให้สหราชอาณาจักรถอนทหารออกไปจากอียิปต์ทั้งหมด โดยยกเว้นเพียงบริเวณคลองสุเอซ ซึ่งสหราชอาณาจักรได้ตกลงถอนทหารในปี ค.ศ. 1949 ราชอาณาจักรอียิปต์ประสบความยุ่งยากจากภาวะการฉ้อราษฎร์บังหลวงและการที่พลเมืองของตนเองมองว่าประเทศของตนเป็นเพียงหุ่นเชิดของสหราชอาณาจักร จากเหตุเหล่านี้ และซ้ำเติมด้วยสงครามอาหรับ-อิสราเอล ในปี ค.ศ. 1948 ได้นำไปสู่การปฏิวัติอียิปต์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชอาณาจักรอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรทอเลมี

ราชอาณาจักรทอเลมี (Πτολεμαϊκὴ βασιλεία, Ptolemaic Kingdom) ตั้งอยู่ในอียิปต์ปัจจุบัน เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นหลังจากที่อเล็กซานเดอร์มหาราชได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 332 ก่อนคริสต์ศักราช และสิ้นสุดลงเมื่อคลีโอพัตราสิ้นพระชนม์ เมื่อโรมันได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 30 ก่อนคริสต์ศักราช ราชอาณาจักรทอเลมีก่อตั้งขึ้นโดยทอเลมีที่ 1 โซเตอร์ผู้ประกาศตนเป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์ ทอเลมีสร้างอียิปต์เป็นรัฐกรีกที่มีอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้ของซีเรียซีเรียไปจนถึงไซรีนในลิเบีย และทางใต้ไปถึงนิวเบีย โดยมีอเล็กซานเดรียเป็นเมืองหลวงและเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมกรีกและการค้า เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของประชาชนในอียิปต์ทอเลมีก็ประกาศตนว่าเป็นผู้ครองต่อจากฟาโรห์ ผู้ครองราชย์ต่อมารับธรรมเนียมของอียิปต์โบราณในการเสกสมรสกับพี่น้องกันเอง ปฏิบัติตัวและแต่งตัวอย่าอียิปต์ วัฒนธรรมกรีกรุ่งเรืองในอียิปต์จนกระทั่งเมื่อถูกพิชิตโดยมุสลิม ราชวงศ์ทอเลมีต้องต่อสู้กับการปฏิวัติภายในประเทศและการสงครามกับภายนอกซึ่งนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของอำนาจจนกระทั่งมาถูกผนวกโดยราชอาณาจักรโรมัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชอาณาจักรทอเลมี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแนบาเทีย

ราชอาณาจักรแนบาเทีย (Nabataean Kingdom; مملكة الأنباط) เป็นอาณาจักรของชาวแนบาเทีย สถาปนาเมื่อ 168 ปีก่อนคริสต์ศักราชโดยพระเจ้าอะรีทัสที่ 1 (Aretas I) ราชอาณาจักรแห่งนี้ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรไซนายและคาบสมุทรอาหรับ ทางเหนือติดกับดินแดนยูเดีย (Judea) ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดกับอาณาจักรอียิปต์ทอเลมี มีเมืองหลวงคือเมืองเปตรา (ปัจจุบันอยู่ในประเทศจอร์แดน) ซึ่งเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญของภูมิภาค และอยู่ในเส้นทางเครื่องหอม (Incense Route) มีเมืองสำคัญเช่น บอสตรา (Bostra), มาดาอิน ซาเลห์ (Mada'in Saleh), นิตซานา (Nitzana) ชาวแนบาเทียเป็นชนเร่ร่อนที่อาศัยอยู่ในทะเลทรายเนเกฟและคาบสมุทรไซนายสมัยที่จักรวรรดิอะคีเมนิดปกครองเมื่อศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล ต่อมาร่วมมือกับอาณาจักรแฮสมาเนียน (Hasmonean) เพื่อต่อสู้กับจักรวรรดิซิลิวซิด (Seleucid Empire) แต่หลังจากนั้นพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ แจนแนอัส (Alexander Jannaeus) แห่งแฮสมาเนียนได้โจมตีราชอาณาจักรแนบาเทียและบังคับให้ชาวแนบาเทียเปลี่ยนมานับถือศาสนายูดาห์ พระเจ้าโอบาดัสที่ 1 (Obodas I) จึงทำสงครามกับชาวแฮสมาเนียนและได้รับชัยชนะ ราชอาณาจักรแนบาเทียเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในรัชสมัยของพระเจ้าอะรีทัสที่ 3 (Aretas III; ครองราชย์ 87–62 ปีก่อนคริสต์กาล) แต่พระองค์ต้องทำสงครามกับชาวโรมัน ภายหลังทั้งสองฝ่ายได้เจรจาตกลงกันโดยพระเจ้าอะรีทัสที่ 3 ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการให้แก่โรมันTaylor, Jane; Petra; p.25-31; Aurum Press Ltd; London; 2005; ISBN 9957-451-04-9 ราชอาณาจักรแนบาเทียในช่วงปลายตกอยู่ใต้อิทธิพลของจักรวรรดิโรมันที่ยึดดินแดนรอบ ๆ ทั้งหมด ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชอาณาจักรแนบาเทีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม หรือ ราชอาณาจักรละตินแห่งเยรูซาเลม (Kingdom of Jerusalem หรือ Latin Kingdom of Jerusalem) เป็นอาณาจักรคริสเตียนที่ก่อตั้งในบริเวณลว้าน (Levant) ในปี ค.ศ. 1099 หลังสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และยืนยงต่อมาร่วมสองร้อยปีจนถึงปี ค.ศ. 1291 เมื่อเอเคอร์ดินแดนสุดท้ายที่เป็นของอาณาจักรถูกทำลายโดยมามลุค (Mamluk) ในระยะแรกราชอาณาจักรเป็นเพียงกลุ่มเมืองใหญ่และเล็กที่รวมตัวกันอย่างหลวมๆ ระหว่างสงครามครูเสด ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดอาณาบริเวณที่ปัจจุบันคืออิสราเอล และอาณาดินแดนปาเลสไตน์ (Palestinian territory) ที่ครอบคลุมตั้งแต่บริเวณเลบานอนปัจจุบันไปจนถึงทางเหนือของทะเลทรายไซนายทางด้านไต้ ไปยังจอร์แดน และซีเรียทางด้านตะวันออก ระหว่างนั้นก็มีการพยายามที่จะขยายดินแดนไปยังฟาติมิยะห์ (Fatimid) อียิปต์ นอกจากนั้นพระมหากษัตริย์ของราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็ยังมีอำนาจบางอย่างเหนืออาณาจักรครูเสดอื่นๆ, ตริโปลี, อันติโอค, และเอเดสสา ประเพณีและระบบต่างที่ใช้ในอาณาจักรนำมาจากยุโรปตะวันตกกับนักการสงครามครูเสด ระบบการปกครองและความเกี่ยวดองกับยุโรปเป็นไปตลอดอายุของอาณาจักร แต่เมื่อเทียบกับอาณาจักรในยุโรปแล้วราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็เป็นเพียงอาณาจักรที่ค่อนข้างเล็กและมักจะขาดการหนุนหลังทางด้านการเงินและทางการทหารจากยุโรป ราชอาณาจักรเยรูซาเลมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราชอาณาจักรข้างเคียงมากกว่าเช่นราชอาณาจักรอาร์มิเนียแห่งซิลิเซีย (Armenian Kingdom of Cilicia) และจักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่ได้รับอิทธิพลตะวันออกมา นอกจากนั้นก็ยังได้รับอิทธิพลจากระบบมุสลิม แต่ทางด้านสังคมแล้วผู้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรจากยุโรปตะวันตกแทบไม่มีการติดต่อกับมุสลิมหรือชนคริสเตียนท้องถิ่นที่ปกครองเลย ในระยะแรกฝ่ายมุสลิมไม่มีความสนใจกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมเท่าใดนักจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่ออาณาจักรของมุสลิมเริ่มแข็งตัวขึ้นและเริ่มยึดดินแดนที่เสียไปคืนอย่างเป็นจริงเป็นจัง เยรูซาเลมเสียแก่ซาลาดินในปี ค.ศ. 1187 และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ดินแดนของราชอาณาจักรก็เหลือเพียงแถบตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนพร้อมกับเมืองสำคัญๆ สองสามเมือง ในช่วงนี้ราชอาณาจักรที่บางครั้งก็เรียกว่า “ราชอาณาจักรเอเคอร์” ก็ปกครองโดยราชวงศ์ลูซิยัน (Lusignan) ของนักครูเสดจากราชอาณาจักรไซปรัส และมีความสัมพันธ์ดีกับทริโปลี, อันติออคและอาร์มีเนีย และได้รับอิทธิพลจากสาธารณรัฐเวนิส และสาธารณรัฐเจนัว และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ขณะเดียวกันอาณาจักรมุสลิมรอบข้างก็รวมตัวกันภายใต้ราชวงศ์อัยยูบิด (Ayyubid) และต่อมาราชวงศ์มามลุคของอียิปต์ ราชอาณาจักรเยรูซาเลมจึงกลายเป็นเบี้ยประกันของการสงครามและการเมืองในบริเวณนั้น ที่ตามมาโดยการโจมตีโดย คแวเรซเมียน (Khwarezmians) และจักรวรรดิโมกุลราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในที่สุดก็ถูกมามลุคสุลต่านไบบาร์ส (Baibars) และอัล-อัชราฟ คาลิล (al-Ashraf Khalil) ยึดดินแดนที่เหลืออยู่ทั้งหมดได้ รวมทั้งการทำลายเอเคอร์ในปี ค.ศ. 1291.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และราชอาณาจักรเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา

นลสัน แมนเดลา รายการต่อไปนี้คือ รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา เนลสัน แมนเดลา ได้รับรางวัลรวมทั้งสิ้นมากกว่า 250 รางวัลตลอดช่วงเวลา 4 ทศวรรษ รางวัลที่สำคัญที่สุดคือ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งได้รับเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอียิปต์

ตารางข้างล่างนี้แสดงธง ที่ใช้ในประเทศสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ อ่านเพิ่มเติมที่หัวข้อธงชาติอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อธงในประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง

ตัวละครหลัก รายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง ซึ่งเป็นตัวละครการ์ตูนจากการ์ตูนไทยเรื่อง "ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อตัวละครในลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในปริศนาสมบัติอัจฉริยะ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อตัวละครในปริศนาสมบัติอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่

ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามจำนวนพื้นที่ ซึ่งทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งสิ้น 44,579,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์ ข้อมูลจาก British Geological Survey เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตฟลูออไรต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศแผนที่แสดงจำนวนผลผลิตมะเขือเทศของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็ก

ผลผลิตแร่เหล็กทั่วโลก (พันตัน) ในปี 2013/2015 ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็ก ข้อมูลจาก U.S. Geological Survey.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตเฟลด์สปาร์ของแต่ละประเทศ (ข้อมูลจากปี 2011) รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตเฟลด์สปาร์ (ข้อมูลจาก เมื่อปี ค.ศ. 2013)  .

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครในประเทศอียิปต์

แผนที่ประเทศอียิปต์ ไคโร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ อเล็กซานเดรีย กีซา พอร์ตซาอ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อนครในประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย

โบสถ์พระคริสตสมภพ ซึ่งถือกันว่าเป็นสถานที่ประสูติของพระเยซู เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ถูกกำหนดให้เป็นแหล่งมรดกโลก และเป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่

ตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรก หมายเหตุ:ในแต่ละละติจูดในแผนที่อาจทำให้พื้นที่บิดเบือนทำให้การเปรียบเทียบกันโดยแผนที่นี้อาจมีข้อผิดพลาด นี้เป็นรายชื่อรวบรวมเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรกซึ่งนำรวมพื้นที่แหล่งน้ำในเขตการปกครองนั้นๆด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี

ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศอียิปต์ระหว่างปี ค.ศ. 1805-ค.ศ. 1953.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุช

ทความนี้เป็นบทความที่ยังไม่สมบูรณ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับรายพระนามผู้ปกครอง หรือที่เรียกว่า กอเร (กษัตริย์) หรือ คันดาเค (ราชินี) แห่งอาณาจักรคุช (นิวเบีย) เวลาการครองราชย์บางพระองค์ก็ยังคงเป็นช้อสันนิษฐานอยู่ และมีน้อยพระองค์เท่านั้นที่มีลำดับและระยะการครองราชย์ที่แน่นอน รวมถึงผู้ปกครองที่ได้ปกครองอาณาจักรอียิปต์โบราณ (ในช่วงสมัยราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า) และผู้ที่ปกครองที่มีชื่อเสียงในการทำสงครามหรือการเดินทางทางการค้า ซึ่งจัดลำดับโดยพริตซ์ ฮินต์เซ่ โดยการคำนวณระยะเวลาครองราชย์ของผู้ปกครองแต่ละพระองค์ว่าปกครองเป็นเวลาสั้นหรือยาวก็ขึ้นอยู่กับการตกแต่ง ความสวยงามและขนาดของหลุมฝังพระศพ เนื่องจากการสันนิษฐานว่าหากผู้ปกครองผู้ที่ปกครองในเวลาที่นานก็จะมีเวลาที่จะเพิ่มเติมส่วนประกอบของหลุมฝังพระศพด้วยการตกแต่ง และสิ่งของเครื่องใช้ แต่ก็มีปัญหาถกเถียงว่าหลุมฝังพระศพนั้นเป็นของผู้ปกครองพระองค์ใด ระยะเวลาการปกครองที่ชัดเจนและถูกต้อง ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ปกครองที่ได้ยึดอำนาจของอียิปต์ในช่วงราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า และเมื่ออียิปต์ได้พ้นจากอำนาจของอาณาจักรคุช ก็จะมีผู้ปกครองดังนี้ที่ทราบถึงการครองราชย์ที่แน่นอนคือ กษัตริย์แอสเพลตา, อราคามานิ, นาสตาเซน และมีพระราชินีดังนี้ พระนางซานัคดาเคเต, อมานิเรนาส, อมานิซาเคโต, อมานิโตเร และ อมานิคาตาซาน ในช่วงต้นของอาณาจักรคุชก็ยังคงคลุมเครืออยู่ บริเวณหลุมฝังพระศพและปิรามิดในซูดานมีอย่างน้อยสิบสี่แห่ง และมีหลุมฝังพระศพที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดที่สร้างเมื่อประมาณ 1020 ปีก่อนคริสตกาล ก่อนสมัยการปกครองของผู้ปกครองนามว่า ปิเย สองหลุมฝังพระศพในทั้งหมดทราบว่าเป็นของกษัตริย์อลาราและคาซตา นอกจากนี้ยังอาจเป็นไปได้ว่าหลุมฝังพระศพหนึ่งในสิบสี่แห่งอาจจะเป็นของกษัตริย์อาเซอร์คามานิ ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงเวลา 950 ปีก่อนคริสตกาล และดำเนินการเดินทางในอียิปต์และตามชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในแอฟริกาเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุช · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามกษัตริย์อไบดอส

ในด้านข้างของหน้าบันทึกพระนามแห่งอไบดอส แสดงให้เห็นว่าฟาโรห์เซติที่หนึ่งและพระราชโอรสของพระองค์ฟาโรห์แรเมซีสที่สอง (ทรงพระเยาว์) ระหว่างทำการบูชาให้กับเทพพทาห์ เทพเซเกอร์ เทพโอไซริส และพระนามของฟาโรห์ บันทึกพระนามแห่งอไบดอส ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนามของ ตารางพระนามอไบดอส คือบันทึกรายพระนามฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณจำนวนทั้งหมด 76 พระองค์ ที่ปรากฎอยู่ผนังของวัดที่สร้างขึ้นโดยฟาโรห์เซติที่หนึ่ง ที่เมืองอไบดอสในประเทศอียิปต์ ซึ่งบันทึกทั้งไว้สามแถวและแต่ละแถวจะมีพระนามทั้งหมด 38 พระนาม โดยพระนามจะปรากฎอยู่ในวงรีที่เรียกว่า คาร์ทูธ (วงรีล้อมรอบพระนามของฟาโรห์) ในแต่ละแถว ซึ่งสองแถวด้านบนนั้นจะเป็นพระนามของฟาโรห์ ส่วนในขณะที่แถวที่สามนั้นจะบันทึกพระนามต่าง ๆ ของฟาโรห์เซติที่หนึ่ง นอกเหนือจากจะมีการบันทึกพระนามของฟาโรห์ในยุคราชอาณาจักรเก่าแล้ว ก็ยังมีการบันทึกพระนามของฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่เจ็ดและแปด ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่มีความคลุมเครืออย่างมากเนื่องจากยังขาดหลักฐานทางโบราณคดี ดังนั้นบันทึกพระนามแห่งอไบดอสจึงมีประโยชน์ในการศึกษาเกี่ยวกับอียิปต์โบราณ บันทึกพระนามนี้มีการละเว้น (ไม่บันทึก) พระนามของฟาโรห์ก่อนหน้านี้หลายพระองค์ที่ได้รับการพิจารณว่าฟาโรห์เหล่านี้ปกครองอย่างไม่ชอบธรรม เช่น ฟาโรห์ชาวฮิกซอส, พระนางแฮตเชปซุต, ฟาโรห์อาเคนาเตน, ฟาโรห์สเมงห์คาเร, ฟาโรห์ทุตอังค์อามุน และฟาโรห์ไอ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายพระนามกษัตริย์อไบดอส · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์

ตารางต่อไปนี้จะแสดงข้อมูลส่วนหนึ่งในบรรดาซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ที่เป็นสายพันธุ์มนุษย์ (hominin) ซึ่งใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นตั้งแต่การตั้งขึ้นของวงศ์ย่อย "Hominini" ในสมัย Miocene ปลายคือประมาณ 6 ล้านปีก่อน (ดูการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ที่บทความการจำแนกชั้นของไพรเมต-วงศ์ลิงใหญ่) เนื่องจากว่า มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์เป็นพัน ๆ โดยมากไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งเป็นเพียงแค่กระดูกหรือฟันชิ้นเดียว และน้อยครั้งจะได้โครงกระดูกหรือแม้แต่กะโหลกศีรษะทุกชิ้น ตารางนี้ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะแสดงซากดึกดำบรรพ์ที่ได้ค้นพบทั้งหมด แต่เพื่อจะแสดงสิ่งค้นพบที่สำคัญที่สุด รายการจะเรียงลำดับตามอายุโดยประมาณ ตามการหาอายุโดยสารกัมมันภาพรังสี (เช่นจากคาร์บอนกัมมันตรังสี) หรือเทคนิคอื่น ๆ (เช่น incremental dating) ชื่อสปีชีส์เป็นชื่อตามมติในปัจจุบัน หรือว่า ถ้าไม่มี ก็จะแสดงชื่ออื่น ๆ ไว้ด้วย ส่วนชื่อสปีชีส์ที่เคยใช้แต่ตกไปแล้วอาจจะพบได้ในเว็บไซต์ของซากดึกดำบรรพ์เอง ให้สังเกตว่า ซากดึกดำบรรพ์ที่แสดงโดยมากไม่ได้รับการพิจารณาว่า เป็นสัตว์บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens) แต่เป็นญาติใกล้ชิดกับบรรพบุรุษมนุษย์ และดังนั้น จึงมีความสำคัญในการศึกษาเรื่องการสืบทอดสายพัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ริสก์

ริสก์ (Risk) เกมกระดานลักษณะการวางแผนในการรบ คิดค้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดย Albert Lamorisse ชาวฝรั่งเศส จัดจำหน่ายโดยบริษัทพาร์เกอร์บราเธอรส์บริษัทลูกของบริษัทแฮสโบร ลักษณะเกมของริสก์เป็นการวางแผนในการวางทหารในเขตประเทศต่างๆ และทำการบุกยึดดินแดนข้างเคียง โดยผู้เล่นแต่ละคนจะได้ภารกิจมา เมื่อทำภารกิจสำเร็จ จะเป็นผู้ชนะของเกม ภารกิจจะมีหลายรูปแบบ เช่น ยึดครอง 2 ทวีป หรือปราบผู้เล่นสีใดสีหนึ่ง ลักษณะการเล่นเกมจะใช้ลูกเต๋าสู้กันในการโจมตีและการป้องกันดินแดน เกมได้มีการทำออกมาหลายรุ่นนอกจากแผนที่โลก ยังได้มีการทำแผนที่และตัวละครอื่นเช่น ริสก์รุ่นเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ นาร์เนียและรุ่นสตาร์วอร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และริสก์ · ดูเพิ่มเติม »

รถถังโจเซฟ สตาลิน

รถถังโจเซฟ สตาลินหรือรถถังอิโอซิฟ สตาลิน (Ио́сиф Ста́лин,Iosif Stalin) หรือรถถัง IS เป็นรถถังหนักที่พัฒนาต่อเนื่องจาก รถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ โดยสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง รถถัง IS ได้รับการออกแบบด้วยเกราะหนาเพื่อตอบโต้ปืน 88 มิลลิเมตรของเยอรมันและมีปืนใหญ่ที่สามารถเอาชนะรถถังไทเกอร์และรถถังแพนเทอร์ได้ การพัฒนากระสุนระเบิดแรงสูงที่เป็นประโยชน์ในการทำลายสนามเพลาะและบังเกอร์ IS-2 ถูกนำไปใช้ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรถถังโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินไคโร

รถไฟใต้ดินไคโร (مترو أنفاق القاهرة or مترو الأنفاق) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินแห่งแรกในกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ปัจจุบันเปิดทำการแล้ว 3 เส้นทาง ดำเนินการโดย National Authority for Tunnels ใช้รางสแตนดาร์ดเกจ (1435 มม.) ในปี ค.ศ. 2011 มีผู้โดยสารมาใช้บริการรถไฟฟ้าเกือบ 4 ล้านคนต่อวันhttp://www.4-traders.com/VINCI-4725/news/VINCI-Opening-of-Phase-1-of-Line-3-of-the-Cairo-metro-14035130/.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และรถไฟใต้ดินไคโร · ดูเพิ่มเติม »

ละติฟา อัลซัยยัต

ละติฟา อัลซัยยัต (Latifa al-Zayyat; لطيفة الزيات; 8 สิงหาคม ค.ศ. 1923 – 10 กันยายน ค.ศ. 1996) เป็นนักเขียนชาวอียิปต์ เกิดที่เมืองดาเมียตตา ในจักรวรรดิออตโตมัน (ปัจจุบันอยู่ในประเทศอียิปต์) เรียนจบจากมหาวิทยาลัยไคโร ก่อนจะทำงานเป็นอาจารย์สอนภาษาอังกฤษที่นั่น ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และละติฟา อัลซัยยัต · ดูเพิ่มเติม »

ลักซอร์

ลักซอร์ (Luxor; الأقصر) เป็นนครในประเทศอียิปต์ เป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการลักซอร์ มีประชากร 487,896 คน (ค.ศ. 2010) (retrieved 2010-7-27) เมืองมีพื้นที่ราว 416 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลักซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเอเรียส

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ทรงเผาหนังสือของลัทธิเอเรียส ลัทธิเอเรียส (Arianism) เป็นแนวคำสอนทางเทววิทยาของเอเรียส (ราว ค.ศ. 250–ค.ศ. 336) บาทหลวงที่สังคายนาไนเซียครั้งที่ 1 ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลัทธิเอเรียส · ดูเพิ่มเติม »

ลา

ลา (donkey หรือ ass) เป็นสัตว์สี่เท้าชนิดที่มีกีบเท้าเดียวชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Equidae บรรพบุรุษที่เป็นสัตว์ป่าของลาคือลาป่าแอฟริกา (E. africanus) ถูกนำมาเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เมื่อประมาณ 3000 ปีก่อนคริสต์ศักราชRossel S, Marshall F et al.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลา · ดูเพิ่มเติม »

ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง

ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง (LaFlora, the Princess Academy) เป็นหนังสือการ์ตูนที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ มี 9 ชุด คือ "ลา ฟลอร่า", "ลา ฟลอร่า ภาค ประเทศฉันสุดยอด", "ลา ฟลอร่า บอร์ดเกม","ลาฟลอร่า ฮันนี่แรลลี่","ลาฟลอร่า คลับเฟสต้า","ลาฟลอร่า แอนิเมชัน","นิยาย ลาฟลอร่า","คอมมิกชันนารี ลา ฟลอร่า โรซารี่ please" และ "ลาฟลอร่า ดรีมมี่ คาเฟ่" โดยในแต่ละเล่มจะมีเนื้อหาและตัวละครที่ต่างกัน จากความนิยมอย่างแพร่หลาย และความโดดเด่นของตัวละคร ส่งผลให้ทางผู้ผลิตได้จัดทำในรูปแบบของเกมกระดานในเวลาต่อมา ปัจจุบันได้มีการจัดแปลเป็นภาษาต่างประเทศ 4 ภาษา รวมถึงจัดทำเป็นแอนิเมชัน และวรรณกรรมเยาวชน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง · ดูเพิ่มเติม »

ลาป่าแอฟริกา

ลาป่าแอฟริกา (African Wild Ass) เป็นลาป่าที่อยู่ในวงศ์ Equidae เชื่อกันว่าเป็นบรรพบุรุษของลาบ้านซึ่งปกติจัดไว้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน อาศัยอยู่ในทะเลทรายและพื้นที่แห้งแล้งอื่นๆทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ในประเทศเอริเทรีย, ประเทศเอธิโอเปียและประเทศโซมาเลีย ก่อนหน้านี้ลาป่าแอฟริกามีการกระจายพันธุ์กว้างจากทางเหนือถึงตะวันตก ในประเทศซูดาน, ประเทศอียิปต์ และ ประเทศลิเบีย ปัจจุบันเหลือประมาณ 570 ตัวในป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลาป่าแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114

ลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114 (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ลิเบียนแอร์ไลน์) เป็นเที่ยวบินพาณิชย์ของลิเบีย เดินทางจากทริโปลี มุ่งหน้าสู่ไคโร เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ระหว่างทางเกิดพายุทรายทำให้ทัศนวิสัยไม่ดี นักบินจึงทำการบินด้วยระบบอิเลคโทรนิคส์ และหลงเข้าไปในเขตยึดครองของอิสราเอลเหนือคลองสุเอซ บริเวณคาบสมุทรไซนาย และถูกสกัดกั้นโดยเครื่องบินขับไล่ แฟนทอม เอฟ-4 ของกองทัพอากาศอิสราเอล และต้องร่อนลงจอดฉุกเฉินลงบนเนินทราย ทำให้มีผู้เสียชีวิต 108 คน รอดชีวิต 5 คน รวมทั้งนักบินผู้ช่วยชาวลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114 · ดูเพิ่มเติม »

ลูกเต๋า

ลูกเต๋าธรรมดาสี่ลูก จัดวางให้เห็นหน้าที่แตกต่างกันทั้งหกหน้า ลูกเต๋า(douse)เป็นวัตถุทรงลูกบาศก์หรือทรงเรขาคณิตอื่นๆ ซึ่งแต่ละด้านกำกับด้วยสัญลักษณ์ต่างๆ ลูกเต๋าเป็นอุปกรณ์สำคัญในการสุ่ม สำหรับเกมต่างๆ ทั้งที่เป็นเกมการพนันในกาสิโนหรือบ่อนการพนัน เช่น แครปส์ ไฮโล และเกมที่ไม่ใช่การพนัน โดยเฉพาะเกมกระดาน เช่น แบ็กแกมมอน งูตกบันได ลูกเต๋าธรรมดา เป็นลูกบาศก์ ขนาดประมาณ 1-2 เซนติเมตร แต่ละด้านของลูกเต๋า (เรียกว่า หน้า) จะระบุตัวเลข แสดงเป็นจุดจำนวนต่าง ๆ กันตั้งแต่ 1 ถึง 6 เมื่อต้องการสุ่มตัวเลข ผู้ใช้จะโยนลูกเต๋าไปบนพื้นราบให้ลูกเต๋าหมุนหรือกลิ้ง (เรียกว่า ทอยลูกเต๋า หรือ ทอดลูกเต๋า) หรือใช้วิธีการอื่นใด เพื่อให้ลูกเต๋าหมุนหรือกลิ้งก็ได้ เมื่อลูกเต๋าหยุดหมุนหรือกลิ้งแล้ว ถือว่าตัวเลขที่สุ่มได้คือตัวเลขที่อยู่บนด้านบนสุดของลูกเต๋า เช่น หากทอยลูกเต๋าแล้ว หน้าที่แสดงเลข 4 อยู่บนสุด ถือว่าสุ่มได้เลข 4 หรืออาจเรียกว่า ออกเลข 4 ก็ได้ ในบางเกมจะใช้ลูกเต๋ามากกว่า 1 ลูก โยนพร้อมกัน แล้วถือว่าตัวเลขที่สุ่มได้คือผลรวมของเลขที่ออกทั้งหมด หากใช้ลูกเต๋าธรรมดาลูกเดียว ตัวเลข 1 ถึง 6 จะมีความน่าจะเป็นที่จะถูกสุ่มขึ้นมาได้เท่า ๆ กัน หากต้องการสุ่มสิ่งที่ไม่ใช่ตัวเลข 1 ถึง 6 อาจใช้ลูกเต๋าชนิดอื่น ที่มีจำนวนหน้าหรือสัญลักษณ์แตกต่างจากลูกเต๋าธรรมดา และหากต้องการให้ความน่าจะเป็นที่ออกแต่ละหน้าไม่เท่ากัน อาจใช้ลูกเต๋าถ่วง ซึ่งโดยปกติแล้วการใช้ลูกเต๋าถ่วงถือเป็นการโกงอย่างหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และลูกเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (보물찾기; Treasure Hunting) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากประเทศเกาหลีใต้ ที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ จัดพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ และ ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า เป็นการ์ตูนที่สร้างแรงดลบันดาลใจให้กับหนังสือการ์ตูนความรู้ชุด ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955 (1955 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่สี่ของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองบูคาเรสต์, ประเทศโรมาเนีย ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1955 (1955 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ห้าของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองปราก, ประเทศเชโกสโลวาเกีย ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม – 11 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1958 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971 (1971 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองไคโร, ประเทศอียิปต์ มี 7 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1971 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1983

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1983 (1983 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองพอร์ตซาอิด, ประเทศอียิปต์ มี 7 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1983 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1989

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1989 (1989 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองอาบีจาน, ประเทศอียิปต์ มี 4 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1989 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991 (1991 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองไคโร, ประเทศอียิปต์ มี 10 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1991 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999 (1999 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองไคโร, ประเทศอียิปต์ มี 6 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1999 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003  (2003 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นที่เมืองไคโร ประเทศอียิปต์ จัดแข่งขันตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 6 สิงหาคม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2003 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015 (2015 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในไคโร, ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 22–30 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2014

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2014 (2014 Men's U23 African Volleyball Championship) จะจัดขึ้นในเมืองชาร์ม เอล-ชีค, ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 7–12 พฤศจิกายน โดยเอา 2 อันดับแรกจะผ่านเข้าสู่การแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2015.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2014 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี (FIVB Volleyball Men's U23 World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างประเทศสำหรับประเภททีมชายที่อายุไม่เกิน 23 ปี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 (2017 FIVB Volleyball Men's U23 World Championship) จะจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 3 ของการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ และเป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกสำหรับทีมชาติที่มีอายุไม่เกิน 23 ปี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ การแข่งขันจะจัดขึ้นที่ไคโร ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 18–26 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 (2017 Asian Men's U23 Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 2 ของการแข่งขัน ซึ่งจัดขึ้นที่อาร์เดบิล, ประเทศอิหร่าน ระหว่างวันที่ 1–9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติอียิปต์

วอลเลย์บอลชายทีมชาติอียิปต์ ในพอซนาน ในปี ค.ศ. 2008 วอลเลย์บอลชายทีมชาติอียิปต์ (منتخب مصر لكرة الطائرة) เป็นตัวแทนของประเทศอียิปต์ ในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ รวมถึงนัดกระชับมิตร และเป็นหนึ่งในทีมชั้นนำของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายทีมชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 12 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 3 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 12 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 8 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 12 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 10 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือก

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือก (Volleyball at the 2000 Summer Olympics – Men's qualification) จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1977

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1977 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลที่จัดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1977 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1985

วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1985 เริ่มการแข่งขันระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม ในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 1985 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์โลก 2013

วอลเลย์บอลยุวชนชิงแชมป์โลก 2013 (2013 FIVB Girls Youth World Championship) ได้มีการจัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 26 กรกฎาคม ถึง 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556 รายการนี้เป็นการแข่งขันครั้งแรกที่มีทีมเข้าร่วมถึง 20 ทีม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์โลก 2013 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015

วอลเลย์บอลชายเวิลด์ลีก 2015 (2015 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 32 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม – 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016 (2016 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับโลก จำนวน 36 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน – 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017 (2017 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับโลก จำนวน 36 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดเส้าหลิน

วัดเส้าหลินหรือสำนักเส้าหลิน (เส้าหลินซื่อ; แต้จิ๋ว: เสี้ยวลิ้มยี่; ฮกเกี้ยน: เชี้ยวหลิมซี; คำแปล: วัดป่าบนเขาเส้าซื่อ) เป็นวัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเก่าแก่อายุมากกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซาน หนึ่งในจำนวนห้ายอดเขาอันศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน เป็นเทือกเขาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดทั้งในด้านของประวัติศาสตร์และในแวดวงยุทธภพ ประกอบด้วยยอดเขาน้อยใหญ่จำนวน 72 ยอด แบ่งเป็นสองกลุ่มคือในกลุ่มของเขาไท่ซื่อ จำนวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่อ จำนวน 36 ยอด ในอำเภอเติงเฟิง เมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง บริเวณรอบ ๆ วัดเส้าหลินเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ใช้สำหรับฝึกวิทยายุทธของหลวงจีน รายล้อมด้วยป่าเจดีย์หรือถ่าหลิน ซึ่งเป็นสุสานของอดีตเจ้าอาวาสและหลวงจีน ซึ่งมีมาตั้งแต่ในยุคสมัยของราชวงศ์ถัง วัดเส้าหลินมีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดในประเทศจีนและในต่างประเทศ ได้รับการกล่าวขานในเรื่องของกระบวนท่าวิทยายุทธ เพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งวิชาการต่อสู้และศิลปะการป้องกันตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีน ปรากฏชื่อในนิยายกำลังภายในหลายต่อหลายเรื่อง ซึ่งล้วนแต่กล่าวถึงวิชาเพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินอยู่เสมอ โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้งเช่น มังกรหยก, จอมใจจอมยุทธ์, จิ้งจอกภูเขาหิมะ เป็นต้น ปัจจุบันมีหลวงจีนที่บวชเพื่อศึกษาธรรมะและกังฟูจำนวน 180 รูป มีหลวงจีน ซือ หย่งซิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศจีน ที่ทางรัฐบาลจีนได้ร้องขอต่อองค์กรยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และได้รับการพิจารณาให้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ร่วมกับโบราณสถานอีก 5 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวัดเส้าหลิน · ดูเพิ่มเติม »

วัดเดโบด

วัดเดโบด วัดโบราณอียิปต์เดโบด ที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน ลายสลักบนกำแพงด้านในวัด ภาพถ่ายเมื่อครั้งยังอยู่ที่นิวเบียร์ ประเทศอียิปต์ วัดเดโบด (Templo de Debod) เป็นวัดโบราณของประเทศอียิปต์ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่กรุงมาดริด เมืองหลวงของประเทศสเปน ใกล้กับปลาซาเดเอสปัญญา (Plaza de España) โดยยังคงลักษณะการวางตำแหน่งของวัดให้ใกล้เคียงกับแบบดั้งเดิม คือการวางเรียงตัวจากทิศตะวันออกไปสู่ทิศตะวันตก วัดโบราณแห่งนี้เป็นของขวัญที่ประเทศอียิปต์มอบให้กับประเทศสเปนเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวัดเดโบด · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วันแรงงาน

หรดวันแรงงานในโทรอนโตในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1900 วันแรงงาน (Labour Day) เป็นวันหยุดประจำปีที่เฉลิมฉลองไปทั่วโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน เพื่อที่จะฉลองผลงานทางการเศรษฐกิจและสังคมของผู้ใช้แรงงาน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวันแรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

วาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮี

วาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮี (โอ้ อาวุธของข้า) เป็นเพลงชาติของสหสาธารณรัฐอาหรับ (สหพันธรัฐอียิปต์และซีเรีย) เมื่อ ค.ศ. 1960 ภายหลังการล่มสลายของสหสาธารณรัฐ ในปี ค.ศ. 1961 อียิปต์จึงนำเพลงชาติฉบับดังกล่าวใช้เป็นของตน จนกระทั่งสิ้นสุดสหสาธารณรัฐเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวาลละฮ์ซะมานยาซิลาฮี · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การทูตกาตาร์

วิกฤตการณ์การทูตกาตาร์ เริ่มขึ้นในวันที่ 5 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวิกฤตการณ์การทูตกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์คลองสุเอซ

วิกฤตการณ์สุเอซ (The Suez Crisis หรือ Tripartite Aggression) เป็นวิกฤตการณ์ที่เกิดสงครามระหว่าง อียิปต์, อังกฤษ, ฝรั่งเศส และอิสราเอล มีมูลเหตุมาจากที่อียิปต์ต้องการให้คลองสุเอซ (ที่ขุดโดยเงินทุนของอียิปต์ กับฝรั่งเศส) กลายเป็นของประเทศ แต่คลองนี้มีความสำคัญต่ออังกฤษเพราะเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ มายังอาณานิคมทั้งหลายทั้ง อินเดีย, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และตะวันออกไกล ดังนั้นอังกฤษจึงซื้อหุ้นส่วนของอียิปต์ในคลองนี้ มาทำให้ตัวเองมีอำนาจเหนือคลองดังกล่าวและคานอำนาจกับฝรั่งเศส คลองนี้มีส่วนสำคัญในการรบทั้ง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวิกฤตการณ์คลองสุเอซ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515

วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไท..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

วิกิเมเนีย

วิกิเมเนีย (Wikimania) เป็นการประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปีสำหรับผู้ใช้ของโครงการวิกิที่ดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย (ประกอบด้วยวิกิพีเดียและโครงการพี่น้องอื่น ๆ) หัวข้อการนำเสนอและการอภิปรายประกอบด้วยโครงการมูลนิธิวิกิมีเดีย, วิกิอื่น ๆ, ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ, ความรู้และเนื้อหาเสรี และสังคมที่แตกต่างรวมถึงเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเหล่านี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวิกิเมเนีย · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H. erectus/ergaster เป็นกลุ่มมนุษย์ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะคือมนุษย์โบราณ H. heidelbergensis/rhodesiensis หลังจากนั้น มนุษย์สปีชีส์ ''Homo sapiens'' ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern human) ก็เกิดขึ้นโดยมีวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณในยุคหินกลาง (แอฟริกา) คือประมาณ 300,000 ปีก่อน ตามทฤษฎี "กำเนิดมนุษย์ปัจจุบันเร็ว ๆ นี้จากแอฟริกา" มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการในทวีปแอฟริกาแล้วจึงอพยพออกจากทวีปประมาณ 50,000-100,000 ปีก่อน (ต่างหากจากมนุษย์ในยุคก่อน ๆ) ไปตั้งถิ่นฐานแทนที่กลุ่มมนุษย์สปีชีส์ H. erectus, H. denisova, H. floresiensis และ H. neanderthalensis ในที่ต่าง ๆ ที่เป็นเชื้อสายของมนุษย์ที่อพยพออกมาจากทวีปแอฟริกาในยุคก่อน ๆ โดยอาจได้ผสมพันธุ์กับมนุษย์โบราณก่อน ๆ เหล่านั้น หลักฐานโดยดีเอ็นเอในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวิวัฒนาการของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้น

วินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้น (世界之窗) ตั้งอยู่ในทางทิศตะวันตก ของเมืองเซินเจิ้น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2536 เป็นสถานจำลองสถานที่ต่างๆจากทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

วีรา ลินน์

ม วีรา ลินน์, ดีบีอี (เกิด 20 มีนาคม ค.ศ. 1917 เดิมชื่อว่า วีรา มาร์กาเรต เวลช์) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวอังกฤษ ที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างยิ่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตลอดช่วงสงครามเธอได้ตระเวนไปตามค่ายทหารต่างๆ เพื่อขับร้องเพลงกล่อมขวัญทหารฝ่ายสัมพันธมิตร ทั้งที่อียิปต์ อินเดีย และพม่า จนได้รับฉายาว่า "หวานใจของกองทัพ" (The Forces' Sweetheart) ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียงของเธอ ได้แก่เพลง We'll Meet Again บันทึกเสียงในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และวีรา ลินน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศอียิปต์

พระพุทธศาสนาในประเทศอียิปต์เริ่มต้นขึ้น เมื่อพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งมคธได้ส่งทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างอาณาจักร โดยอาณาจักรไกริน ซึ่งอยู่ใกล้กับอียิปต์ก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย พร้อมกันนนั้นพระเจ้าอโศกมหาราชจึงได้ส่งพระธรรมทูตมาเผยแผ่ด้วย ในบริเวณเมืองอเล็กซานเดรีย ของอียิปต์ด้วย แต่ก็สูญหายไป ต่อมาอีกหลายศตวรรษได้มีชาวญี่ปุ่น ลังกา เกาหลี อินเดีย และไทย เดินทางเข้าไปทำงาน ศึกษา หรือท่องเที่ยว และได้มีการถ่ายทอดความรู้หลักธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาต่างๆให้แก่ชาวอียิปต์ แต่ก็มีชาวพุทธอียิปต์ไม่เกิน 1 หมื่นคน ซึ่งส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในเมืองไคโร และเมืองอเล็กซานเดรีย นอกจากนั้น ชาวพุทธต่างถิ่นที่เข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศอียิปต์ ในช่วงวันวิสาขบูชาจะปฏิบัติศาสนกิจด้วยการเวียนเทียนกันเป็นกลุ่มเล็กๆ และมีการแสดงหลักธรรมเป็นเวลาสั้นๆ ส่วนการเผยแผ่ศาสนานั้นเป็นไปได้ยาก เนื่องจากเป็นสังคมเล็กๆท่ามกลางสังคมมุสลิมจำนวนมาก การเผยแผ่จึงเป็นไปได้ยาก หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่:ประเทศอียิปต์.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศาสนาพุทธในประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลามในประเทศไทย

''มัสยิดกรือเซะ'' หรือ ''มัสยิดปิตูกรือบัน'' เป็นมัสยิดที่มีอายุกว่า 200 ปี ในจังหวัดปัตตานี ศาสนาอิสลาม เป็นชนกลุ่มน้อยทางศาสนาในประเทศไทย แต่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยสถิติระบุว่าประชากรมุสลิมมีระหว่าง 2.2 ล้านคนhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/cult48.pdf ถึง 7.4 ล้านคน ซึ่งมีความหลากหลายจากการอพยพเข้ามาจากทั่วโลก มุสลิมในไทยส่วนใหญ่เป็นนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศาสนาอิสลามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลาจารึก

ลาจารึกของอียิปต์โบราณ ศิลาจารึก เป็นวรรณกรรมชนิดลายลักษณ์อักษรอย่างหนึ่ง อาศัยการบันทึกบนเนื้อศิลา ทั้งชนิดเป็นแผ่น และเป็นแท่ง โดยใช้โลหะแหลมขูดเนื้อศิลาให้เป็นตัวอักษร เรียกว่า จาร หรือ การจารึก ศิลาจารึกมีคุณค่าในเชิงบันทึกทางประวัติศาสตร์ ผู้จารึกหรือผู้สั่งให้มีศิลาจารึกมักจะเป็นผู้มีอำนาจ มิใช่บุคคลทั่วไป เนื้อหาที่จารึกมีความหลากหลายตามความประสงค์ของผู้จารึก เช่น บันทึกเหตุการณ์ บันทึกเรื่องราวในศาสนา บันทึกตำรับตำราการแพทย์และวรรณคดี เป็นต้น จารึกบนแท่งศิลานั้นมีความคงทน คงสภาพอยู่ได้นับพันๆ ปี ด้วยเหตุนี้ นักประวัติศาสตร์และนักภาษาศาสตร์จึงสามารถสืบสานความรู้ย้อนไปได้นับพันๆ ปี โดยเฉพาะความรู้ด้านอักษร และภาษา ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมา จารึกที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศิลาจารึก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลาโรเซตตา

ลาโรเซตตา ศิลาโรเซตตา (Rosetta Stone) เป็นศิลาจารึกทำจากหินแกรนด์โอไดโอไรต์ จารึกกฤษฎีกาซึ่งตราขึ้นในนามพระเจ้าทอเลมีที่ 5 (Ptolemy V) ณ เมืองเมมฟิส ประเทศอียิปต์ เมื่อ 196 ปีก่อน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศิลาโรเซตตา · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศิลปศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสกัดหิน

อุทยานแห่งชาติแคนยอนแลนด์ในยูทาห์ในสหรัฐอเมริกา งานสลักลายหินที่รู้จักกันว่า "Meerkatze" ที่เป็นภาพสิงโตต่อสู้กันที่ Wadi Methkandoushที่ลิเบีย ศิลปะสกัดหิน (Petroglyph หรือ Rock engravings) เป็นแผนภูมิรูปภาพ (pictogram) และ แผนภูมิโลโก (logogram) ที่สร้างโดยการสกัด, เซาะ, ถาก, แกะ หรือ ครูดหินจนเป็นภาพ นอกทวีปอเมริกาเหนือนักวิชาการมักจะใช้คำว่า "สลัก", "แกะ" หรือคำบรรยายอื่นในการบรรยายวิธีการสร้างภาพดังกล่าว ศิลปะสกัดหินพบทั่วไปในโลกและมักจะเกี่ยวข้อง (แต่ไม่เสมอไป) กับชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในภาษาอังกฤษคำว่า "Petroglyph" มาจากคำสองคำในภาษากรีก คำว่า "Petros" ที่แปลว่า "หิน" และ "glyphein" ที่แปลว่า "แกะสลัก" เดิมเป็นคำที่คิดขึ้นในภาษาฝรั่งเศสว่า "pétroglyphe" "ศิลปะสกัดหิน" ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า "ศิลปะวาดบนหิน" ซึ่งเป็นภาพที่วาดบนหน้าหิน แต่ศิลปะทั้งสองแบบจัดอยู่ในกลุ่มศิลปะหิน (Rock art) หรือ ศิลปะวางหิน (Petroform) ซึ่งเป็นศิลปะของการวางก้อนหินให้เป็นลวดลายหรือทรงต่างๆ บนพื้น หรือศิลปะก่อหิน (Inukshuk) ซึ่งเป็นศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งที่พบเฉพาะในบริเวณอาร์กติก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศิลปะสกัดหิน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะอียิปต์โบราณ

'''งานจิตรกรรมของอียิปต์''' ศิลปะอียิปต์ อยู่ในช่วงเวลา 3,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศักราชที่ 1000 (2650 ปีก่อน พ.ศ. - พ.ศ. 510) ชาวอียิปต์มีศาสนาและพิธีกรรมอันซับซ้อน แทรกซึมอยู่เป็นวัฒนธรรมอยู่ในสังคมเป็นเวลานาน มีการนับถือเทพเจ้าที่มีลักษณะอันหลากหลาย ดังนั้น งานจิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรมส่วนมากจึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับศาสนา พิธีกรรม โดยเฉพาะพิธีฝังศพ ซึ่งมีความเชื่อว่าเมื่อตายแล้วจะยังมีชีวิตอยู่ในโลกใหม่ได้อีก จึงมีการรักษาศพไว้อย่างดี และนำสิ่งของเครื่องใช้ที่มีค่าของผู้ตายบรรจุตามลงไปด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศิลปะอียิปต์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะเกี่ยวกับความตาย

ลปะเกี่ยวกับความตาย (Funerary art) คือประเภทของงานศิลปะที่เป็นรูปแบบหรือตั้งอยู่กับร่างของผู้ตาย ที่เก็บศพเป็นคำกว้างๆ ที่สใช้สำหรับบรรจุผู้ตาย ขณะที่สมบัติสุสานคือสิ่งของที่ฝังหรือตั้งไว้กับผู้ตาย—ที่นอกไปจากร่างของผู้ตาย—ที่ได้รับการวางไว้กับผู้ตาย สิ่งของต่างๆ ที่ฝังไปกับผู้ตายอาจจะรวมทั้งสิ่งของส่วนตัว หรือวัตถุหรือสิ่งของที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะสำหรับทำการฝัง หรือวัตถุหรือสิ่งของขนาดย่อที่เชื่อกันว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ตายในโลกใหม่ ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมต่างๆ ในอดีตมักจะมาจากวัตถุที่ฝังไว้กับผู้ตายเหล่านี้ ศิลปะเกี่ยวกับความตายอาจจะมีวัตถุประสงค์หลายประการที่นอกไปจากเพื่อความมีสุนทรีย์ในการแสดงถึงความเชื่อหรืออารมณ์เกี่ยวกับชีวิตหลังความตาย ศิลปะเกี่ยวกับความตายอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีการฝังศพ, เป็นสิ่งของที่ผู้ตายจะนำไปใช้ได้ในโลกหน้า และ เป็นวัตถุเพื่อการเฉลิมฉลองชีวิตและความสำเร็จของผู้ตาย หรือ เป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยในประเพณีการสักการะบรรพบุรุษ (ancestor veneration) นอกจากนั้นศิลปะเกี่ยวกับความตายก็อาจจะเป็นเครื่องเตือนถึงความไม่เที่ยงแท้ของสังขารของมนุษย์, เครื่องแสดงถึงคุณค่าและบทบาทของวัฒนธรรม และเป็นการเอาใจวิญญาณของผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว เพื่อที่จะป้องกันไม่ให้กลับมาหลอกหลอนผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ วัฒนธรรมหลายวัฒนธรรมมีบุคลาธิษฐานยมทูต เช่นเทพเฮอร์มีสของกรีก หรือเทพชารุน ผู้เป็นผู้นำทางวิญญาณไปยังโลกสำหรับผู้ตาย ศิลปะเกี่ยวกับความตายมีมาตั้งแต่สมัยมนุษย์นีอันเดอร์ธอลกว่า 100,000 ปีมาแล้ว และดำเนินในทุกชาติทุกวัฒนธรรมต่อมา—ยกเว้นวัฒนธรรมฮินดูที่มีข้อมูลเพียงเล็กน้อยที่เป็นข้อยกเว้น งานศิลปะอันมีชื่อเสียงในวัฒนธรรมยุคโบราณในอดีต—ตั้งแต่พีระมิดอียิปต์ และสมบัติฟาโรห์ทุตอังค์อามุน ไปจนถึง สุสานจิ๋นซีฮ่องเต้ล้อมรอบฮวงซุ้ยของจักรพรรดิจีนฉินสื่อหวงแห่งราชวงศ์ฉิน, the ที่เก็บศพฮาลิคาร์นาสซัส, เรือฝังที่ซัททันฮู และ ทัชมาฮาล—เป็นที่เก็บศพหรือที่พบสิ่งของที่ฝังไปกับผู้ตายเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่แล้วศิลปะเกี่ยวกับความตายมักจะสร้างขึ้นโดยผู้อุปถัมภ์ศิลปินผู้มีฐานะดี ส่วนการฝังศพหรือทำศพของผู้มีฐานะยากจนก็อาจจะเพียงแต่เป็นภาพที่เขียนหยาบๆ ง่ายๆ และสิ่งของติดตัวที่เป็นสมบัติเมื่อมีชีวิตอยู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และศิลปะเกี่ยวกับความตาย · ดูเพิ่มเติม »

สฟิงซ์ ฟาโรห์

ฟิงซ์ ฟาโรห์ ตัวละครในเซนต์เซย่าภาคเจ้านรกฮาเดส เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสฟิงซ์ ฟาโรห์ · ดูเพิ่มเติม »

สกอร์โปนอค

กอร์โปนอค เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์ซีรีส์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส เป็นหุ่นยนต์ฝ่ายของดีเซปติคอน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสกอร์โปนอค · ดูเพิ่มเติม »

สกุลผักกาดหอม

กุลผักกาดหอมหรือ Lactuca เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Asteraceae ประกอบด้วย 50 สปีชีส์ แพร่กระจายไปทั่วโลก พืชในสกุลนี้ที่รู้จักดีที่สุดคือผักกาดหอม (Lactuca sativa) ที่มีหลายสายพันธุ์ บางสปีชีส์เป็นวัชพืช มีทั้งพืชฤดูเดียว พืชสองฤดูและพืชหลายฤดูLebeda, A., et al.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสกุลผักกาดหอม · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ เวชสิทธิ์

มพงษ์ เวชสิทธิ์ หรือนายดวง ทองคำดี เกิดเมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2455 สถิติการชก 50 ครั้ง ชนะ 31 (น็อค 15) เสมอ 4 แพ้ 15.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมพงษ์ เวชสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe) คำว่า “เรอเนสซองซ์” เป็นคำสมัยใหม่ที่มาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในงานของนักประวัติศาสตร์เช่นเจคอป เบิร์คฮาร์ดท์ (Jacob Burckhardt) ที่มาของขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเริ่มจากการวิวัฒนาการทางวรรณกรรมของผู้ก่อตั้งในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่ วัฒนธรรมด้านอื่นๆของอิตาลีในขณะนั้นยังคงเป็นวัฒนธรรมของยุคกลาง ปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยามิได้แพร่หลายอย่างเต็มที่จนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 คำว่า “เรอเนสซองซ์” หรือ “Rinascimento” ในภาษาอิตาลีหมายความว่า “เกิดใหม่” และเป็นสมัยที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในการฟื้นฟูความสนใจในวัฒนธรรมของกรีกโรมันหลังจากสมัยที่นักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ (Renaissance humanist) ตั้งชื่อว่ายุคมืด (Dark Ages) ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญแต่จำกัดอยู่แต่ในกลุ่มชนชั้นสูงและทิ้งให้ประชากรส่วนใหญ่ในยุโรปยังมีความเป็นอยู่ที่ไม่ต่างจากสมัยกลางที่ผ่านมา สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเริ่มในทัสเคนีโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ฟลอเรนซ์และเซียนา และต่อมาในเวนิสที่มีผลเป็นอันมาก เพราะงานต่างๆ ของกรีกโบราณถูกนำไปรวบรวมไว้ที่เวนิสซึ่งทำให้กลายเป็นแหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใหม่ๆ ให้แก่นักมนุษยนิยม ผู้คงแก่เรียนในเวนิสในขณะนั้น ต่อมาปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยาก็มามีอิทธิพลในกรุงโรม ที่ทำให้เกิดการสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่ๆ มากมายที่ส่วนใหญ่โดยการอุปถัมภ์ของพระสันตปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 หลังจากนั้นก็ลดถอยลงหลังจากการรุกรานจากต่างประเทศที่ก่อสงครามในอิตาลี แต่การฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีก็มิได้หยุดนิ่งลงแต่เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือของยุโรปและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษและประเทศอื่นๆ ในยุโรป สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในความสำเร็จทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรวมนักมนุษยนิยมผู้มีชื่อเสียงเช่นเปตรากที่รู้จักกันดีในงานซอนเน็ต “Il Canzoniere”; จิโอวานนิ บอคคาซิโอ (Giovanni Boccaccio) ในงานเรื่องเล่า “Decameron” และนักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์เช่นโปลิซิอาโน (Poliziano), มาร์ซิลิโอ ฟิซิโน (Marsilio Ficino), โลเร็นโซ วาลลา (Lorenzo Valla), อัลโด มานูซิโอ (Aldo Manuzio), โพจจิโอ บราชชิโอลินิ (Poggio Bracciolini) นอกจากนั้นก็มีนักประพันธ์มหากาพย์เรอเนสซองซ์เช่นบัลดัสซาเร คาสติกลิโอเน (Baldassare Castiglione) (“The Book of the Courtier”), ลุโดวิโค อริโอสโต (Ludovico Ariosto) (“Orlando Furioso”) และทอร์ควาโท ทาสโซ (Torquato Tasso) (“Jerusalem Delivered”) และนักประพันธ์ร้อยแก้วเช่นนิคโคโล มาเคียเวลลี (“The Prince”) จิตรกรรมเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นจิตรกรรมที่มีอิทธิพลต่อจิตรกรรมตะวันตกต่อมาอีกหลายร้อยปี โดยมีจิตรกรเช่นไมเคิล แอนเจโล, ราฟาเอล, ซานโดร บอตติเชลลี, ทิเชียน และเลโอนาร์โด ดา วินชี และเช่นเดียวกันกับสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีสถาปนิกเช่นอันเดรอา ปัลลาดีโอ และงานเช่นมหาวิหารฟลอเรนซ์ และมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรม ในขณะเดียวกันนักประวัติศาสตร์ในปัจจุบันเห็นว่าเป็นสมัยของความหดตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมามีความก้าวหน้ามากกว่าในวัฒนธรรมของโปรเตสแตนต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา

มาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (Confederation of African Football) หรือ ซีเอเอฟ (CAF) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปแอฟริกา และเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า ซีเอเอฟก่อตั้งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา

มาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา (Confédération Africaine de Volleyball) หรือชื่อย่อ CAVB เป็นปกครองสำหรับกีฬาวอลเลย์บอลในทวีปแอฟริกา สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงไคโร ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์

มเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์ (Said bin Taimur; سعيد بن تيمور) ทรงเป็นสุลต่านแห่งมัสกัตและโอมาน (ประเทศโอมานในปัจจุบัน) ครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 บิน อัลฮุซัยน์ (الملك عبد الله الثاني بن الحسين, al-Malik ʿAbdullāh aṯ-ṯānī bin al-Ḥusayn, พระราชสมภพ 30 มกราคม พ.ศ. 2505) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดนและเจ้าหญิงมูนา อัลฮุสเซน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ

มเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ (ภาษากรีก: Γεώργιος Β', Βασιλεύς των Ελλήνων) (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2433 - 1 เมษายน พ.ศ. 2490) ทรงปกครองกรีซตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์

มเด็จพระราชินีฟารีดา (الملكة فريده; พระราชสมภพ: 5 กันยายน พ.ศ. 2464 – สวรรคต: 16 ตุลาคม พ.ศ. 2531) หรือพระนามเดิม ซาฟินาซ ษูลฟิการ (صافيناز ذوالفقار Sāfināz Dhū l-Fiqār) เป็นอดีตพระราชินีในพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดน (رانيا العبد الله Rānyā al-‘abdu l-Lāh) พระนามเดิม รานยา อัลยัสซิน (ประสูติ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1970 ณ คูเวตซิตี ประเทศคูเวต) พระบรมราชินีองค์ปัจจุบันของประเทศจอร์แดน เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 2 แห่งจอร์แดน พระองค์ทรงมีบทบาทในด้านการส่งเสริมสิทธิสตรีภายในประเทศจอร์แดน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงกฎหมายเพื่อปกป้องสิทธิสตรีและให้มีความทัดเทียมกับบุรุษเพศ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จนัก สืบเนื่องมาจากการต่อต้านของกลุ่มอนุรักษนิยม นอกจากนี้สมเด็จพระราชินีรานยายังทรงพระสิริโฉมที่งดงาม ทำให้พระองค์เป็นสตรีที่มีเสน่ห์ดึงดูดใจมากที่สุดเป็นอันดับที่สองรองจากนิโคล คิดแมน จากการสำรวจจากประชาชนในปี ค.ศ. 2002.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน (علياء الحسين) พระนามเดิม อาลียา บาฮาอัดดีน ตูคัน (ประสูติ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1948 - สวรรคต 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977) พระมเหสีองค์ที่สามในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน พระองค์เป็นชาวอียิปต์เชื้อสายปาเลสไตน์ตระกูลตูคันที่มาจากเมืองนาบลัส หลังการครองคู่กับพระราชาธิบดีฮุสเซนได้ไม่นาน ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตจากอุบัติเหตุเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งตก สิริรวมพระชนมายุได้ 28 พรรษ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน

มเด็จพระราชินีโซเฟีย (la Reina Doña Sofía) เป็นพระมเหสีใน สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 สมเด็จพระราชินีโซเฟียทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งกรีซโดยพระกำเนิด เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีเฟรเดริกาแห่งกรีซ โดยทีมีพระนามในภาษากรีกว่า โซเฟีย มาร์การีตา วิกตอเรีย เฟรเดรีกี (Σοφία Μαργαρίτα Βικτωρία Φρειδερίκη) โดยพระองค์มีพระราชอนุชาและพระราชขนิษฐาคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ และ เจ้าหญิงไอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย หรือทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม พระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 คาราจอร์เจวิช (ภาษาเซอร์เบีย, ภาษาโครแอต, ภาษาบอสเนีย, ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย: Petar II Karađorđević อักษรซีริลลิก: Петар II Карађорђевић) (6 กันยายน พ.ศ. 2466 - 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ก่อนหน้านี้เรียกว่าราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีนในช่วงก่อน พ.ศ. 2472 พระองค์เป็นพระโอรสพระองค์โตใน สมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย กับ เจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร กับ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ โบวส์-ลีออนแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์กิซา

วนสัตว์กิซา เป็นสวนสัตว์ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ มีพื้นที่เกือบ 100 ไร่ (0.40 กม. 2) เป็นที่จัดแสดงสัตว์ป่า สัตว์ปีก ทุกชนิด มีทั้ง อูฐ หมีดำ สิงโตทะเลแคลิฟอร์เนีย ยีราฟ ฮิปโปโปเตมัส สิงโตทะเล นกกระจอกเทศ ลิงหลากหลากชนิด นกมอคอรว์สีแดง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสวนสัตว์กิซา · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐอาหรับ

หพันธรัฐอาหรับแห่งอิรักและจอร์แดน (Arab Federation of Iraq and Jordan) หรือ สหพันธรัฐอาหรับ (Arab Federation) เป็นรัฐอายุสั้นซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสหพันธรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ

หพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ (اتحاد الجمهوريات العربية Ittiħād Al-Jumhūriyyāt Al-`Arabiyya) เป็นความพยายามรวมลิเบีย อียิปต์และซีเรียของมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แม้จะได้รับการรับรองจาก การลงประชามติเกี่ยวกับสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรั..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอาหรับ

หรัฐอาหรับ (الدول العربية المتحدة; United Arab States: UAS) เป็นสมาพันธรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของสหสาธารณรัฐอาหรับกับเยเมนเหนือ เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสหรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตอาหรับ

ันนิบาตอาหรับ สันนิบาตอาหรับ (جامعة الدول العربية‎) คือองค์กรของกลุ่มประเทศอาหรับ ตั้งขึ้นในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2488 มีศูนย์กลางที่ประเทศอียิปต์ ซึ่งต่อมาย้ายไปยังเมืองตูนิส ในประเทศตูนิเซียในช่วงปี พ.ศ. 2522 ถึงปี พ.ศ. 2532 ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 22 ประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องเอกราชและอธิปไตยของประเทศสมาชิก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสันนิบาตอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501)

รณรัฐอียิปต์ (جمهورية مصر, Ǧumhūriyyat Maṣr) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศอียิปต์นับแต่การล้มเลิกพระมหากษัตริย์อียิปต์และซูดานในปี 2496 จนสหภาพของอียิปต์กับซีเรียเป็นสหสาธารณรัฐอาหรับในปี 2501 ปฏิญญาสาธารณรัฐมีหลังการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 กระตุ้นโดยความเสื่อมนิยมของพระเจ้าฟารูก ผู้ทรงถูกมองว่าอ่อนแอเกินไปเมื่อเผชิญกับอังกฤษ กอปรกับความปราชัยในสงครามอาหรับ-อิสราเอล ปี 2491 ด้วยปฏิญญาสาธารณรัฐ มูฮัมหม้ด นาจิบสาบานตนเป็นประธานาธิบดีอียิปต์คนแรก รับตำแหน่งได้เกือบหนึ่งปีครั้ง ก่อนถูกนักปฏิวัติด้วยกันบังคับให้ลาออก หลังนาจิบลาออก ตำแหน่งประธานาธิบดีว่างจนการเลือกตั้งญะมาล อับดุนนาศิร ในปี 2501.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501) · ดูเพิ่มเติม »

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P. tigris) ซึ่งเป็นสัตว์ในสกุล Panthera เหมือนกัน จัดเป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) พื้นลำตัวสีน้ำตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม (550 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า มักทำหน้าที่ล่าเหยื่อ มีน้ำหนักประมาณ 180 กิโลกรัม (400 ปอนด์) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย ในป่าธรรมชาติ สิงโตมีอายุขัยประมาณ 10-14 ปี ส่วนสิงโตที่อยู่ในกรงเลี้ยงมีอายุยืนถึง 20 ปี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 2 สิงหาคม พ.ศ. 2570

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 2 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสุริยุปราคา 2 สิงหาคม พ.ศ. 2570 · ดูเพิ่มเติม »

สุลตานะห์เมเลก ตูร์ฮาน

ลตานะห์เมเลก ตูร์ฮาน (27 ตุลาคม พ.ศ. 2412 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499) เป็นพระคู่ครองพระองค์ที่ 2 ของสุลต่านฮุสเซน กาเมลแห่งอียิปต์ หลังจากที่พระราชสวามีของพระองค์ครองบัลลังก์ในปี พ.ศ. 2457 พระองค์ก็ทรงเป็นที่รู้จักกันในฐานะ สุลตานะห์เมเลก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสุลตานะห์เมเลก ตูร์ฮาน · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2

ลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ตราของสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 สุลต่านอับดุลฮามิดที่สอง (Abdul Hamid II; ภาษาตุรกีออตโตมาน: عبد الحميد ثانی, İkinci Abdülhamit)) พระองค์เป็นสุลต่านระหว่าง พ.ศ. 2419 – 2452 เป็นผู้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิออตโตมานเป็นฉบับแรก ภายหลังทรงยุบสภาและยึดอำนาจกลับคืนมาจึงถูกกลุ่มยังเติร์กปฏิวัต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สุสานแห่งอเล็กซานเดรีย

นแห่งอเล็กซานเดรีย (Catacombs of Kom el Shoqafa) เป็นสถานที่ฝังศพใต้ดินของกษัตริย์อียิปต์โบราณอีกแบบหนึ่งนอกเหนือไปจากปิรามิด อยู่ที่เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ อุโมงค์แห่งนี้มีชื่อเรียกว่า คาตาโกมบ์ (catacombs) โดยขุดลึกเข้าไปในภูเขาหินทรายเป็นขั้นๆ บางตอนมีความลึกถึง 70-80 ฟุต มีทางเดินกว้าง 3-4 ฟุต ทางเดินจะวกไปเวียนมาเป็นระยะทางนับร้อยไมล์ ผนังอุโมงค์ถูกเจาะเป็นช่อง ๆ ลึกเข้าไปเพื่อใช้เป็นที่บรรจุศพ มีแท่นบูชาและตะเกียงดวงเล็ก ๆ แขวนไว้ บางส่วนของอุโมงค์แห่งนี้ได้ตบแต่งเอาไว้อย่างวิจิตรพิสดารสภาพในปัจจุบันยังคงความสมบูรณ์เอาไว้พอที่จะให้ผู้สนใจเข้าไปเที่ยวชมได้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสุสานแห่งอเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

สุธี สุขสมกิจ

ี สุขสมกิจ เกิดวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2521 เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย ปัจจุบันเป็นเฮดโค้ชให้กับสโมสรลำปางเอฟซี โดย สุธี สุขสมกิจ ได้รับการบันทึกไว้ว่าเป็นนักฟุตบอลคนแรกที่สามารถคว้าตำแหน่งดาวซัลโวไทยพรีเมียร์ลีกได้ถึง 2 ฤดูกาลติดต่อกัน โดยเขาทำได้ในฤดูกาล 2542 และฤดูกาล 2543 สมัยที่ยังเล่นให้กับสโมสรธนาคารกสิกรไทย ในนามทีมชาติไทย สุธี เริ่มสร้างชื่อเสียงจากทีมชาติไทยชุดเยาวชน จากการคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ในรุ่นอายุไม่เกิน 16 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสุธี สุขสมกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สีกลุ่มชนอาหรับ

ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับhttp://www.crwflags.com/fotw/flags/xo-arabc.html Pan-Arab Colours, crwflags.comMahdi Abdul-Hadi, http://www.passia.org/palestine_facts/flag/20.htm The Great Arab Revolt, passia.org ดินแดนที่ใช้สีกลุ่มชนอาหรับบนธงชาติ สีกลุ่มชนอาหรับ (Pan-Arab colors) เป็นสีที่ใช้ในธงของประเทศหรือดินแดนที่มีกลุ่มชนอาหรับอาศัยอยู่ ประกอบด้วยสีดำ ขาว เขียว แดง โดยสีดำแทนจักรวรรดิกาหลิบรอชิดีน สีขาวแทนราชวงศ์อุมัยยะฮ์ สีเขียวแทนราชวงศ์ฟาติมียะห์ และสีแดงแทนกลุ่มเคาะวาริจญ์ สีกลุ่มชนอาหรับใช้ครั้งแรกบนธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสีกลุ่มชนอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สถานพักตากอากาศ

นพักตากอากาศจะรวมโรงแรมและนันทนาการเข้าหลายอย่าง เช่นสระน้ำเป็นต้น สถานพักตากอากาศ หรือ รีสอร์ต (resort) เป็นสถานที่ที่ใช้พักผ่อนหรือนันทนาการ ผู้พักใช้ในวันหยุดหรือวันพักผ่อน รีสอร์ตเป็นสถานที่หรืออาจเป็นเมืองหรือในบางครั้งอาจะเป็นสิ่งก่อสร้างการค้าที่บริหารโดยบริษัทเดียว เป็นสถานที่ที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครันสำหรับผู้มาพัก ทั้งอาหาร ที่พัก กีฬา สิ่งบันเทิงและศูนย์การค้า เมืองที่มีรีสอร์ตอยู่หรือสถานที่ท่องเที่ยวหรือพักผ่อนเป็นส่วนสำคัญของกิจกรรมในเมือง มักจะเรียกว่าเมืองพักตากอากาศ (สถานที่พักตากอากาศ) หรือรีสอร์ตทาวน์ เมืองอย่างเช่น โซชีในรัสเซีย, ชาร์ม เอล-ชีคในอียิปต์, บาริโซในสเปน, กอร์ตีนาดัมเปซโซในอิตาลี, Druskininkai ในลิทัวเนีย, นิสหรือเฟรนช์ริวีเอราของฝรั่งเศส หรือนิวพอร์ต, โรดไอแลนด์ หรือเซนต์มอริตซ์, สวิตเซอร์แลนด์ หรือในเขตที่ใหญ่กว่าอย่าง ภูเขาอดีรอนเดค หรืออิตาเลียนริวีเอรา ที่เป็นที่รู้จักดี ส่วนวอลต์ดิสตีย์เวิลด์รีสอร์ตเป็นตัวอย่างที่โด่งดังของรีสอร์ตสมัยใหม่ รีสอร์ตถือเป็นจุดหมายปลายทางที่เพิ่มมากขึ้นกับนักท่องเที่ยวทั่วโลก ตัวอย่างเช่นประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่มีชื่อเสียง และรีสอร์ตในแถบอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียนก็มีอยู่มากม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสถานพักตากอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่ง

งครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 1801-1805) หรือสงครามชายฝั่งบาร์บารี หรือสงครามทริโปลีตัน คือสงครามระหว่างสหรัฐอเมริกา (และกองเรือสวีเดนที่เข้ามาร่วมด้วยในระยะเวลาหนึ่ง) กับกลุ่มรัฐทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา เป็นที่รู้จักในนามว่า กลุ่มรัฐบาร์บารี ซึ่งประกอบด้วยรัฐสุลต่านโมร็อกโคและดินแดนอัลเจียร์ส, ตูนิสและทริโปลีที่มีผู้แทนจากจักรวรรดิออตโตมานเป็นผู้สำเร็จราชการในนาม แต่มีสถานะเป็นรัฐเอกราชโดยพฤตินัย สงครามมีสาเหตุมาจากการที่โจรสลัดบาร์บารีโจมตีเรือพาณิชย์อเมริกัน เพื่อจับลูกเรือมาเป็นตัวประกันเพื่อเรียกค่าไถ่ และเรียกร้องบรรณาการเป็นค่าคุ้มครองไม่ให้เกิดการโจมตีขึ้นอีก ไม่ต่างจากที่ปฏิบัติต่อเรือพาณิชย์ของชาติยุโรปอื่น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามการบั่นทอนกำลัง

งครามการบั่นทอนกำลัง (حرب الاستنزاف Ḥarb al-Istinzāf, מלחמת ההתשה Milhemet haHatashah) ที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ระหว่างอิสราเอลและอียิปต์จอร์แดน PLO และพันธมิตร 1967-1970 หลังจากที่ 1967 สงครามหกวันไม่มีความพยายามทางการทูตอย่างรุนแรงพยายามที่จะแก้ไขปัญหาที่เป็นหัวใจของความขัดแย้งอาหรับอิสราเอล.ในเดือนกันยายนปี 1967 รัฐอาหรับไดมีนโยบายปิดกั้นสันติภาพ, การรับรู้หรือการเจรจากับอิสราเอล".ประธานาธิบดีอียิปต์ญะมาล อับดุนนาศิร เชื่อว่ามีเพียงวิธีเดียวที่สามารถทำให้กองกำลังอิสราเอลออกจากคาบสมุทรไซนายได้คือการใช้กำลัง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามการบั่นทอนกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามยมคิปปูร์

งครามยมคิปปูร์, สงครามเราะมะฎอนหรือสงครามตุลาคม (Yom Kippur War, Ramadan War, หรือ October War; หรือ מלחמת יום כיפור) เป็นสงครามรบกันระหว่างแนวร่วมรัฐอาหรับซึ่งมีประเทศอียิปต์และซีเรียเป็นผู้นำต่ออิสราเอลตั้งแต่วันที่ 6 ถึง 25 ตุลาคม 2516 การสู้รบส่วนใหญ่เกิดในคาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลัน ดินแดนซึ่งอิสราเอลยึดครองตั้งแต่สงครามหกวันเมื่อปี 2510 ประธานาธิบดีอียิปต์ อันวัร อัสซาดาต ยังต้องการเปิดคลองสุเอซอีกครั้ง ทั้งสองประเทศมิได้วางแผนเจาะจงทำลายอิสราเอล แต่ผู้นำอิสราเอลไม่อาจมั่นใจได้ สงครามเริ่มต้นเมื่อแนวร่วมอาหรับเปิดฉากจู่โจมร่วมต่อที่ตั้งของอิสราเอลในดินแดนที่อิสราเอลยึดครองในวันยมคิปปูร์ (Yom Kippur) ซึ่งเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนายูดาย ซึ่งในปีนั้นยังตรงกับเดือนเราะมะฎอนศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลามด้วย กำลังอียิปต์และซีเรียข้ามเส้นหยุดยิงเข้าสู่คาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลันตามลำดับ ทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเริ่มความพยายามส่งกำลังบำรุงแก่พันธมิตรของตนระหว่างสงคราม และนำไปสู่การเกือบเผชิญหน้ากันระหว่างอภิมหาอำนาจนิวเคลียร์สองประเทศ สงครามเริ่มต้นด้วยการข้ามคลองสุเอซครั้งใหญ่ที่สำเร็จของอียิปต์ หลังข้ามเส้นหยุดยิง กำลังอียิปต์รุดหน้าโดยแทบไม่มีการต้านทานเข้าสู่คาบสมุทรไซนาย หลังสามวันผ่านไป อิสราเอลได้ระดมพลกำลังส่วนใหญ่และหยุดยั้งการรุกของอียิปต์ ทำให้เกิดการตรึงอำนาจทางทหาร ฝ่ายซีเรียประสานงานการโจมตีที่ราบสูงโกลันให้พร้อมกับการรุกของอียิปต์ และทีแรกได้ดินแดนเพิ่มอย่างคุกคามสู่ดินแดนที่อิสราเอลถือครอง ทว่า ภายในสามวัน กำลังอิสราเอลผลักซีเรียเข้าสู่เส้นหยุดยิงก่อนสงคราม จากนั้นกำลังป้องกันอิสราเอลเปิดฉากการตีโต้ตอบสี่วันลึกเข้าไปในประเทศซีเรีย ภายในหนึ่งสัปดาห์ ปืนใหญ่อิสราเอลเริ่มระดมยิงชานกรุงดามัสกัส เมื่อประธานาธิบดีอียิปต์ซาดาตเริ่มกังวลเกี่ยวกับบูรณภาพของพันธมิตรหลักของเขา เขาเชื่อว่าการยึดจุดผ่านยุทธศาสตร์สองจุดซึ่งตั้งอยู่ลึกในไซนายจะทำให้ฐานะของเขาแข็งแรงขึ้นระหว่างการเจรจาหลังสงคราม ฉะนั้นเขาจึงสั่งให้อียิปต์กลับไปรุกอีก แต่การเข้าตีนั้นถูกขับกลับมาอย่างรวดเร็ว จากนั้นอิสราเอลตีโต้ตอบที่แนวต่อระหว่างกองทัพอียิปต์สองกองทัพ ข้ามคลองสุเอซเข้าประเทศอียิปต์ และเริ่มรุกหน้าอย่างช้า ๆ ลงใต้และไปทางตะวันตกสู่นครสุเอซในการสู้รบอย่างหนักกว่าหนึ่งสัปดาห์ซึ่งทำให้ทั้งสองฝ่ายเสียกำลังพลมาก วันที่ 22 ตุลาคม การหยุดยิงที่สหประชาชาติเป็นนายหน้าคลี่คลายอย่างรวดเร็ว โดยต่างฝ่ายต่างโทษอีกฝ่ายว่าละเมิด ในวันที่ 24 ตุลาคม อิสราเอลพัฒนาฐานะของตนอย่างมากและสำเร็จการล้อมกองทัพที่สามของอียิปต์และนครสุเอซ การพัฒนานี้นำไปสู่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ผลคือ มีการกำหนดการหยุดยิงครั้งที่สองด้วยความร่วมมือตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคมถึงสิ้นสงคราม สงครามนี้มีการส่อความกว้างขวาง โลกอาหรับซึ่งประสบความอับอายในการแตกล่าฝ่ายเดียวของพันธมิตรอียิปต์–ซีเรีย–จอร์แดนในสงครามหกวัน รู้สึกว่าได้แก้ตัวทางจิตใจจากความสำเร็จขั้นต้นในความขัดแย้งนี้ ในประเทศอิสราเอล แม้มีความสำเร็จทางปฏิบัติการและยุทธวิธีอันน่าประทับใจในสมรภูมิ แต่สงครามนี้นำให้มีการตระหนักว่าไม่มีการรับประกันว่าประเทศอิสราเอลจะครอบงำรัฐอาหรับในทางทหารได้เสมอไป ดังที่เคยเป็นมาตลอดสงครามอาหรับ–อิสราเอลครั้งที่หนึ่ง สงครามสุเอซและสงครามหกวันก่อนหน้านี้ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ปูทางสู่กระบวนการสันติภาพต่อมา ข้อตกลงค่ายเดวิดปี 2521 ในภายหลังนำสู่การคืนคาบสมุทรไซนายให้ประเทศอียิปต์และการคืนความสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการรับรองอิสราเอลอย่างสันติโดยประเทศอาหรับเป็นครั้งแรก ประเทศอียิปต์ยังตีตนออกห่างจากสหภาพโซเวียตต่อไปและออกจากเขตอิทธิพลโซเวียตโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามยมคิปปูร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามหกวัน

งครามหกวัน (Six-Day War., מלחמת ששת הימים) เป็นสงครามระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์ หลังจากวิกฤตการณ์สุเอซ ญะมาล อับดุนนาศิร ประธานาธิบดีของประเทศอียิปต์ได้ขอให้สหประชาชาติถอนกำลังออกไปจากอียิปต์แล้ว กองทัพของอียิปต์ได้เคลื่อนที่เข้ายึดฉนวนกาซาและปิดล้อมอ่าวอะกาบา และห้ามไม่ให้เรือสินค้าของอิสราเอลผ่าน อิสราเอลจึงได้โจมตีอียิปต์ก่อน ทำให้เกิดสงครามระหว่างยิวกับอาหรับขึ้นเป็นครั้งที่ 3 โดยสงครามนี้เริ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน ถึง 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามหกวัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอาณานิคมโปรตุเกส

ทหารโปรตุเกสในแองโกลา การฝึกอบรมของทหารของ FNLA ในซาอีร์ สงครามอาณานิคมโปรตุเกส (Portuguese Colonial War,Guerra Colonial Portuguesa), ในโปรตุเกสเรียกว่า สงครามต่างแดน (Overseas War,Guerra do Ultramar) ส่วนในอดีตอาณานิคมเรียกว่าสงครามแห่งการปลดปล่อย (War of Liberation,Guerra de Libertação), คือการต่อสู้ระหว่างทหารของโปรตุเกสกับขบวนการชาตินิยมในอาณานิคมแอฟริกาของโปรตุเกสระหว่างปี พ.ศ. 2504ถึงปี พ.ศ. 2517 เกิดการรัฐประหารล้มล้างระบอบเอสตาโด โนโว เปลี่ยนแปลงในรัฐบาลนำความขัดแย้งถึงจุดสิ้นสุด ในยุโรปในช่วงปี พ.ศ. 2493 ถึง พ.ศ. 2503, ระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวของโปรตุเกสไม่ได้ยอมถอนตัวจากการเป็นอาณานิคมแอฟริกา เป็นดินแดนเหล่านั้นได้รับการเรียกร้องเอกราชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ในช่วงปี พ.ศ. 2503 การเคลื่อนไหวเป็นอิสระต่าง ๆ กลายเป็นกองกำลังติดอาวุธ ในแองโกลา ขบวนการประชาชนเพื่อการปลดปล่อยแองโกลา,แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติแองโกลา,สหภาพแห่งชาติเพื่อความเป็นอิสระแองโกลา ในโปรตุเกสกินี พรรคแอฟริกันเป็นอิสระของประเทศกินีและเคปเวิร์ดและในโมซัมบิก แนวร่วมปลดปล่อโมซัมบิก ในตลอดความขัดแย้งได้มีการทารุณกรรมพลเรือนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตลอดระยะเวลาความขัดแย้ง โปรตุเกสเผชิญกับการคว่ำบาตรทางการค้าและมีมาตรการลงโทษอื่น ๆ ที่กำหนดโดยสหประชาชาติ ปี พ.ศ. 2516 และได้โจมตีระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวว่าไม่เป็นประชาธิปไตย การสิ้นสุดของสงครามมาพร้อมกับการทำรัฐประหารปฏิวัติคาร์เนชั่นของเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2517 ส่งผลให้ในการอพยพของประชาชนโปรตุเกส หลายพันคนออกจากอาณานิคมเริ่มถึงบุคลากรทางทหารยุโรป, แอฟริกา และเชื้อชาติผสมจากอาณานิคมและประเทศที่เพิ่งเป็นอิสระในแอฟริกา. การอพยพครั้งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในการโยกย้ายที่เงียบสงบใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของโลก. ซึ่งโปรตุเกสเป็นประเทศแรกที่สร้างอาณานิคมในทวีปแอฟริกาในเซวตา พ.ศ. 1958 และก็กลายเป็นประเทศสุดท้ายที่จะออกจากดินแดนในแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามอาณานิคมโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช วางกำลังสหรัฐเข้าสู่ซาอุดีอาระเบียและกระตุ้นให้ประเทศอื่นส่งกำลังของตนไปที่นั้นด้วย มีหลายชาติเข้าร่วมกำลังผสม ซึ่งเป็นพันธมิตรทางทหารที่ใหญ่ที่สุดนับแต่สงครามโลกครั้งที่สอง กำลังทหารของกำลังผสมส่วนใหญ่มาจากสหรัฐ โดยมีซาอุดีอาระเบีย สหราชอาณาจักรและอียิปต์เป็นผู้มีส่วนร่วมรายใหญ่ตามลำดับ ซาอุดีอาระเบียสมทบเงิน 36,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐจากค่าสงคราม 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สงครามนี้มีการริเริ่มการถ่ายทอดข่าวสดจากแนวหน้าของการสู้รบ หลัก ๆ โดยเครือข่ายซีเอ็นเอ็นของสหรัฐ สงครามนี้ยังได้ชื่อเล่นว่า สงครามวิดีโอเกม หลังการถ่ายทอดภาพรายวันจากกล้องบนเครื่องบินทิ้งระเบิดสหรัฐระหว่างปฏิบัติการพายุทะเลทราย ความขัดแย้งระยะแรกเพื่อขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตเริ่มด้วยทางระดมทิ้งระเบิดทางอากาศและทางเรือเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2534 และดำเนินไปห้าสัปดาห์ ตามด้วยการโจมตีภาคพื้นดินเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ สงครามสิ้นสุดด้วยชัยชนะอย่างขาดลอยของกำลังผสม ซึ่งขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตและรุกเข้าดินแดนอิรัก กำลังผสมยุติการบุกและประกาศหยุดยิงหลังการทัพภาคพื้นเริ่ม 100 ชั่วโมง การสู้รบทางอากาศและทางบกจำกัดอยู่ในประเทศอิรัก คูเวตและบางพื้นที่ตรงพรมแดนซาอุดีอาระเบีย ประเทศอิรักปล่อยขีปนาวุธสกั๊ดต่อเป้าหมายทางทหารของกำลังผสมและต่ออิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามอ่าวเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครั้งสุดท้ายของสาธารณรัฐโรมัน

งครามครั้งสุดท้ายของสาธารณรัฐโรมัน หรือเรียก สงครามกลางเมืองของแอนโทนี หรือ สงครามระหว่างแอนโทนีกับออกเตเวียน เป็นสงครามกลางเมืองโรมันครั้งสุดท้ายในสมัยสาธารณรัฐ เป็นสงครามระหว่างคลีโอพัตรา (โดยมีมาร์ค แอนโทนีสนับสนุน) และออกเตเวียน หลังจากวุฒิสภาโรมันประกาศสงครามต่อราชินีคลีโอพัตรา แอนโทนีซึ่งเป็นทั้งคนรักและพันธมิตรของนาง ทรยศต่อโรมและเข้าร่วมสงครามโดยถือฝ่ายคลีโอพัตรา หลังจากชัยอย่างเด็ดขาดของออกเตเวียนในยุทธการที่แอคติอุม คลีโอพัตราและแอนโทนีถอยทัพไปอเล็กซานเดรีย ที่ซึ่งออกเตเวียนล้อมเมืองไว้จนศัตรูทั้งสองกระทำอัตวินิบาตกรรม หลังสงครามยุติ ออกเตเวียนนำสันติภาพมาสู่รัฐโรมันซึ่งตกอยู่ในภาวะสงครามกลางเมืองมาเป็นเวลานับศตวรรษ ออกเตเวียนกลายมาเป็นบุคคลทรงอำนาจที่สุดในโลกโรมัน และวุฒิสภาแต่งตั้งให้เขาเป็นจักรพรรดิออกัสตัส เมื่อ 27 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันพระองค์แรก และเปลี่ยนรูปแบบสาธารณรัฐซึ่งปกครองระบอบคณาธิปไตย/ประชาธิปไตย มาเป็นจักรวรรดิโรมัน ซึ่งมีการปกครองแบบอำนาจนิยม สงครามนี้ยังเป็นจุดเริ่มต้นของสันติภาพโรมัน ซึ่งเป็นยุคแห่งสันติภาพและเสถียรภาพของทวีปยุโรปที่ยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตร์เท่าที่มีบันทึก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามครั้งสุดท้ายของสาธารณรัฐโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 3

“การล้อมเมืองเอเคอร์” ระหว่างปี ค.ศ. 1189 ถึงปี ค.ศ. 1191 สงครามครูเสดครั้งที่ 3 หรือ สงครามครูเสดกษัตริย์(Third Crusade หรือ Kings' Crusade) (ค.ศ. 1189-ค.ศ. 1192) เป็นสงครามครูเสดที่ฝ่ายผู้นำยุโรปพยายามกู้ดินแดนศักดิ์สิทธิ์คืนจากศอลาฮุดดีน (Salāh al-Dīn Yūsuf ibn Ayyūb).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามครูเสดครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 4

งครามครูเสดครั้งที่ 4 (Fourth Crusade) (ค.ศ. 1202-ค.ศ. 1204) เป็นสงครามครูเสด ครั้งที่สี่ที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1202 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1204 จุดประสงค์แรกของสงครามก็เพื่อยึดเยรูซาเลมคืนจากมุสลิม แต่ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1204 นักรบครูเสดจากยุโรปตะวันตกก็เข้ารุกรานและยึดเมืองคอนสแตนติโนเปิลที่เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ของอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์แทนที่ ซึ่งถือกันว่าเป็นวิกฤติการณ์สุดท้ายที่ทำให้เกิดความแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก (East-West Schism) ระหว่างอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และ โรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามครูเสดครั้งที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 5

นักรบครูเสดฟรีเชียนเผชิญกับหอที่ดามิยัตตาในอียิปต์ สงครามครูเสดครั้งที่ 5 (Fifth Crusade) (ค.ศ. 1217-ค.ศ. 1221) เป็นสงครามครูเสดที่พยายามยึดเยรูซาเลมและดินแดนศักดิ์สิทธิ์ทั้งหมดคืนโดยเริ่มด้วยการโจมตีรัฐมหาอำนาจของอัยยูบิดในอียิปต์ สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3 ทรงรวบรวมกองทัพครูเสดโดยการนำของเลโอโปลด์ที่ 4 ดยุคแห่งออสเตรีย (Leopold VI, Duke of Austria) และ สมเด็จพระเจ้าแอนดรูว์ที่ 2 แห่งฮังการี ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามครูเสดครั้งที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 7

งครามครูเสดครั้งที่ 7 (Seventh Crusade; ค.ศ. 1248 – 1254) เป็นการทัพครูเสด ที่ฝ่ายคริสต์ นำทัพโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส รบกับสุลต่านแห่งราชวงศ์อัยยูบีย์ อัสซาลิห์ อัยยู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามครูเสดครั้งที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 8

งครามครูเสดครั้งที่ 8 (Eighth Crusade) (ค.ศ. 1270) สงครามครูเสดครั้งนี้เริ่มขึ้นโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1270 บางครั้ง “สงครามครูเสดครั้งที่ 8” ก็นับเป็นครั้งที่เจ็ด ถ้ารวมสงครามครูเสดครั้งที่ 5 และ ครั้งที่ 6 ของสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เข้าเป็นครั้งเดียวกัน และสงครามครูเสดครั้งที่ 9 ก็นับเป็นครั้งเดียวกับครั้งที่ 8 พระเจ้าหลุยส์ทรงพระราชวิตกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในซีเรียเมื่อสุลต่านมามลุคไบบาร์เข้าโจมตีอาณาจักรครูเสดที่ยังเหลืออยู่ ไบบาร์ฉวยโอกาสหลังจากที่สาธารณรัฐเวนิส และ สาธารณรัฐเจนัวต่อสู้กันในสงครามระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามครูเสดครั้งที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 9

งครามครูเสดครั้งที่ 9 (Ninth Crusade) เป็นหนึ่งในสงครามครูเสดและเป็นสงครามครูเสดครั้งสุดท้าย ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1271 – ค.ศ. 1272 เป็นสงครามที่ต่อสู้กันในตะวันออกใกล้ระหว่างฝ่ายผู้นับถือคริสต์ศาสนาและฝ่ายผู้นับถือศาสนาอิสลาม ในสงครามครั้งนี้ฝ่ายมุสลิมเป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะ ที่เป็นผลทำให้สงครามครูเสดยุติลงในที่สุดและอาณาจักรครูเสดต่างๆ ในบริเวณลว้านก็สลายตัวไป ทางฝ่ายคริสเตียนมีกำลังคนทั้งสิ้นประมาณ 60,000 คน โดยมีผู้นำที่รวมทั้ง สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งเนเปิลส์, สมเด็จพระเจ้าฮิวจ์ที่ 3 แห่งไซปรัส, เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษ, โบฮีมอนด์ที่ 6 แห่งอันติโอค, อบาคา ข่านแห่งมงโกเลีย และ สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอาร์มีเนีย ทางฝ่ายมุสลิมมีกำลังคนที่ไม่ทราบจำนวน โดยมีไบบาร์สเป็นผู้นำ สงครามครูเสดครั้งที่ 9 บางครั้งก็รวมกับสงครามครูเสดครั้งที่ 8 ถือกันว่าเป็นสงครามครูเสดครั้งสุดท้ายและเป็นสงครามใหญ่สงครามสุดท้ายของยุคกลางในการที่ฝ่ายคริสเตียนพยายามยึดครองดินแดนศักดิ์สิทธิ์ เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสไม่ทรงสามารถยึดตูนิสได้ในสงครามครูเสดครั้งที่ 8 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษก็เสด็จไปเอเคอร์เพื่อเข้าร่วมในสงครามครูเสดครั้งที่ 9 แต่เป็นสงครามที่ทางฝ่ายคริสเตียนพ่ายแพ้ ซึ่งส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะพลังใจในการที่จะดำเนินการสงครามเหือดหายไป และเพราะอำนาจของมามลุคในอียิปต์ขยายตัวมากขึ้น นอกจากนั้นผลของสงครามก็นำมาซึ่งการล่มสลายของที่มั่นต่างๆ ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนไปด้วยในขณะเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามครูเสดครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส

งครามปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolutionary Wars) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามไบแซนไทน์-อาหรับ

งครามไบแซนไทน์-อาหรับ (Byzantine–Arab Wars) เป็นสงครามที่ต่อเนื่องกันระหว่างจักรวรรดิกาหลิป และจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่เริ่มตั้งแต่การพิชิตดินแดนของมุสลิมภายใต้จักรวรรดิกาหลิปรอชิดีนและจักรวรรดิกาหลิปอุมัยยะห์ และต่อสู้ต่อเนื่องกันมาด้วยสาเหตุความขัดแย้งของพรมแดนจนถึงสงครามครูเสดเริ่มต้นขึ้น ผลของสงครามคือการเสียดินแดนของจักรวรรดิไบแซนไทน์ หรือชาวอาหรับเรียกว่า “รุม” ในบันทึกทางประวัติศาสตร์ ความขัดแย้งครั้งแรกยืนยาวตั้งแต่ ค.ศ. 634 จนถึง ค.ศ. 718 ที่จบลงด้วยการการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่สองที่หยุดยั้งการขยายตัวของจักรวรรดิอาหรับเข้ามายังอนาโตเลีย ความขัดแย้งครั้งเกิดขึ้นระหว่างราว ค.ศ. 800 จนถึง ค.ศ. 1169 เมื่อฝ่ายอิสลามยึดดินแดนทางตอนใต้ของอิตาลีโดยกองกำลังของอับบาซียะห์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 แตไม่ประสบกับความสำเร็จเท่าใดนักในซิซิลี เมื่อมาถึงสมัยการปกครองของราชวงศ์มาซีโดเนียไบแซนไทน์ก็ยึดบริเวณลว้านคืนมาได้ และบุกต่อไปเพื่อที่จะยึดเยรูซาเลมทางตอนใต้ อาณาจักรอีเมียร์แห่งอเล็พโพและอาณาจักรเพื่อนบ้านกลายเป็นอาณาจักรบริวารของไบแซนไทน์ทางตะวันออก ที่อันตรายส่วนใหญ่มาจากจักรวรรดิกาหลิปฟาติมียะห์ในอียิปต์ สถานะการณ์มาเปลี่ยนแปลงเมื่อราชวงศ์เซลจุครุ่งเรืองขึ้นและทำให้อับบาซียะห์ได้ดินแดนลึกเข้าไปในอนาโตเลีย ซึ่งเป็นผลให้จักรพรรดิไบแซนไทน์อเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอสต้องเขียนพระราชสาส์นไปขอความช่วยเหลือจากสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2ที่การประชุมสภาสงฆ์แห่งปิอาเชนซา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเริ่มสงครามครูเสดครั้งที่ 1.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสงครามไบแซนไทน์-อาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สตราโบ

ตราโบ (StraboStrabo ("squinty") was a term employed by the Romans for anyone whose eyes were distorted or deformed., ภาษากรีก: Στράβων) (ราว 63/64 ก่อนคริสต์ศักราช – ราว ค.ศ. 24) เป็นนักประวัติศาสตร์, นักภูมิศาสตร์ และนักปรัชญาชาวกรีก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสตราโบ · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์บัคส์

ตาร์บัคส์ (Starbucks) เป็นร้านกาแฟจากอเมริกาในเมืองซีแอตเทิลในรัฐวอชิงตัน ในปี ค.ศ. 1971 โดย กอร์ดอน โบเคอร์, เจอรี่ บัลด์วิน และซิฟ ซีเกิ้ล โดยตอนแรกใช้โลโก้เป็นรูปไซเรน 2 หาง ก่อตั้งในฐานะร้านขายเมล็ดกาแฟคั่ว ต่อมาปี 1982 สตาร์บัคส์มีสาขา 5 สาขา และโฮเวิร์ด ชูลทส์ได้เข้ามาร่วมงานด้วย โดยดูแลด้านการตลาดและค้าปลีก ซึ่งเขาเป็นผู้แนะนำให้สตาร์บัคส์เปิดเป็นบาร์กาแฟ แต่หลายคนก็ไม่เชื่อในวิสัยทัศน์ของเขา ต่อมาชูลทส์ได้ลาออกจากบริษัท ไปเปิดบาร์กาแฟของตนเองชื่อ อิล จิออร์เนล และจำหน่ายกาแฟของสตาร์บัคส์ ในปี 1987 สตาร์บัคส์ประสบปัญหายุ่งยากจากการไม่สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้ ปี 1988 อิล จิออร์เนลจึงซื้อกิจการด้านค้าปลีกไว้พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สตาร์บัคส์ คอร์ปอเรชั่น และจ้างนักบริหารมืออาชีพเข้ามาดูแล ปี 1992 สตาร์บัคส์ได้เข้าตลาดหลักทรัพย์ และในปี 1996 สตาร์บัคส์ได้เปิดสาขาแรกนอกอเมริกาเหนือที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมากกว่า 1 ใน 3 ของร้านสตาร์บัคส์ทั้งหมดอยู่ในต่างประเทศ โดยเฉลี่ยแล้วสตาร์บัคส์เปิดสาขาใหม่เพิ่มวันละ 2 สาขาระหว่างปี 1987 และ 2007 บริษัทได้เริ่ม Caffe Starbucks เป็นระบบบริการออนไลน์โดยอาศัยเครือข่ายของ เอโอแอล สัญลักษณ์ของสตาร์บัคส์ครั้งแรกนั้นเป็นรูปนางเงือก ซึ่งเป็น นางเงือกไซเรนสองหาง (Norse Siren) ในเทพนิยายปรัมปรา เพื่อให้นึกถึงการผจญภัยในทะเล และปรับเปลี่ยนหลายครั้งและล่าสุดคือ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสตาร์บัคส์ · ดูเพิ่มเติม »

สนามฟุตบอล

La Bombonera) สนามฟุตบอล คือบริเวณที่ใช้การเล่นฟุตบอลซึ่งเป็นสนามรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและมีพื้นสนามเป็นหญ้า โดยบนสนามจะมีเส้นสีขาวแสดงถึงขอบเขตของสนาม โดยเส้นสี่เหลี่ยมรอบนอกจะเป็นเส้นขอบสนาม ซึ่งเมื่อลูกฟุตบอลยังอยู่บนเส้นหรือลอยเหนือเส้น ยังถือว่าลูกฟุตบอลอยู่ในสนาม ยกเว้นแต่ว่าลูกฟุตบอลทั้งลูกออกภายนอกเส้น เช่นเดียวกับการทำประตู ถ้าลูกฟุตบอลยังคงอยู่เหนือเส้นยังไม่ถือว่าเป็นประตู วงกลมตรงกลางสนามจะเป็นจุดเริ่มต้นของการแข่งขัน โดยลูกฟุตบอลจะถูกวางไว้ตรงจุดศูนย์กลางของวงกลม สำหรับกรอบสี่เหลี่ยมที่อยู่ปลายทั้งสองข้างของสนามคือ กรอบเขตโทษ และจะมีจุดโทษอยู่ภายในสำหรับวางตำแหน่งของลูกฟุตบอลใน การยิงลูกโทษ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสนามฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ. 2494) เป็นสนธิสัญญาที่นำไปสู่การยุติสงครามระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศร่วมลงนามในสัญญาอีก 49 ประเทศ ประเทศต่างๆ เหล่านี้ได้แก่ประเทศที่ได้ประกาศสงครามกับญี่ปุ่น ยกเว้นรัสเซีย จีนไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่และประเทศอื่นเคยอยู่ในการยึดครองของญี่ปุ่นระหว่างสงคราม ที่ประกาศตั้งเป็นรัฐใหม่หลังการประกาศยอมแพ้ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2488 สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก เป็นสัญญาที่นำไปสู่การยุติการยึดครองประเทศญี่ปุ่นของประเทศต่าง ๆ หลังการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข และเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการรับญี่ปุ่นเข้าร่วมกับประชาคมโลกในฐานะเท่าเทียมกันอีกครั้งหนึ่ง มีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแบร์น

นธิสัญญาแบร์น (Traité de Berne.; Treaty of Bern.) ซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสนธิสัญญาแบร์น · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลี

มสรกีฬาอัลอะฮ์ลี (อารบิก: النادي الأهلي للألعاب الرياضية) (El Nady El Ahly El Riady, แปล:สโมสรกีฬาแห่งชาติ) เป็นสโมสรกีฬาตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ มีชื่อเสียงในด้านทีมฟุตบอลซึ่งกำลังแข่งขันในพรีเมียร์ลีกอียิปต์ ลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศ อัลอะฮ์ลีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสโมสรกีฬาอัลอะฮ์ลี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรกีฬาซะมาลิก

มสรกีฬาซะมาลิก (نادى الزمالك للألعاب الرياضية) เป็นสโมสรกีฬาของประเทศอียิปต์ โดยกีฬาที่โดดเด่นที่สุดของสโมสรคือฟุตบอล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และสโมสรกีฬาซะมาลิก · ดูเพิ่มเติม »

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดนักฮัมมาดี

หอสมุดนักฮัมมาดี (Nag Hammadi Library) เป็นกลุ่มของหนังสือที่ค้นพบที่หมู่บ้านนักฮัมมาดีทางใต้ของกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหอสมุดนักฮัมมาดี · ดูเพิ่มเติม »

หอดูดาว

หอดูดาว เป็นสถานที่สำหรับใช้สังเกตการณ์ท้องฟ้าและดวงดาว ในการศึกษาด้านดาราศาสตร์ หรือโหราศาสตร์ หอดูดาวทางดาราศาสตร์ในปัจจุบันมักก่อสร้างเป็นอาคารรูปโดมมีช่องเปิด ภายในมีกล้องโทรทรรศน์เพื่อใช้ขยายภาพท้องฟ้า สาเหตุที่ใช้อาคารมีช่องเปิด ก็เพื่อลดแสงรบกวนจากภายนอก ส่วนอาคารรูปโดมนั้นเหมาะกับประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาวจะไม่มีหิมะค้างอยู่บนหลังคา อาคารโดมอาจติดตั้งกลไกการหมุนเพื่อติดตามดาว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

หุบเขากษัตริย์

นที่ตั้งของหุบเขาในหุบเขาธีบัน ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ ในเดือนตุลาคม 1988 (ลูกศรแดง แสดงถึงที่ตั้ง) หุบเขากษัตริย์ (وادي الملوك Wādī al-Mulūk; The Valley of the Kings) เป็นหุบเขาในประเทศอียิปต์ เป็นหลุมศพของกษัตริย์และราชวงศ์ในราชอาณาจักรใหม่ (ตั้งแต่ราชวงศ์ที่ 18 ถึง 20 ของอียิปต์โบราณ).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหุบเขากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

หุบเขากาฐมาณฑุ

หุบเขากาฐมาณฑุ คือแหล่งมรดกโลกของประเทศเนปาล โดยมรดกทางวัฒนธรรมของหุบเขากาฐมาณฑุแบ่งออกเป็น อนุสรณ์สถานและอาคารต่าง ๆ รวม ๗ กลุ่มด้วยกัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จอย่างสูงทางประวัติศาสตร์และศิลปะ ที่ทำให้หุบเขากาฐมาณฑุมีชื่อเสียงในโลก มรดกทั้ง ๗ อย่างได้แก่ จตุรัสเดอร์บาร์ (Durbar) แห่งพระราชวังหนุมานโธกา (Hanuman Dhoka) (กาฐมาณฑุ) ปาทาน (Patan) ภัคตปุระ (Bhaktapur) เจดีย์พุทธสวยัมภู (Swayambhu) และเจดีย์โพธินาถ (Bauddhanath) วัดฮินดูปศุปฏิ (Pashupati) และวัดชานกูนารายัน (Changu Narayan).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหุบเขากาฐมาณฑุ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสืออพยพ

หนังสืออพยพ (Exodus; ואלה שמות; Ἔξοδος) เป็นหนังสือเล่มที่สองในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และเป็นเล่มที่สองในหมวดเบญจบรรณ ซึ่งเชื่อกันว่าโมเสสเป็นผู้เขียนขึ้น คำว่า "อพยพ" แปลจากภาษาอังกฤษซึ่งแปลอีกทอดจากภาษากรีก โดยหมายถึง การแยกออกจากกัน แต่ในภาษาฮีบรู มาจากคำขึ้นต้นซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "ต่อไปนี้เป็นชื่อของ..." หนังสืออพยพประกอบด้วยเนื้อหาที่อาจสรุปย่อได้ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหนังสืออพยพ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือปฐมกาล

หนังสือปฐมกาล (Book of Genesis; בראשית; ܣܦܪܐ ܕܒܪܝܬܐ; Γένεση) มาจากภาษากรีกว่า “การเกิด” หรือ “ที่มา” เป็นหนังสือที่กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโลก มนุษย์ และอิสราเอล ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชาติที่พระเจ้าได้เลือกไว้ (ซึ่งมีความนัยทางเทววิทยา) ชื่อ "ปฐมกาล" แปลมาจากคำแรกของคัมภีร์ฮีบรูคำว่า בראשית (B'reshit or Bərêšîth) แปลว่า "ในปฐมกาล..." (in the begining...).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหนังสือปฐมกาล · ดูเพิ่มเติม »

หนังตะลุง

หนังตะลุง หนังตะลุง คือ ศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นอย่างหนึ่งของภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อยเป็นนิยาย ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นสำเนียงท้องถิ่น หรือที่เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรกเป็นระยะ และใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่งการว่าบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุงเป็นคนแสดงเองทั้งหมด หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยก่อนที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึงทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน หนังตะลุงแสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงให้ชมด้วยเสมอ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หนังตะลุงกลับกลายเป็นความบันเทิงที่ต้องจัดหามาในราคาที่ "แพงและยุ่งยากกว่า" เมื่อเทียบกับภาพยนตร์ เพราะการจ้างหนังตะลุงมาแสดง เจ้าภาพต้องจัดทำโรงหนังเตรียมไว้ให้ และเพราะหนังตะลุงต้องใช้แรงงานคน (และฝีมือ) มากกว่าการฉายภาพยนตร์ ค่าจ้างต่อคืนจึงแพงกว่า ยุคที่การฉายภาพยนตร์เฟื่องฟู หนังตะลุงและการแสดงท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มโนราห์ รองแง็ง ฯลฯ ก็ซบเซาลง ยิ่งเมื่อเข้าสู่ยุคที่ทุกบ้านมีโทรทัศน์ดู ละครโทรทัศน์จึงเป็นความบันเทิงราคาถูกและสะดวกสบาย ที่มาแย่งความสนใจไปจากศิลปะพื้นบ้านเสียเกือบหมด ปัจจุบัน โครงการศิลปินแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และสืบทอดศิลปะการแสดงหนังตะลุงให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ให้คงอยู่สืบไป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหนังตะลุง · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน หรือชื่อเรียกย่อ โอดอส (ODOS ย่อมาจาก One District One Scholarship) เป็นโครงการพัฒนาการศึกษาของรัฐบาลในยุค ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ อดิสัย โพธารามิก ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยชื่อเดิม และชื่อเต็มของโครงการนี้คือ โครงการทุนการศึกษาต่อของนักเรียนจากทุกอำเภอ และกิ่งอำเภอ ในระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตรี) ทุนการศึกษา "หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน" ได้รับเงินสนับสนุนจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยได้นำเงินจากการขายหวยออนไลน์ เลขท้าย 2 ตัวและ 3 ตัว ทำให้หลายคนเรียกและรู้จักทุนนี้ในชื่อของ "ทุนหวย".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน · ดูเพิ่มเติม »

หน้าบัน

การตกแต่งหน้าบันวัดราชบุรณราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร หน้าบัน (Tympanum鼓室) คือบริเวณครึ่งวงกลมหรือเกือบสามเหลี่ยมเหนือประตูทางเข้าที่อยู่ระหว่างทับหลังและโค้ง (arch) ซึ่งจะมีรูปสลักตกแต่งหรือเครื่องตกแต่งอื่นๆ สถาปัตยกรรมเกือบทุกแบบจะมีองค์ประกอบนี้ ผู้คิดค้นการสร้างหน้าบันเป็นคือชาวอียิปต์โบราณประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาก็ปรากฏในสถาปัตยกรรมกรีก สถาปัตยกรรมของคริสต์ศาสนา และ สถาปัตยกรรมของศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และหน้าบัน · ดูเพิ่มเติม »

ห้องสมุดแห่งอะเล็กซานเดรีย

ห้องสมุดโบราณแห่งอะเล็กซานเดรีย ตั้งอยู่ในเมืองอะเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ เป็นหนึ่งในห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดของโลกยุคโบราณ อุทิศแด่มิวส์ เก้าเทพธิดาแห่งศิลปะ เจริญรุ่งเรืองภายใต้การอุปถัมภ์ของราชวงศ์ทอเลมี และเป็นศูนย์กลางที่สำคัญของการศึกษา ตั้งแต่การก่อสร้างในเมื่อ 3 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษจนถึงที่โรมันเอาชนะอิยิปต์ใน 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช ประกอบด้วย แหล่งรวมผลงาน ห้องบรรยาย ห้องประชุม และสวน โดยห้องสมุดนี้เป็นส่วนหนึ่งของสถาบันการศึกษาวิจัยขนาดใหญ่ ที่เรียกว่า Musaeum และเป็นสถานที่ที่มีนักวิชาการหลายท่านที่มีชื่อเสียงที่สุดของการศึกษายุคโบราณ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และห้องสมุดแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อะบูซิมเบล

250px อะบูซิมเบล (أبو سمبل,أبو سنبل; Abu Simbel) เป็นมหาวิหารของอียิปต์โบราณอันประกอบขึ้นจากหินขนาดใหญ่สองก้อน มีลักษณะเป็นรูปปั้นองค์ฟาโรห์ทั้งสี่ ส่วนองค์ที่สองถล่มลงเนื่องจากแผ่นดินไหว ตั้งอยู่ทางใต้ของอียิปต์ บนริมฝั่งตะวันตกของทะเลสาบนัสซอร์ ระยะทางประมาณ 290 กิโลเมตรจากอัสวาน และเป็นโบราณสถานหนึ่งในมรดกโลกขององค์การยูเนสโก นอกจากนี้ยังรู้จักกันในนาม อนุสรณ์สถานแห่งนิวเบีย แต่เดิมมหาวิหารถูกก่อสร้างโดยการเจาะแกะสลักเข้าไปในภูเขาหินในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์รามเสสที่ 2 ในช่วงศตวรรษที่ 13 ก่อนคริสตกาล และยังเป็นอนุสรณ์สถานแห่งสุดท้ายของพระองค์และพระมเหสีของพระองค์นั้นคือพระนางเนเฟอร์ทารี ซึ่งอะบูซิมเบล ยังมีจุดประสงค์เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองกับชัยชนะของอียิปต์ที่มีต่อนิวเบียที่สมรภูมิแห่งคาเดส อีกทั้งเพื่อเป็นการข่มขู่นิวเบียไม่ให้มารุกรานอียิปต์ซึ่งเป็นอาณาจักรใกล้เคียง อย่างไรก็ตามมหาวิหารทั้งหมดถูกเคลื่อนย้ายโดยคณะวิศวกรจากสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งใช้เวลาตลอดทั้งทศวรรษที่ 1960 เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาน้ำท่วมจากการสร้างเขื่อนอัสวาน อันจะส่งผลให้มหาวิหารและโบราณสถานที่รายรอบอยู่ต้องจมอยู่ก้นทะเลสาบนัสซอร์ ปัจจุบันมหาวิหารเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมอย่างมากและโด่งดังแห่งหนึ่งของอียิปต์ ซึ่งครั้งหนึ่งนักท่องเที่ยวชาวเยอรมันและญี่ปุ่นเคยถูกลอบสังหารขณะเดินทางไปยังสถานที่แห่งนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอะบูซิมเบล · ดูเพิ่มเติม »

อะลาอุดดีน อะบูลกอซิม

อะลาอุดดีน มุฮัมมัด อัลซัยยิด อะบูลกอซิม (علاء الدين محمد السيد أبو القاسم; Alaaeldin Muhammad Al-Sayid Abouelkassem; 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 —) เป็นนักฟันดาบสากลชาวอียิปต์ที่ได้รับรางวัลเหรียญเงินในรายการฟอยล์บุคคลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เขาเริ่มเล่นฟันดาบตั้งแต่อายุแปดปี และใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอะลาอุดดีน อะบูลกอซิม · ดูเพิ่มเติม »

อะลี ญุมอะฮ์

อะลี ญุมอะฮ์ อะลี ญุมอะฮ์ (علي جمعة; Ali Gomaa) ปราชญ์ศาสนาอิสลาม เกิดวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอะลี ญุมอะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มัด ฟัตฮี

อะห์มัด ฟัตฮี (أحمد فتحي; เกิด 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นให้กับอัลอะฮ์ลีในพรีเมียร์ลีกอียิปต์ ฟัตฮีเกิดที่เมืองบัญเฮาะ สามารถเล่นได้หลากหลายตำแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นกองกลางตัวรับหรือกองหลัง เขาเริ่มต้นอาชีพกับสโมสรอิสเมลี ก่อนที่จะย้ายไปเล่นให้กับเชฟฟีลด์ยูไนเต็ดในพรีเมียร์ลีกเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอะห์มัด ฟัตฮี · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มัด มุฮัมมัด อัฏฏ็อยยิบ

อะห์มัด มุฮัมมัด อัฏฏ็อยยิบ อะห์มัด มุฮัมมัด อัฏฏ็อยยิบ (أحمد محمد الطيب; Ahmed Mohamed el-Tayeb) เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1946 ดำรงตำแหน่งผู้นำสูงสุดแห่งมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ประเทศอียิปต์ คนปัจจุบัน ซึ่งได้รับตำแหน่งจากการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีฮุสนี มุบาร็อก เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 2010 ภายหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี ผู้นำสูงสุดแห่งอัซฮัรคนก่อน ศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านหลักศรัทธาและปรัชญา จากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอะห์มัด มุฮัมมัด อัฏฏ็อยยิบ · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มัด อุมัร ฮาเช็ม

อะห์มัด อุมัร ฮาเช็ม (أحمد عمر هاشم) เป็นบุคคลสำคัญในศาสนาอิสลามชาวอียิปต์ เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941 เป็นอาจารย์สอนภาควิชาอัลฮาดิษ (วจนะพระศาสดามูฮัมมัด) แห่งมหาลัยอัลอัซฮัร และยังดำรงตำแหน่งสภาวิจัยอิสลาม สำเร็จการศึกษาคณะศาสนศาสตร์จากมหาลัยอัลอัซฮัร ในปี..1961 ได้รับใบอนุญาตด้านวิชาการสากลในปี..1967 แล้วจึงได้รับตำแหน่งผู้ช่วยคณะฮาดิษ สำเร็จปริญญาโท และปริญญาเอกคณะวิชาฮาดิษจากมหาลัยอัลอัซฮัร แล้วจึงเป็นอาจารย์สอนภาควิชาฮาดิษในปี..1983 หลังจากนั้นได้ดำรงตำแหน่ง คณบดีคณะศาสนศาสตร์ มหาลัยอัลอัซฮัร สาขาซากอซี้ก(الزقازيق) ในปี..1987 หลังจากนั้นยังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาลัยอัลอัซฮัร ในปี..1987.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอะห์มัด อุมัร ฮาเช็ม · ดูเพิ่มเติม »

อะเล็กซานเดรีย

อะเล็กซานเดรีย หรือในภาษาอาหรับเรียก อัลอัสกันดะริย์ยะ (Alexandria; الإسكندرية; Αλεξάνδρεια; คอปติก: Ⲣⲁⲕⲟⲧⲉ) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองในประเทศอียิปต์ รองจากกรุงไคโร มีประชากรประมาณ 3-5 ล้านคน และเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม

ทูตสวรรค์ยับยั้งอับราฮัม ขณะกำลังจะถวายอิสอัคแด่พระยาห์เวห์ อับราฮัม(ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิบรอฮีม (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Abraham; אברהם; إبراهيم) เป็นบุคคลสำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม เรื่องราวของท่านถูกบันทึกไว้ในหนังสือปฐมกาล บทที่ 11 ถึง บทที่ 25 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ และคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามก็ถืออับราฮัมเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ด้วย อับราฮัม เดิมชื่อ "อับราม" เป็นบุตรของ เทราห์ สืบเชื้อสายมาจาก เชม บุตรของโนอาห.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอับราฮัม · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม ออร์ทีเลียส

อับราฮัม ออร์ทีเลียส นักทำแผนที่แบบใหม่คนแรก อับราฮัม ออร์ทีเลียส (Abraham Ortelius)..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอับราฮัม ออร์ทีเลียส · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ (عبدالله بن حمد العطية; ค.ศ. 1951 —) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศกาตาร์และหัวหน้าศาลของเอมีร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคอปติก

ตัวอักษรคอปติกเขียนในแบบโบไฮริก อักษรคอปติก (Coptic alphabet) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรกรีก โดยเพิ่มอักษรพิเศษสำหรับเสียงที่ไม่มีในภาษากรีก รูปที่เพิ่มนำมาจากอักษรอียิปต์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป เริ่มปรากฏเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอักษรคอปติก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคานาอันไนต์

อักษรคานาอันไนต์ หรืออักษรไซนาย จัดเป็นอักษรไร้สระชนิดแรก จุดกำเนิดเริ่มเมื่อราว 1,157 ปีก่อนพุทธศักราช คาบสมุทรไซนายถูกอียิปต์ครอบครอง ชุมชนที่พูดภาษาตระกูลเซมิติกในบริเวณนั้น ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมอียิปต์ และพัฒนาอักษรไฮโรกลิฟฟิกมาใช้เขียนภาษาของตน จากการศึกษาในอียิปต์ปัจจุบัน พบจารึกเขียนด้วยอักษรไซนาย อายุราว 1,357 ปีก่อนพุทธศักราช ในอียิปต์ตอนบน และใกล้เคียงกับข้อความภาษาอียิปต์ที่ใช้โดยผู้พูดภาษาตระกูลเซมิติกในอียิปต์ อักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์มีสัญลักษณ์แทนเสียง ใช้คู่กับรูปอักษร ชาวไซนายสุ่มเลือกอักษรไฮโรกลิฟฟิกมาเป็นเครื่องหมายแทนเสียงของพยัญชนะตัวแรกของคำที่รูปอักษรอ้างถึง เช่น คำว่า วัวตัวผู้ /’aleph/ เป็นสัญลักษณ์แทนเสียง /อ/ จากนั้นอักษรนี้ได้แพร่หลายไปสู่ชาวคานาอัน เกิดเป็นอักษรคานาอันไนต์ และพัฒนาไปเป็นอักษรฟินิเชียอีกต่อหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอักษรคานาอันไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรคาเรีย

อักษรคาเรีย (Carian) พบจารึกราว 100 ชิ้น ในเขตของชาวคาเรียในอียิปต์ พบอักษรนี้บนแผ่นดินเหนียว เหรียญ และจารึกตามอนุสาวรีย์ด้วย อาจจะมาจากอักษรฟินิเชีย การถอดความอักษรคาเรียเริ่มเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอักษรคาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเอธิโอเปีย

อักษรเอธิโอเปีย อักษรเอธิโอเปีย หรือ อักษรกีเอส (Ge'ez) พัฒนามาจากอักษรซาบาเอียน จารึกอักษรนี้ พบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอักษรเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

อัยมัน อัซเซาะวาฮิรี

อัยมัน มุฮัมมัด เราะบี อัซเซาะวาฮิรี (أيمن محمد ربيع الظواهري‎, Ayman Mohammed Rabie al-Zawahiri; เกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2494) เป็นนักเทววิทยาอิสลามชาวอียิปต์ ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำของกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็น "เอมีร์" (emir) คนที่สองและคนสุดท้ายของญิฮาดอิสลามอียิปต์ โดยสืบทอดตำแหน่งเอมีร์สืบต่อจากอับบัด อัล-ซูมาร์ เมื่อเขาถูกทางการอียิปต์ตัดสินจำคุกตลอดชีวิต ภรรยาของอัซเซาะวาฮิรีและลูกสามคนจากทั้งหมดหกคนถูกสังหารในการโจมตีทางอากาศในอัฟกานิสถานโดยกองทัพสหรัฐเมื่อปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอัยมัน อัซเซาะวาฮิรี · ดูเพิ่มเติม »

อัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (อียิปต์)

อัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (Al Gama a al Islamiyyah; ภาษาอาหรับ الجماعه الإسلاميه) เป็นกลุ่มนิยมอิสลามและกลุ่มติดอาวุธที่ใหญ่ที่สุดในอียิปต์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปลี่ยนการปกครองในประเทศอียิปต์ให้เป็นรัฐอิสลาม กิจกรรมของกลุ่มเริ่มปรากฏตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอัลญะมะอะหฺ อัลอิสลามียะหฺ (อียิปต์) · ดูเพิ่มเติม »

อัลมะฮัลละตุลกุบรอ

อัลมะฮัลละตุลกุบรอ (المحلة الكبرى) เป็นเมืองอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมในประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ในเขตผู้ว่าการอัลฆ็อรบียะฮ์บนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 บนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ มีประชากรอยู่ราว 442,000 คน (ค.ศ. 2001) หมวดหมู่:เมืองในประเทศอียิปต์.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอัลมะฮัลละตุลกุบรอ · ดูเพิ่มเติม »

อัลลอหุ อักบัร (เพลงชาติ)

อัลลอหุ อักบัร (ภาษาอาหรับ: الله أكبر‎), Allahu Akbar; แปลว่า อัลลอหฺ (พระเจ้า) ทรงยิ่งใหญ่ที่สุด) เป็นชื่อเพลงชาติของประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย เพลงนี้เดิมเป็นเพลงปลุกใจเพลงหนึ่งของอียิปต์ ซึ่งเป็นที่นิยมทั่วไปในประเทศอียิปต์และซีเรียในช่วงสงครามคลองสุเอซ พ.ศ. 2499 ประพันธ์ทำนองโดย อับดุลลา ชามส์ เอล-ดิน (Abdalla Shams El-Din) เนื้อร้องโดย มาห์มุด เอล-เชอริฟ (Mahmoud El-Sherif) ประธานาธิบดีมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แห่งลิเบีย ได้ประกาศให้เพลงนี้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการของลิเบียเมื่อ 1 กันยายน พ.ศ. 2512 เพื่อแสดงจุดยืนที่มุ่งหวังจะเห็นโลกอาหรับมีความเป็นเอกภาพ เมื่อลิเบียตัดความสัมพันธ์กับอียิปต์ในปี พ.ศ. 2522 เพลง "อัลลอหุ อักบัร" ก็ยังคงใช้ในฐานะเพลงชาติลิเบียอยู่เช่นเดิม แต่ไม่มีการกล่าวถึงที่มาของเพลงซึ่งมาจากอียิปต์โดยรัฐบาลลิเบียอีกต่อไป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอัลลอหุ อักบัร (เพลงชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

อัลไพน์สโตนรีฟ

อัลไพน์สโตนรีฟ อัลไพน์สโตนรีฟ (Elphinstone Reef) (และเป็นที่รู้จักในชื่อ Sha'ab Abu Hamra) คือพืดหินใต้น้ำเดี่ยวในทะเลแดงของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ประมาณ 30 กิโลเมตรทางทิศเหนือของเมืองมาร์สาอาลาม (Marsa Alam) ปะการังส่วนมากเป็นปะกาลังอ่อนจำพวก Dendronephthya.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอัลไพน์สโตนรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินฮอสปิทัลเลอร์

ณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) หรือคณะฮอสปิทัลเลอร์ (Order of Hospitallers) เป็นคณะบุรุษที่ทำงานที่โรงพยาบาลอมาลฟิที่ตั้งขึ้นในเยรูซาเลมในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย

อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย (Patriarch of Alexandria) คือประมุขฝ่ายคริสตจักรในเมืองอะเล็กซานเดรีย (ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศอียิปต์) นับเป็น 1 ใน 3 ตำแหน่งประมุขฝ่ายคริสตจักรที่เก่าแก่ที่สุด (อีก 2 ตำแหน่งคือ อัครบิดรแห่งโรมและอัครบิดรแห่งแอนติออก) โดยเฮราคลัส อัครบิดรองค์ที่ 13 แห่งอะเล็กซานเดรียเป็นบุคคลแรกที่ได้รับสมัญญานามว่า "พระสันตะปาปา" (ส่วนอัครบิดรแห่งโรมเริ่มใช้สมัญญานี้ราวคริสต์ศตวรรษที่ 6).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อังค์ฮาฟ

อังค์ฮาฟ เป็นเจ้าชายชาวอียิปต์และทำหน้าที่เป็นหัวหน้าและผู้ควบคุมงานให้แก่ฟาโรห์คูฟู ผู้เป็นพระเชษฐาพระองค์หนึ่งของอังค์ฮาฟ พระองค์มีชีวิตอยู่ในช่วงราชวงศ์ที่ 4 ของราชอาณาจักรอียิปต์ ราวประมาณ 2613 ถึง 2494 ปีก่อนคริสตกาล อังค์ฮาฟเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์สเนฟรูกับพระมเหสีไม่ทราบพระนาม หลุมฝังพระศพของอังค์ฮาฟอยู่ในมาสตาบาในกีซา อังค์ฮาฟได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเฮเตเฟเรส A ซึ่งพระราชธิดาพระองค์โตของฟาโรห์สเนฟรูกับพระนางเฮเตเฟอร์เรสที่ 1 และเป็นพระขนิษฐานต่างมารดาของอังค์ฮาฟ ทั้งสองพระองค์ก็มีพระราชธิดาด้วยกัน 1 พระอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอังค์ฮาฟ · ดูเพิ่มเติม »

อังค์เซนเปปิที่ 1

'อังค์เซนเปปิที่ 1 เป็นมเหสีในช่วงราชวงศ์ที่หกของอียิปต์ อังค์เซนเปปิที่ 1 เป็นลูกสาวของเนเบ็ต อัครมหาเสนาบดีเพศหญิงและสามีของเธอ คุย น้องสาวของอังค์เซนเปปิที่ 1 คืออังค์เซนเปปิที่ 2 และพี่ชายของเธอเป็นอัครมหาเสนาบดีนามว่า ดเจอู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอังค์เซนเปปิที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

อังค์เซนเปปิที่ 3

อังค์เซนเปปิที่ 3 เป็นราชินีอียิปต์โบราณของราชวงศ์ที่หก เธอได้รับการตั้งชื่อตามคุณยายของเธอ อังค์เซนเปปิที่ 1 และ อังค์เซนเปปิที่ 2 เป็นลูกสาวของเมเรนเรที่ 1 และเธอกลายเป็นภรรยาของเปปิที่ 2.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอังค์เซนเปปิที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

อังค์เซนเปปิที่ 4

อังค์เซนเปปิที่ 4 เป็นพระมเหสีของฟาโรห์อียิปต์โบราณ เป็นพระมเหสีของฟาโรห์เปปิที่ 2 เนเฟอร์กาเร ของราชวงศ์ที่หก พระองค์เป็นมารดาของฟาโรห์ฟาโรห์เนเฟอร์เคาเรที่ 2.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอังค์เซนเปปิที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

อันวัร อัสซาดาต

มุฮัมมัด อันวัร อัสซาดาต (محمد أنور السادات; Muhammad Anwar al-Sadat; 25 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2524) นักการทหาร นักการเมืองและประธานาธิบดีแห่งอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2513 - 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอันวัร อัสซาดาต · ดูเพิ่มเติม »

อันดับพะยูน

อันดับพะยูน เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่อันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sirenia เดิมที สัตว์ในอันดับนี้ถูกจัดให้อยู่ในอันดับเดียวกับอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ด้วยเห็นว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเล และมีรูปร่างคล้ายคลึงกัน แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 1816 อ็องรี มารี ดูว์ครอแต เดอ แบล็งวีล นักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส เป็นบุคคลแรกที่ทำการแยกความแตกต่างระหว่างพะยูนกับโลมาและวาฬ ออกจากกันและจัดพะยูนเข้าไว้ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกีบในอันดับ Sirenia โดยนับว่าพะยูนมีบรรพบุรุษร่วมกันกับช้างมาก่อน คือ Paenungulata รวมถึงการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ของพะยูนสกุล Eotheroides ที่พบในประเทศอียิปต์ พบว่ามีลักษณะบางอย่างเหมือนและใกล้เคียงกันกับ Moeritherium ซึ่งเป็นต้นตระกูลของช้างยุคอีโอซีนตอนต้น (ประมาณ 40 ล้านปีมาแล้ว) Eotheroides เป็นสัตว์มี 4 ขา มีฟันครบและอาศัยอยู่ในน้ำ ต่อมามีวิวัฒนาการเพื่อให้อาศัยอยู่ในน้ำได้ดีขึ้น โดยที่ขาหลังจะลดขนาดลงและหายไปในที่สุด ส่วนขาหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบพายเพื่อให้เหมาะสมกับการว่ายน้ำ จากนั้นก็มีวิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ จนกลายมาเป็นพะยูนในปัจจุบัน อีกทั้ง แอนสท์ แฮคเคิล นักชีววิทยาชาวเยอรมันได้วิจัยเมื่อประมาณ 100 ปีก่อน โดยพบว่าตัวอ่อนของสัตว์ทั้งสองนี้มีโครงสร้างทางสรีระที่คล้ายกันมากจนในอดีตเมื่อ 40 ล้านปีก่อน ช้างและพะยูนมีต้นตระกูลร่วมกัน ถึงวันนี้มันก็ยังมีงวงและจมูกที่ใช้หายใจเหมือนกัน มีพฤติกรรมสืบพันธุ์ที่คล้ายคลึงกัน และเลี้ยงลูกด้วยนมเหมือนกัน ปัจจุบัน พะยูนได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 วงศ์ คือ Dugongidae และTrichechidae แบ่งได้เป็น 2 สกุล 4 ชนิด กระจายพันธุ์ไปในทะเลและแม่น้ำสายใหญ่ในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก กินอาหารจำพวก หญ้าทะเล, สาหร่ายและตะไคร่น้ำ เป็นอาหาร โดยพะยูนชนิดที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา คือ วัวทะเลชเตลเลอร์ (Hydrodamalis gigas) ที่อยู่ในวงศ์ Dugongidae ที่มีความยาวถึง 7 เมตร แต่ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปแล้วเมื่อราว 300 ปีก่อน โดยคำว่า "Sirenia" นั้นมาจากคำว่า "ไซเรน" ซึ่งเป็นอสูรกายที่อาศัยอยู่ในทะเลในเทพปกรณัมกรีก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอันดับพะยูน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (พื้นที่)

หมวดหมู่:พื้นที่ หมวดหมู่:อันดับของขนาด (พื้นที่).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอันดับของขนาด (พื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความยาว)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอันดับของขนาด (ความยาว) · ดูเพิ่มเติม »

อันดับด้วง

้วง หรือ แมลงปีกแข็ง (Beetle) จัดเป็นแมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับย่อยอีก 4 อันดับ (ดูในตาราง) จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตสมบูรณ์ คือ เป็น ไข่, หนอน, ดักแด้ และตัวเต็มวัย ด้วง หรือ แมลงปีกแข็งนั้น นับเป็นแมลงที่มีจำนวนมากที่สุดในโลก กล่าวคือ มีประมาณร้อยละ 40 ของแมลงที่มีอยู่ทั้งหมด (ประมาณ 400,000 ชนิด) มีลักษณะเด่นโดยรวม คือ ในวัยเต็มตัวจะมีปีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกที่มีความแข็งเท่ากันหรือเกือบเท่ากันตลอดทั้งแผ่น เรียกว่า Elytra ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἔλυτρον) ซึ่งหมายถึง แผ่น หรือ ปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยู่ปีกคู่หลังจะพับซ้อนกันอย่างมีระเบียบและซ่อนอยู่ภายใต้ปีกคู่หน้าอย่างมิดชิด และเมื่อต้องการบิน ปีกคู่หลังนี้จะกางออก โดยการเปิดกางออกของปีกคู่หน้าขึ้นก่อนที่จะเหยียดกางปีกคู่หลังนี้ออกมาบินอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาที่จะเกาะหรือคลาน จะหุบปีกโดยปีกคู่หน้าจะประกบกันสนิทเป็นเส้นตรงอยู่ตรงกลางลำตัว ปีกคู่หน้าจึงทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันตัวและปีกคู่หลัง ในขณะที่บินปีกคู่หน้านี้จะไม่ช่วยในการบินแต่จะช่วยในการทรงตัว อย่างไรก็ตาม จะมีด้วงบางชนิดที่ปีกคู่หน้าเชื่อมติดกัน จึงไม่สามารถบินได้ และบางชนิดก็มีปีกคู่หน้าเล็กหรือสั้นกว่าลำตัวมากจนไม่สามารถปิดส่วนท้องได้สนิท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอันดับด้วง · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

ฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ คาร์ล ลุดวิก โยเซฟ มารีอา (Franz Ferdinand Carl Ludwig Joseph Maria) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย-เอสเต และยังทรงเป็นราชกุมารแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทจวบจนถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักชาตินิยมหัวรุนแรงชาวเซอร์เบีย ที่เมืองซาราเยโวในแคว้นบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี) หลังพระองค์และพระชายาสิ้นพระชนม์ก็ทำให้จักรวรดริออสเตรีย-ฮังการี ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรเซอร์เบียทันที ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ซิโนเอที่ 4

อาร์ซิโนเอที่ 4 (กรีก: Ἀρσινόη; ประสูติ 68 หรือ 59 ปีก่อนคริสตกาล - สิ้นพระชนม์ 41 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นหนึ่งในสี่ของพระราชโอรสและพระราชธิดา พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์สุดท้องของทอเลมีที่ 12 อูเทเลส กับพระมเหสีไม่ทราบพระนาม และเป็นผู้ปกครองอียิปต์ร่วมกันกับทอเลมีที่ 13 ระหว่าง 48 - 47 ปีก่อนคริสตกาล ทำให้พระองค์เป็นหนึ่งในสมาชิกพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีของอียิปต์โบราณ พระนางอาร์ซิโนเอที่ 4 เป็นพระขนิษฐาของพระนางคลีโอพัตราที่ 7 และเป็นพระภคินีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 13.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาร์ซิโนเอที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับวินเทอร์

อาหรับวินเทอร์ (Arab Winter) เป็นคำที่ใช้อธิบายสถานการณ์ความรุนแรงและความผันผวนทางการเมืองในโลกอาหรับ ซึ่งเกิดขึ้นหลัง "อาหรับสปริง" อันได้แก่ สงครามกลางเมืองซีเรีย, เหตุจลาจลในอิรัก, วิกฤตการณ์ในอียิปต์ และวิกฤตการณ์ในเยเมน รวมไปถึงความขัดแย้งอื่นๆ ในเลบานอน, ลิเบีย, ตูนิเซียและบาห์เรน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาหรับวินเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาอีดา

ทเรซา สโตลซ์ รับบทอาอีดาในการแสดงที่ปาร์มา ปี 1872 ราดาเมส จากต้นฉบับภาพร่างโดยออกุสต์ มาริเอตต์ อาอีดา (Aïda ออกเสียง /ɑːˈiːdɑː/, มาจาก عايدة‎, ออกเสียง) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีความยาว 4 องก์ โดยจูเซปเป แวร์ดี แต่งคำร้องโดยอันโตนีโอ กิสลานโซนี จากต้นฉบับร่างโดยออกุสต์ มาริเอตต์ นักอียิปต์วิทยาชาวฝรั่งเศส แวร์ดีแต่งอุปรากรเรื่องนี้ตามคำสั่งว่าจ้างจากอิชมาอิล พาชา ผู้ปกครองแห่งอียิปต์และซูดาน เพื่อจัดแสดงที่คีดิฟโอเปราเฮาส์ ไคโร ประเทศอียิปต์ในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาอีดา · ดูเพิ่มเติม »

อาดานา

อาดานา (Adana) เป็นเมืองทางตอนใต้ของประเทศตุรกี และเป็นศูนย์กลางการค้าและกสิกรรมที่สำคัญ เมืองตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำเซย์ฮาน อยู่ห่างจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนราว 30 กม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาดานา · ดูเพิ่มเติม »

อาซาเซล

อาซาเซล (アザゼル; Azazel) เป็นตัวบอสหลักจากเกม เทคเคน 6 รวมไปจนถึงภาค Bloodline Rebellion โดยประจำถิ่นฐานอยู่ในประเทศอียิปต์ มีความสามารถในการโจมตีที่หนักหน่วงหลากหลายรูปแบบ สามารถปล่อยลำแสงโจมตีคู่ต่อสู้ได้อย่างฉับพลัน และสามารถซ่อมแซมร่างกายส่วนที่เสียหายได้ตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาซาเซล · ดูเพิ่มเติม »

อานุบิสึ

นพลปีศาจอานุบิสึ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอานุบิสึ · ดูเพิ่มเติม »

อาโมส-ซิทามุน

อาโมส-ซิทอามุน หรือ ซิทามุน เป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์ที่สิบแปดตอนต้นของอียิปต์โบราณ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาโมส-ซิทามุน · ดูเพิ่มเติม »

อาโมส-ซิแพร์

อาโมส-ซิแพร์ เป็นเจ้าชายแห่งราชวงศ์แปดสิบแปดตอนต้นของอียิปต์โบราณ พระองค์อาจจะเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์อเมนโฮเทปที่หนึ่งและปรากฎร่วมกับพระองค์ในหลายรูปสลักและบนผนังส่วนหนึ่งจากหลุมฝังศพของชาวสวนที่ Nakht ในสุสานหมายเลข TT161 สถานที่ตั้งของหลุมฝังพระศพของพระองค์ไม่เป็นที่รู้จัก แต่ก็ยังคงเป็นที่รู้จักในระหว่างการตรวจสอบหลุมฝังศพจากราชวงศ์ที่ยี่สิบที่กล่าวถึงใน Abbott PapyrusWente, Edward F. Thutmose III's Accession and the Beginning of the New Kingdom. p. 271.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอาโมส-ซิแพร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิศอม ชะร็อฟ

อิศอม ชะร็อฟ อิศอม อับเดลอะซีซ ชะร็อฟ (عصام عبد العزيز شرف; Essam Abdel-Aziz Sharaf; เกิด 26 ตุลาคม พ.ศ. 2495) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศอียิปต์ระหว่างวันที่ 3 มีนาคม-7 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยก่อนหน้าเขาดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอิศอม ชะร็อฟ · ดูเพิ่มเติม »

อิสเมอิลีอา

อิสเมอิลีอา หรือ อัลอิสมะอิลียะห์ (الإسماعيلية; Ismaïlia) เป็นเมืองทางตอนเหนือ-ตะวันออก ของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของคลองสุเอซ เป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าราชการอิสเมอิลีอา เมืองมีประชากร (รวมบริเวณรอบเมือง) ราว 750,000 คน เมืองก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอิสเมอิลีอา · ดูเพิ่มเติม »

อิซมีร์

อิซเมียร์ (Σμύρνη Smyrne; Smyrna) เป็นมหานครในปลายสุดทางตะวันตกของอานาโตเลีย และเป็นเมืองอันดับที่สามมีประชากรมากที่สุด ในประเทศตุรกี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอิซมีร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ (Isabella Stewart Gardner) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1840-17 กรกฎาคม ค.ศ. 1924) อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์เป็นนักสะสมศิลปะ, นักการกุศลสังคม (philanthropist) และ นักอุปถัมภ์ศิลปะคนสำคัญชาวอเมริกัน งานสะสมศิลปะของอิซาเบลลา สจวตในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ที่บอสตันในรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา อิซาเบลลา สจวตบุตรีของเดวิดและอเดเลีย สจวตเกิดที่นครนิวยอร์ก และแต่งงานกับจอห์น โลเวลล์ “แจ็ค” การ์ดเนอร์ บุตรชายของจอห์น แอล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิเนนัค-อินติ

อิเนนัค หรือเรียกว่า อินติ เป็นมเหสีอียิปต์โบราณภรรยาของฟาโรห์เปปิที่ 1 ของราชวงศ์ที่ 6.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอิเนนัค-อินติ · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร อัชชะรีฟ

อุมัร อัชชะรีฟ (عمر الشريف; Omar al-Sharif; 10 เมษายน ค.ศ. 1932 – 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักแสดงชาวอียิปต์ที่เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ และเคยได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ มีชื่อเสียงจากบทบาทในภาพยนตร์เรื่อง ลอว์เรนซ์ออฟอาระเบีย (Lawrence of Arabia - 1962) คู่กับปีเตอร์ โอ ทูล, ดอกเตอร์ชิวาโก (Doctor Zhivago, 1965) คู่กับจูลี คริสตี และบุษบาหน้าเป็น (Funny Girl, 1968) คู่กับบาร์บารา สไตรแซนด์ อุมัร อัชชะรีฟ เกิดที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ในครอบครัวที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เชื้อสายเลบานอน เดิมชื่อว่า ไมเคิล ดิมีตรี ชัลฮูบ (Michael Demitri Shalhoub) จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยไคโร เข้าสู่วงการแสดงตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอุมัร อัชชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

อีมาน (นางแบบ)

อีมาน มุฮัมมัด อับดุลมะญีด (Iimaan Maxamed Cabdulmajiid, ايمان محمد عبد المجيد, เกิด: 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1955) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อีมาน (มาจากภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ศรัทธา") เป็น นางแบบ, นักแสดง และผู้ประกอบการชาวอเมริกันเชื้อสายโซมาเลีย เธอเป็นภรรยาคนปัจจุบันของเดวิด โบอี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอีมาน (นางแบบ) · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์ (มณฑลของโรมัน)

ังหวัดอียิปต์ (สีเหลือง) อียิปต์ (Egypt) หรือ ไอกิปตุส (Aegyptus) เป็นชื่อจังหวัดหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 30 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษหลังจากออกเทเวียน (ผู้ที่ครองราชย์เป็นจักรพรรดิเอากุสตุสในเวลาต่อมา) ได้รับชัยชนะต่อมาร์ก แอนโทนี โค่นราชบัลลังก์ของพระราชินีคลีโอพัตรา และผนวกอียิปต์เข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน พื้นที่ของจังหวัดประกอบด้วยดินแดนที่ส่วนใหญ่คือประเทศอียิปต์ปัจจุบัน (ยกเว้นคาบสมุทรไซนาย) มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเครตาและไซริเนกาทางตะวันตก และจังหวัดจูเดียทางตะวันออก และเป็นบริเวณสำคัญที่ผลิตธัญญาหารให้แก่จักรวรรดิโรมัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอียิปต์ (มณฑลของโรมัน) · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์

อียิปต์แอร์ (อาหรับ: مصر للطيران) เป็นสายการบินแห่งชาติ และเป็นรัฐวิสาหกิจของประเทศอียิปต์ ให้บริการในเส้นทางมากกว่า 75 จุดหมายปลายทาง โดยให้บริการหลักจากท่าอากาศยานนานาชาติไคโร ในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง, ยุโรป, เอเชีย และอเมริกา อียิปต์แอร์ ยังเป็นสมาชิกของอาหรับแอร์ แคริเออร์ ออร์แกไนเซชั่น (الإتحاد العربي للنقل الجوي) และกำลังเจรจาเข้าร่วมเป็นพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ โดยมีลุฟต์ฮันซาให้การสนับบสนุน นอกจากนี้อียิปต์แอร์ยังเป็นสายการบินขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากแอฟริกันแอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอียิปต์แอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667เป็นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับสายการบินอียิปต์แอร์ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เดินทางจาก ไคโร ไปยัง เจดดะห์ ด้วยเครื่องบินรุ่นโบอิง777-266ER.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 667 · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864

การบินอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864 เดินทางออกจากท่าอากาศยานนานาชาติไคโร กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2519 พร้อมด้วยผู้โดยสาร 43 คน และลูกเรือ 9 คน ไปยังปลายทางคือท่าอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ ฯ (หรือสนามบินนานาชาติดอนเมืองในปัจจุบัน) เมื่อเวลา 3 นาฬิกา 30 นาที เที่ยวบินที่ 864 ติดต่อกับหอบังคับการบินเพื่อลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ ฯ หลังจากที่หอบังคับการบินแจ้งกับเที่ยวบิน 864 ว่าพร้อมให้เที่ยวบิน 864 ลงจอดได้ ตัวเครื่องได้ตกลงบริเวณโรงงานอุตสาหกรรมห่างจากท่าอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ ฯ ขึ้นไปทางเหนือประมาณ 2 กิโลเมตร ผู้โดยสารและลูกเรือบนเครื่อง เสียชีวิตทั้งลำ พร้อมทั้งผู้เสียชีวิตบนภาคพื้นอีก 19 คน,Accident description of EgyptAir Flight 864.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 864 · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์โบราณ

มมฟิสและสุสานโบราณ อียิปต์โบราณ หรือ ไอยคุปต์ เป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงปากแม่น้ำไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของประเทศอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3150 ปีก่อนคริตศักราช โดยการรวมอำนาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือและตอนใต้ ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนาอารยธรรมเรื่อยมากว่า 5,000 ปี ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัยของอียิปต์โบราณเป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครอง จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรกลาง" อารยธรรมอียิปต์อยู่ในช่วงที่มีการพัฒนาที่ยมาก และส่วนมากลดลง ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันที่อียิปต์ชนพ่ายต่อการทำสงครามจากชาติอื่น ดังเช่นชาวอัสซีเรียและเปอร์เซีย จนกระทั่งเมื่อ 332 ปีก่อนคริสตศักราช ก็เป็นการสิ้นสุดอารยธรรมอียิปต์โบราณลง เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารถยึดครองอียิปต์ และจัดอียิปต์เป็นเพียงจังหวัดหนึ่งในจักรวรรดิมาซิโดเนีย อารยธรรมอียิปต์พัฒนาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้ำไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน, การควบคุมการผลิตพืชผลทางการเกษตร พร้อมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคม และวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปต์นั้นล้อมรอบด้วยทะเลทรายเสมือนปราการป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก นอกจากนี้ยังมีการทำเหมืองแร่ และอียิปต์ยังเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาการด้วยการเขียน ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้,การบริหารอียิปต์เน้นไปทางสิ่งปลูกสร้าง และการเกษตรกรรม พร้อมกันนั้นก็มีการพัฒนาการทางทหารของอียิปต์ที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่ราชอาณาจักร โดยประชาชนจะให้ความเคารพกษัตริย์หรือฟาโรห์เสมือนหนึ่งเทพเจ้า ฟาโรห์มีอำนาจและโหดร้ายมาก ทำให้การบริหารราชการบ้านเมืองและการควบคุมอำนาจนั้นทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้เป็นเพียงแต่นักเกษตรกรรม และนักสร้างสรรค์อารยธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิด, นักปรัชญา ได้มาซึ่งความรู้ในศาสตร์ต่างๆมากมายตลอดการพัฒนาอารยธรรมกว่า 4,000 ปี ทั้งในด้านคณิตศาสตร์, เทคนิคการสร้างพีระมิด, วัด, โอเบลิสก์, ตัวอักษร และเทคนิคโลยีด้านกระจก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านการแพทย์, ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปต์ทิ้งมรดกสุดท้ายแก่อนุชนรุ่นหลังไว้คือศิลปะ และสถาปัตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนำไปใช้ทั่วโลก อนุสรณ์สถานที่ต่างๆในอียิปต์ต่างดึงดูดนักท่องเที่ยว นักประพันธ์กว่าหลายศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุใหม่ๆในอียิปต์มากมายซึ่งกำลังตรวจสอบถึงประวัติความเป็นมา เพื่อเป็นหลักฐานให้แก่อารยธรรมอียิปต์ และเป็นหลักฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอียิปต์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์โบราณก่อนยุคราชวงศ์

มัยอียิปต์โบราณ คือประวัติศาสตร์ของประเทศอียิปต์ ตั้งแต่เริ่มมีอารยธรรม จนถึงปี 525 ปีก่อนคริสตกาล การแบ่งประวัติศาสตร์อียิปต์ออกเป็นราชวงศ์นั้น นักบวชนามว่ามาเนโธ (Manetho) เป็นผู้ทำขึ้นคนแรก โดยบัญชาของฟาโรห์ทอเลมีฟิลาเดลฟุส (Ptolemy Philadelphus) เมื่อ 20 ปีก่อนคริสตกาล ยังมีบันทึกประวัติศาสตร์อีกหลายครั้ง หลักฐานที่สำคัญของประวัติศาสตร์อียิปต์โบราณเพิ่งมาปรากฏเมื่อตอนปลายคริสต์ศวรรษที่ 18 โดยที่บูชาด์ (Bouchard) นายทหารฝรั่งเศสขุดพบศิลาจารึกที่บริเวณปากแม่น้ำไนล์ ภายหลังเรียกว่าจารึกโรเซตตา (Rosetta Stone) ตามชื่อของตำบลที่ขุดพบ ต่อมาในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศสชื่อ ชองโปลิยอง (Champollion) ได้ตีความอักษรบนจารึกทำให้ประวัติศาสตร์อียิปต์โบราณชัดเจนขึ้น อียิปต์ ตามความหมายที่เฮโรดอท นักเดินทางชาวกรีกให้ไว้ หมายถึง ของขวัญจากแม่น้ำไนล์ อียิปต์ ตั้งอยู่บนลุ่มแม่น้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์ (เรียกว่าดินดำ) อยู่ระหว่างที่ราบสูงที่เป็นทะเลทราย ทางเหนือของทวีปแอฟริกา แม่น้ำไนล์ยาวประมาณ1,000 กม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอียิปต์โบราณก่อนยุคราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีซูซุ วิซาร์ด

อีซูซุ วิซาร์ด (Isuzu Wizard) เป็นรถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดกลาง (Mid-Size SUV) ผลิตโดยอีซูซุ เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2532 และเลิกผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยมีอีซูซุ มิว-เซเว่นเข้ามาทดแทน เป็นรถ SUV ขนาดกลางที่ใช้แพลตฟอร์มร่วมกับอีซูซุ ฟาสเตอร์ รถกระบะอีกรุ่นหนึ่งของอีซูซุ มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 2 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอีซูซุ วิซาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส (Eleftherios Venizelos; ชื่อเต็ม: อีเลฟเทรีออส คีรีอาคู เวนิเซลอส;Elefthérios Kyriákou Venizélos, กรีก: Ἐλευθέριος Κυριάκου Βενιζέλος; 23 สิงหาคม ค.ศ. 1864 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1936) เป็นผู้นำชาวกรีกที่ประสบความสำเร็จในขบวนการปลดปล่อยชาติกรีกและเป็นรัฐบุรุษที่มีเสน่ห์ในช่วงยุคต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นที่จดจำจากการส่งเสริมนโยบายแนวเสรีนิยมประชาธิปไตยKitromilides, 2006, p. 178, Time, Feb.18,1924 เขาได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งกรีซหลายสมัย โดยดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอีเลฟเทริออส เวนิเซลอส · ดูเพิ่มเติม »

อนัญญา มงคลไทย

อนัญญา มงคลไทย หรือ ใบเฟิร์น อดีต มิสซูปราเนชั่นแนลไทยแลนด์ ประจำปี 2014 และสละตำแหน่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอนัญญา มงคลไทย · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ

มิได้ลงนาม Col-end อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination against Women หรือย่อว่า CEDAW) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศฉบับหนึ่งซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบในปี 2522 และสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศพัฒนาแล้วประเทศเดียวที่ลงนามในอนุสัญญานี้แล้วแต่มิยอมให้สัตยาบัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิล

อนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิล (Convention of Constantinople) เป็นสนธิสัญญาซึ่งลงนามโดยสหราชอาณาจักร เยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย และจักรวรรดิออตโตมัน เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวอะกาบา

อ่าวอะกาบา (ขวา) บนคาบสมุทรไซนาย อ่าวอะกาบา (Gulf of Aqaba; خليج العقبة, Khalyj al-'Aqabah; מפרץ אילת, Mifratz Eilat) หรือ อ่าวเอลัต (Gulf of Eilat) เป็นอ่าวที่อยู่ทางเหนือของทะเลแดง ติดกับคาบสมุทรไซนายทางตะวันออกและคาบสมุทรอาหรับทางตะวันตก อ่าวด้านตะวันตกของอ่าวแห่งนี้คือ อ่าวสุเอซ (Gulf of Suez) อ่าวอะกาบามีความลึกสูงสุด 1,850 เมตร (1.15 ไมล์) มีความกว้างจากจุดที่กว้างที่สุด 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) และมีความยาวถึงส่วนปลายคือช่องแคบติราน (Straits of Tiran) ประมาณ 160 กิโลเมตร (99 ไมล์) ชายฝั่งของอ่าวแห่งนี้อยู่ในสี่ประเทศคือ อียิปต์ อิสราเอล จอร์แดนและซาอุดีอาระเบีย มีเมืองท่องเที่ยวและเมืองท่าอย่าง ทาบา (Taba) ในอียิปต์, เอลัต (Eilat) ในอิสราเอลและอะกาบา (Aqaba) ในจอร์แดน มีบันทึกตั้งแต่สมัยราชวงศ์ที่สี่แห่งอียิปต์ว่าอ่าวอะกาบาเป็นจุดสำคัญแห่งหนึ่งของการค้าขายในภูมิภาค มีการบันทึกในอีกหลายราชวงศ์ของอียิปต์ถึงการเดินทางข้ามทะเลแดงไปทำการค้ากับอาณาจักรพันต์ (Punt) นอกจากนี้เมืองอายลา (Ayla; ปัจจุบันคือเมืองอะกาบา) ยังเป็นเมืองที่ทำการค้ากับชาวแนบาเทีย (Nabataeans) ต่อมาชาวโรมันได้สร้างเส้นทาง Via Traiana Nova ทำให้การค้าระหว่างแอฟริกากับเลแวนต์สะดวกขึ้น ในปัจจุบัน อ่าวอะกาบาเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวนิยมมาดำน้ำเพื่อชมปะการัง ซากเรืออับปางและสัตว์น้ำ ประมาณการว่ามีนักดำน้ำ 250,000 คนต่อปี คิดเป็น 10% ของรายได้จากการท่องเที่ยวในบริเวณนี้ นอกจากนี้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวอื่น ๆ เช่น หุบเขาวาดีรัม (Wadi Rum) ซากเมืองอายลาและสนามรบของยุทธการอะกาบา (Battle of Aqaba) ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอ่าวอะกาบา · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวจอดเรือ

อ่าวจอดเรือขนาดเล็กที่หมู่บ้านโคลเวลลี เทศมณฑลเดวอน สหราชอาณาจักร อ่าวจอดเรือที่เมืองปุนตาเดลเอสเต ประเทศอุรุกวัย อ่าวจอดเรือ (haven) หรือ ท่าจอดเรือ (harbour, harbor) เป็นแหล่งน้ำที่ใช้จอดเรือ เรือกำปั่น และเรือลำเลียงเพื่อหลบคลื่นลมพายุหรือเพื่อเก็บไว้ใช้ในอนาคต ในภาษาอังกฤษ คำ harbour (ซึ่งแต่เดิมหมายถึงแหล่งน้ำที่มีที่กำบัง) มักใช้สลับกับคำ port ("ท่าเรือ") ซึ่งเป็นสิ่งอำนวยความสะดวกที่มนุษย์สร้างขึ้นสำหรับการบรรจุและขนถ่ายสินค้าหรือการรับ-ส่งผู้โดยสาร โดยทั่วไปท่าเรือท่าหนึ่ง ๆ จะมีอ่าวจอดเรืออย่างน้อยหนึ่งอ่าว ท่าเรืออะเล็กซานเดรียในประเทศอียิปต์เป็นตัวอย่างหนึ่งของท่าเรือที่มีอ่าวจอดเรือสองอ่าว อ่าวจอดเรืออาจเป็นอ่าวที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรืออ่าวที่มนุษย์สร้างขึ้น อ่าวที่สร้างขึ้นนั้นอาจเป็นอ่าวที่มีการสร้างเขื่อนกั้นคลื่น กําแพงกั้นคลื่น หรือสะพานเทียบเรือโดยเจตนา หรือเป็นอ่าวที่เกิดจากการขุดลอกซึ่งต้องได้รับการบำรุงรักษาด้วยการขุดลอกเพิ่มเติมเป็นระยะ ๆ ตัวอย่างอ่าวจอดเรือที่สร้างขึ้นคือ ลองบีชฮาร์เบอร์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ เดิมเป็นที่ลุ่มน้ำเค็มและที่ลุ่มราบน้ำขึ้นถึงซึ่งตื้นเกินไปสำหรับเรือสินค้าสมัยใหม่ ก่อนที่จะได้รับการขุดลอกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในทางตรงกันข้าม อ่าวจอดเรือที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจะถูกโอบล้อมหลายด้านด้วยแผ่นดินที่ยื่นออกมา ตัวอย่างอ่าวจอดเรือธรรมชาติ ได้แก่ ซิดนีย์ฮาร์เบอร์ในประเทศออสเตรเลีย และทริงโคมาลีฮาร์เบอร์ในประเทศศรีลังกา หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเดินเรือ หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างชายฝั่ง หมวดหมู่:แหล่งน้ำ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอ่าวจอดเรือ · ดูเพิ่มเติม »

อ่างเก็บน้ำ

อ่างแก้ว อ่างเก็บน้ำในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ่างเก็บน้ำ (reservoir) หมายถึง ทะเลสาบที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อเก็บน้ำสำหรับการใช้ในหลากหลายจุดประสงค์ อ่างเก็บน้ำถูกสร้างขึ้นจากคอนกรีต ดิน หิน สิงที่อยู่รอบๆ แม่น้ำหรือลำธาร เพื่อเป็นเขื่อนที่แข็งแรง เมื่อเขื่อนสร้างเสร็จสมบูรณ์ กระแสน้ำจะเติมเต็มเขื่อน เขื่อนซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์ (มากกว่าเป็นการปรับตัวของอ่างน้ำตามธรรมชาติ) อาจถูกเรียกว่า ที่เก็บน้ำขนาดใหญ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอ่างเก็บน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดรีย (แก้ความกำกวม)

อเล็กซานเดรีย สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอเล็กซานเดรีย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์มหาราช

อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา (356-323 ปีก่อนคริสตกาล) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า อเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great, Μέγας Ἀλέξανδρος) เป็นกษัตริย์กรีกจากราชอาณาจักรมาเกโดนีอา ผู้สร้างชื่อเสียงมากที่สุดของราชวงศ์อาร์กีด เป็นผู้สร้างจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคโบราณ เกิดที่เมืองเพลลา ตอนเหนือของมาเกโดนีอา เมื่อปีที่ 356 ก่อนคริสตกาล ได้รับการศึกษาตามแบบกรีกดั้งเดิมภายใต้การกำกับดูแลของอริสโตเติล นักปรัชญากรีกผู้มีชื่อเสียง สืบทอดราชบัลลังก์ต่อจาก พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา เมื่อปีที่ 336 ก่อนคริสตกาลหลังจากที่พระบิดาถูกลอบสังหาร สวรรคตในอีก 13 ปีต่อมาเมื่อพระชนมายุเพียง 32 พรรษา แม้ว่าราชบัลลังก์และจักรวรรดิของอเล็กซานเดอร์จะอยู่เพียงชั่วครู่ยาม แต่ผลกระทบจากการพิชิตดินแดนของพระองค์ส่งผลสืบเนื่องต่อมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ อเล็กซานเดอร์ถือเป็นหนึ่งในบุรุษผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุคโบราณ มีชื่อเสียงเลื่องลือในความสามารถทางการรบ ยุทธวิธี และการเผยแพร่อารยธรรมกรีกไปในดินแดนตะวันออก พระเจ้าพีลิปโปสทรงนำแว่นแคว้นกรีกโดยมากบนแผ่นดินใหญ่กรีซให้มาอยู่ภายใต้การปกครองของมาเกโดนีอา โดยใช้ทั้งกลวิธีทางการทูตและทางทหาร เมื่อพีลิปโปสสวรรคต อเล็กซานเดอร์จึงได้สืบทอดราชอาณาจักรที่เข้มแข็งและกองทัพที่เปี่ยมประสบการณ์ พระองค์เป็นที่ยอมรับในด้านการรบจากแว่นแคว้นกรีซ และได้เริ่มแผนการขยายอำนาจแผ่อาณาจักรตามที่บิดาเคยริเริ่มไว้ พระองค์ยกทัพรุกรานดินแดนเอเชียไมเนอร์ภายใต้การปกครองของอาณาจักรเปอร์เซีย และกระทำการรณยุทธ์อย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลาร่วมสิบปี อเล็กซานเดอร์เอาชนะชาวเปอร์เซียครั้งแล้วครั้งเล่า นำทัพข้ามซีเรีย อียิปต์ เมโสโปเตเมีย เปอร์เซีย และแบคเทรีย ทรงโค่นล้มกษัตริย์พระเจ้าดาไรอัสที่ 3 แห่งเปอร์เซีย และพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียได้ทั้งหมด พระองค์ไล่ตามความปรารถนาที่ต้องการเห็น "จุดสิ้นสุดของโลกและมหาสมุทรใหญ่ที่เบื้องปลาย" จึงยกทัพบุกอินเดีย แต่ต่อมาถูกบีบให้ต้องถอยทัพกลับโดยบรรดาทหารที่กำเริบขึ้นเนื่องจากเบื่อหน่ายการสงคราม การสูญเสียเฮฟีสเทียนทำให้อเล็กซานเดอร์ตรอมใจจนสวรรคตที่เมืองบาบิโลน ในปี 323 ก่อนคริสตกาล ก่อนจะเริ่มแผนการรบต่อเนื่องในการรุกรานคาบสมุทรอาระเบีย ในปีถัดจากการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์ เกิดสงครามกลางเมืองทั่วไปจนอาณาจักรของพระองค์แตกเป็นเสี่ยงๆ ทำให้เกิดเป็นรัฐใหญ่น้อยมากมายปกครองโดยบรรดาขุนนางชาวมาเกโดนีอา แม้ความเป็นผู้พิชิตของพระองค์จะโดดเด่นอย่างยิ่ง แต่มรดกของอเล็กซานเดอร์ที่ยืนยงต่อมากลับมิใช่ราชบัลลังก์ กลายเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมที่ติดตามมาจากการพิชิตดินแดนเหล่านั้น การก่อร่างสร้างเมืองอาณานิคมกรีกและวัฒนธรรมกรีกที่เผยแพร่ไปในแดนตะวันออกทำให้เกิดเป็นวัฒนธรรมเฮเลนนิสติก ซึ่งยังคงสืบทอดต่อมาในจักรวรรดิไบแซนไทน์กระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อเล็กซานเดอร์เป็นบุคคลในตำนานในฐานะวีรบุรุษผู้ตามอย่างอคิลลีส มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมปรัมปราทั้งของฝ่ายกรีกและที่ไม่ใช่กรีก เป็นหลักเกณฑ์มาตรฐานซึ่งบรรดานายพลทั้งหลายใช้เปรียบเทียบกับตนเองแม้จนถึงปัจจุบัน โรงเรียนการทหารทั่วโลกยังคงใช้ยุทธวิธีการรบของพระองค์เป็นแบบอย่างในการเรียนการสอน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และอเล็กซานเดอร์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ฮอรัส (นักกีฬา)

อรัส (Horus) มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 4 เป็นผู้ซึ่งดูหมิ่นแนวคิดของนักปรัชญา และเป็นนักมวยโอลิมปิก ผู้ซึ่งได้รับชัยชนะในการแข่งขันโอลิมปิกเกมที่อันติออค ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮอรัส (นักกีฬา) · ดูเพิ่มเติม »

ฮะมาฮ์

มาฮ์ (حماة) เป็นเมืองในประเทศซีเรีย บนฝั่งแม่น้ำออรอนตีส ตอนกลางของประเทศ เป็นเมืองสำคัญด้านการค้า เป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 ของประเทศ มีชื่อเสียงในเรื่องกังหันทดน้ำมาตั้งแต่สมัยกลาง มีการกล่าวถึงเมืองนี้บ่อยครั้งในคัมภีร์ไบเบิลในฐานะเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาณาจักรอิสราเอล เป็นที่ตั้งถิ่นฐานในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ต่อมาเปลี่ยนไปอยู่ใต้การปกครองของอะราเมีย อัสซีเรีย เปอร์เซีย มาซิโดเนีย โรมัน ไบแซนไทน์ อาหรับ และอียิปต์ ตามลำดับ จนในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮะมาฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะซัน อิบน์ อะลี

อัลฮะซัน อิบน์ อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ (الحسن بن علي بن أﺑﻲ طالب; Al-Hasan ibn ‘Alī ibn Abī Tālib; ค.ศ. 624–669 / ฮ.ศ. 3-50) เป็นพี่ชายของอิมามฮุซัยน์ อิบน์ อะลี และเป็นบุตรของอิมามอะลี กับท่านหญิงฟาฏิมะหฺ(อ) บุตรีนบีมุฮัมมัด ศาสดามุฮัมมัดได้กล่าวเกี่ยวกับหลานรักทั้งสองอีกว่า "ฮะซันและฮุซัยน์เป็นหัวหน้าชายหนุ่มแห่งสรวงสวรรค์" อิมามฮะซัน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอิมามตามคำสั่งเสียของท่านศาสดา ซึ่งเหล่าศรัทธาชนก็ได้ให้สัตยาบันกับท่าน ท่านขึ้นปกครองอาณาจักรอิสลามได้เพียงหกเดือนเศษ ในเวลานั้นซีเรียและอียิปต์ที่อยู่ในการปกครองของมุอาวิยะหฺ บุตรอะบูสุฟยาน มิได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อการปกครองของอิมามฮะซัน อิมามฮะซันได้เตรียมกำลังทหารเพื่อปราบปรามมุอาวิยะหฺ ผู้ตั้งตนเป็นกบฏและก่อกวนความสงบสุขของอาณาจักรอิสลามตั้งแต่สมัยอิมามอะลี ผู้เป็นบิดา ทว่าท่านต้องยกเลิกแผนการอันนี้ เพราะทราบว่าทหารของท่านมีใจโอนเอียงฝักใฝ่อยู่กับมุอาวะยะหฺ และรอคำสั่งจากมุอาวิยะหฺ ว่าจะให้จัดการกับท่านอิมามอย่างไร จะสังหารท่านหรือจับกุมส่งท่านไปให้มุอาวิยะหฺ ด้วยเหตุนี้เองอิมามฮะซันจึงต้องจำยอมเลือกวิธีการประนีประนอมด้วยการทำสนธิสัญญาหย่าศึก แต่ต่อมามุอาวิยะหฺก็บิดพลิ้วสนธิสัญญา เขาได้เดินทางมายังอิรัก แล้วขึ้นมินบัรในมัสยิดกูฟะหฺ เพื่อกล่าวปราศรัยกับประชาชนว่า "โอ้ประชาชน ฉันไม่ต้องการทำสงครามกับพวกท่านในเรื่องของศาสนา ว่าต้องทำนมาซหรือถือศีลอด เพียงแต่ฉันต้องการขึ้นเป็นผู้ปกครองเท่านั้นเองและฉันก็ถึงเป้าหมายของฉันแล้ว ส่วนสัญญาที่ลงนามร่วมกับฮะซันบุตรของอะลีนั้น มันไม่มีความหมายสำหรับฉันเลย ฉันตั้งมันไว้ใต้ฝ่าเท้าของฉัน" อิมามฮะซันต้องตกอยู่ภายใต้อิทธิพลการปกครองของมุอาวิยะหฺนานถึง 9 ปี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮะซัน อิบน์ อะลี · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมมัส

ัมมัส, ฮุมมุส (hummus) หรือ ฮุมมุศ (حُمُّص) เป็นอาหารประเภทจิ้มหรือใช้ทาจากภูมิภาคเลแวนต์ ทำจากถั่วลูกไก่บด ผสมด้วยทาฮีนี (ซอสงา) น้ำมันมะกอก น้ำมะนาว เกลือ และกระเทียม ปัจจุบันฮัมมัสเป็นที่นิยมทั่วตะวันออกกลาง (รวมทั้งตุรกีและแอฟริกาเหนือ) และในรายการอาหารตะวันออกกลางทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮัมมัส · ดูเพิ่มเติม »

ฮายาโซฟีอา

ัณฑ์อายาโซเฟียในปัจจุบัน โครงสร้างโบสถ์ ฮายาโซฟีอา (Hagia Sophia), อายาโซเฟีย (Ayasofya), ฮากีอาโซพีอา (Ἁγία Σοφία) หรือ ซางก์ตาซาปีเอนเตีย (Sancta Sapientia) เดิมเคยเป็นโบสถ์ของคริสต์ศาสนา นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็นสุเหร่า ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี ถือเป็นสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งและมักถูกจัดให้อยู่ในรายการสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางHereward Carrington (1880-1958), "The Seven Wonders of the World: ancient, medieval and modern", reprinted in the Carington Collection (2003) ISBN 0-7661-4378-3,.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮายาโซฟีอา · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ป

ร์ป ฮาร์ป (harp) หรือ พิณ คือเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายของตะวันตกมีเสียงเกิดขึ้นจากการใช้นิ้วดีด สายเสียงของเครื่องดนตรีนี้ปกติแล้วมี 47 สาย และที่เหยียบเพดดัล 7 อัน เพดดัลแต่ละอันจะควบคุมสายเสียงแต่ละชุด เช่น เพดดัล อันหนื่งจะบังคับสายเสียง C ทั้งหมดและอีกอันหนื่งจะบังคับสายเสียง D ทั้งหมด ฮาร์ปเป็นเครื่องดนตรีเก่าแก่ชนิดหนึ่งที่มีการกล่าวถึงตั้งแต่ราว 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ที่มาของเครื่องดนตรีชิ้นนี้น่าจะมาจากประเทศไอยคุปต์ (อียิปต์) เพราะตามภาพฝาผนังใต้สุสานของประเทศไอยคุปต์ที่เห็นจะมีรูปคนดีดพิณชนิดนี้อยู่เยอะมาก ฮาร์ป คือเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายซึ่งแตกต่างจากเครื่องสายประเภทอื่นๆ คือ การขึงของสายจะไม่ผ่านกล่องเสียง (Sounding Board) เหมือนเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ เช่น กีตาร์, ไวโอลิน หรือเปียโน โครงสำหรับขึงสายมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมโค้งงอเล็กน้อยเพื่อให้เกิดความสวยงาม ปกติจะเล่นด้วยการดีดที่สาย คุณภาพเสียงของฮาร์ปมีความแจ่มใสกว่าเสียงของเปียโน ใช้แสดงความสดชื่นแจ่มใส ลักษณะของอาร์พ       โครงสำหรับขึงสายมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม โค้งงอเล็กน้อย มี 47 สาย และ เสียงของฮาร์ปสามารถใช้เพื่อแสดงการไหลของสายน้ำ แสดงความสดชื่นแจ่มใส มีวิวัฒนาการมาจากไลร์ ฮาร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ   1.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

ฮาซัน อัลบันนา

ซัน อัลบันนา (حسن أحمد عبد الرحمن محمد البنا الساعاتي; Hassan al-Banna) มีชื่อเต็มว่า ฮาซัน อะห์หมัด อับดุลอับดุลเราะห์มาน อัลบันนา อัซซาอาตี เป็นผู้ก่อตั้ง กลุ่ม "อิควานมุสลิมีน" ในอียิปต์ เกิดเมื่อ 14 ตุลาคม..1906 เสียชีวิตจากการถูกฆาตกรรมเมื่อ 12 กุมภาพัน..1949 เป็นมุสลิมที่มีอิทธิพลมากที่สุดในศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮาซัน อัลบันนา · ดูเพิ่มเติม »

ฮาโลไซลอนขาว

ลไซลอนขาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Amaranthaceae แพร่กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันตกตั้งแต่อิสราเอล จอร์แดน อียิปต์ คาบสมุทรไซนาย อิรักตอนใต้ ซาอุดิอาระเบีย อิหร่าน โอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัฟกานิสถาน และปากีสถาน ไปจนถึงเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน และซินเจียงในจีน ชอบขึ้นในทรายที่มีผลึกหินยิปซัม ตันมีกิ่งก้านขรุขระ เปลือกสีน้ำตาล ไม่มีใบ โดยใบลดรูปเป็นกุ่งที่อวบน้ำ พบในภูเขาทราย ทะเลทร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮาโลไซลอนขาว · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปโปโปเตมัส

ปโปโปเตมัส หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ฮิปโป (Hippopotamus; Hippo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินพืชชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กีบคู่ จัดอยู่ในวงศ์ฮิปโปโปเตมัส (Hippopotamidae) โดยเป็นสัตว์เพียง 1 ใน 2 ชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดนั้นคือ ฮิปโปโปเตมัสแคระ (Choeropsis liberiensis) ที่พบในป่าดิบชื้นของแอฟริกาตะวันตก) ชื่อ "ฮิปโปโปเตมัส" มาจากภาษากรีกคำว่า ἵππος (hippos) หมายถึง "ม้า" และ ποταμός (potamos) หมายถึง "แม่น้ำ" รวมแล้วหมายถึง "ม้าแม่น้ำ" หรือ "ม้าน้ำ" (ἱπποπόταμος) เนื่องจากมีส่วนหัวคล้ายม้ามาก โดยเฉพาะยามเมื่ออยู่ในน้ำ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮิปโปโปเตมัส · ดูเพิ่มเติม »

ฮุมาฮ์อัดดิยาร

ลงชาติสาธารณรัฐอาหรับซีเรียมีชื่อว่า ฮุมาฮ์อัดดิยาร (حُمَاةَ الدِّيَار‎, แปลว่า "ผู้พิทักษ์มาตุภูมิ") ประพันธ์คำร้องโดย คาลิล มาร์ดาม เบย์ (Khalil Mardam Bey) ทำนองโดย อาห์หมัด ซาลิม ฟลายเฟล (Ahmad Salim Flayfel) และโมฮัมเหม็ด ซาลิม ฟลายเฟล (Mohammed Salim Flayfel) ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์ทำนองเพลงเมาตินี (Mawtini) อันเป็นเพลงชาติปาเลสไตน์อย่างไม่เป็นทางการในปี พ.ศ. 2479 และเพลงพื้นเมืองอาหรับอื่นๆ อีกหลายเพลง เพลงนี้เริ่มใช้เมื่อปี พ.ศ. 2478 และเลิกใช้เป็นการใช้ชั่วคราวเมื่อซีเรียเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหรัฐสาธารณรัฐอาหรับร่วมกับประเทศอียิปต์ในปี พ.ศ. 2501 ในช่วงเวลาดังกล่าวได้มีการรวมบทเพลงนี้เข้ากับเพลงซะลามอัฟฟานดินาร์ (เพลงชาติราชอาณาจักรอียิปต์) เพื่อใช้เป็นเพลงชาติสหรัฐสาธารณรัฐอาหรับ ภายหลังเมื่อซีเรียแยกตัวจากสหภาพดังกล่าวในปี พ.ศ. 2504 เพลงฮุมาฮ์อัดดิยารจึงได้กลับมาใช้เป็นเพลงชาติซีเรียอีกครั้งอย่างสมบูรณ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮุมาฮ์อัดดิยาร · ดูเพิ่มเติม »

ฮุสนี มุบาร็อก

นี มุบาร็อก หรือชื่อเต็มว่า มุฮัมมัด ฮุสนี ซัยยิด มุบาร็อก (محمد حسني سيد مبارك‎,; Muhammad Hosni Sayyid Mubarak) ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดี ในปี ค.ศ. 1975 ในสมัยประธานาธิบดี อันวัร อัสซาดาต และเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดี เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1981 จนกระทั่งลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 หลังจากการประท้วงนาน 18 วัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮุสนี มุบาร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ฮุนได ทูซอน

นได ทูซอน (Hyundai Tucson) เป็นรถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดเล็ก (Compact SUV) ผลิตโดยฮุนได ผู้ผลิตรถยนต์ของประเทศเกาหลีใต้ เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2547 เพื่อมาทดแทน SUV รุ่นเก่า ฮุนได แกลลอปเปอร์ (Hyundai Galloper) ซึ่งเป็นรถ SUV ที่ใช้โครงสร้างร่วมกับมิตซูบิชิ ปาเจโรรุ่นแรก และยังไม่ใช่ SUV รุ่นแรกที่พัฒนาขึ้นโดยฮุนได ฮุนได ทูซอน เป็นหนึ่งในรถตระกูล Recreation Vehicle จากฮุนได นอกจากรถ SUV ขนาดกลาง ฮุนได ซานตาเฟ่ (Hyundai Santa Fe) และ SUV ขนาดใหญ่ ฮุนได เวล่าครูส (Hyundai Veracruz) ที่มาของชื่อคือชื่อของเมืองแห่งหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่ทางใต้ของแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของรัฐรองจากฟินิกซ์ สภาพเมืองรายล้อมไปด้วยภูเขา Santa Catalina และอื่นๆ อีก 3 ภู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮุนได ทูซอน · ดูเพิ่มเติม »

ฮุนได แอคเซนท์

นได แอคเซนท์ (Hyundai Accent) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) ผลิตโดยฮุนได เริ่มผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2537 เพื่อทดแทนรุ่นเก่าฮุนได เอ็กเซล (Hyundai Excel) และมีอีกชื่อหนึ่งในการทำตลาดว่า ฮุนได เวอร์นา (Hyundai Verna) ซึ่งใช้ชื่อนี้ตั้งแต่รุ่นแรกที่เวเนซูเอลาแล้ว และต่อมาในเกาหลีใต้ได้มีการใช้ชื่อเวอร์นาในรุ่นที่ 2 ต่อมา แอคเซนท์ได้มีการส่งออกไปขายในแบรนด์ต่างๆ เช่น ดอดจ์ เกีย เป็นต้น ปัจจุบัน ฮุนได แอคเซนท์ มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 4 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฮุนได แอคเซนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง

็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง (Jean-François Champollion) หรือ ช็องปอลียง เลอ เฌิน (Champollion le Jeune) เกิดที่เมืองฟีฌัก (Figeac) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1790 มีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องอียิปต์โบราณมาตั้งแต่อายุน้อย เรียนภาษาตะวันออกอย่างภาษาฮีบรู อาหรับ และคอปติก และเป็นคนแรกที่เขียนและอ่านออกเสียงอักษรไฮโรกลิฟฟิกได้ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส หรือ โคมเนนัส (Manuel I Komnenos หรือ Comnenus, Μανουήλ Α' Κομνηνός) (28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 – 24 กันยายน ค.ศ. 1180) มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1143 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1180 โดยมีจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส มานูเอล โคมเนนอสทรงปกครองในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของจักรวรรดิและของบริเวณเมดิเตอเรเนียน พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะฟื้นฟูจักรวรรดิให้รุ่งเรืองเช่นในอดีตในฐานะมหาอำนาจของบริเวณเมดิเตอเรเนียนโดยทรงดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศอันทะเยอทะยาน ที่รวมทั้งการสร้างพันธมิตรกับพระสันตะปาปา, ทรงรุกรานคาบสมุทรอิตาลี, และทรงสามารถดำเนินสงครามครูเสดครั้งที่ 2 ฝ่าอันตรายของจักรวรรดิของพระองค์ได้ และทรงก่อตั้งระบบการพิทักษ์แก่อาณาจักรครูเสดต่างๆ เมื่อฝ่ายมุสลิมนำทัพเข้ามายังดินแดนศักดิ์สิทธิ์พระองค์ก็เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมในไปการรุกรานฟาติมิดอียิปต์ มานูเอล โคมเนนอสทรงมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงแผนที่เขตแดนทางการเมืองของคาบสมุทรบอลข่านและเมดิเตอเรเนียนตะวันออกโดยทรงทำให้ราชอาณาจักรฮังการีและอาณาจักรครูเสดมาอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระองค์ และทรงรณรงค์อย่างเอาจริงเอาจังในอาณาจักรที่อยู่ใกล้เคียงทั้งทางด้านตะวันออกและตะวันตก แต่ในปลายรัชสมัยความสำเร็จของพระองค์ทางด้านตะวันออกก็ต้องมาเสียไปกับความพ่ายแพ้ในยุทธการไมริโอเคฟาลอน (Battle of Myriokephalon) ซึ่งเป็นความเพลี่ยงพล้ำของพระองค์เองในการพยายามโจมตีที่มั่นของฝ่ายเซลจุคที่มีการป้องกันอย่างแข็งแรง มานูเอลทรงได้รับการขนานพระนามว่า “ho Megas” หรือ “มหาราช” (ὁ Μέγας) โดยกรีก และทรงเป็นผู้นำผู้ทรงสามารถสร้างความจงรักภักดีจากผู้ตามอย่างเหนียวแน่น นักประวัติศาสตร์จอห์น คินนามอส (John Kinnamos) กล่าวว่ามานูเอลทรงเป็นผู้มีคุณลักษณะสมกับเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นผู้ที่ได้รับความนับถือจากนักรบครูเสดจากตะวันตกว่าเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมแห่งกรุงคอนสแตนติโนเปิลP.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

ักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี (شهبانو فرح پهلوی) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจากการปฏิวัติอิหร่าน พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเซิร์กซีสมหาราช

ักรพรรดิเซิร์กซีสมหาราช (Xerxes the Great) หรือ จักรพรรดิเซิร์กซีสที่ 1 (Xerxes I; 519 – 465 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิดาไรอัสมหาราช เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 485 ปีก่อน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรพรรดิเซิร์กซีสมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอะคีเมนิด

ักรวรรดิอะคีเมนียะห์ หรือ จักรวรรดิเปอร์เชียอะคีเมนียะห์ (Achaemenid Empire หรือ Achaemenid Persian Empire, هخامنشیان) (550–330 ก.ค.ศ.) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิแรกของจักรวรรดิเปอร์เชียที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของเกรตเตอร์อิหร่านที่ตามมาจากจักรวรรดิมีเดีย ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดจักรวรรดิอะคีเมนียะห์มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7.5 ล้านตารางกิโลเมตร ที่ทำให้เป็นจักรวรรดิที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และเป็นจักรวรรดิที่วางรากฐานของระบบการปกครองจากศูนย์กลางSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty) จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปที่รวมทั้งดินแดนในอัฟกานิสถาน และ ปากีสถาน, บางส่วนของเอเชียกลาง, อานาโตเลีย, เธรซ, บริเวณริมฝั่งทะเลดำส่วนใหญ่, อิรัก, ตอนเหนือของซาอุดีอาระเบีย, จอร์แดน, ปาเลสไตน์, เลบานอน, ซีเรีย และอียิปต์ไปจนถึงลิเบีย จักรวรรดิอะคีเมนียะห์เป็นศัตรูของนครรัฐกรีกในสงครามกรีซ-เปอร์เชีย เพราะไปปล่อยชาวยิวจากบาบิโลเนีย และในการก่อตั้งให้ภาษาอราเมอิกเป็นภาษาราชการ และพ่ายแพ้ต่ออเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 330 ก่อนคริสต์ศักราช ความสำคัญทางประวัติศาสตร์โลกของจักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชก็คือกาวางรากฐานที่ได้รับความสำเร็จของระบบการบริหารการปกครองจากศูนย์กลาง และของรัฐบาลที่มีปรัชญาในการสร้างประโยชน์ให้แก่มวลชนSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิอะคีเมนิด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอียิปต์

แผนที่แสดงบรเวณเมื่อมีอำนาจมากที่สุดในศตวรรษที่ 15 ก่อนคริสต์ศักราช จักรวรรดิอียิปต์ หรือ ราชอาณาจักรใหม่ (New Kingdom หรือ Egyptian Empire) เป็นสมัยประวัติศาสตร์ของอียิปต์โบราณที่รุ่งเรืองระหว่าง 1600 ปีก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึง 1100 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของอียิปต์และเป็นจุดสูงสุดของมหาอำนาจในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดินิยม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเอธิโอเปีย

ักรวรรดิเอธิโอเปีย หรือที่รู้จักกันในประวัติศาสตร์ในชื่อ อะบิสซิเนีย เป็นจักรวรรดิที่ตั้งอยู่ในเขตประเทศเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ในช่วงที่รุ่งเรืองสูงสุดนั้นอาณาเขตของจักรวรรดิได้แผ่ขยายไปถึงอียิปต์ตอนใต้ ซูดานภาคตะวันออก เยเมน และซาอุดิอาระเบียภาคตะวันตก และดำรงอยู่ในหลายหลายลักษณะนับตั้งแต่การสถาปนาเมื่อราว 980 ปี ก่อน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจักรวรรดิเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

จัตุรัสทาห์รีร์

การจราจรรอบจัตุรัสทาห์รีร์ในยามค่ำคืน จัตุรัสทาห์รีร์ (ميدان التحرير; Tahrir Square; หมายถึง "จัตุรัสการปลดปล่อย") เป็นจัตุรัสสาธารณะขนาดใหญ่ในกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ เดิมจัตุรัสถูกเรียกว่า มิดันอิสไมเลยะ หลังจากผู้ปกครองสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 อิสมาอิล ปาชา ผู้ซึ่งมอบหมายให้ก่อสร้างรูปแบบ "กรุงปารีสริมฝั่งแม่น้ำไนล์" ขึ้นเป็นเขตใหม่ของเมือง ภายหลังการปฏิวัติอียิปต..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจัตุรัสทาห์รีร์ · ดูเพิ่มเติม »

จามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี

อัลอัฟกานี จามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี (Jamal ad-Din al-Afghani) เป็นนักคิดเจ้าของลัทธิรวมกลุ่มอิสลามและเป็นปัญญาชนคนสำคัญในโลกอิสลาม เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี คาร์เตอร์

รือเอก เจมส์ เอิร์ล "จิมมี" คาร์เตอร์ จูเนียร์ (James Earl "Jimmy" Carter, Jr) เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 39 ของสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจิมมี คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์

รายชื่อนี้เป็นจุดหมายปลายทางการเดินทางที่สายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์เปิดให้บริการ ตามข้อมูลในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์

This is a list of airports to which Swiss International Air Lines flies (as of March 2009).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์

หมายปลายทางของสายการบินไชนาแอร์ไลน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

หน้านี้คือรายชื่อจุดหมายปลายทางของเที่ยวบินต่าง ๆ ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป แวร์ดี

Verdi จูเซปเป ฟอร์ตูนีโน ฟรันเชสโก แวร์ดี (Giuseppe Verdi) เป็นคีตกวีชาวอิตาลี เกิดเมื่อวันที่10 ตุลาคม พ.ศ. 2356 (ค.ศ. 1813) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) โด่งดังจากอุปรากรเรื่อง ลา ทราเวียตตา ไอด้า โอเทลโล ผลงานของเขาได้รับความนิยมอย่างสูงเมื่อเขายังมีชีวิตอยู่ และต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน แวร์ดีเกิดที่หมู่บ้าน Le Roncole ในอำเภอตาโร ซึ่งขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ต ในปี พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) เขาได้ย้ายถิ่นฐานไปอยู่ที่เมืองบุสเชโต ที่ซึ่งเขาได้เรียนดนตรีกับเฟอร์ดินานโด โปรแวร์สิ เขาได้ประพันธ์ซิมโฟนี ขึ้นมาบทหนึ่งจากเพลงโหมโรงของอุปรากรเรื่อง กัลบกแห่งเมืองเซวิลล์ (Il barbiere di Siviglia) ของ จิโออัคคิโน รอสสินี จากนั้นก็ได้ย้ายไปอยู่ที่นครมิลาน เพื่อสมัครเข้าเรียนที่วิทยาลัยดนตรีแต่ก็ถูกปฏิเสธ เขาจึงเรียนแบบส่วนตัวกับวินเซนโซ ลาวินยา ผลงานประพันธ์อุปรากรเรื่องแรกของเขาคือ Oberto, conte di San Bonifacio (เปิดการแสดงครั้งแรกที่กรุงมิลาน เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2382) ตามด้วยเรื่อง Un giorno di regno (ซึ่งเป็นความพยายามประพันธ์อุปรากรชวนหัวเพียงครั้งเดียว ซึ่งมีเพียง Falstaff อีกเรื่องในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขา) แต่เขาประสบความสำเร็จครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) จากเรื่อง Nabucco ที่ได้เปิดแสดงที่โรงละครลา สกาล่า ในนครมิลาน โดยมีนักแสดงนำได้แก่จูเซปปินา สเตร็ปโปนี ร้องเสียงโซปราโน ในบทของอาบิไก นักร้องสาวได้กลายเป็นภรรยาน้อยของแวร์ดี เขาได้แต่งงานกับหล่อนในอีกหลายปีให้หลัง ภายหลังการเสียชีวิตของภรรยาของเขา หลังจากที่อุปรากรเรื่อง I Lombardi alla prima crociata (เปิดแสดงครั้งแรกที่นครมิลาน เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386) ที่มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวข้องกับสถานการณ์การเมือง เรื่องErnani ก็ประสบความสำเร็จในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซเช่นกัน ในปีต่อมา อุปรากรเรื่อง Giovanna d'Arco และ La Forza del Destino ก็ตอกย้ำความโด่งดังของแวร์ดี แต่เขาเห็นว่าการแสดงงานของเขาที่โรงละครลา สกาล่านั้นยังไม่เข้าขั้น เป็นเหตุให้เขาปฏิเสธการเปิดแสดงอุปรากรเรื่องต่อ ๆ มาในมิลาน อันได้แก่เรื่อง Atilla, Alzira และ แมคเบ็ท ในได้ถูกนำออกแสดงในเมืองต่าง ๆ ทั่ว ประเทศอิตาลี ส่วนเรื่อง I Masnadieri นั้นได้ถูกประพันธ์ขึ้นที่กรุงลอนดอน ในขณะที่นครมิลาน พ่ายแพ้และถูกจักรวรรดิออสเตรียเข้ายึดครอง แวร์ดีได้ประพันธ์อุปรากรเรื่อง Il Corsaro, La Battaglia di Legnano และ Luisa Miller รวมทั้งเรื่อง Manon Lescaut ที่แต่งไม่จบ หลังจากข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับบทประพันธ์เรื่อง Stiffelio ในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) เรื่อง Rigoletto ก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้นในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซ ในปี พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) เขาประสบความสำเร็จครั้งสำคัญอีกครั้งจากเรื่องIl Trovatore ที่โรงละครอพอลโลในกรุงโรม แต่การเปิดการแสดงภาคภาษาฝรั่งเศสในนครเวนีซไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก อุปรากรเรื่องอื่น ๆ ที่ประพันธ์ขึ้นในช่วงนี้ ได้แก่ งูพิษแห่งเกาะซิซิลี (เปิดแสดงที่กรุงปารีส) Aroldo (งานที่สร้างขึ้นมาจากเรื่อง Stiffelioเดิม) และเรื่อง Simon Boccanegra กับ Un ballo in maschera (ที่ถูกห้ามนำออกแสดง) แวร์ดีได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างมากในการรวมชาติของประเทศอิตาลี (เขาได้ประพันธ์บทเพลง Inno delle Nazioni ซึ่งได้รวมเอาเพลงชาติต่าง ๆ ในยุโรปไว้ด้วยกัน เช่น เพลง Fratelli d'Italia Marseillaise และ God Save the King ในปี พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) และได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งวุฒิสมาชิก จากนั้นก็ได้นำผลงานเก่ามาแก้ไขเล็กน้อย จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เมื่อDon Carlos ได้ถูกนำออกแสดงครั้งแรกที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2415 (ค.ศ. 1872) เมื่อเขานำเรื่องไอด้า ออกแสดงที่โรงละครลา สกาล่าก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้น เขาได้ประพันธ์ให้แก่ผู้สำเร็จราชการแห่งอียิปต์กับเนื่องในโอกาสพิธีเปิดโรงละครแห่งใหม่ในกรุงไคโร และสำหรับการเปิดคลองสุเอซ ผลงานของแวร์ดีมีความเป็นชาตินิยมของชาวอิตาลีอยู่ในตัว (เป็นต้นว่าเพลงชาวยิวสำหรับกลุ่มนักร้องประสานเสียงขับร้องในเรื่อง Nabucco ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า Va Pensiero นั้น ได้รับการเสนอให้เป็นเพลงชาติอิตาลีมาอย่างสม่ำเสมอ โดยไม่ได้มีความหมายในเชิงเหยียดเชื้อชาติ) เป็นที่น่าประหลาดใจ เมื่อมีคนพบว่าชื่อของเขา Verdi เป็นตัวอักษรย่อของคำว่า Vittorio Emanuele Re D’Italia (วิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กษัตริย์แห่งอิตาลี) ในช่วงเวลาที่ชาวเมืองมิลาน (ซึ่งยังตกอยู่ภายใต้การปกครองของออสเตรีย) ได้เริ่มหันมาสนับสนุนความพยายามรวมชาติอิตาลีของวิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กลุ่มแนวร่วมหลบหนีเข้าเมืองได้เริ่มคบคิดที่จะให้กษัตริย์ Sardaigne บุกมิลาน เนื่องจากการกดขี่ของชาวออสเตรียนั้นรุนแรงเกินไป กลุ่มคนเหล่านี้ได้เริ่มการปลุกระดมที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า « Viva VERDI » (« V.E.R.D.I. จงเจริญ ») แวร์ดีทราบเรื่องการนำชื่อของเขาไปใช้ ซึ่งโดยหลักแล้วเขาควรจะห้าม แต่เขาก็ไม่ได้ห้าม เรื่องราวอื่น ๆ ที่เกี่ยวพันกับการเมืองของแวร์ดีได้ถูกนำเสนอในบทอุปรากรเรื่อง I Lombardi แวร์ดีเสียชีวิตอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) ที่นครมิลาน หลังจากการก่อสร้างคฤหาสน์ Casa di Riposo เสร็จสิ้น (เขาตั้งใจให้เป็นที่พักชั่วคราวของเหล่าศิลปินตกยาก) พีธีศพของเขาจัดขึ้นอย่างอลังการ ผู้เข้าร่วมราว 250,000 คนได้มาแสดงความคารวะต่อปูชนียบุคคลผู้หนึ่งของวงการดนตรีอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจูเซปเป แวร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมศาลา

ลาธรรมยิวในเมืองทรานี ในศาสนายูดาห์ ธรรมศาลา (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศาลาธรรม (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (synagogue; συναγωγή; หมายถึง การชุมนุมหรือรวมตัว) เป็นศาสนสถานที่ใช้รวมกลุ่มกันทำการอธิษฐาน ทว่าสำหรับชาวยิวแล้ว พวกเขาไม่จำเป็นต้องไปธรรมศาลาเพื่อประกอบพิธี หากรวมตัวได้ครบองค์ประชุม (Quorum) ที่ประกอบด้วยผู้ชายที่บรรลุนิติภาวะแล้วจำนวนสิบคน เรียกว่า "องค์คณะสิบ" หรือ "มินยัน" (Minyan) ก็สามารถประกอบพิธีได้ เมื่อก่อนไม่อนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในองค์คณะสิบ แต่เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2001, ยิวอนุรักษ์นิกายอนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในคณะมินยันได้ ในชุมชนยิวปัจจุบัน ธรรมศาลาไม่ได้มีไว้สำหรับพิธีกรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่ยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น เช่น สถานที่จัดเลี้ยง โรงเรียนสอนศาสนา ห้องสมุด ศูนย์รับเลี้ยงเด็กเวลากลางวัน และครัวโคเชอร์ (Kosher) ตามหลักมาตรฐานอาหารยิว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และธรรมศาลา · ดูเพิ่มเติม »

ธูป

ูปที่กำลังเผาไหม้ในเขาอู่ไถ ธูป เป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องสักการบูชาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณเพื่อบูชาเทพเจ้าหรือทำให้เทพเจ้าพอใจด้วยของหอม ในอดีตธูปทำจากเนื้อไม้หอม (Aromatic wood) หลายชนิด เช่น ไม้จันทน์ขาว (Sandalwood) จันทน์เทศ (Nutmeg) กำยาน (Gum Benzoin เป็นยางไม้หอมชนิดหนึ่ง) ไม้กฤษณา (Agar wood) กันเกรา (Tembusu) หรือต้นบง หรือโกวบั๊วะ (นำมาผสมน้ำเพื่อให้เนื้อผงธูปเหนียว พอที่จะฟั่นเป็นธูปได้) บดเนื้อไม้ให้เป็นผงละเอียด นำมาเป็นวัตถุดิบในการทำธูป ธูปไทยในอดีตที่ผลิตจากไม้หอม มีลักษณะคล้ายธูปจีนโบราณ (วัฒนธรรมและการทำธูปในไทย สืบทอดมาจากการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และการค้าในอดีต) และเนื่องจากตัววัตถุดิบเป็นไม้หอม ควันธูปค่อนข้างละเอียด ไม่ระคายเคืองจมูกและตา ปัจจุบัน เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ประกอบกับวัตถุดิบที่แพงขึ้น ไม้หอมต่างๆที่นำมาผลิตธูปเริ่มมีราคาแพง ผู้ผลิตส่วนใหญ่ จึงเปลี่ยนมาใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพาราแทน เนื่องจากมีราคาถูกกว่า และมีสีขาวนวลเหมือนไม้จันทน์ขาว ลักษณะเป็นผงละเอียด ขึ้นรูปได้ง่าย แล้วจึงนำมาผสมน้ำหอม เรียกว่า "ธูปหอม" เมื่อนำมาจุดจะให้ควันและกลิ่นหอม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และธูป · ดูเพิ่มเติม »

ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น

ีระศักดิ์ โพธิ์อ้น (เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนให้กับสโมสรฟุตบอลพีพีที ระยอง ใน ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2560 เขาเคยเล่นให้กับทีมชาติไทยในการแข่งขัน ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1997 ที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลิเบีย

งชาติลิเบีย (علم ليبيا) ในปัจจุบันเป็นธงชาติเดิมในสมัยสหราชอาณาจักรลิเบีย ระหว่าง พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2512 ซึ่งได้ถูกฟื้นฟูเป็นสัญลักษณ์ของชาติลิเบียอีกครั้งเมื่อเริ่มเกิดการต่อต้านรัฐบาลของพันเอกมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 จนกระทั่งบานปลายไปสู่สงครามกลางเมือง ต่อมาเมื่อกองทัพของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสามารถยึดกรุงตริโปลิและโค่นล้มรัฐบาลของกัดดาฟีลงได้ จึงได้มีการประกาศฟื้นฟูฐานะธงชาติแบบเดิมขึ้นอีกครั้ง เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และธงชาติลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิรัก

23x15px สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติอิรัก (อาหรับ: علم العراق) มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง จากความผันผวนทางการเมืองในประเทศ นับตั้งแต่การก่อตั้งประเทศใน พ.ศ. 2464 เป็นต้นมา ธงชาติแบบที่เปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดนี้ ได้ดัดแปลงจากธงชาติอิรัก พ.ศ. 2457-2551 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง-ขาว-ดำ แบ่งตามแนวนอน มีความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางแถบสีขาวมีอักษรคูฟิก เขียนเป็นข้อความภาษาอาหรับว่า "อัลลอหุ อักบัร" แปลว่า พระอัลเลาะห์เจ้าทรงเป็นผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเอารูปดาวห้าแฉกสีเขียว 3 ดวงออกจากธงเดิมไป ธงดังกล่าวนี้จะใช้เป็นธงชาติอิรักเป็นการชั่วคราว จนกว่าจะมีการรับรองแบบธงชาติใหม่ใน พ.ศ. 2552 ควรรู้ด้วยว่า ด้านคันธงของธงที่มีอักษรอาหรับจารึกอย่างธงนี้อยู่ทางด้านขวา ไม่ใช่ทางด้านซ้ายของผู้สังเกตอย่างธงปกติทั่วไป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และธงชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอียิปต์

งชาติอียิปต์ (علم مصر) เป็นธงสามสีซึ่งประกอบด้วยแถบสีแนวนอนขนาดเท่ากันสามแถบ เรียงลำดับเป็นสีแดง สีขาว และสีดำ จากบนลงล่าง สีทั้งสามนี้เป็นสีที่มาจากธงขบวนการปลดแอกอาหรับ ซึ่งมีประวัติความเป็นมาย้อนหลังไปถึงเหตุการณ์การปฏิวัติในอียิปต์เมื่อปี ค.ศ. 1952 ในธงดังกล่าวได้บรรจุรูปสัญลักษณ์นกอินทรีแห่งซาลาดิน อันเป็นรูปตราแผ่นดินของอียิปต์ ไว้ที่กลางแถบสีขาว ลักษณะของธงที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1984.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และธงชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ถุงยางอนามัย

งยางอนามัย (อังกฤษ: condom) เป็นอุปกรณ์ประเภทสิ่งกีดขวางที่ใช้ระหว่างร่วมเพศเพื่อลดโอกาสการตั้งครรภ์หรือการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีทั้งสำหรับเพศหญิงและเพศชาย เมื่อใช้อย่างถูกต้องทุกครั้งที่ร่วมเพศ ผู้หญิงที่คู่นอนใช้ถุงยางอนามัยชายมีอัตราการตั้งครรภ์อยู่ที่ 2% ต่อปี โดยมีอัตราการตั้งครรภ์เมื่อใช้แบบทั่วไปอยู่ที่ 18% ต่อปี การใช้ถุงยางอนามัยลดโอกาสการติดโรคหนองในแท้, โรคหนองในเทียม, เชื้อทริโคโมแนส, เชื้อไวรัสตับอักเสบ บี, โรคเอดส์ และซิฟิลิส ถุงยางอนามัยชายควรใส่ขณะองคชาตแข็งตัวก่อนการร่วมเพศ โดยใช้เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำอสุจิเข้าไปในร่างกายของคู่นอน ถุงยางอนามัยชายมักทำจากยางพารา หรืออาจทำจากโพลียูรีเทนหรือลำไส้แกะ ถุงยางอนามัยชายมีข้อดีตรงที่ใช้ง่าย พกพาสะดวก และมีผลข้างเคียงน้อย สำหรับผู้แพ้ยางพารา ควรใช้แบบที่ผลิตจากโพลียูเทนหรือวัสดุสังเคราห์อื่นแทน ถุงยางอนามัยสตรีมักทำจากโพลียูรีเทนและสามารถใช้ซ้ำได้หลายครั้ง การใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ถูกใช้มาอย่างน้อยตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และถุงยางอนามัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกษัตริย์

"เส้นทางสายเวียมาริส" (สีม่วง), "ถนนกษัตริย์" (สีแดง) และอื่น ๆ ราว 1300 ก่อนคริสต์ศักราช ถนนกษัตริย์ หรือ ทางส่วนพระมหากษัตริย์ (King's Highway) เป็นเส้นทางการค้าอันมีความสำคัญต่อตะวันออกกลาง เส้นทางเริ่มขึ้นที่อียิปต์ข้ามคาบสมุทรไซนายไปยัง อคาบา จากอคาบาก็เลี้ยวไปทางเหนือไปยังดามัสกัสและแม่น้ำยูเฟรตีส อาณาจักรโบราณหลายอาณาจักรรวมทั้งอีดอม, โมอับ, อัมมอน และรัฐในอราเมอันใช้เส้นทางสายนี้ในการทำการค้าขาย เส้นทางเริ่มขึ้นที่เฮลิโอโพลิสโบราณในอียิปต์ และจากที่นั่นก็ไปทางตะวันออกยังซิสมา (ปัจจุบันสุเอซ) ผ่านช่องมิทลา และป้อมอียิปต์เนเคิล และ เธเมดในทะเลทรายไซนายไปยังไอลัตและอคาบา จากที่นั่นถนนก็ขึ้นเหนือไปยังอราบาห์ ผ่านเพทรา และ มาอัน ไปยัง อดรูห์, เซลา และ ชอบัค ต่อไปยังเคอรัค และดินแดนของโมอับ ไปยัง มาดาบา, รับบาห์, อัมมอน/ฟิลาเดลเฟีย (ปัจจุบันอัมมาน), เจอราซา, โบซราห์, ดามัสกัส และ ทัดมอร์ไปสิ้นสุดลงที่ เรซาฟาบนตอนต้นของแม่น้ำยูเฟรตีส ถนนกษัตริย์กล่าวถึงใน ว่า: สงครามของอิสราเอลไลท์กับอาณาจักรในบริเวณทรานจอร์แดนระหว่างสมัยราชอาณาจักรอิสราเอล (และราชอาณาจักรยูดาห์ต่อมา) อาจจะมีสาเหตุบางส่วนมาจากความขัดแย้งในการพยายามควบคุมเส้นทาง ชาวนาบาเชียนใช้เส้นทางนี้ในการขนส่งสินค้าฟุ่มเฟือยที่รวมทั้งกำยาน และ เครื่องเทศจากทางตอนใต้ของ คาบสมุทรอาหรับ ระหว่างสมัยโรมันถนนกษัตริย์ได้รับการสร้างใหม่โดยจักรพรรดิทราจัน และเรียกว่า "ถนนทราเอียนาใหม่" (Via Traiana Nova) นอกจากทางการค้าแล้วเส้นทางสายนี้ก็ยังใช้เป็นเส้นทางสำคัญของการจาริกแสวงบุญของคริสเตียนที่มีจุดต่าง ๆ ที่มีความสำคัญต่อคริสต์ศาสนารวมทั้งภูเขาเนโบ และ อัล-มักห์ทาสบนฝั่งแม่น้ำจอร์แดนที่เป็นสถานที่ที่เชื่อกันว่าที่ที่พระเยซูทรงรับศีลจุ่มจากนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ มุสลิมใช้เป็นเส้นทางสำคัญในการฮัจญีไปยังมักกะหฺจนกระทั่งออตโตมันเติร์กสร้างทาริค อัน-บินท์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และถนนกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3 เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนววิทยาศาสตร์ และ แนวแอ็คชั่นบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ มีต้นแบบมาจากหุ่นยนต์ของเล่นชุดทรานส์ฟอร์มเมอร์สที่สามารถแปลงร่างได้ เริ่มออกฉายครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ปีพุทธศักราช 2554 สำหรับภาคนี้ เป็นภาคที่สามของภาพยนตร์ชุดเรื่องนี้ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่สืบเนื่องมาจากภาพยนตร์ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น ที่ออกฉายใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3 · ดูเพิ่มเติม »

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวนวนิยายวิทยาศาสตร์ โลดโผน ออกฉายวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 2009 ในสหราชอาณาจักรและในวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 2009 ในอเมริกาเหนือ เป็นภาคต่อของ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติจักรกลสังหารถล่มจักรวาล ที่ฉายเมื่อปีคริสต์ศักราช 2007 โดยไมเคิล เบย์และสตีเวน สปีลเบิร์ก กลับมารับหน้าที่เป็นผู้กำกับและผู้อำนวยการสร้าง ตามลำดับ ขณะที่ไชอา เลอบัฟก็รับบทเดิมคือ แซม วิทวิคกี้ มนุษย์ที่อยู่ภายใต้สงครามระหว่างออโต้บอทส์และดีเซปติคอนส์ ในภาพยนตร์ยังมีหุ่นใหม่ ๆ เพิ่มอีกหลายตัวและยังขยายอาณาเขตไปหลายประเทศ โดยเฉพาะที่เด่นชัดใน เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ฝรั่งเศส และอียิปต์ อุปสรรคของภาพยนตร์ในขั้นตอนการผลิต คือการประท้วงของกลุ่มนักเขียนบทในสหรัฐอเมริการะหว่างปี 2007-2008 เช่นเดียวกับการประท้วงของของสมาคมผู้กำกับแห่งอเมริกาและสมาคมนักเขียนบท เบย์เสร็จสิ้นภาคผลิตทันเวลาจากความช่วยเหลือในการทำภาพร่างหนัง และเขียนบทภาพยนตร์โดย โรเบอร์โต ออร์ซิ, อเลกซ์ เคิร์สซแมน และเอห์เรน ครูเกอร์ ภาพยนตร์ถ่ายทำระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน 2008 สำหรับในประเทศไทย มีการจัดงานเปิดตัวภาพยนตร์เรื่องนี้ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 2009 ณ เซ็นทรัลเวิลด์สแควร์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ก่อนจะมีการฉายรอบสื่อมวลชน ทั้งในระบบฟิล์มปกติ ณ เอส เอฟ เวิลด์ ซีนีมา และในระบบไอแม็กซ์ ดีเอ็มอาร์ ณ กรุงศรี ไอแม็กซ์ เธียเตอร์ พารากอนซีนีเพล็กซ์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปมู

ทวีปมู เป็นชื่อของทวีปที่สาบสูญไปซึ่งมีแนวคิดมาจากนักเดินเรือในศตวรรษที่ 19 และนักเขียน Augustus Le Plongeon ซึ่งเป็นผู้ที่อ้างว่ามีอารยธรรมโบราณอย่างเช่น อารยธรรมอียิปต์, อารายธรรมเมโสอเมริกา ซึ่งคาดว่าผู้ลี้ภัยชาวมูมาตั้งรกรานอยู่ในบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก แนวคิดนี้เริ่มมีการแพร่กระจายมากขึ้นหลังจากที่ James Churchward ผู้ที่อ้างว่าเขาเคยอาศัยในทวีปมูซึ่งตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก Re-published by Adventures Unlimited Press (2007) การที่มีแนวคิดว่าทวีปมูมีอยู่เริ่มมี่ข้อโต้แย้งถึงความเป็นไปได้ตามเวลาของ Le Plongeon's นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันถือว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ที่จะมีทวีปมู (พร้อมกับกรณีอื่น เช่น เรื่องของทวีปลีมูเรีย) เนื่องจากโครงสร้างทางกายภาพและสิ่งต่าง ๆ ไม่สอดคล้องกัน เช่น ระยะเวลาในการล่มสลายไม่ว่าจะจมหรือการทำลายในช่วงเวลาสั้น ๆ การมีของทวีปมูปัจจุบันยังไม่มีข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทวีปมู · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์ (เครือข่ายนิรนาม)

#ทอร์เบราว์เซอร์ --> ทอร์ (Tor) เป็นซอฟต์แวร์เสรี (ฟรี) ที่ช่วยให้สื่อสารทางอินเทอร์เน็ตอย่างนิรนามได้ด้วยการจัดเส้นทางการสื่อสารแบบหัวหอม รวมทั้งช่วยให้สามารถเรียกดูเว็บไซต์บางแห่งที่ถูกเซ็นเซอร์ได้ ส่วนชื่อเป็นอักษรย่อจากโปรเจ็กต์ซอฟต์แวร์ดั้งเดิมคือ "The Onion Router" (เราเตอร์หัวหอม) ทอร์ส่งการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายทั่วโลก ฟรี ให้บริการโดยอาสาสมัคร และมีสถานีส่งต่อ/รีเลย์มากกว่า 7,000 สถานี เพื่อซ่อนตำแหน่งและการใช้งานของผู้ใช้จากใครก็ได้ที่ทำการเพื่อสอดแนมทางเครือข่าย หรือเพื่อวิเคราะห์การสื่อสาร เพราะการใช้ทอร์จะทำให้ตามรอยกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตกลับไปหาผู้ใช้ได้ยากขึ้น ซึ่งรวมทั้ง "การเยี่ยมใช้เว็บไซต์ การโพสต์ข้อความออนไลน์ การส่งข้อความทันที และรูปแบบการสื่อสารอื่น ๆ" ทอร์มุ่งหมายเพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ รวมทั้งป้องกันเสรีภาพและให้สมรรถภาพในการสื่อสารอย่างเป็นส่วนตัว โดยป้องกันการสื่อสารไม่ให้เฝ้าสังเกตได้ การจัดเส้นทางแบบหัวหอม (Onion routing) ทำให้เกิดผลโดยการเข้ารหัสลับในชั้นโปรแกรมประยุกต์ของโพรโทคอลสแตกที่ใช้ในการสื่อสาร โดยทำเป็นชั้น ๆ เหมือนกับของหัวหอม คือทอร์จะเข้ารหัสข้อมูล รวมทั้งเลขที่อยู่ไอพีของโหนดหรือสถานีต่อไปเป็นชั้น ๆ แล้วส่งข้อมูลผ่านวงจรเสมือนที่ประกอบด้วยสถานีรีเลย์ของทอร์ที่เลือกโดยสุ่มเป็นลำดับ ๆ สถานีรีเลย์แต่ละสถานีจะถอดรหัสชั้นการเข้ารหัสชั้นหนึ่ง เพื่อหาว่า สถานีไหนเป็นรีเลย์ต่อไปในวงจร แล้วส่งข้อมูลเข้ารหัสที่เหลือไปให้ สถานีสุดท้ายจะถอดรหัสชั้นลึกสุด แล้วส่งข้อมูลดั้งเดิมไปยังเป้าหมายโดยไม่เปิดเผยและก็ไม่รู้ด้วยถึงเลขที่อยู่ไอพีซึ่งเป็นแหล่งเบื้องต้น เพราะการจัดเส้นทางการสื่อสารจะปิดไว้ส่วนหนึ่ง ณ สถานีเชื่อมต่อทุก ๆ สถานีภายในวงจร วิธีการนี้กำจัดจุด ๆ เดียวชนิดที่การสอดแนมทางเครือข่ายอาจกำหนดต้นปลายการสื่อสาร แต่ฝ่ายตรงข้ามก็อาจพยายามระบุผู้ใช้โดยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งอาจทำได้โดยการถือเอาประโยชน์จากจุดอ่อนของซอฟต์แวร์บนคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ เช่น สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐมีเทคนิคที่ใช้จุดอ่อนหนึ่งที่ตั้งชื่อรหัสว่า EgotisticalGiraffe ในเว็บเบราว์เซอร์มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ล้าสมัยรุนหนึ่ง ที่เคยรวมแจกจ่ายกับชุดโปรแกรมทอร์ และโดยทั่วไป สำนักงานจะเพ่งเล็งเฝ้าสังเกตผู้ใช้ทอร์ในโปรแกรมการสอดแนม XKeyscore ขององค์กร การโจมตีทอร์เป็นประเด็นงานวิจัยที่ยังดำเนินการอยู่ ซึ่งโปรเจ็กต์ทอร์เองก็สนับสนุน อย่างไรก็ดี ไม่ใช่เพียงแค่ครั้งหนึ่งเท่านั้นเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 ที่ทอร์ได้พัฒนาขึ้นโดยบุคคลที่อยู่ใต้สัญญาการว่าจ้างจากสำนักงานโปรเจ็กต์การวิจัยก้าวหน้าของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ (DARPA) และจากแล็บวิจัยกองทัพเรือสหรัฐ (U.S. Naval Research Laboratory) แต่ตั้งแต่เริ่มโครงการมา เงินทุนโดยมากก็มาจากรัฐบาลกลางสหรั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทอร์ (เครือข่ายนิรนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี

ลาดิออส โตเลเมออส (Κλαύδιος Πτολεμαῖος) รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า ทอเลมี (Ptolemy) เป็นนักภูมิศาสตร์ นักดาราศาสตร์ และนักโหราศาสตร์ชาวกรีกโบราณ คาดว่ามีชีวิตและทำงานอยู่ในเมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ทอเลมีเป็นผู้แต่งตำราที่สำคัญหลายเล่ม ที่ถือว่าเป็นคัมภีร์ทางวิชาการ ในจำนวนนี้ มีสองเล่มที่ได้ใช้สืบต่อไปในวิทยาการของอาหรับและยุโรป เล่มแรกคือคัมภีร์ดาราศาสตร์ในชื่อว่า The Mathematical Compilation (Μαθηματική Σύνταξις ซึ่งภายหลังถูกเปลี่ยนชื่อเป็น The Greatest Compilation (Η Μεγάλη Σύνταξις ชาวอาหรับได้แปลหนังสือเล่มนี้ และให้ชื่อใหม่เป็นภาษาอารบิกว่า "al-majisti" ซึ่งภายหลังจากนั้นถูกแปลเป็นภาษาละตินว่า อัลมาเจสต์ (Almagest) อัลมาเจสต์เป็นหนังสือเกี่ยวกับเรื่องการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ว่า: โลกมีลักษณะเป็นทรงกลม เป็นศูนย์กลางของจักรวาล และหยุดนิ่งไม่มีการเคลื่อนไหว; โดยทฤษฎีนี้ได้รับการยอมรับยาวนานถึง 1,400 กว่าปี จนกระทั่งสมัยของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ตำราอีกเล่มหนึ่งคือ "ภูมิศาสตร์" ซึ่งเกี่ยวกับความรู้ด้านภูมิศาสตร์ในโลกยุคกรีก-โรมัน อย่างละเอี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทอเลมี · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมีที่ 2

ทอเลมีที่ 2 หรือ ทอเลมีที่ 2 ฟิลาเดลฟัส (Ptolemy II Philadelphusกรีก: ΠτολεμαῖοςΦιλάδελφος, Ptolemaios Philádelphos, 309-246 ปีก่อนคริสตกาลคริสตศักราช) เป็นพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์ทอเลมีแห่งอียิปต์เมื่อ 283-246 ปีก่อนคริสตศักราช เขาเป็นบุตรชายของผู้ก่อตั้งของราชวงศ์ทอเลมี ทอเลมีที่ 1.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทอเลมีที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมีที่ 3

ทอเลมีที่ 3 ยูเออร์เกดตีส (Πτολεμαῖος Εὐεργέτης) หรือชื่อในอียิปต์โบราณว่า อิวาเอนเนตเจอร์วีเซนวี เซเคมอังค์เร เซเทปอามุนClayton (2006) p. 208 ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ทอเลมี แห่งอียิปต์ ทรงครองราชย์ในช่วงระหว่าง 246 ปีก่อนคริสตกาล จนถึง 222 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทอเลมีที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายสะฮารา

ทะเลทรายสะฮารา หรือ ซาฮารา หรือ สาฮารา (Sahara) เป็นทะเลทรายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นบริเวณแห้งแล้งใหญ่สุดเป็นอันดับสามรองจากทวีปแอนตาร์กติกาและอาร์กติก มีเนื้อที่มากกว่า 9,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,500,000 ตารางไมล์ คำว่า สะฮารา ในภาษาอาหรับ (صحراء) หมายถึง ทะเลทราย อาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา ด้านทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศเหนือคือเทือกเขาแอตลาสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกจรดทะเลแดงและประเทศอียิปต์ ทิศใต้จรดประเทศซูดานและหุบเขาของแม่น้ำไนเจอร์ วิดีโอที่ถ่ายในมุมมองจากอวกาศ ของ ทะเลทรายสะฮารา และ แถวตะวันออกกลาง โดยสมาชิกนักบินอวกาศในการสำรวจที่ 29.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทะเลทรายสะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลแดง

วเทียมของทะเลแดง ทะเลแดง (Red Sea; البحر الأحمر, อัลบะฮฺรุ อัลอะฮฺมัร; Yam Suf) เป็นอ่าวในมหาสมุทรอินเดีย แบ่งระหว่างทวีปแอฟริกากับทวีปเอเชีย โดยทะเลแดงเชื่อมกับมหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเอเดน (Gulf of Aden) ทะเลแดงมีความยาวประมาณ 1900 กิโลเมตร และกว้างประมาณ 300 กิโลเมตร ร่องทะเลที่ลึกที่สุดประมาณ 2,500 เมตร และความลึกเฉลี่ยประมาณ 500 เมตร ทะเลแดงมีชื่ออื่นคือ อ่าวอาหรับ (Arabian Gulf) ซึ่งเรียกกันก่อนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชื่อทะเลแดงไม่ได้หมายถึงสีของน้ำทะเล แต่หมายถึงสีของแบคทีเรียชนิดหนึ่งบริเวณผิวน้ำ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทะเลแดง · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัย

ทุพภิกขภัย (famine) คือสภาวะของการขาดแคลนอาหารอย่างกว้างขวางซึ่งอาจใช้กับสภาวะที่เกิดในสัตว์ชนิดใดก็ได้ วิกฤติการณ์ดังกล่าวมักจะตามมาด้วยสภาวะทุพโภชนาการ, การอดอยาก, โรคระบาด และการเพิ่มจำนวนการเสียชีวิต องค์ประกอบสำคัญในการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยก็ได้แก่การแจกจ่ายสารอาหารรอง เช่นวิตามินและ แร่ธาตุจากซองอาหารบำบัดที่ประกอบด้วยสารเสริมอาหาร หรือให้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยตรงhttp://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1914655, 00.html Can one pill tame the illness no one wants to talk about? ประเภทการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยแบบหนึ่งการให้เงินหรือให้ตั๋วแก่ผู้ที่อดอยากเพื่อนำไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนเป็นอาหารจากเกษตรกรท้องถิ่น แทนที่จะนำทุนไปซื้ออาหารจากประเทศผู้บริจาค กฎหมายมักต้องระบุ เพราะเป็นการเสียเงินค่าขนส่ง การแก้ปัญหาความขาดแคลนระยะยาวก็ทำได้โดยการลงทุนในการเกษตรกรรมแบบใหม่ในภูมิภาคที่ยังไม่มีระบบดังกล่าว เช่นการใช้ปุ๋ย และสร้างระบบการชลประทานอันวิธีสำคัญที่ใช้ในการกำจัดความหิวโหยในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กฎของธนาคารโลกจำกัดการให้ทุนช่วยเหลือเกษตรกร และการใช้ปุ๋ยก็ได้รับการต่อต้านจากนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางกลุ่มเพราะมีผลตามมาอย่างคาดไม่ถึง คือ ปริมาณน้ำและถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ลดลงhttp://www.theatlantic.com/issues/97jan/borlaug/borlaug.htm Forgotten benefactor of humanity.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

ทีมฟุตบอล

ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลเชลซีในชุดปี ค.ศ. 1905 ถ่ายร่วมกับทีมงาน ทีมฟุตบอล (football Team) เป็นชื่อที่เรียกกลุ่มของผู้เล่นที่เลือกมาเล่นร่วมกันในการแข่งขันฟุตบอล แต่ละทีมสามารถเลือกผู้เล่นเพื่อแข่งกับทีมตรงข้าม อาจเป็นตัวแทนของสโมสรฟุตบอล กลุ่ม รัฐ หรือชาติ ทีมรวมดาว หรือแม้แต่ทีมสมมติ (อย่างเช่น ดรีมทีมหรือทีมแห่งศตวรรษ) ที่เป็นทีมที่อาจไม่เคยลงแข่งขันจริง ผู้เล่นจะได้รับเลือกให้เล่นในตำแหน่งต่าง ๆ ของทีม ในบางกรณีการเรียกว่า ทีมฟุตบอล ในบางครั้งอาจจำกัดเฉพาะผู้ที่ลงแข่งในสนาม และไม่รวมผู้เล่นที่เป็นผู้เล่นเปลี่ยนตัวหรือผู้เล่นฉุกเฉิน ส่วนคำว่า "Football squad" อาจจะใช้รวมถึงทีมสนับสนุนและผู้เล่นสำรองด้วย สโมสรฟุตบอล นั้นเป็นองค์กรหรือกลุ่มคนที่มี ประธาน คณะกรรมการและมีกฎการรับผิดชอบเพื่อให้มั่นใจถึงความมีตัวตนของทีม ที่จะมีการเลือกหรือการชิงตำแหน่ง สโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดเกิดขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และทีมฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

ท่อส่งแก๊สอาหรับ

ท่อส่งแก๊สอาหรับ (Arab Gas Pipeline) เป็นท่อที่ส่งออกแก๊สธรรมชาติของอียิปต์ไปยังตะวันออกกลางและอาจไปถึงทวีปยุโรปด้วยการสร้างส่วนขยายในอนาคต เมื่อก่อสร้างเสร็จ ท่อส่งแก๊สดังกล่าวจะมีความยาวรวมกว่า 1,200 กิโลเมตร มีมูลค่าก่อสร้าง 1.2 พันล้านดอลล่าร์สหรั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และท่อส่งแก๊สอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร

ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร (อาหรับ: مطار القاهرة الدولي) ตั้งอยู่ที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นประตูสำคัญในการเข้าออกอียิปต์ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของอียิปต์แอร์ ไคโรเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และท่าอากาศยานนานาชาติไคโร · ดูเพิ่มเติม »

ท็อปโมเดลออฟเดอะเวิลด์

ท็อปโมเดลออฟเดอะเวิลด์ (อังกฤษ: Top Model of the World) เป็นการประกวดนางงามที่จัดการประกวดมานานเวทีหนึ่ง โดยเริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี 1993 ที่ รัฐไมอามี, ประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบันคือ จูเลีย เกอร์ชุฮ์น จากประเทศยูเครน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และท็อปโมเดลออฟเดอะเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการไซออนิสต์

ีโอดอร์ เฮิร์ซล์ ผู้นำลัทธิไซออน ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เป็นชื่อเรียกขบวนการคืนสู่มาตุภูมิประวัติศาสตร์ในดินแดนปาเลสไตน์ดั้งเดิม (The Eretz Israel) ของชนชาติยิว หลังถูกชาวอียิปต์ขับกระจัดกระจายนานนับศควรรษ ชาวยิวเชื่อว่า เมื่อใดที่ชาวยิวย้ายกลับมาครอบครองถิ่นเดิม จะเกิดความเจริญรุ่งเรืองดังที่เกิดแล้วสมัยกษัตริย์เดวิด ความเชื่อนี้ทำให้เกิดการรณรงค์เผยแพร่ความคิดที่เรียก "ไซออนิสต์" ขบวนการไซออนิสต์ยุคใหม่เริ่มเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยธีโอดอร์ เฮิร์ซล์ (Theodore Herzl) ซึ่งเป็นผู้พัฒนาแผนการทางการเมืองเพื่อให้บรรลุถึงความเป็นรัฐอิสระเหนืออาณาเขตที่ชาวปาเลสไตน์ครอบครอง ความคิดนี้ได้รับการสนับสนุนเพิ่มขึ้นเป็นลำดับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง วัตถุประสงค์และเป้าหมายนี้ได้รับการสนับสนุนโดยปฏิญญาบอลโฟร์ (Balfour Declaration) ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และขบวนการไซออนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมไทยคม

วเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ชื่อ "ไทยคม" (Thaicom) เป็นชื่อพระราชทาน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และดาวเทียมไทยคม · ดูเพิ่มเติม »

ดาเมียตตา

การยึดเมืองดาเมียตตาโดยนักรบครูเสด ดาเมียตตา (Damietta หรือ Damiata หรือ Domyat) หรือ ดุมยาฏ (دمياط) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของเขตผู้ว่าการดาเมียตตาในประเทศอียิปต์ ดาเมียตตาตั้งอยู่ที่จุดที่แม่น้ำไนล์ไหลออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนราว 200 กิโลเมตรทางตอนเหนือของกรุงไคโร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และดาเมียตตา · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)

ัญลักษณ์รายการอย่างเป็นทางการ สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 1 สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 2 ดิ อะเมซิง เรซ (The Amazing Race) หรือชื่อย่อว่า TAR เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ ผลิตโดยสหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็นทีมละสองคน (มียกเว้น 1 ครั้ง คือครั้งที่ 8) ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุดและระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ได้รางวัล แอมมี่อวอร์ด เรียลลิตี้เกมส์โชว์ประเภทพรามไทม์มาตลอดนั้นตั้งแต่เริ่มมีการประกวดรางวัลนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 แบบผูกขาด ซึ่งทำให้รายการนี้โด่งดังเป็นอย่างมาก จุดเด่นของรายการจะถ่ายทำยากมากและใช้งบประมาณสูงเนื่องจากค่าเดินทางและจ้างคนท้องถิ่นทำงานเพื่อถ่ายทำในแต่ละฤดูกาล โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวฉายทางซีบีเอสและเริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 5

อะเมซิ่ง เรซ 5 (The Amazing Race 5) เป็นฤดูกาลที่ 5 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และดิอะเมซิ่งเรซ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม

อินโนเซนส์ออฟมุสลิม เป็นภาพยนตร์อิสระ เกี่ยวกับศาสนาและการเมือง เข้าใจว่าเขียนและกำกับโดย นาคูลา เบสลีย์ นาคูลา (Nakoula Basseley Nakoula) โดยใช้ชื่อแฝงว่า "แซม บาซิล" (Sam Bacile) นอกจากนี้ ยังอ้างว่าเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชาวอิสราเอล-ยิว มีรายงานภายหลังว่า เขาเป็นชาวอียิปต์โดยกำเนิด นับถือศาสนาคริสต์นิกายคอปติก และในอดีตเคยใช้สมนามมาแล้วหลายชื่อ เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

ดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

ีวาสเตเตอร์ (Devastator เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers) เป็นหุ่นยนต์ฝ่ายของ คอนสตรัคติคอน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

ดีวีดี

right ดีวีดี (Digital Versatile Disc; ชื่อย่อ DVD) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น digital versatile disc ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด ความเร็วในการเขียนแผ่นดีวีดี 1x มีค่าเท่ากับ 10.5 Mb/s หรือราวๆ 1.32 MB/s เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer) คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และดีวีดี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คลองสุเอซ

ลองสุเอซ (Suez Canal) เป็นคลองที่มนุษย์สร้างขึ้นในประเทศอียิปต์ ระหว่าง Port Said (Būr Sa'īd) ฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเมืองสุเอซ (Suez) บนฝั่งทะเลแดง มีความยาว 183 กิโลเมตร คลองสุเอซเชื่อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเข้ากับทะเลแดง ผ่านช่องแคบสุเอซ ในอียิปต์ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทาง 101 ไมล์ เดิมทีมันถูกขุดขึ้นด้วยมือ ปัจจุบัน สามารถรองรับเรือยาว 500 ม. กว้าง 70 ม. ลึก 70 ม. ไม่มีประตูกั้นน้ำเพราะทะเลทั้ง 2 แห่งมีระดับเดียวกัน คลองสุเอซเริ่มสร้างในเดือนเมษายน ปี 1859 แล้วเสร็จในเดิอนพฤศจิกายน ปี 1869 เป็นตัวเชื่อมสำคัญในการค้าระดับโลกเนื่องจากเป็นเส้นทางลัดระหว่างยุโรปและเอเซีย ขจัดการเดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮป ทวีปแอฟริกา คลองสุเอซช่วยให้การเดินทางระหว่างทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียสั้นลงเป็นอย่างมาก เนื่องจากเรือไม่ต้องเดินทางอ้อมทวีปแอฟริกา ก่อนการสร้างคลองนั้น ใช้การขนถ่ายสินค้าทางบกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลแดง คลองสุเอซแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนเหนือและส่วนใต้ โดยมีทะเลสาบเกรตบิตเตอร์ (Great Bitter) เป็นจุดกลาง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคลองสุเอซ · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา

ลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลพาเธอร์ (Κλεοπάτρα θεά φιλοπάτωρ; หรือรู้จักทั่วไปในนาม คลีโอพัตรา) (มกราคม ปีที่ 69 ก่อนคริสตกาล – 30 พฤศจิกายน ปีที่ 30 ก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณและเชื้อพระวงศ์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีแห่งมาซิโดเนีย ดังนั้นจึงเป็นผู้ปกครองอียิปต์ที่มีเชื้อสายกรีกคนสุดท้าย บิดาของพระนางคือทอเลมีที่ 12 ออเลติส และคาดว่าพระมารดาเป็นเชษฐภคินีของโอเลเตส ทรงพระนามว่า คลีโอพัตราที่ 5 ทรีฟาเอนา ชื่อ "คลีโอพัตรา" เป็นภาษากรีก แปลว่า "ความเจริญรุ่งเรืองของบิดา" พระนามเต็มของพระนางคือ "คลีโอพัตรา เธอา ฟิโลปาตอร์" ซึ่งหมายถึง "เทพีคลีโอพัตรา ผู้เป็นที่รักของบิดา" พระนางมีพระปรีชาสามารถมาก ทรงแตกฉานถึง 14 ภาษา เช่น ฮิบรู, ละติน, มาเซดอนโบราณ, เอธิโอเปียน, ซีเรีย, เปอร์เซีย, และ อียิปต์ ซึ่งแม้แต่ในราชวงศ์ น้อยคนนักที่จะแตกฉานภาษานี้ ปัจจุบัน คลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลปาตอร์ นับว่าเป็นผู้ปกครองอียิปต์โบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด นิยมเรียกพระนามสั้น ๆ ว่า คลีโอพัตรา ซึ่งทำให้ราชินีองค์ก่อน ๆ ที่ทรงพระนามคล้ายคลึงกัน ลบเลือนไปสิ้น ในความเป็นจริง พระนางไม่เคยปกครองอียิปต์เพียงลำพัง แต่ครองราชย์ร่วมกับพระบิดา, พระอนุชา, สวามีผู้เป็นอนุชาของพระองค์ หรือไม่ก็พระโอรส การครองราชย์ร่วมกันดังกล่าวมีผู้ร่วมบัลลังก์เป็นเพียงกษัตริย์ตามพระยศเท่านั้น อำนาจแท้จริงอยู่ในมือของคลีโอพัตราเองทั้งสิ้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคลีโอพัตรา · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา ธีอา

ลีโอพัตรา ธีอา ยูเอเทอร์เรีย (แปลว่า "เทศกาลเก็บเกี่ยวที่ดี / มีผล") (กรีกโบราณ: Κλεοπάτρα Θεά, ซึ่งแปลว่า "เทพธิดาแห่งคลีโอพัตรา"; ประสูติ 164 ปีก่อนคริสตกาล - สิ้นพระชนม์ 112 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นผู้ปกครองของอาณาจักรซีลิวซิดในยุคสมัยเฮลเลนิสติก พระองค์ปกครองซีเรียเมื่อ 125 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากการสิ้นพระชนม์ของเดเมตริอุสที่ 2 นิคาเตอร์ ในที่สุดเธอก็ปกครองร่วมกับพระราชโอรสของพระองค์ แอนติโอคัสที่ 8 ไกรปัส จนกระทั่ง 121 หรือ 120 ปีก่อนคริสตกาลAidan Dodson, Dyan Hilton, The Complete Royal Families of Ancient Egypt, 2004 by Chris Bennett.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคลีโอพัตรา ธีอา · ดูเพิ่มเติม »

ความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี

วามทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี (ISBN 1-4013-5961-2) เป็นผลงานการประพันธ์ของฟาราห์ ปาห์ลาวี อดีตพระจักรพรรดินีแห่งอิหร่าน ที่ได้รวบรวมเรื่องราวในความทรงจำของเธอตั้งแต่ยังเด็ก และเป็นนักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ เมื่ออายุ 21 ปี ชีวิตของเธอได้พลิกผันเมื่อได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เธอจึงกลายเป็นจักรพรรดินีแห่งประเทศอิหร่าน แต่ต่อมาอีก 20 ปีให้หลัง ชีวิตของเธอก็เปลี่ยนแปลงอีกครั้งแต่เป็นชีวิตที่พลิกผันเหมือนฝันร้าย เมื่อระบอบราชาธิปไตยในอิหร่านล่มสลาย พระเจ้าชาห์และพระองค์ต้องเสด็จลี้ภัยไปตามประเทศต่างๆ จนพระสวามีได้เสด็จสวรรคตที่ประเทศอียิปต์ โดยการประพันธ์ของฟาราห์ ปาห์ลาวีชิ้นนี้ ได้เปิดเผยเรื่องราวความรักความผูกพันของเธอ ที่มีต่อพระราชสวามีและประเทศอิหร่านเป็นครั้งแรก และถือเป็นเรื่องราวการประพันธ์ของพระองค์ที่น่าประทับใจเป็นอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงฉันทไมตรี

วามตกลงฉันทไมตรี (entente cordiale) เป็นความตกลงหลายฉบับที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และความตกลงฉันทไมตรี · ดูเพิ่มเติม »

ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน

วามเอนเอียงเพื่อยืนยัน (ความคิดฝ่ายตน)"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ bias ว่า "ความลำเอียง, -เอนเอียง" หรือ ความลำเอียงเพื่อยืนยัน (Confirmation bias, confirmatory bias, myside bias) เป็นความลำเอียงในข้อมูลที่ยืนยันความคิดหรือทฤษฎีหรือสมมติฐานฝ่ายตน เรียกว่ามีความลำเอียงนี้เมื่อสะสมหรือกำหนดจดจำข้อมูลที่เลือกเฟ้น หรือว่าเมื่อมีการตีความหมายข้อมูลอย่างลำเอียง ความลำเอียงนี้มีอยู่ในระดับสูงในประเด็นที่ให้เกิดอารมณ์หรือเกี่ยวกับความเชื่อที่ฝังมั่น นอกจากนั้นแล้ว คนมักตีความหมายข้อมูลที่ยังไม่ชัดเจนว่าสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง มีการใช้การสืบหา การตีความหมาย และการทรงจำข้อมูลประกอบด้วยความลำเอียงเช่นนี้ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และความเอนเอียงเพื่อยืนยัน · ดูเพิ่มเติม »

ควาย

| name.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และควาย · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การแข่งขันประกอบด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สองวัน เป็นการแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธีต่างๆ ผู้เข้าแข่งขันจะแข่งเป็นทีม ทีมละไม่เกิน 4 คนจากแต่ละประเทศ (อาจยกเว้นประเทศเจ้าภาพที่สามารถมีผู้เข้าแข่งขันเกิน 4 คนได้) แต่การแข่งขันจะเป็นการแข่งเดี่ยว มีผู้เข้าแข่งขันจาก 81 ประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2547 นักเรียนที่เข้าแข่งขันจะมาจากการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คอปติกออร์ทอดอกซ์

วิหารของศาสนาคริสต์คอปติกในอียิปต์ พระเยซูในศิลปะคอปติก คริสตจักรคอปติกออร์ทอดอกซ์แห่งอะเล็กซานเดรีย (คอปติก: Ϯⲉⲕ̀ⲕⲗⲏⲥⲓⲁ ̀ⲛⲣⲉⲙ̀ⲛⲭⲏⲙⲓ ̀ⲛⲟⲣⲑⲟⲇⲟⲝⲟⲥ ti.eklyseya en.remenkimi en.orthodoxos ente alexandhrias; Coptic Orthodox Church of Alexandria) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอียิปต์และภูมิภาคตะวันออกกลาง เป็นส่วนหนึ่งของนิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ซึ่งแยกออกมาจากนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์หลังการสังคายนาแห่งแคลซีดันในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคอปติกออร์ทอดอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรไซนาย

ภาพถ่ายดาวเทียมของคาบสมุทรไซนาย คาบสมุทรไซนาย (Sinai Peninsula) เป็นแผ่นดินรูปสามเหลี่ยมที่มียอดแหลมอยู่ทางทิศใต้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองท่าตากอากาศชาร์เมลเชค (Sharm el Sheikh) บนริมฝั่งทะเลแดง ส่วนด้านทิศเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นทางแผ่นดินที่พาดผ่านจากแอฟริกาสู่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีเนื้อที่ราว 60,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันอยู่ในเขตพื้นที่ของประเทศอียิปต์ ซ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคาบสมุทรไซนาย · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิกตะวันออก

ระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก หรือ ศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออก (Eastern Catholic Churches) เป็นคริสตศาสนจักรตะวันออก 23 ศาสนจักรที่ร่วมเอกภาพสมบูรณ์กับพระสันตะปาปาแห่งโรมโดยยอมรับพระองค์เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรแต่มีอำนาจปกครองตนเอง มีจารีตธรรมประเพณีเป็นของตนเองและเป็นส่วนหนึ่งของนิกายคาทอลิกทั่วโลก สถานะพิเศษของศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออกได้รับการรับรองโดยกฤษฎีกาจากสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ใน Orientalium ecclesiarum (กฤษฎีกาว่าด้วยพระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก) จากข้อมูลหนังสือ Annuario Pontificio ฉบับปี 2016 ได้ให้ข้อมูลว่ามีคริสตศาสนิกชนนิกายคาทอลิกที่เป็นคาทอลิกตะวันออกเกือบ 18 ล้านคน (จำนวนทั้งสิ้น 17,881,222 คน) คิดเป็นประมาณ 1.4-1.5% ของจำนวนคริสตศาสนิกชนคาทอลิกทั้งหมดและกระจายออกไปทั่วโลก ตราอาร์มของพระอัครสังฆราชใหญ่สวีอาโตสลาฟ เชฟชุคแห่งศาสนจักรยูเครนกรีกคาทอลิก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคาทอลิกตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

คานาอัน

แผนที่ประเทศอิสราเอลปัจจุบัน ตามคัมภีร์ฮีบรู คานาอันคือบริเวณที่ล้อมรอบด้วยเส้นสีแดง คานาอัน (ฟินิเชีย: 𐤊‏𐤍‏𐤏‏𐤍‏, Kana'n; כְּנָעַן‎ kna-an; كنعان Kanaʿān) คือ ดินแดนของชนเผ่าที่พูดภาษาเซมิติกราวปลายสหัสวรรตที่ 2 ก่อนคริสต์กาล ปัจจุบันครอบคลุมพื้นที่ลิแวนต์ใต้ในตะวันออกกลาง ตรงกับบริเวณที่ตั้งประเทศอิสราเอล เลบานอน ดินแดนปาเลสไตน์ และบางส่วนของประเทศซีเรียและประเทศอียิปต์ มีชายฝั่งทางทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คำว่า คานาอัน ปรากฏอยู่บ่อยครั้งในคัมภีร์ไบเบิ้ล หรือพันธสัญญาเดิม โดยบรรยายว่าเป็นดินแดนที่พระยาห์เวห์สัญญามอบให้แก่วงศ์วานอิสราเอล หมวดหมู่:ตะวันออกกลาง หมวดหมู่:อาณาจักรโบราณ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคานาอัน · ดูเพิ่มเติม »

คาเนเฟอร์

นเฟอร์ ("ความงามของวิญญาณ") เป็นเจ้าชายแห่งอียิปต์โบราณ พระองค์มีชีวิตอยู่ในราชวงศ์ที่ 4 หรือต้นราชวงศ์ที่ 5 ของยุคราชอาณาจักรเก่า และเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์สเนฟรูAidan Dodson, Dyan Hilton: The Complete Royal Families of Ancient Egypt. The American University in Cairo Press, Kairo 2004,, p. 52–61.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคาเนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คำสาปฟาโรห์ (มังงะ)

ำสาปฟาโรห์ (Crest of the Royal Family) เป็นการ์ตูน วาดโดย จิเอโกะ โฮโซคาวะ โดยใช้ แครอล เป็นตัวถ่ายทอด เธอได้ตกลงไปในห้วงอดีต 3000 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยไอซิส จนพบกับ เมมฟิส ฟาโรห์แห่งอียิปต์ในยุคนั้น การ์ตูนดังกล่าวได้รับรางวัลโชกากุกันมังงะอะวอร์ด ครั้งที่ 36 ของโชโจะ และใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคำสาปฟาโรห์ (มังงะ) · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง

ณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง (junta หรือ military junta) เป็นรัฐบาลที่นำโดยคณะผู้นำทางทหาร คำนี้มาจากภาษาสเปน junta หมายถึง คณะกรรมการหรือที่ประชุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการบริษัท บางครั้งคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองอาจกลายเป็นเผด็จการทหาร แต่ทั้งสองคำมิใช่ไวพจน์ ตัวอย่างคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง เช่น สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐในพม่า และคณะรักษาความสงบแห่งชาติในไทย เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505

แผนที่ฝรั่งเศส ฉบับที่กัมพูชาส่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศใช้พิจารณา คดีปราสาทพระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดนไทยด้านอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิดจากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้ำของเทือกเขาพนมดงรักคนละฉบับ ทำให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลกได้ตัดสินให้ตัวปราสาทพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม อย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และงานกระจกสี · ดูเพิ่มเติม »

งานฝังประดับวัสดุ

งานฝังประดับวัสดุ (Opus sectile) เป็นกรรมวิธีในการสร้างงานศิลปะที่เป็นที่นิยมกันในกรุงโรม โดยการตัดวัสดุแล้วฝังประดับเข้าไปในผนังหรือพื้นเพื่อสร้างเป็นภาพหรือลวดลาย วัสดุที่ใช้กันโดยทั่วไปก็ได้แก่หินอ่อน, มุก และ แก้ว วัสดุที่ใช้จะถูกตัดเป็นชิ้นบางๆ, ขัดเงา และ ตัดแบ่งออกไปอีกตามแบบที่ต้องการ งานฝังประดับวัสดุต่างจากงานโมเสกตรงที่งานโมเสกจะเป็นการเรียงชิ้นส่วนที่มีขนาดไร่เรียงกันเพื่อสร้างเป็นลวดลาย ส่วนชิ้นวัสดุที่ตัดขึ้นเพื่อใช้ในการสร้างงานฝังประดับวัสดุจะเป็นชิ้นวัสดุที่มีขนาดใหญ่กว่า และรูปทรงของชิ้นก็จะขึ้นอยู่กับรูปแบบของแบบที่ออก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และงานฝังประดับวัสดุ · ดูเพิ่มเติม »

งูเส้นด้ายบาร์เบโดส

งูเส้นด้ายบาร์เบโดส (Barbados threadsnake) เป็นงูเส้นด้ายตาบอดสปีชีส์หนึ่งในวงศ์ Leptotyphlopidae เป็นงูขนาดเล็กที่สุดในโลก พบในเกาะในแคริบเบียนของประเทศบาร์เบโดส และพบในเมืองอาบูเกีย (Abu Qir) ในประเทศอียิปต์ http://species.asu.edu/2009_species04 งูชนิดนี้ได้รับการบรรยายและระบุแยกตัวเป็นสปีชีส์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และงูเส้นด้ายบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอียิปต์

ตราแผ่นดินของอียิปต์ มีลักษณะเป็น นกอินทรีแห่งศอลาฮุดดีนสีทอง เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2527.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และตราแผ่นดินของอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฉนวนกาซา

ฉนวนกาซา (Gaza Strip; قطاع غزة; רצועת עזה‎) เป็นชื่อเรียกอาณาบริเวณแคบ ๆ ขนาด 360 ตร.กม. ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในตะวันออกกลาง โดยมีประชากรชาวปาเลสไตน์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ประมาณ 1.7 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพลี้ภัย โดยในการสำรวจเมื่อเดือนมีนาคม ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และฉนวนกาซา · ดูเพิ่มเติม »

ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา

ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา (เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2495) เป็นประมุขแห่งรัฐอุมม์อัลไกไวน์ และยังเป็นสมาชิกสภาสูงสุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ พระองค์เป็นพระราชโอรสของรอชิด บิน อะห์มัด อัลมุอัลลาที่ 3 พระองค์ได้ทรงเป็นผู้ครองรัฐอุมม์อัลไกไวน์ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา · ดูเพิ่มเติม »

ซัยยิด กุฏบ์

องซัยยิด กุฏบ์ขณะถูกคุมขังเมื่อ พ.ศ. 2509 ซึ่งเป็นภาพก่อนถูกประหารชีวิต ซัยยิด กุฏบ์ (Sayyid Qutb; or; سيد قطب) เป็นนักปรัชญาอิสลามของอียิปต์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซัยยิด กุฏบ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไรทรูปเปอร์

ซามูไรทรูปเปอร์ (Ronin Warriors) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวโชเน็น แต่งโดยยาทาเตะ ฮาจิเมะ ผลิตโดยบริษัทซันไรส์ ออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ทางสถานีนาโงยะ ทีวีและทีวีอาซาฮี ทุกวันเสาร์ เวลา 17.30-18.00 น. ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2531 ถึง 4 มีนาคม พ.ศ. 2532 มีความยาวทั้งสิ้น 39 ตอน และต่อมาสร้างเป็นโอวีเออีก 3 ภาคด้วยกัน ในปี พ.ศ. 2532 ถึง พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซามูไรทรูปเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาจิตต้า เทรมี่

ซาจิตต้า เทรมี่ (ญี่ปุ่น: 矢座(サジッタ)Sajitta no Toremī เป็นหนึ่งในซิลเวอร์เซนต์จากตัวละครเรื่องเซนต์เซ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซาจิตต้า เทรมี่ · ดูเพิ่มเติม »

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี (Sibghatullah Mojaddedi; صبغت الله مجددی; เกิดประมาณ ค.ศ. 1926) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี · ดูเพิ่มเติม »

ซินเดอเรลล่า

ียนของกุสตาฟ โดเร เรื่อง ''Cendrillon'' ซินเดอเรลล่า (Cinderella; Cendrillon) เป็นเทพนิยายปรัมปราที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงทั่วทั้งโลก มีการดัดแปลงเป็นรูปแบบต่าง ๆ มากมายกว่าพันครั้ง เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเด็กสาวกำพร้าผู้หนึ่งที่อยู่ในอุปถัมภ์ของแม่เลี้ยงกับพี่สาวบุญธรรมสองคน แต่ถูกทารุณและใช้งานเยี่ยงทาส ต่อภายหลังจึงได้พบรักกับเจ้าเมืองหรือเจ้าชายผู้สูงศักดิ์ ตำนานซินเดอเรลล่ามีปรากฏในเทพนิยายหรือนิทานพื้นบ้านประเทศต่าง ๆ ทั่วทั้งโลกโดยมีชื่อของตัวเอกแตกต่างกันออกไป ทว่าฉบับที่มีชื่อเสียงที่สุดเป็นของนักเขียนชาวฝรั่งเศสชื่อ ชาร์ล แปโร ในปี ค.ศ. 1697 ซึ่งอิงมาจากวรรณกรรมของ จิอัมบัตติสตา เบซิล เรื่อง La Gatta Cenerentola ในปี ค.ศ. 1634 ในเรื่องนี้ตัวเอกมีชื่อว่า เอลลา (Ella) แต่แม่เลี้ยงกับพี่สาวใจร้ายของเธอพากันเรียกเธอว่า ซินเดอเรลล่า (Cinderella) อันหมายถึง "เอลลาผู้มอมแมม" ซึ่งกลายเป็นชื่อเรียกเทพนิยายในโครงเรื่องนี้โดยทั่วไป ซินเดอเรลล่า ได้รับการโหวตจากเด็ก ๆ กว่า 1,200 คนจากการสำรวจโดย cinema chain UCI เป็นเทพนิยายยอดนิยมอันดับหนึ่งในดวงใจ เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซินเดอเรลล่า · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย

Sukhoi Superjet 100 (Campeche, Mexico) 2015 ซุคฮอย (Sukhoi, Сухой) เป็นผู้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ของรัสเซียมีที่มีชื่อเสียงจากเครื่องบินขับไล่ มันถูกก่อตั้งโดยพาเวล ซุคฮอยเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซุคฮอย · ดูเพิ่มเติม »

ซูโคไมมัส

ซูโคไมมัส เป็นไดโนเสาร์ที่อยู่ในสกุล สไปโนซอร์ ที่อาศัยอยู่ในแอฟริกา ประเทศอียิปต์,ไนเจอร์ Suchomimus มีปากที่มีความยาวต่ำและแคบเป็นจะงอย ฟันคมมาก และโค้งย้อนหลัง ออกหาอาหารบริเวณริมแม่น้ำ อาหารหลักของมันคือปลา และสัตว์น้ำในยุคดึกดำบรรณ์ Suchomimus มีความยาว 11 เมตร หนักประมาณ 2.9-4.8 ตัน อาศัยอยู่ในยุคครีเทเซียสตอนต้นเมื่อประมาณ 112 ล้านปีก่อน มันมีศัตรูขู้แข่งตามธรรมชาติที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกันอย่าง จระเข้ยักษ์ ซาร์โคซูคัส (Sarcosuchus) ที่อาศัยอยู่ริมน้ำและจะคอยดักซุ่มโจมตีเหยื่ออยู่ในน้ำ Suchomimus มีญาติไกล้ชิดอย่าง สไปโนซอรัส ที่มีความยาว 15 เมตร กับ อิริอาเตอร์ (อังกฤษ: Irritator) ยาว 8 เมตร (26ฟุต) ที่มีลักษณะรูปร่างและการดำรงชีวิตคล้ายกันแต่มีขนาดเล็กกว่า หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซูโคไมมัส · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (Симеон Борисов Сакскобургготски, ซีโมน บอรีซอฟ ซักสโกบูร์กกอตสกี; Simeon von Sachsen-Coburg und Gotha or Simeon von Wettin) หรือ พระเจ้าซาร์ซีเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย (ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2480) ทรงเป็นบุคคลสำคัญในสังคมการเมืองและราชวงศ์บัลแกเรีย พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอช-53 ซีสตัลเลียน

ซีเอช-53 ซีสตัลเลียน (CH-53 Sea Stallion) เป็นชื่อทั่วไปที่มักใช้เรียกเอส-65 ซึ่งตระกูลหนึ่งในเฮลิคอปเตอร์บรรทุกขนาดหนักของซิคอร์สกี้ แอร์คราฟท์ เดิมที่มันถูกพัฒนาขึ้นให้กับนาวิกโยธินสหรัฐ มันยังเข้าประการในเยอรมนี อิหร่าน อิสราเอล และเม็กซิโกอีกด้วย กองทัพอากาศสหรัฐใช้เอชเอช-53 ซูเปอร์จอลลี่กรีนไจแอนท์ในช่วงปลายและหลังสงครามเวียดนาม โดยได้ทำการพัฒนาพวกมันส่วนใหญ่ให้กลายเป็นเอ็มเอช-53 เพฟโลว์ มันมีความคล้ายคลึงกับซีเอช-53อี ซูเปอร์สตัลเลียนที่มีขนาดใหญ่กว่าและเป็นรุ่นที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอส-80อีโดยซิคอร์สกี้ เครื่องยนต์ที่สามของมันทำให้มันทรงพลังยิ่งกว่าซีสตัลเลียน ซึ่งได้เข้ามาทำหน้าที่แทนในการบรรทุกขนาดหนัก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และซีเอช-53 ซีสตัลเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการครูเซเดอร์

ปฏิบัติการครูเซเดอร์ เป็นปฏิบัติการทางทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยกองทัพที่แปดของอังกฤษเข้าปะทะกับกองกำลังฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือในช่วงระหว่างวันที่ 18 พฤศจิกายน และ 30 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปฏิบัติการครูเซเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการแอ็บเซนชัน

ปฏิบัติการแอ็บเซนชั่น (Operation abstention) เป็นชื่อรหัสใช้เรียกการรุกรานเกาะคาสเตโลริโซ นอกชายฝั่งตุรกี ของสหราชอาณาจักร ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อราวปลายเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปฏิบัติการแอ็บเซนชัน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเข็มทิศ

ปฏิบัติการเข็มทิศ เป็นปฏิบัติการใหญ่ครั้งแรกของฝ่ายสัมพันธมิตรในการทัพทะเลทรายตะวันตกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กำลังอังกฤษและเครือจักรภพอื่นโจมตีกองทัพอิตาลีทางตะวันตกของอียิปต์และทางตะวันออกของลิเบียระหว่างเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปฏิบัติการเข็มทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประมุขแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (History of science and technology, HST) เป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมนุษย์ หากไม่มีการศึกษาด้านนี้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ อาจไม่เกิดขึ้น นอกจากนั้นยังศึกษาผลกระทบของนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง วิทยาศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์และวิศวกรรมเชิงฟิสิกส์ที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน ก่อร่างมาจากการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ แต่มีรากฐานจากผลงานของอารยธรรมกรีกและอิสลาม ซึ่งรับช่วงต่อมาจากอารยธรรมอียิปต์ เมโสโปเตเมีย และอินเดีย ส่วนในด้านเทคโนโลยี ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้ามากที่สุดในสมัยนั้น หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อานาโตเลีย

ประวัติศาสตร์อานาโตเลียกล่าวถึงดินแดนที่เรียกว่าอานาโตเลียหรือเอเชียไมเนอร์ ซึ่งเป็นดินแดนทางตะวันตกของทวีปเอเชีย ในทางภูมิศาสตร์หมายถึงดินแดนส่วนใหญ่ของประเทศตุรกีในปัจจุบัน จากทะเลอีเจียนซึ่งเป็นขอบเขตทางตะวันตกจนถึงภูเขาชายแดนประเทศอาร์มีเนียทางตะวันออก และเทือกเขาทะเลดำทางเหนือจนถึงเทือกเขาเทารัสทางใต้ โดยสภาพทางภูมิศาสตร์ อานาโตเลียเป็นเสมือนสะพานที่เชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชียตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเส้นทางสำหรับการเดินทางไปมาระหว่างยุโรปและเอเชีย ตลอดระยะเวลากว่า 4 ถึง 5,000 ปีที่ผ่านมา มีชนหลายเผ่าพันธุ์เดินทางเข้ามายังอานาโตเลียและได้ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนของตนบนดินแดนแห่งนี้ อาณาจักรของชนเหล่านี้ได้พัฒนาเจริญรุ่งเรืองและในที่สุดก็ต้องล่มสลายไปตามกาลเวลา ความเก่าแก่และหลากหลายของอารยธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรืองบนผืนแผ่นดินแห่งนี้เป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีมีความภาคภูมิใจเป็นพิเศษสำหรับดินแดนอันเป็นประเทศตนในปัจจุบัน ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ราบสูงอานาโตเลียเคยเป็นที่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคหิน ยุคประวัติศาสตร์ของอานาโตเลียเริ่มต้นขึ้นในยุคโลหะ ประมาณ 3,000 - 1,200 ก่อนคริสตกาล หากมองย้อนหลังไปในยุคดังกล่าวกลับมาจนถึงยุคปัจจุบันจะพบว่าอานาโตเลียมีลักษณะพิเศษที่ไม่เหมือนดินแดนอื่นใดในโลกคือ เป็นดินแดนที่มีอารยธรรมที่เก่าแก่และหลากหลายของชนหลายกลุ่มซึ่งได้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองดินแดนแห่งนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติศาสตร์อานาโตเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อิสราเอล

ประวัติศาสตร์อิสราเอล เป็นเรื่องราวการตั้งประเทศของชาวยิวหรือชาวฮีบรูซึ่งเริ่มต้นจากการอพยพของอับราฮัมในพันธสัญญาเดิม การตกไปเป็นทาสในอียิปต์ การอพยพของโมเสสมาสู่ดินแดนพันธสัญญา การตั้งอาณาจักรของชาวยิว จนถูกยึดครองโดยเปอร์เซีย กรีก และโรมัน การแพร่กระจายของชาวยิวไปทั่วโลก ในที่สุดขบวนการไซออนนิสต์ได้ฟื้นฟูภาษาฮีบรูเป็นภาษาพูด และก่อตั้งประเทศอิสราเอลในดินแดนปาเลสไตน์ได้สำเร็จหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติศาสตร์อิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โรม

ผังกรุงโรมอย่างง่ายในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ประวัติศาสตร์โรม กินระยะเวลากว่า 2,700 ปีของการมีนครซึ่งเติบโตขึ้นจากหมู่บ้านละตินเล็ก ๆ ในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล มาเป็นศูนย์กลางอารยธรรมไพศาลอันครอบงำภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนหลายศตวรรษ ประชากรของนครลดลงในช่วงปลายจักรวรรดิโรมันหลังโรมมิได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิอีกต่อไป และยังน้อยกว่าที่เคยในอดีตกระทั่งโรมเป็นเมืองหลวงของประเทศอิตาลีที่กลับมารวมชาติอีกครั้งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งรับประกันความอยู่รอดของวัตถุโรมันโบราณที่สำคัญยิ่งที่ยังเหลืออยู่ใจกลางนคร บ้างถูกทิ้งและบ้างยังใช้มาถึงปัจจุบัน หลายศตวรรษระหว่างนั้น สมเด็จพระสันตะปาปาเป็นผู้ปกครองนครและโรมกลายมาเป็นเมืองหลวงของรัฐสันตะปาปา ซึ่งเติบโตรวมบริเวณกวางของอิตาลีตอนกลาง แม้จะไม่ค่อยเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แต่โรมยังเป็นศูนย์กลางของการจาริกแสวงบุญและการท่องเที่ยวด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติศาสตร์โรม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาคริสต์

ระวิหารศักดิ์สิทธิ์ของศาสนายูดาห์ เป็นจุดเริ่มต้นของศาสนาคริสต์และเป็นศาสนสถานที่สำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม ซึ่งตั้งอยู่บนเขาพระวิหาร (Temple Mount) ในกรุงเยรูซาเลม (ภาพถ่ายจากฝั่งตะวันออกเฉียงใต้) ปี ค.ศ.600 ศาสนาคริสต์เกิดขึ้นบริเวณดินแดนเลแวนต์ ซึ่งปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์ ในช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 1 ศาสนาคริสต์ได้เริ่มเผยแผ่ครั้งแรกจากกรุงเยรูซาเลม ตลอดจนดินแดนตะวันออกกลาง เช่น ประเทศซีเรีย อัสซีเรีย เมโสโปเตเมีย ฟินิเชีย อานาโตเลีย ประเทศจอร์แดน และประเทศอียิปต์ ในช่วงคริสศตวรรษที่ 4 ศาสนาคริสต์ได้รับเลือกให้เป็นศาสนาประจำชาติโดยราชวงศ์อาร์เมเนียในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประวัติศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มอนเตเนโกรก็ได้ประกาศเอกราชในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มอนเตเนโกรได้รับการกำหนดให้เป็น "รัฐประชาธิปไตย สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1883

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1883 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1883 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1889

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1889 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1889 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1895

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1895 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1895 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1901

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1901 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1901 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1907

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1907 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1907 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1912

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1920

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1920 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1924

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1925

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1925 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1925 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1926

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1926 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1926 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1929

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1929 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1929 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1932

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1936

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1936 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1936 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1942

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1942 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1942 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1945

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1945 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1945 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1948

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1950

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1950 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1950 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1956

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1957

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1957 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1957 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1976 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1979

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1979 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1979 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1980

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1984 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1987

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1987 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1987 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1990

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1990 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1995

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1995 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1999

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1999 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2000 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2005

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2005 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2005 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2011

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2011 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2015

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 ในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2015 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิก

ประเทศอียิปต์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก อียิปต์ หมวดหมู่:ประเทศอียิปต์.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศอียิปต์ในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์แดน

ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan; المملكة الأردنية الهاشمية) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (Jordan; الأردن Al-Urdunn อัลอุรดุน) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอริเทรีย

อริเทรีย (Eritrea; ตึกรึญญา:; إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (State of Eritrea; ตึกรึญญา:; دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมาร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอธิโอเปีย

อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ. 2479 ซึ่งกองทัพอิตาลีในสมัยของเบนิโต มุสโสลินีได้เข้ายึดครองประเทศนี้ อังกฤษและเอธิโอเปียปราบกองทัพอิตาลีในพ.ศ. 2484 แต่เอธิโอเปียไม่ได้รับเอกราชใหม่จนถึงการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับเอธิโอเปีย (Anglo-Ethiopian Agreement) เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2487.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และประเทศเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

ปริมณฑลสาธารณะ

ปริมณฑลสาธารณะ (Public Sphere) หมายถึง พื้นที่ที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปพบปะพูดคุยกันในประเด็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสาธารณะ หรือ ประเด็นสาธารณะ (Habermas, 1989).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปริมณฑลสาธารณะ · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ (The 39 Clues) เป็นวรรณกรรมแนวผจญภัยที่ผสมผสานกับเกมออนไลน์และการสะสมการ์ด ในสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอลาสทิก ส่วนฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เนมแอนด์โนเบิล ในเครือบันลือกรุ๊ป ซึ่งเป็นเครือเดียวกับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เป็นวรรณกรรมชุดที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน โดยมีริก ไรออร์แดน (ผู้เขียน เพอร์ซีย์ แจ็กสัน) เป็นผู้เขียนเล่มแรก หนังสือฉบับภาษาไทยตีพิมพ์มาแล้วทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย ผจญค่ายกลกระดูก, หนึ่งโน้ตมรณะ, จอมโจรจอมดาบ, ความลับสุสานฟาโรห์, วงล้อมทมิฬ, ปฏิบัติการทะเลใต้, บุกรังอสรพิษ, รหัสลับจักรพรรดิโลกไม่ลืม, ฝ่าพายุแคริบเบียน และมหันตภัยปลายทาง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปริศนาสมบัติอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ปริสกุส

ปริสกุส (Priscus) เป็นนักการทูต, นักวาทศิลป์, นักโซฟิสต์ และนักประวัติศาสตร์ชาวโรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ปริสกุสเดินทางติดตามมักซิมินุผู้เป็นทูตของจักรพรรดิธีโอโดเซียสที่ 2 ไปยังราชสำนักของอัตติลาในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปริสกุส · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง

ปลากระเบนชายธง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) ปลากระเบนชนิดหนึ่ง ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเลได้ อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเป็นทรงกึ่งสี่เหลี่ยมดูคล้ายชายธง จึงเป็นที่มาของชื่อ โดยความกว้างของลำตัวจะมีมากกว่าความยาวของลำตัวเสียอีก เมื่อมีขนาดเล็กผิวด้านบนจะเรียบ และผิวนี้จะขรุขระขึ้นตามอายุที่มากขึ้น โดยมีตุ่มแข็งเล็ก ๆ ปกคลุมบริเวณกลางลำตัวจนถึงโคนหาง ตามีขนาดเล็ก หางยาว ปลายหางมีแผ่นริ้วหนังเห็นได้ชัดเจน มีเงี่ยงพิษ 2 ชิ้นที่ตอนกลางของส่วนหาง สีลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลคล้ำ มีความกว้างโดยเฉลี่ยทั่วไปประมาณ 1 เมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร และยาว 1.8 เมตร น้ำหนักกว่า 250 กิโลกรัม มีจุดเด่นคือ หางที่ยาวมาก โดยที่ความยาวของหางมีมากกว่าความยาวลำตัวถึง 2.5–3 เท่า ซึ่งเมื่อถูกจับ มักจะสะบัดหางด้วยความรุนแรงและเร็วเพื่อแทงเงี่ยงหางเพื่อป้องกันตัว เนื่องจากมีเงี่ยงที่อยู่ตอนกลางของส่วนหางด้วย จึงนับได้ว่ามีอันตรายกว่าปลากระเบนสกุลหรือชนิดอื่นทั่วไป ที่มีเงี่ยงอยู่ที่ส่วนโคนหาง พบกระจายพันธุ์บริเวณชายฝั่งทะเล หรือปากแม่น้ำอย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทวีปแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือ เช่น อียิปต์ และแอฟริกาใต้ เรื่อยไปจนถึงทะเลแดง, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงภูมิภาคไมโครนีเซีย และ ออสเตรเลีย รวมถึงญี่ปุ่น โดยมีรายงานพบที่แม่น้ำคงคา ประเทศอินเดีย ที่ห่างจากทะเลถึง 2,200 กิโลเมตร รวมถึงมีรายงานการพบตัวที่มีน้ำหนัก 50 กิโลกรัมที่คลองรังสิต จังหวัดปทุมธานี ของประเทศไทย แต่พฤติกรรมในทะเลจะอาศัยอยู่ได้ลึกถึง 60 เมตร สำหรับในประเทศไทย พบได้ในแหล่งน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, แม่น้ำบางปะกง และแม่น้ำแม่กลองช่วงจังหวัดกาญจนบุรี และพบได้น้อยที่ทะเลสาบสงขลาตอนใน ในเขตจังหวัดพัทลุงและสงขลา มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ คือ ใช้เนื้อเป็นอาหารในต่างประเทศ และใช้หนังทำเป็นเครื่องหนัง เช่น กระเป๋า เป็นต้น และยังเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาป้อนอาหารให้ที่ชายหาดแถบทะเลแคริบเบียนด้วย เดิมปลากระเบนชายธงเคยถูกจำแนกให้มีเพียงชนิดเดียว แต่ปัจจุบันจากการศึกษาล่าสุดได้ถูกจำแนกออกเป็นถึง 5 ชนิด และในชนิด P. sephen นี้ เป็นปลาที่พบในแถบทะเลแดงและทะเลอาหรับหน้า 102-120, กระเบนน้ำจืดแห่งชาต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปลากระเบนชายธง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงแม่น้ำไนล์

ปลากะพงแม่น้ำไนล์ (Nile perch, African snook) หรือชื่อในภาษาพื้นเมืองว่า อิมพิวทา (Imputa) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) มีรูปร่างคล้ายปลากะพงขาว (L. calcarifer) ซึ่งเป็นปลาอยู่ในวงศ์เดียวกัน สกุลเดียวกัน ต่างกันที่ปลากะพงแม่น้ำไนล์มีครีบหลังที่ยกสูงกว่า และมีขนาดตัวเมื่อโตเต็มที่ได้ใหญ่กว่ามาก โดยยาวได้ถึง 2 เมตร หนักได้ถึง 200 กิโลกรัม หนักสุดพบ 230 กิโลกรัม จัดเป็นปลาที่มีความใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ อาศัยอยู่ในแม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกา พบในอียิปต์, ชาด, เซเนกัล, คองโก, เคนยา เป็นต้น นิยมตกเป็นเกมกีฬา โดยถูกจัดให้เป็นปลาที่สามารถตกด้วยเบ็ดได้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใช้เนื้อบริโภคเป็นอาหารขึ้นชื่อในท้องถิ่น และส่งออกต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ด้วยความใหญ่ในรูปร่าง ในแง่ของปัญหาสิ่งแวดล้อม ปลากะพงแม่น้ำไนล์ถือเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่คุกคามสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ ในทะเลสาบแทนกันยีกาและทะเลสาบวิกตอเรีย โดยเพาะอย่าง ปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เพราะเป็นปลาขนาดใหญ่ที่กินปลาและสัตว์น้ำชนิดอื่นที่เล็กกว่าเป็นอาหาร และกินเป็นจำนวนมาก จึงเป็นต้นเหตุที่ทำให้หลายชนิดต้องอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ เพราะปลากะพงแม่น้ำไนล์มิได้เป็นปลาพื้นถิ่นของทะเลสาบทั้งสองแห่งนี้ แต่ทว่าถูกนำไปปล่อยโดยเมื่อทศวรรษที่ 50.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปลากะพงแม่น้ำไนล์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาแอฟริกา

ปลาอะโรวานาแอฟริกา หรือ ปลาตะพัดแอฟริกา (African arowana, Nile arowana, African bonytongue) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาอะราไพม่า (Arapaimidae) ซึ่งมีเพียงชนิดเดียวในสกุล Heterotis นี้ (ในข้อมูลเก่าจะระบุให้อยู่ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae)) ปลาอะโรวานาแอฟริกา มีลักษณะส่วนหัวค่อนข้างกลมหนาและสั้น ตาโต ปากเล็ก ริมฝีปากหนา ไม่มีหนวด ลำตัวกลมและแบนข้างที่หาง สีลำตัวสีน้ำตาลอมเขียวและดำ โดยสีสันนี้สามารถแปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม บริเวณส่วนท้องซีดจาง ครีบและหางค่อนข้างเล็กและสีเดียวกับลำตัว เกล็ดมีขนาดเล็ก เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมี 32–38 เกล็ด โดยเส้นข้างลำตัวเริ่มจากจุดเหนือแผ่นปิดเหงือกไปจรดที่จุดกึ่งกลางของโคนหาง ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร อีกทั้งยังกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ และยังสามารถกินแพลงก์ตอนเป็นอาหารได้อีกด้วย โดยการผ่านการกรองที่ช่องเหงือก โดยจะหากินทุกระดับน้ำ อีกทั้งยังสามารถฮุบอากาศหายใจโดยตรงได้ด้วย แพร่พันธุ์ด้วยการสานรัง โดยพ่อแม่ปลาจะคาบไม้น้ำประเภทกกมาวางซ้อนสานกันเป็นวงกลมคล้ายตะกร้าลอยอยู่ผิวน้ำ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 ฟุต ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัว 2 วัน ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 มิลลิเมตร แพร่กระจายอยู่บริเวณแม่น้ำไนล์ในแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันตก แถบประเทศอียิปต์, เซเนกัล, ซาอีร์ เป็นต้น เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองใช้เป็นอาหาร และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แม้จะไม่มีสีสันสวยงามเลยก็ตาม ซึ่งในสถานที่เลี้ยง ปลาอะโรวานาแอฟริกาไม่มีนิสัยก้าวร้าวเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน หนังสือ (แอบ)คุยเรื่องปลาตู้ โครงการ 2: ปลาอโรตัวเป็นวาน่าเลี้ยง โดย Nanconnection (ตุลาคม, พ.ศ. 2546) ISBN 974-534-865-1.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปลาอะโรวานาแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าจมูกแหลม

ปลาปักเป้าจมูกแหลม หรือ ปลาปักเป้าหนู (Sharpnose puffer, Toby) เป็นสกุลของปลาปักเป้าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Canthigaster (/แคน-ทิ-แกส-เตอร์/) จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลักษณะสำคัญ คือ มีลำตัวแบนข้าง จะงอยปากยาวกว่าปลาปักเป้าสกุลอื่น ปากเล็กแหลมยื่นยาว ช่องเปิดเหงือกแคบ คอดหางแผ่แบนออกเป็นแผ่นกว้าง ลำตัวมีหนามขนาดเล็ก ไม่มีเส้นข้างตัว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปลาปักเป้าจมูกแหลม · ดูเพิ่มเติม »

ปอนด์อียิปต์

ปอนด์อียิปต์ เป็นสกุลเงินของประเทศอียิปต์ มีอัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 5.66 ปอนด์อียิปต์ ต่อ 1 ดอลลาร์สหรั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปอนด์อียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัสคา

อาหารที่ชาวยิวรับประทานในเทศกาลปัสกา ปัสคา หรือ ปัสกา (פֶּסַח, Pesach; Passover - แปลว่า ผ่านเว้น) เป็นเทศกาลที่ชาวยิวระลึกถึงการที่พระยาห์เวห์ทรงนำพวกเขาออกจากการเป็นทาสในอียิปต์ ในช่วงประมาณ 1,500 ปีก่อนคริสตกาล โดยในคืนก่อนที่ฟาโรห์จะยอมปล่อยวงศ์วานอิสราเอลให้ออกเดินทาง พระยาห์เวห์ทรงสำแดงปาฏิหาริย์ให้เกิดภัยพิบัติประการที่ 10 หลังจากที่ฟาโรห์ปฏิเสธที่ปล่อยพวกอิสราเอล ตามคำบัญชาของพระเจ้ามาแล้ว 9 ครั้ง ภัยพิบัติประการที่ 10 คือ ทูตมรณะจะเข้าไปในทุกครัวเรือนของชาวอียิปต์ เพื่อปลิดชีพของบุตรหัวปีของทุกครอบครัว ยกเว้นแต่ครอบครัวที่เชื่อฟังพระยาห์เวห์ โดยการนำเอาโลหิตของลูกแกะปัสคา มาทาไว้ที่ประตูบ้านของตน บ้านใดได้กระทำตามที่พระยาห์เวห์ทรงบัญชา ทูตมรณะก็จะไม่เข้าไปในบ้าน แต่จะ "ผ่านไป" (ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ Passover) และบุตรหัวปีของครอบครัวนั้นก็จะรอดต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปัสคา · ดูเพิ่มเติม »

ปูนปลาสเตอร์

ปูนปลาสเตอร์ (Plaster หรือ Plaster of Paris) คือปูนที่ใช้ทำประโยชน์หลายอย่างเช่น วัสดุก่อสร้าง และได้มีการค้นพบมากว่า 9,000 ปีแล้ว โดยได้มีการค้นพบที่คาบสมุทรอนาโตเลียและซีเรีย แต่ที่เรารู้จักกันดีก็คือการนำมาเป็นวัสดุก่อสร้างในการทำพีระมิดของชาวอียิปต์ เมื่อประมาณ 5,000 ปี โดยมีการบันทึกถึงขั้นตอนการผลิต (นำ gypsum มาเผาแล้วบดให้เป็นผง และนำไปผสมกับน้ำเมื่อต้องการใช้งาน) ใช้เป็นวัสดุเชื่อมต่อระหว่างก้อนหินแต่ละก้อนในการสร้างพีระมิด และได้ถูกใช้งานมาเรื่อยๆ ตามหน้าประวัติศาสตร์อันยาวนานของวงการก่อสร้าง จนกระทั่งในช่วงศตวรรษที่ 20 ปูนปลาสเตอร์เริ่มที่จะนำมาใช้อย่างกว้างขวางนอกอุตสาหกรรมก่อสร้าง อาทิเช่น การนำมาใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิก (สุขภัณฑ์, เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร, เครื่องประดับ), ในวงการทันตกรรม, การหล่อโลหะ, เครื่องประดับ, เครื่องมือการแพทย์, เครื่องสำอางและอีกหลายๆ คุณสมบัติหลักที่ทำให้นิยมใช้งานก็คือความสามารถที่จะแข็งตัวได้รูปตามแม่พิมพ์ที่ใช้ โดยที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ปูนปลาสเตอร์ หรือที่เรียกทางเคมีว่า Calcium sulfate hemihydrates ได้มาจากการนำแร่ยิบซั่ม (Gypsum) ซึ่งมีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติมาให้ความร้อน (ประมาณ 150 °C) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีดังสมการ และเมื่อนำไปผสมน้ำเพื่อใช้งานก็จะเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับดังนี้ โดยจะปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของพลังงานความร้อน ในกระบวนการผลิตปูนปลาสเตอร์ จะได้ปูนปลาสเตอร์ออกมา 2 ชนิดคือ Beta (&beta) plaster และ Alpha (&alpha) plaster ซึ่งจะให้คุณสมบัติที่แตกต่างกันไปทั้งในเรื่องของความแข็งแรง และการดูดซึม/คายน้ำของตัวปูนปลาสเตอร์เอง ในการผลิตเพื่อออกมาจำหน่าย ทางผู้ผลิตเองจะมีการผสมระหว่างปูนทั้งสองชนิดนี้ในอัตราส่วนต่างๆ กัน รวมถึงอาจมีสารเคมีบางอย่างผสมรวมไปด้วยเพื่อให้ได้ปูนปลาสเตอร์ที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการใช้งานแต่ละชนิด อาทิเช่น ปูนปลาสเตอร์สำหรับการทำ Case mould จะต้องมีการแข็งแรง ทนต่อการขยายตัวได้ดี และไม่ต้องการคุณสมบัติในการดูด/คายน้ำ ปูนปลาสเตอร์สำหรับทำแม่พิมพ์งานหล่อน้ำดิน ต้องการคุณสมบัติที่ดีของการดูด/คายน้ำ แต่ไม่ต้องการเรื่องความแข็งแรงมากนัก และ ปูนปลาสเตอร์สำหรับทำแม่พิมพ์งาน Ram press ต้องการความทนทางต่อแรงอัดสูง เป็นต้น หมวดหมู่:สารประกอบแคลเซียม หมวดหมู่:วัสดุก่อสร้าง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และปูนปลาสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเต็นน้อยธรรมดา

นกกระเต็นน้อยธรรมดา (Common kingfisher) เป็นนกกระเต็นชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย จัดอยู่ในวงศ์นกกระเต็นน้อย (Alcedinidae) และมีขนาดที่ค่อนข้างเล็กและน่ารัก มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 16–18 เซนติเมตร เมื่อเทียบกับนกกระเต็นชนิดอื่น ๆ แต่จะแตกต่างกันที่ตัวเมียมีโคนปากล่างและอาจทั้งปากล่างเป็นสีส้มแดงขณะที่ตัวผู้มีปากสีดำสนิท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนกกระเต็นน้อยธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

นกอินทรีทอง

นกอินทรีทอง (golden eagle) คือหนึ่งในนกล่าเหยื่อที่เป็นที่รู้จักในซีกโลกเหนือ นกชนิดนี้เป็นสายพันธุ์อินทรีที่กระจายตัวกว้างขว้างที่สุดในโลก เหมือนกับนกอินทรีทั่วไปที่อยู่ในวงศ์เหยี่ยวและอินทรี นกอินทรีทองมีขนสีน้ำตาลเข้มและมีขนสีน้ำตาลทองที่อ่อนกว่าบริเวณต้นคอ นกอินทรีที่ยังไม่โตเต็มตัวโดยปกติจะมีสีขาวที่หาง และบ่อยครั้งมีขนสีขาวที่ปีก โดยปกติแล้วนกอินทรีทองใช้ความสามารถของมันและความเร็วในการรวมเท้าที่ทรงพลังและกรงเล็บที่แหลมคมในการจับเหยื่อที่หลากหลาย เหยื่อหลักๆ ของมันคือ กระต่ายแจ็ก กระต่าย มาร์มอท และกระรอกดินอื่นๆ นกอินทรีทองรักษาขอบเขตที่อยู่หรือดินแดนของมันซึ่งกว้างขวางประมาณ 200 ตารางกิโลเมตร (77 ตารางไมล์) พวกมันสร้างรังนกขนาดใหญ่ในพื้นที่สูง (หน้าผาเป็นหลัก) ซึ่งมันอาจจะกลับมาในปีที่มีการผสมพันธุ์ กิจกรรมผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในฤดูใบไม้ผลิ พวกมันมีคู่ครองเพียงตัวเดียวและอาจจะยังคงอยู่ด้วยเป็นเวลาหลายปีหรือตลอดชีวิต ตัวเมียวางไข่ 4 ฟอง และใช้เวลาฝักไข่ 6 อาทิตย์ โดยปกติแล้วลูกนกหนึ่งหรือสองตัวเท่านั้นที่จะรอดชีวิตและถูกเลี้ยงจนกระทั่งบินได้ในเวลา 3 เดือน นกอินทรีทองวัยรุ่นเข้าสู่อิสรภาพอย่างเต็มตัวในฤดูใบไม้ร่วง หลังจากนั้นพวกมันจะบินเร่ร่อนอย่างกว้างขวางจนกระทั่งมีการสร้างเขตแดนสำหรับตัวมันเองใน 4 ถึง 5 ปี ครั้งหนึ่งนกอินทรีทองเคยอยู่อย่างแพร่หลายทั่วซีกโลกเหนือ แต่พวกมันได้หายไปจากหลายๆ พื้นที่ซึ่งมนุษย์ได้เข้ามาอาศัยอยู่ แม้ว่ามีการทำลายล้างในบางขอบเขตที่อยู่ของมัน หลายๆ สายพันธุ์ยังคงพบได้ทั่วไปพอสมควร ในปัจจุบันมีการขยายออกที่กว้างขวางในทวีปยูเรเชีย อเมริกาเหนือ และในส่วนของแอฟริกาเหนือ พวกมันคือนกอินทรีที่มีประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดและใหญ่ที่สุดใน 5 สายพันธุ์ของวงศ์เหยี่ยวและอินทรี ที่ปรากฏทั้งในเขตชีวภาพพาลีอาร์กติก และเขตชีวภาพนีอาร์กติก (อเมริกาเหนือ) นกอินทรีทองยังเป็นนกประจำชาติของประเทศเม็กซิโกอย่างเป็นทางการ และประเทศอียิปต์อย่างไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ยังเป็นสัตว์ประจำชาติอีก 2 ประเทศคือ แอลเบเนีย และเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนกอินทรีทอง · ดูเพิ่มเติม »

นะญีบ มะห์ฟูซ

นะญีบ มะห์ฟูซ หรือ นะกีบ มะห์ฟูซ (نجيب محفوظ; 11 ธันวาคม ค.ศ. 1911 - 30 สิงหาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักเขียนชาวอียิปต์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนะญีบ มะห์ฟูซ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอันนา

นักบุญอันนา (Anna อันนา; חַנָּה ฮันนาห์) สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าดาวิด และเป็นมารดาของมารีย์ (มารดาพระเยซู) ชื่ออันนาเป็นภาษาละตินมาจากภาษาฮีบรู “Hannah” พระวรสารนักบุญยากอบระบุว่านักบุญอันนาและนักบุญโยอาคิมผู้เป็นสามีไม่มีลูกจนเมื่ออายุมาก วันหนึ่งก็มีทูตสวรรค์มาปรากฏตัวแล้วบอกว่าอันนาและโยอาคิมจะมีลูก นักบุญอันนาก็สัญญาว่าจะยกลูกให้ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า กล่าวกันว่านักบุญอันนาและโยอาคิมยกมารีย์ให้พระเจ้าที่พระวิหารในกรุงเยรูซาเลมที่สองเมื่อมารีย์อายุได้สามขวบ นักบุญอันนาเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สตรีใกล้คลอด และคนทำเหมือง เรื่องนี้คล้ายคลึงกับการเกิดของซามูเอลซึ่งฮันนาห์แม่ของซามูเอลก็เป็นหมันมาก่อน แต่ลัทธิบูชานักบุญอันนามิได้เป็นที่นิยมเท่าใดในคริสตจักรโรมันคาทอลิกก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 12 แต่การกล่าวถึงนักบุญอันนาในคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์มึมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 ตามความเชื่อของออร์ทอดอกซ์นักบุญอันนาเป็นบรรพชนของพระเจ้า (“Forbear of God”) เพราะเป็นมารดาพระแม่มารีย์ผู้ให้กำเนิดพระเยซูต่อมา และเป็นผู้อุทิศมารีย์ให้กับพระเจ้า ทางตะวันตกรูปเคารพของนักบุญอันนาจะเป็นผู้แต่งกายด้วยเสื้อคลุมแดงและหมวกเสื้อคลุมสีเขียว หรือเป็นรูปร่วมกับแม่พระและพระกุมารเช่นรูป “พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา” ที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ราวปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนักบุญอันนา · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญโยเซฟ

ซฟ (יוֹסֵף Yosef) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญยอแซฟ เป็นนักบุญในศาสนาคริสต์ เกิดเมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 1 และเสียชีวิตในคริสต์ศตวรรษเดียวกัน ที่เมืองนาซาเร็ธในประเทศอิสราเอลปัจจุบัน นักบุญโยเซฟสืบสายมาจากตระกูลกษัตริย์ดาวิด คัมภีร์พันธสัญญาใหม่ระบุว่าเป็นสามีของนางมารีย์ (มารดาพระเยซู) นักบุญโยเซฟมิใช่บิดาตามเชึ้อสายของพระเยซูแต่ก็ถือกันว่าเป็นบิดาบุญธรรมและเป็นหัวหน้าของ “ครอบครัวศักดิ์สิทธิ์” หรือ “ครอบครัวพระเยซู” (Holy Family) เชี้อสายตามหลักฐานของพระวรสารนักบุญมัทธิว กล่าวว่าพ่อของนักบุญโยเซฟชื่อยาโคบ แต่ตามหลักฐานของพระวรสารนักบุญลูกา กล่าวว่าพ่อของนักบุญโยเซฟชื่อเฮลี พระวรสารในสารบบไม่ได้ระบุวันและสถานที่เกิดและตายของโยเซฟ เท่าที่ทราบโยเซฟอยู่ที่เมืองนาซาเรธ ใน กาลิลี อยู่ที่เบธเลเฮม ในแคว้นยูเดียเป็นเวลาอีกสองปี และถูกบังคับให้ไปลี้ภัยไปอยู่อียิปต์อีกระยะหนึ่ง แม้ว่า “พระวรสารสหทรรศน์” จะไม่ได้กล่าวถึงอายุของโยเซฟแต่จากเอกสารอื่น ๆ โยเซฟเป็นพ่อหม้ายลูกติดเมื่อแต่งงานกับมารีย์ และมารีย์เป็นหม้ายเมื่อพระเยซูออกเทศนาและเมื่อพระเยซูทรงรับพระทรมาน ฉะนั้นจึงสันนิษฐานว่าโยเซฟเสียชีวิตก่อนที่พระเยซูสิ้นพระชนม์ อาชีพของโยเซฟตามที่บรรยายในพระวรสารว่าเป็น τεκτων, ภาษากรีกหมายถึงช่างแต่ในศาสนาคริสต์ถือกันว่าโยเซฟเป็นผู้ทำงานกับไม้หรือช่างไม้ แต่ในภาษาอังกฤษปัจจุบันใช้คำว่า “joiner” หรือ “cabinet-maker” หรือช่างทำเฟอร์นิเจอร์ซึ่งเหมาะกับความหมายในภาษากรีกมากกว่า นอกจากนั้นแล้วพระวรสารก็มิได้กล่าวถึงโยเซฟ และไม่มีบทพูด มิได้บอกสถานที่เกิดและสถานที่เสียชีวิต และเวลาต่างที่เกี่ยวกับโยเซฟก็แตกต่างกัน บางครั้งก็จะกล่าวว่าอายุมากกว่ามารีมาก และบางครั้งก็เพียงไม่กี่ปี บางวรสารกล่าวว่าโยเซฟเป็นพ่อหม้ายลูกติดเมื่อแต่งงานกับมารีย์ ในพระวรสารกล่าวถึงโยเซฟเมื่อพระเยซูไปเยรูซาเลมเมื่ออายุสิบสองปี แต่ไม่มีอะไรที่กล่าวถึงโยเซฟหลังจากนั้น เอกสารเกี่ยวกับเวลาเสียชีวิตไม่ชัดเจนแต่เมื่อพระเยซูออกเทศนามารีย์ก็เป็นหม้ายแล้ว ในนิกายโรมันคาทอลิกถือว่านักบุญโยเซฟเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์กรรกรและมีวันสมโภชหลายวัน และในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนักบุญโยเซฟ · ดูเพิ่มเติม »

นักปราชญ์แห่งคริสตจักร

นักบุญอีซีโดโรแห่งเซบียา กับหนังสือซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่นิยมกันในการแสดงรูปของนักปราชญ์แห่งคริสตจักร นักปราชญ์แห่งคริสตจักร (Doctor of the Church; Doctor Ecclesiae) (คำว่า “docere” หรือ “doctor” ในภาษาละตินหมายถึง “สอน”) เป็นตำแหน่งที่คริสตจักรแต่งตั้งให้ผู้ที่มีความสำคัญด้านคำสอนหรือเทววิทยาศาสนาคริสต์เป็นพิเศษ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนักปราชญ์แห่งคริสตจักร · ดูเพิ่มเติม »

นารีมาน ศอดิก

นารีมาน ศอดิก (อาหรับ:ناريمان صادق Nārīmān Sādiq, ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1933 —สวรรคต 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) เป็นธิดาของนายฮุสเซน ฟาห์มี ศอดิก เบย์ และนางอาซีลา คามิล โดยนารีมานเป็นพระมเหสีองค์ที่สองของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนารีมาน ศอดิก · ดูเพิ่มเติม »

นาธาน โอร์มาน

นาธาน โอร์มาน หรือในบางครั้งอาจเขียนว่า นาธาน โอมานเป็นชื่อที่ใช้ในหนังสืออัตชีวประวัติเรื่อง ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) (อักษรโรมัน: Nathan Oman) มีชื่อจริงว่า สุธัญ โอมานันท์ เคยใช้ชื่อจริงว่า นธัญ โอมานันท์ (ชื่อเกิด: ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล; เกิด: 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลงกับค่ายอาร์เอส 2 ชุดคือ Nathan และ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนาธาน โอร์มาน · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1987

นางงามจักรวาล 1987 (Miss Universe 1987) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 36 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 1987 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1991

นางงามจักรวาล 1991 (Miss Universe 1991) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 40 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 1991 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1992

นางงามจักรวาล 1992 (Miss Universe 1992) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 41 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 1992 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1993

นางงามจักรวาล 1993 (Miss Universe 1993) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 42 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 1993 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1994

นางงามจักรวาล 1994 (Miss Universe 1994) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 43 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 1994 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2012

นางงามจักรวาล 2012 (Miss Universe 2012) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 61 จัดขึ้นในวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 2012 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2014

นางงามจักรวาล 2014 (Miss Universe 2014) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 63 กำหนดจัดวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2015

นางงามจักรวาล 2015 (Miss Universe 2015) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 64 กำหนดจัดวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2017

นที่จัดประกวดนางงามจักรวาล 2017 นางงามจักรวาล 2017 (Miss Universe 2017) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 66 กำหนดจัดในวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017 ณ ดิแอซิส ภายในพื้นที่แพลเน็ตฮอลลีวูดรีสอร์ทแอนด์คาสิโน ลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรัฐ โดยอีริส มีเตอนาร์ นางงามจักรวาล 2016 ชาวฝรั่งเศส ได้สวมมงกุฎแก่เดมี-ลีห์ เนล-ปีเตอร์ จากแอฟริกาใต้ เป็นผู้ครองตำแหน่งคนใหม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามจักรวาล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามนานาชาติ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2015

นางงามนานาชาติ 2015, ครั้งที่ 55 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนางงามนานาชาติ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นิวเบีย

ูมิภาคนิวเบียปัจจุบัน นิวเบีย หรือ นูเบีย (Nubia) เป็นภูมิภาคตามแม่น้ำไนล์ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศซูดานตอนเหนือและประเทศอียิปต์ตอนใต้ เป็นอารยธรรมแรก ๆ ในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือโบราณ โดยสามารถสืบย้อนประวัติศาสตร์มาแต่ 2,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชเป็นต้นมา (ผ่านสิ่งก่อสร้างและสิ่งประดิษฐ์นิวเบีย ตลอดจนบันทึกลายลักษณ์จากอียิปต์และโรม) และเป็นที่ตั้งของจักรวรรดิแห่งหนึ่งของแอฟริกา มีราชอาณาจักรนิวเบียขนาดใหญ่จำนวนหนึ่งตลอดสมัยหลังคลาสสิก ราชอาณาจักรแห่งสุดท้ายล่มสลายใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนิวเบีย · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นูน

นูน (Nun) เป็นอักษรตัวที่ 14 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูנ‎ และอักษรอาหรับ ﻥ‎ และเป็นอักษรตัวที่สามของอักษรทานะ (ނ)- มีชื่อว่านูนุ แทนด้วยสัทอักษร: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Ν), อักษรอีทรัสคัน ̍, อักษรละติน N, และอักษรซีริลลิก Н คาดว่านุนมาจากอักษรภาพรูปงู (คำว่างูในภาษาฮีบรู, nachash เริ่มด้วยนุน และคำว่างูในภาษาอราเมอิกคือ nun) หรือปลาไหล แต่บางกลุ่มเชื่อว่ามาจากไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์รูปปลาในน้ำ (ในภาษาอาหรับ, nūn หมายถึงปลาหรือวาฬ).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนูน · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

นีโครโนมิคอน

นีโครโนมิคอนจำลอง นีโครโนมิคอน (อักษรละติน: Necronomicon)เป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และถูกหยิบยืมไปอ้างถึงโดยนักประพันธ์อื่นๆ โดยปรากฏครั้งแรกในเรื่องสั้น The Hound ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2467 แต่หนึ่งปีก่อนหน้านั้น เลิฟคราฟท์ก็ได้อ้างคำพูดของตัวละคร อับดุล อัลฮาเซรด ซึ่งเป็นผู้แต่งนีโครโนมิคอนไว้แล้วในเรื่อง The Nameless City เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้นั้นมีเรื่องราวของเกรทโอลด์วันและพิธีกรรมที่ใช้อัญเชิญอยู่ด้วย นักประพันธ์คนอื่นๆ เช่นออกัสต์ เดอเลธและคลาก แอชตัน สมิทได้ยืมเอานีโครโนมิคอนไปอ้างถึงในงานเขียนของตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากเลิฟคราฟท์ซึ่งคิดว่าการยกมาใช้ร่วมกันนี้จะทำให้บรรยากาศของเรื่องสมจริงยิ่งขึ้น ทำให้มีผู้อ่านจำนวนมากเข้าใจผิดว่าหนังสือเล่มนี้มีจริง มีการสั่งซื้อหรือขอนีโครโนมิคอนผ่านทางผู้ขายหนังสือและบรรณารักษ์เป็นจำนวนมาก บางครั้งก็มีการแกล้งใส่ชื่อนีโครโนมิคอนไว้ในรายการหนังสือหายาก และเคยมีนักศึกษาแอบใส่บัตรของนีโครโนมิคอนไว้ในบัตรห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเยล หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว สำนักพิมพ์ต่างๆก็ได้ตีพิมพ์หนังสือโดยใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอนเป็นจำนวนมาก หนังสือรวมงานศิลป์เล่มแรกของเอช อาร์ กีเกอร์ก็ใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนีโครโนมิคอน · ดูเพิ่มเติม »

นน บุญจำนงค์

นน บุญจำนงค์ เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทย ติดทีมชาติครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2539 และเป็นน้องชายร่วมสายโลหิตของ มนัส บุญจำนงค์ และถือว่าเป็นลูกหม้อของมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยคนหนึ่ง มีจุดเริ่มในการเข้าสู่ทีมชาติคล้ายพี่ชายคือเข้ามาอยู่ในแคมป์ทีมชาติตั้งแต่เด็ก ก่อนจะพัฒนาฝีมือจนกระทั่งติดทีมชาติชุดใหญ่ นน เป็นมวยที่มีหน่วยก้าน และลำหักลำโค่นที่ดี อาวุธครบเครื่องทั้งความรวดเร็วและหนักหน่วง อย่างไรก็ตาม บางครั้ง นน ก็มักเจอปัญหาในเวลาที่เจอคู่ต่อสู้ที่มีความหนักหน่วงและปักหลักแลกหมัดด้วยเหมือนกัน เพราะในเรื่องความทนทานนั้นนนยังดูจะไม่เต็มที่เท่าที่ควร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และนน บุญจำนงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กเดท

การฝังศพผู้เสียชีวิตจากแบล็กเดทในเมืองตูร์แน ภาพประกอบจากบันทึกของฌีล ลี มุยซี (Gilles Li Muisis) อธิการอารามนักบุญมาร์แต็งแห่งตูร์แน แบล็กเดท (Black Death) หรือ กาฬมรณะ เป็นโรคระบาดทั่วครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 100 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–50 การวิเคราะห์ดีเอ็นเอของผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรปตอนเหนือและใต้บ่งชี้ว่า จุลชีพก่อโรคอันเป็นสาเหตุของโรค คือ แบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งอาจก่อกาฬโรคได้หลายแบบ คาดว่าแบล็กเดทเริ่มต้นในจีนหรือเอเชียกลาง จากนั้นแพร่มาตามเส้นทางสายไหมและถึงไครเมียในปี 1346 และหมัดหนูตะวันออก (Xenopsylla cheopis) ซึ่งอาศัยอยู่ในหนูดำอันอยู่บนเรือพาณิชย์ทั่วไป น่าจะเป็นตัวนำโรคจากไครเมีย กาฬโรคได้แพร่ไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียนและทวีปยุโรป ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น 30–60% ของประชากรทั้งทวีปยุโรป กาฬโรคลดประชากรโลกจากที่ประเมินไว้ 450 ล้านคน ลงเหลือ 350–375 ล้านคนในคริสต์ศตวรรษที่ 14 กาฬโรคมีผลต่อเส้นทางประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อให้เกิดทั้งกลียุคทางศาสนา สังคมและเศรษฐกิจ ประชากรยุโรปกว่าจะกลับคืนจำนวนก็ใช้เวลา 150 ปี กาฬโรคอุบัติซ้ำเป็นครั้งคราวในทวีปยุโรปกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแบล็กเดท · ดูเพิ่มเติม »

แช่ม พรหมยงค์

นายแช่ม พรหมยงค์ มีชื่อและนามสกุลเดิมว่า ซำซุดดิน มุสตาฟา เกิดเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 ที่ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ บิดาชื่อ นายจำปา หรือ มุสตาฟา เป็นโต๊ะอิหม่าม แห่งมัสยิดพระประแดงและเป็นอาจารย์สอนศาสนาอิสลาม นายแช่มเองนั้นจบการศึกษาด้านศาสนาอิสลามจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ในทางการเมือง นายบรรจง ศรีจรูญ เพื่อนสนิทซึ่งศึกษาอยู่ในเวลาเดียวกันได้ชักชวน นายแช่ม ให้เข้าเป็นสมาชิกคณะราษฎร ในวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายแช่มและนายบรรจง ทำหน้าที่ควบคุมตัวเจ้านายและพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง ให้เข้าประทับในพระที่นั่งอนันตสมาคม และทำหน้าที่แจกใบปลิวเพื่อทำความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยแก่ราษฎร นายแช่ม พรหมยงค์ มีความสนิทสนมและนับถือ นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรฝ่ายมันสมองเป็นอย่างมาก ถึงกับเปลี่ยนนามสกุลเป็น พรหมยงค์ เพื่อให้คล้ายคลึงกับ พนมยงค์ นามสกุลของนายปรีดี อีกด้วย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เข้าเป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย นายแช่ม พรหมยงค์ ขณะนำเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ชมมัสยิดต้นสน (พ.ศ. 2489) เมื่อนายปรีดี พนมยงค์ได้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และมีดำริที่จะฟื้นฟูตำแหน่งจุฬาราชมนตรีขึ้นมาใหม่ หลังจากที่ชะงักไปหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายแช่มซึ่งเป็นข้าราชการกรมโฆษณาการและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ในขณะนั้น จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นจุฬาราชมนตรีเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแช่ม พรหมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอาหรับเกมส์

กีฬาแพนอาหรับเกมส์ (Pan Arab Games เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในโลกอาหรับ ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันตั้งแต่ การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่แพนอาหรับเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งสหภาพอาหรับ (Union of Arab National Olympic Committees; UANOC).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแพนอาหรับเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอาหรับเกมส์ 1953

แพนอาหรับเกมส์ 1953 การแข่งขันกีฬาแพนอาหรับเกมส์ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่อะเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 26 กรกฎาคม - 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแพนอาหรับเกมส์ 1953 · ดูเพิ่มเติม »

แกะภูเขา

แกะภูเขา หรือ แกะบาร์บารี (Barbary sheep) เป็นแกะชนิดหนึ่ง จัดอยู่เพียงชนิดเดียวในสกุล Ammotragus Grubb, P. (16 November 2005).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแกะภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

แมรี เคแซต

แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแมรี เคแซต · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไนล์

แผนที่แสดงเส้นทางการไหลของแม่น้ำไนล์ แม่น้ำไนล์ ในบริเวณอียิปต์ แม่น้ำไนล์ และ กรุงไคโรด้านหลัง แม่น้ำไนล์ (النيل อันนีล; Nile) เป็นแม่น้ำใน ทวีปแอฟริกา เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในโลก โดยถูกค้นพบแหล่งต้นน้ำใหม่ที่ทำให้มีความยาวกว่าเดิมเมื่อไม่นานมานี้ โดยแม่น้ำไนล์มีความยาวทั้งสิ้น 6,695 กิโลเมตร^~^.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแม่น้ำไนล์ · ดูเพิ่มเติม »

แร้ง

แร้งสีน้ำตาล (''Gyps indicus'') แร้ง หรือ อีแร้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแร้ง · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก กลุ่ม อี

กลุ่ม อี ของ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก จะเป็นหนึ่งของ 12 กลุ่มที่จะตัดสินหาทีมที่เข้าไปสู่ทัวร์นาเมนต์ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบสุดท้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก กลุ่ม อี · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือ

นแดนแอฟริกาเหนือ แอฟริกาเหนือ หรือ แอฟริกาตอนเหนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาประกอบไปด้วย 7 ประเทศคือ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอฟริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือของอิตาลี

แอฟริกาเหนือของอิตาลี (Africa Settentrionale Italiana) เป็นพื้นที่ซึ่งรวมเอาอาณานิคมและดินแดนในความปกครองของราชอาณาจักรอิตาลีในทวีปแอฟริกาเหนือ ตั้งแต่ ค.ศ. 1912 จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยดินแดนสองส่วนหลักคือตริโปลิเตเนียและไซเรไนกาตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอฟริกาเหนือของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อาระเบีย

แอร์ อาระเบีย (العربية للطيران) คือ สารการบินต้นทุนต่ำ มีสำนักงานใหญ่อยู่ในศูนย์ขนส่งสินค้าชาร์จาห์ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์จาห์, ชาร์จาห์, สหรัฐอาหรับเอมิเรส สายการบินดำเนินการให้บริการสู่จุดหมายปลายทาง 51 สถานที่ใน ตะวันออกกลาง, อเมริกาเหนือ, the ชมพูทวีป, เอเชียกลาง และ ยุโรปใน 22 ประเทศจากชาร์จาห์ 28 จุดหมายปลายทางใน 9 ประเทศจากคาซาบลังกา, เฟซ, นาดอร์ และ แทนเจียร์ และ 6 จุดหมายปลายทางใน 4 ประเทศจากอะเล็กซานเดรีย ท่าอากาศยานหลักคือ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์จาห์ สิ่งที่แตกต่างของแอร์อาระเบียที่เป็นสารการบินต้นทุนต่ำที่ให้บริการเชื่อมต่อกับหลายเที่ยวบินในท่าอากาศยานหลัก โดยมุ่งเน้นไปในกลุ่มเมืองอะเล็กซานเดรียและคาซาบลังก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอร์อาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

แอสมารา

แอสมารา (Asmara) เป็นเมืองหลวงของประเทศเอริเทรีย มีประชากร 579,000 คน อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 2,325 เมตร (7,628 ฟุต) มีอุตสาหกรรมสิ่งทอ เมืองนี้อยู่ใต้การปกครองของอียิปต์มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 ต่อมาใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอสมารา · ดูเพิ่มเติม »

แอดแดกซ์

แอดแดกซ์ หรือ แอนทิโลปขาว หรือ แอนทิโลปเขาเกลียว (addax, white antelope, screwhorn antelope) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นแอนทิโลปชนิดหนึ่ง จำพวกแอนทิโลปปศุสัตว์ จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Addax โดยคำว่า "แอดแดกซ์" นั้นมาจากภาษาอาหรับแปลว่า "สัตว์ป่าเขาเบี้ยว" ขณะที่ชื่อชนิดทางวิทยาศาสตร์ nasomaculatus มาจากภาษาละตินแปลว่า "จมูกเป็นจุด" (nasus (หรืออุปสรรคว่า naso) หมายถึง "จมูก" และ macula หมายถึง "จุด" และหน่วยคำเติม atus) ขณะที่ชาวเบดูอินจะรู้จักแอดแดกซ์ดี โดยคำว่าแอดแดกซ์นั้นมาจากภาษาอาหรับเรียกว่า bakr (หรือ bagr) al wahsh หมายถึง วัว, ควาย หรือสัตว์กีบทั่วไป แอดแดกซ์มีความแตกต่างจากแอนทิโลปอื่น ๆ ที่มีฟันขนาดใหญ่รูปสี่เหลี่ยมและไร้ต่อมบนหน้า มีความสูงจากไหล่ 91–115 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 120–130 เซนติเมตร ความยาวหาง 25–35 เซนติเมตร น้ำหนัก 60–125 กิโลกรัม ตัวเมียขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีขนสีน้ำตาลเทาในฤดูหนาว และเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือสีซีดในฤดูร้อน มีขนสีน้ำตาลหรือดำรูปตัวเอ็กซ์บนจมูก ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเขาทั้งคู่ ลักษณะเขาบิดเป็นเกลียวยาว 55–85 เซนติเมตร และมีการขด 2–3 ครั้ง มีกีบเท้าขนาดใหญ่เพื่อเดินบนพื้นทราย ที่กีบเท้าทั้งหมดมีต่อมกลิ่นอยู่ แต่เป็นสัตว์ที่มีความเชื่องช้าจึงมักตกเป็นเหยื่อของสัตว์นักล่าอยู่เสมอ ๆ เช่น หมาล่าเนื้อแอฟริกา, ไฮยีนา, ชีตาห์, เสือดาว, คาราคัล, เซอวัล โดยเป็นสัตว์ที่ไม่ก้าวร้าวแม้จะถูกรบกวนก็ตาม พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาเหนือ โดยเป็นสัตว์พื้นเมืองของชาด, มอริเตเนีย และไนเจอร์ ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วที่แอลจีเรีย, อียิปต์, ลิเบีย, ซูดาน และสะฮาราตะวันตก และกำลังได้รับการฟื้นฟูที่โมร็อกโกและตูนิเซีย ปัจจุบันเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตเนื่องจากพบน้อยกว่า 500 ตัว ในแถบทะเลทรายสะฮารา เป็นสัตว์ที่มีความอดทนอย่างมากจากการขาดน้ำเนื่องจากรับน้ำจากอากาศและพืชจำพวกพุ่มไม้หรืออาเคเชียที่กินเข้าไป อีกทั้งยังมีกระเพาะที่มีความพิเศษที่เก็บน้ำไว้ใช้ในคราวจำเป็น และปัสสาวะก็มีความเข้มข้นเป็นพิเศษ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืนโดยจะหลบนอนอยู่ตามร่มเงาของภูเขาทรายในเวลากลางวันและหลบพายุทะเลทราย แต่แอดแดกซ์เป็นสัตว์ที่มีอยู่จำนวนมากในสถานที่เลี้ยงหรือเขตอนุรักษ์ทางธรรมชาติในปัจจุบัน มีโครงการขยายพันธุ์ในหลายประเทศในหลายทวีป ทั้ง อิสราเอล, ญี่ปุ่น, อเมริกาเหนือ, ซูดาน, อียิปต์, ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอดแดกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอตแลนติส

แอตแลนติส (Ἀτλαντὶς) คือชื่อในภาษากรีกที่มีความหมายว่า "เกาะแอตลาส" เป็นอาณาจักรในตำนานที่ถูกกล่าวถึงโดยเพลโต ปราชญ์ของกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก กล่าวกันว่าอาณาจักรแอตแลนติส เป็นทวีปๆ หนึ่งที่อยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นที่อยู่อาศัยของพลเมืองผู้ทรงคุณธรรมและเทคโนโลยีที่สูงส่ง กำแพงเมืองเป็นทองคำและวิหารสร้างด้วยเงิน มีอุทยานหย่อนใจ และสนามแข่งม้า ทว่ามันถูกทำลายพังพินาศ ด้วยความพิโรธของเทพเจ้าผู้เนรมิตรมันขึ้นมา คำว่า แอตแลนติส มาจากแอตลาสบุตรของโพไซดอน แอตแลนติสอาจอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นักประดาน้ำบางคนพบขุมทองบริเวณนั้นนั่นเอง เพลโต นักปราชญ์ชาวกรีกเขียนไว้เมื่อราว 300 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งยุคของเพลโต ห่างจากยุคของแอตแลนติสราว 9,000 ปี เพลโตเขียนถึงแอตแลนติสในหนังสือที่ชื่อว่า ทิเมอุส และ ครีทีแอซ โดยอ้างว่า โซลอน รัฐบุรุษคนหนึ่งของกรีกราวยุค 600 ปีก่อนคริสตกาล เป็นผู้นำมาเผยแพร่หลังจากรับทราบเรื่องราวของแอตแลนติสจากนักบวชชาวอียิปต์ท่านหนึ่ง มีการกล่าวว่า อารยธรรมโบราณหลายๆ แห่งของโลก ไม่ว่าจะเป็นอียิปต์ รวมถึงบรรดาวัฒนธรรมเมโสโปเตเมียทั้งหลาย ไปจนถึงวัฒนธรรมโบราณของชนเผ่าอินคา มายา และแอซแต็กในแถบอเมริกากลาง รวมทั้งสิ่งปลูกสร้างที่มหัศจรรย์ ไม่ว่าจะเป็นสโตนเฮ้นจ์ หรือปิรามิดในดินแดนต่างๆ ทั่วโลก ต่างก็เป็นมรดกจากชาวแอตแลนติสทั้งสิ้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอตแลนติส · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนีอธิการ

นักบุญแอนโทนี (หรืออันตน) อธิการ (St.) เกิดเมื่อประมาณปี ค.ศ. 251 และถึงแก่มรณกรรมประมาณปี ค.ศ. 356 หรือที่รู้จักกันว่าแอนโทนีผู้ยิ่งใหญ่ (Anthony the Great) แอนโทนีแห่งอียิปต์ (Anthony of Egypt) แอนโทนีแห่งทะเลทราย (Anthony of the Desert) แอนโทนีแองคอไรต์ (Anthony the Anchorite) คุณพ่ออันโตนีอุส (Abba Antonius) และบิดาแห่งนักพรตทั้งปวง (Father of All Monks) นักบุญแอนโทนีอธิการเป็นนักบุญในศาสนาคริสต์ชาวอียิปต์ ที่เป็นผู้นำของนักพรตในศาสนาคริสต์ที่ใช้ชีวิตอย่างสันโดษในทะเลทราย (ปิตาจารย์ทะเลทราย) ในประเทศอียิปต์ ท่านใช้ชีวิตส่วนใหญ่ที่เมืองอะเล็กซานเดรีย และเป็นอธิการอารามอะเล็กซานเดรีย ชีวประวัติของนักบุญแอนโทนีเขียนโดยนักบุญอะทาเนเชียสแห่งอะเล็กซานเดรีย ซึ่งช่วยเผยแพร่การใช้ชีวิตอารามวาสีแบบนักบุญแอนโทนีไปยังยุโรปตะวันตกโดยแปลเป็นภาษาละติน ซึ่งยึดถือคติความสันโดษและยากจนเป็นหลักในการขัดเกลาตนเอง และเป็นต้นแบบนักพรตคาทอลิกในยุโรปในเวลาต่อมา นักบุญแอนโทนีอธิการเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ผู้ป่วยโรคติดต่อโดยเฉพาะโรคงูสวัด ฉะนั้นบางทีที่ประเทศอิตาลีหรือประเทศมอลตาจึงเรียกโรคนี้ว่า “ไฟแอนโทนี” (Anthony's fire) หมวดหมู่:นักบุญชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญชาวอียิปต์ หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4 หมวดหมู่:นักบุญในตำนานทอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแอนโทนีอธิการ · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก

แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก (IHF World Men's Handball Championship) เป็นการแข่งขันแฮนด์บอลชายระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลก

แฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลก (Beach Handball World Championships) เป็นการแข่งขันแฮนด์บอลชายหาดชายและหญิงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแฮนด์บอลชายหาดชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

แผนที่แผ่นดินไหวในปี พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม มีแผ่นดินไหวทั้งหมด 6,904 ครั้ง แผ่นดินไหวใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

แทนิส

แผนที่อียิปต์ล่าง left แทนิส (/ tænɪs /; คอปติก: ϫⲁⲛⲓ / ϫⲁⲁⲛⲉ;กรีกโบราณ: Τάνις;อียิปต์โบราณ: ḏˁn.t / ɟuʕnat / หรือ / c'uʕnat /;อาหรับ: صانالحجر Ṣān al-Ḥagar) เป็นเมืองโบราณในทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของลุ่มแม่น้ำไนล์ของอียิปต์ มันตั้งอยู่บนดอนปากแม่น้ำของแม่น้ำไนล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแทนิส · ดูเพิ่มเติม »

แดวู ลาโนส

แดวู ลาโนส (Daewoo Lanos) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) ที่ผลิตโดย แดวู ผู้ผลิตรถยนต์จากประเทศเกาหลีใต้ เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2540 โดยออกมาเพื่อทดแทนรุ่นเก่าอย่าง แดวู เซียโล (Daewoo Cielo) ออกแบบโดย จอร์เจ็ตโต้ จูจาโร่ (Giorgetto Giugiaro) มีฐานการประกอบอยู่ที่ประเทศเกาหลีใต้,รัสเซีย,อียิปต์,ยูเครน,โปแลนด์และเวียดนาม มีตัวถังคอนเวอร์เทเบิล 2 ประตู แฮทช์แบค 3 ประตู แฮทช์แบค 5 ประตู ซีดาน 4 ประตูและรถตู้ 2 ประตู มีเครื่องยนต์ 1.3,1.4,1.5 และ 1.6 ลิตร ใช้เกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ระยะฐานล้อ 2,520 มม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแดวู ลาโนส · ดูเพิ่มเติม »

แดวู นิวบีรา

แดวู นิวบีรา (Daewoo Nubira) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็ก (Compact Car) รุ่นแรกที่ผลิตโดย แดวู เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2540 ใช้รหัสว่า J100 ภายหลังได้เปลี่ยนไปใช้รหัส J150 หลังจากไมเนอร์เชนจ์แล้ว ใช้ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า มีฐานการประกอบที่ประเทศเกาหลีใต้,โรมาเนีย,อียิปต์,ยูเครน,โปแลนด์และเวียดนาม มีตัวถัง 3 แบบคือ ซีดาน 4 ประตู แฮทช์แบค 5 ประตูและสเตชันวากอน 5 ประตู เครื่องยนต์จะมีแบบเดียวคือ 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 สปีดและเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ไมเนอร์เชนจ์ในปี พ.ศ. 2543 ก่อนยุติการผลิตในปี พ.ศ. 2545 ในประเทศไทย แดวู นิวบีรา ถือว่าเป็น 1 ใน 3 ของรถยนต์ที่บริษัท ไทยแดวูมอเตอร์เซลส์ จำกัด ซึ่งก็คือแดวู ลาโนส และแดวู เลกันซามีแผนจะเข้ามาเปิดตัวในประเทศไทย แต่ด้วยสภาพเศรษฐกิจในขณะนั้น ทำให้ยังไม่ทันได้เปิดตัวก็ต้องพับแผนไปก่อน ทำให้สามารถเปิดตัวได้เพียงรุ่นเดียว คือแดวู ลาโนส นั่นเอง นิวบีรา.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแดวู นิวบีรา · ดูเพิ่มเติม »

แดวู เลแมนส์

แดวู เลแมนส์ (Daewoo Lemans) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) ผลิตโดย แดวู เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2529 และเลิกผลิตในปี พ.ศ. 2540 โดยมีแดวู ลาโนสมาทดแทน มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 2 Generation (รุ่น) โดยในแต่ละรุ่นจะมีชื่อหลักๆ ในการทำตลาดในเกาหลีแตกต่างกัน รวมถึงชื่อที่ใช้ในตลาดโลกด้วย เช่น Lemans Fantasy Cielo Nexia Racer เป็นต้น และในรุ่นแรกยังเคยส่งออกไปในแบรนด์อื่นๆ เช่น พอนทิแอค เชฟโรเลตด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแดวู เลแมนส์ · ดูเพิ่มเติม »

แคช แค็บ

แคช แค็บ เป็นรายการเกมส์โชว์ คิดค้นโดยอาดัม วูด  ต้นกำเนิดเกิดขึ้นที่สหราชอาณาจักร และได้ถูกซื้อลิขสิทธิ์ในการผลิตรายการหลายประเทศ กติกาการเล่นคือ ผู้โดยสารที่นั่งบนรถแท็กซี่จะต้องตอบคำถาม โดยเป็นคำถามประเภทความรู้ทั่วไป ตลอดเส้นปลายทางของแต่ละครั้ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแคช แค็บ · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย

นักบุญแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย (ภาษาอังกฤษ: St. Catherine of Alexandria หรือ St. Catherine of the Wheel หรือ The Great Martyr Saint Catherine; ภาษากรีก: ἡ Ἁγία Αἰκατερίνη ἡ Μεγαλομάρτυς) เป็นนักบุญเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ศาสนจักรออร์ทอดอกซ์ถือกันว่านักบุญแคเธอรินเป็นมรณสักขีคนสำคัญ และทางศาสนจักรโรมันคาทอลิกนับนักบุญแคเธอรินเป็นหนึ่งในนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ นักบุญแคเธอรินเป็นนักบุญองค์หนึ่งที่มาปรากฏตัวต่อนักบุญโยนออฟอาร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

แตงกวาอาร์มีเนีย

แตงกวาอาร์มีเนีย (Armenian cucumber; acur; var. flexuosus) เป็นพืชที่มีผลยาว ผอมและมีรสชาติคล้ายแตงกวา แต่เป็นสายพันธุ์หนึ่งของแตงไทย (C. melo) ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่ใกล้เคียงกับแตงกวา (C. sativus) บางครั้งเรียกว่า แตงกวายาว แตงกวางู แตงงู ในอินเดียเรียก kakri ในอียิปต์เรียก Atta ในโมร็อกโกเรียก feggous หรือ fakkous ในไซปรัสเรียก φακούσι แต่เป็นพืชคนละชนิดกับบวบ (Trichosanthes spp.)เปลือกของพืชชนิดนี้บาง สีเขียวอ่อน ไม่มีรสขม ต้นแตงกวาอาร์มีเนียยาวประมาณ 30 - 36 นิ้วเจริญไปตามดินหรือมีค้างชอบบริเวณที่มีแดดจัดตลอดทั้งวัน ผลยาว 12-15 นิ้ว ในตะวันออกกลางมีแตงกวาอาร์มีเนียดองขายในชื่อ "Pickled Wild Cucumber".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และแตงกวาอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

โบว์ลิ่ง

ลูกโบว์ลิ่งและพิน กีฬาโบว์ลิ่ง เป็นกีฬาที่ชาวโลกได้เล่นกันมาประมาณ 5,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช กล่าวกันว่าในยุคนั้นชาวอียิปต์ได้มีการเล่นกีฬาชนิดหนึ่ง โดยใช้ไม้เป็นแกนและใช้ลูกหินกลม ๆ กลิ้งไปทอยแก่นให้ล้ม และต้นสมัยคริสต์ศักราชในประเทศเยอรมัน ก็มีการเล่นกีฬาชนิดหนึ่งที่เรียกว่า เคเกล ซึ่งหมายถึง นักโบว์ลิ่ง โดยธรรมดานักบวชในเยอรมันถือว่า กีฬาเคเกลนี้เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมในศาสนา ต่อมาในสมัยคริสต์ศักราชที่ 15 Martin Luther ผู้ตั้งนิกายโปรแตสแตนด์เป็นนักเล่นเคเกลคนสำคัญคนหนึ่งได้ว่างกฎเกณฑ์การเล่นเคเกล โดยมีกำหนดให้มี 1 พิน ทำให้เคเกลได้แพร่หลายไปยังประเทศต่าง ๆ ในยุโรปและชาวอังกฤษได้นำไปดัดแปลงเล่นบทสนามหญิงเรียกว่าโบว์ลิ่งสนามและเมื่อชาวดัตช์อพยพไปอยู่ในอเมริกาก็ได้นำเอากีฬาเคเกลนี้เข้าไปเล่นด้วย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโบว์ลิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โบโกตา

กตา (Bogotá) ชื่อทางการคือ โบโกตาดิสตรีโตกาปีตัล (Bogotá Distrito Capital) (หมายถึง "เขตเมืองหลวงโบโกตา") และยังมีชื่อเรียกว่า ซานตาเฟเดโบโกตา (Santa Fe de Bogotá) เป็นเมืองหลวงของประเทศโคลอมเบีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดของประเทศ คือ 7,321,831 คน (จากการสำรวจปี พ.ศ. 2548) ส่วนเขตนครหลวง (metropolitan area) ซึ่งรวมเขตเทศบาลโซอาชา (Soacha) ไว้ด้วยนั้นมีประชากรประมาณ 7,881,156 คน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโบโกตา · ดูเพิ่มเติม »

โมรา

มรา หรือ อาเกต (agate) (SiO2) เป็นอัญมณีที่มี หลายสี ที่นิยม คือ ฟ้าอมเทาลายขาว หรือฟ้าในเนื้อหิน ในทางอุตสาหกรรมใช้สำหรับตกแต่งทำเป็นเครื่องประดับเนื่องจากคุณสมบัติของหินที่ต้านทานกรด และมีความแข็งสูง ความเชื่อของหินนี้เป็นเหมือนเครื่องรางของขลังตั้งแต่โบราณ ชาวอียิปต์ ถือว่า ช่วยป้องกันภยันตรายให้เจ้าของ และเป็นตัว แทน ทรัพย์สิน เพิ่ม ความมั่งคั่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโมรา · ดูเพิ่มเติม »

โมเช ดายัน

มเช ดายัน (משה דיין, Moshe Dayan; 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2524) คือผู้บัญชาการเหล่าทัพและนักการเมืองชาวอิสราเอล รู้จักกันดีในฐานะบุรุษตาเดียว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโมเช ดายัน · ดูเพิ่มเติม »

โมเสส

มเสสกับแผ่นจารึก, พ.ศ. 2202 (1659), โดยแร็มบรันต์ โมเสสเมื่อลงมาหลังจากเข้าเฝ้าพระเจ้าที่ภูเขาซีนาย, พ.ศ. 2181 (1638), โดย ไรเบรา เดอ โจเซ รูปปั้นของโมเสส โดยมีเกลันเจโล โมเสส (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ มูซา (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Moses; מֹשֶׁה; موسى มูซา) เป็นผู้บัญญัติกฎและผู้เผยพระวจนะแก่วงศ์วานอิสราเอล ซึ่งเป็นที่มาของคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ หรือคัมภีร์เบญจบรรณในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ อีกทั้งยังเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ตามคติของศาสนาอิสลาม และเป็นศาสดาตามคติของศาสน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโมเสส · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ (บุตรยาโคบ)

ซฟ (Joseph) เป็นบุตรชายคนที่ 11 ของยาโคบ กับนางราเชล ที่เกิดในเมืองปัดดานอาร้ม โยเซฟมักนำเอาความผิดของพี่ ๆ ไปบอกบิดา จึงถูกพี่ ๆ ชัง และอิจฉา จึงถูกขายไปยังอียิปต์ และภายหลังโยเซฟได้มีโอกาสถวายงานให้ฟาโรห์จนได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ปกครองอียิปต์ และได้ช่วยให้อิสราเอลได้เข้าไปพำนักในอียิปต์ช่วงที่เกิดการกันดารอาหาร โยเซฟขณะถูกจับไปขายเป็นทาส วาดโดย คอนสแตนติน ฟลาวิสกี้ โยเซฟขณะถูกจับไปขายเป็นทาส วาดโดย เฟดเดอริก โอเวอร์เบก ปี พ.ศ. 2160-2161 โยเซฟพยายามหลบหนีภรรยาของโปทิพาร์ วาดโดย ฟิลลิป เวียต ปี พ.ศ. 2160-2161 โยเซฟแก้ฝันให้แก่พนักงานขนม และพนักงานน้ำองุ่นในคุกหลวง โยเซฟแก้พระสุบินให้แก่ฟาโรห์ โยเซฟพบกับครอบครัวในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโยเซฟ (บุตรยาโคบ) · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรคพยาธิใบไม้ในเลือด

รคพยาธิใบไม้ในเลือด (Schistosomiasis) (โรคพยาธิใบไม้ชิสโตโซมา, รู้จักกันในชื่ออื่นๆ ว่า บิลฮาร์เซีย (Bilharzia), ไข้หอยทาก (Snail fever) และ ไข้กาตายามา (Katayama fever)) เป็นโรคที่มีสาเหตุมาจาก หนอนพยาธิ ชนิด ชิสโตโซมา --> เป็นตัวที่อาจทำให้เกิดการติดเชื้อได้ใน ทางเดินปัสสาวะ หรือ ลำไส้ --> อาการที่อาจจะมี ได้แก่ ปวดท้อง ท้องร่วง อุจจาระเป็นเลือดหรือมีเลือดปนใน ปัสสาวะ --> สำหรับผู้ที่ได้ติดเชื้อมาเป็นเวลานาน อาจเกิดภาวะตับเสีย ไตวาย ภาวะเป็นหมัน หรือ มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ได้ --> สำหรับเด็ก โรคดังกล่าวอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการเจริญเติบโตช้าและความลำบากในการเรียนรู้ โรคดังกล่าวแพร่กระจายโดยทางการติดต่อสัมผัสกับแหล่งน้ำที่มีพยาธินั้น --> พยาธิเล่านี้จะถูกปล่อยออกมาจาก หอยทากน้ำจืดซึ่งติดเชื้อมาแล้ว --> โรคดังกล่าวมักพบทั่วไปโดยเฉพาะในเด็กที่อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา เนื่องจากมีความเป็นไปได้มากที่พวกเขาจะลงเล่นในแหล่งน้ำที่มีการติดเชื้อ --> กลุ่มความเสี่ยงสูงอื่นๆ ได้แก่ ชาวไร่ชาวนา ชาวประมง รวมทั้งผู้ที่อาศัยแหล่งน้ำทำภาระกิจประจำวันซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่มีการติดเชื้อแล้ว โรคดังกล่าวจัดอยู่ในกลุ่ม โรคติดเชื้อหนอนพยาธิ การวินิจฉัยโรคกระทำได้โดยการหาไข่ของพยาธิในปัสสาวะหรืออุจจาระ --> นอกจากนั้นยังสามารถยืนยันโรคได้โดยการหา แอนติบอดี ในเลือดที่ต่อต้านโรคดังกล่าว วิธีการป้องกันโรค ได้แก่ การปรับปรุงแหล่งน้ำสะอาดและลดจำนวนหอยทากลง --> ในบริเวณที่มักพบโรค อาจต้องมีการรักษาทั้งกลุ่มภายในครั้งเดียวกันและทำเป็นประจำทุกปีโดยการให้ยา พราซิควอนเทล --> ทั้งนี้เพื่อลดจำนวนผู้ที่ติดเชื้อ จึงเป็นการลดการแพร่กระจายของโรคไปด้วย --> นอกจากนั้นยาพราซิควอนเทลยังเป็นวิธีการรักษาที่แนะนำโดย องค์การอนามัยโลก สำหรับผู้ที่ทราบชัดว่าติดเชื้อดังกล่าว โรคพยาธิใบไม้ในเลือดส่งผลให้กับคนทั่วโลกเป็นจำนวนเกือบ 210 ล้านคน และประมาณการณ์ว่าในแต่ละปีราว 12,000 ถึง 200,000 คนที่เสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าว โรคดังกล่าวพบทั่วไปมากที่สุดใน แอฟริกา เช่นเดียวกับใน เอเชีย และ อเมริกาใต้ มีประมาณ 700 ล้านคนตามประเทศต่างๆ มากกว่า 70 ประเทศที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่โรคดังกล่าวเป็นที่พบทั่วไป โรคพยาธิใบไม้ในเลือดเป็นเพียงที่สองรองจาก โรคมาเลเรีย ในฐานะเป็นโรคทางพยาธิที่มีผลกระทบอย่างใหญ่หลวงที่สุดต่อเศรษฐกิจ ตั้งแต่ครั้งโบราณกาลจนถึงต้นศตวรรษที่ ๒๐ อาการของโรคพยาธิใบไม้ในเลือดคือ เลือดปนในปัสสาวะ ในประเทศ อียิปต์ ถูกมองว่าเป็น ประจำเดือนแบบของเพศชาย จึงได้รับการพิจารณาให้เป็น พิธีผ่านเข้าสู่วงจรชีวิตช่วงต่อไป สำหรับเด็กผู้ชาย มีการจำแนกประเภทโรคดังกล่าวให้เป็น โรคเขตร้อนที่ถูกละเล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโรคพยาธิใบไม้ในเลือด · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาล 57357

รงพยาบาล 57357 (مستشفى 57357; 57357 Hospital) ตั้งอยู่ ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ซึ่งเป็นหนึ่งในโรงพยาบาลที่เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็งเด็ก ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก การระดมทุนสำหรับโรงพยาบาล ประกอบด้วยเทศกาลระดมทุนที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจำนวนมาก โดยเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโรงพยาบาล 57357 · ดูเพิ่มเติม »

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอันรวดเร็วและสำคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโลกาภิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โอเอซิส

อเอซิสแห่งหนึ่งในลิเบีย ส่วนหนึ่งของทะเลทรายซาฮารา โอเอซิสอีกแห่งในลิเบีย ในทาง ภูมิศาสตร์ โอเอซิส หมายถึงอาณาบริเวณส่วนใดของทะเลทราย ที่มีพืชขึ้นอยู่ในลักษณะที่ไม่ใช่สังคมพืชทะเลทราย ซึ่งโดยปกติ จะปรากฏรอบๆตาน้ำ หรือแหล่งน้ำประเภทอื่นๆ โอเอซิสมักเป็นแหล่งพักพิงของสัตว์ต่างๆ และอาจรวมถึงมนุษย์ด้วย หากโอเอซิสนั้นมีพื้นที่มากพอ ตำแหน่งที่ตั้งของโอเอซิสนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด ในการค้า หรือการขนส่งผ่านทะเลทราย กองคาราวานจำเป็นที่จะต้องแวะพักยังโอเอซิสต่างๆ เพื่อสะสมน้ำและอาหาร ในการเดินทางต่อๆไป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโอเอซิส · ดูเพิ่มเติม »

โอเปิล คอร์ซา

อเปิล คอร์ซา (Opel Corsa) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) ที่ผลิตโดยค่ายรถยนต์สัญชาติเยอรมัน โอเปิล เริ่มผลิตตั้งแต่ พ.ศ. 2525-ปัจจุบัน ซึ่งโอเปิล คอร์ซาเคยมีการนำเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยในรุ่นที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2536-2538 จนในปัจจุบัน โอเปิล คอร์ซามีการผลิตในสเปนและเยอรมนีเท่านั้น โอเปิล คอร์ซา มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 4 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโอเปิล คอร์ซา · ดูเพิ่มเติม »

โอเปิล เวคตร้า

อเปิล เวคตร้า (Opel Vectra) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ผลิตโดยโอเปิล ผู้ผลิตรถยนต์จากเยอรมนีซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ General Motors เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2531 โดยมาทดแทนรุ่นเก่าอย่างโอเปิล แอสโคนา (Opel Ascona) และเลิกผลิตในปี พ.ศ. 2552 โดยมีรุ่นใหม่มาแทน คือ โอเปิล อินซิกเนีย (Opel Insignia) โอเปิล เวคตร้า มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลาได้ 3 Generation (รุ่น) ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโอเปิล เวคตร้า · ดูเพิ่มเติม »

โฌแซ็ฟ ฟูรีเย

บารอนโฌแซ็ฟ ฟูรีเย นักคณิตศาสตร์ ฌ็อง บาติสต์ โฌแซ็ฟ ฟูรีเย (Jean Baptiste Joseph Fourier; พ.ศ. 2311 - 2373) นักคณิตศาสตร์ เกิดที่เมืองโอแซร์ ประเทศฝรั่งเศส ฟูรีเยได้เดินทางติดตามนโปเลียนไปประเทศอียิปต์ในปี พ.ศ. 2341 หลังจากเดินทางกลับในปี พ.ศ. 2345 ฟูรีเยได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองเกรอนอบล์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2351 ได้รับบรรดาศักดิ์ชั้นบารอน ฟูรีเยได้หันมาสนใจคณิตศาสตร์ประยุกต์เป็นครั้งแรก ในขณะที่กำลังทดลองเกี่ยวกับการไหลของความร้อน ฟูรีเยก็ได้ค้นพบสมการการไหลนี้ ซึ่งต่อมาได้ตั้งชื่อเป็น "สมการฟูรีเย" เพื่อแก้ปัญหาและพิสูจน์สมการนี้ ฟูรีเยได้แสดงให้เห็นว่าฟังก์ชันหลายฟังก์ชันของตัวแปรเดี่ยวสามารถขยายออกเป็นอนุกรมของไซน์ (sines) เชิงซ้อนของตัวแปร ที่เรียกในภายหลังว่า "อนุกรมฟูรีเย" ฌ็อง บาติสต์ โฌแซ็ฟ ฟูรีเย มีชีวิตอยู่ตรงกับสมัยระหว่างสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2311 หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโฌแซ็ฟ ฟูรีเย · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย

้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย (ภาษาบัลแกเรีย: Йоанна Савойска; ภาษาอิตาลี: Giovanna Elisabetta Antonia Romana Maria) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย (ซารินา) พระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย เป็นพระราชวงศ์อิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

โจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3

้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3: นักรบประกายดาว (JoJo's Bizare Adventure Part 3: Stardust Crusaders) เป็นตอนหนึ่งของการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง โจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ของฮิโรฮิโกะ อารากิ และว่ากันว่าเป็นภาคที่ได้รับความนิยมมากที.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษ ภาค 3 · ดูเพิ่มเติม »

โทบุเวิลด์สแควร์

ทางเข้าโทบุเวิลด์สแควร์ โตเกียวสกายทรีและท่าอาการศยานนานาชาตินะริตะในโทบุเวิลด์สแควร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติโตเกียว โตเกียวโดม สถานีรถไฟโตเกียว โทบุเวิลด์สแควร์ (Tobu World Square) คือ สวนสาธารณะแห่งหนึ่งในเมืองนิกโก จังหวัดโทะชิงิ ประเทศญี่ปุ่น เปิดทำการเมื่อวันที่ 24 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโทบุเวิลด์สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

โคกาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268

กาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268 (KGL 9268 or 7K-9268) เป็นเที่ยวบินเช่าเหมาลำระหว่างประเทศ ที่ให้บริการโดยสายการบินโคกาลีมาเวียของประเทศรัสเซีย ประสบอุบัติเหตุบริเวณตอนเหนือของคาบสมุทรไซนาย หลังจากขึ้นบินจากท่าอากาศยานนานาชาติชาร์มเอลชีค ประเทศอียิปต์ ไปท่าอากาศยานพูลโคโว เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย ในวันที่ 31 ตุลาคม 2015 เวลา 4 นาฬิกา 13 นาที UTC (6:13 ตามเวลามาตรฐานอียิปต์).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโคกาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268 · ดูเพิ่มเติม »

โครงสร้างทรงโค้ง

กอทิกของโบสถ์แซ็ง-เซเวอแร็งแห่งปารีส โครงสร้างทรงโค้ง (Vault; voûte; Gewölbe; volta) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโค้ง (arch) ที่เป็นช่องใต้เพดานหรือหลังคา | url.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโครงสร้างทรงโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

โคนอนแห่งซามอส

นอนแห่งซามอส (Conon of Samos; 280 BC-220 BC) เป็นนักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก เป็นที่รู้จักเนื่องจากเป็นผู้ตั้งชื่อให้แก่ กลุ่มดาวผมเบเรนิซ โคนอนเกิดที่เกาะซามอส แคว้นไอโอเนีย และคาดว่าน่าจะเสียชีวิตที่เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ เมื่อเขาเป็นนักดาราศาสตร์ประจำราชสำนักของพระเจ้าทอเลมีที่ 3 เขาตั้งชื่อกลุ่มดาวผมเบเรนิซ ตามชื่อพระนางเบเรนิซที่ 2 ชายาของพระเจ้าทอเลมี ผู้เสียสละเกศาของตนเพื่อแลกเปลี่ยนให้พระสวามีกลับจากสงครามซีเรียครั้งที่ 3 อย่างปลอดภัย เมื่อกล่องพระเกศาหายไป โคนอนอธิบายว่าเทพเจ้านำเกศาของพระนางไปไว้บนฟากฟ้า พัพพัสแห่งอเล็กซานเดรีย บอกว่า วงก้นหอยอาร์คิมิดีสที่แท้แล้วผู้ค้นพบคือโคนอน อพอลโลเนียสแห่งเพอร์กาบันทึกไว้ว่า โคนอนทำงานเกี่ยวกับภาคตัดกรวย ซึ่งงานชิ้นนี้เป็นรากฐานให้แก่หนังสือเล่มที่ 4 ของอพอลโลเนียส คือ Conics.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโคนอนแห่งซามอส · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไพศาล ยิ่งสมาน

ล ยิ่งสมาน (2 เมษายน พ.ศ. 2482 - 16 มกราคม พ.ศ. 2556) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 4 สมั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไพศาล ยิ่งสมาน · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบยักษ์

มยราบยักษ์ (pricky wood weed, mimosa, giant sensitive plant, catclaw mimosa, black mimosa) เป็นพืชดอกมีลักษณะเป็นไม้พุ่มในวงศ์ถั่ว เป็นวัชพืชต่างถิ่นประเภทรุกรานที่มีความรุนแรง เนื่องจากสามารถเติบโตและแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีความทนต่อสภาพน้ำท่วมและแห้งแล้งได้ดี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไมยราบยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แจ็กสัน

มเคิล โจเซฟ แจ็กสัน เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแต่งเพลง นักออกแบบท่าเต้น นักแสดง โปรดิวเซอร์เพลงและนักการกุศล ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชาเพลงป็อป" (The King of Pop)อิทธิพลทางดนตรี การเต้นรำ แฟชั่นและผลงานด้านมนุษยธรรม กับชีวิตส่วนตัวที่ถูกเผยแพร่ควบคู่ไปกับความสำเร็จ ทำให้เขาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากว่า 4 ทศวรรษ เขาเป็นลูกคนที่ 8 ของครอบครัวแจ็กสัน ปรากฏตัวครั้งแรกในระดับอาชีพด้านดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกวงเดอะแจ็กสันไฟฟ์ในปี 1964 เขาเริ่มมีผลงานเดี่ยวในปี 1971 ขณะที่ยังคงเป็นสมาชิกของวงอยู่ ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เขากลายเป็นส่วนสำคัญในวัฒนธรรมเพลงป็อป และถือเป็นศิลปินชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่มีผลงานออกอากาศผ่านทางช่องเอ็มทีวี มิวสิกวิดีโอของเขา ประกอบด้วยเพลง "Beat It", "Billie Jean" และ "Thriller" ได้รับการยกย่องสำหรับการทำลายอุปสรรคทางเชื้อชาติ และเปลี่ยนแปลงรูปแบบมิวสิกวิดีโอจากอุปกรณ์การประชาสัมพันธ์ไปเป็นรูปแบบของงานศิลปะ ความนิยมของมิวสิกวิดีโอเหล่านี้ได้ช่วยให้ช่องเอ็มทีวีที่เพิ่งเปิดใหม่นี้มีชื่อเสียง อัลบั้ม Bad ของเขาในปี 1987 นับเป็นอัลบั้มเพลงแรกในประวัติศาสตร์ที่มีเพลงอันดับ 1 ถึง 5 เพลงบนบิลบอร์ดฮ็อต 100 จากอัลบั้มเดียว มิวสิกวิดีโอในรูปแบบใหม่อย่างเพลง "Black or White" และ "Scream" ก็ยังออกอากาศบ่อยทางช่องเอ็มทีวี เขายังสร้างสรรค์สิ่งใหม่ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990 ด้วยชื่อเสียงที่เลื่องลือในฐานะศิลปินเดี่ยวกับลีลาบนเวทีและการแสดง แจ็กสันสร้างความโด่งดังให้กับเทคนิคการเต้นที่ซับซ้อนโดยใช้ร่างกายมากมายหลายๆท่า ซึ่งก่อให้เกิดการแพร่หลายอย่างมาก อย่างเช่นท่าเต้นหุ่นยนต์และท่าเต้นมูนวอล์ก เอกลักษณ์ทางด้านดนตรีและเสียงร้องอันโดดเด่นของเขายังมีอิทธิพลต่อศิลปินหลายแนวเพลง อิทธิพลของเขาได้แพร่กระจายไปสู่คนหลายรุ่นทั่วโลก Thriller ถือเป็นอัลบั้มเพลงที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลสี่อัลบั้มเดี่ยวที่เหลือของเขา ก็ยังติดอันดับอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในโลก ประกอบด้วยชุด Off the Wall (1979), Bad (1987), Dangerous (1991) และ HIStory (1995) แจ็กสันเดินทางไปทั่วโลกเพื่อร่วมกิจกรรมด้านมนุษยธรรม เขาหาเงินนับร้อยล้านดอลลาร์เพื่อมูลนิธิการกุศลของเขา มีซิงเกิลและผลกำไรจากทัวร์คอนเสิร์ตที่เขาสนับสนุนให้กับองค์กร 39 แห่ง บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่าเขาเป็นบุคคลบันเทิงที่มีส่วนร่วมในการกุศลมากยิ่งกว่าดาราหรือศิลปินคนใดๆ ชีวิตส่วนตัวของเขามักปรากฏตัวโดยการปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและพฤติกรรมให้คนอื่นจำไม่ได้ แต่นี่ก็เป็นสิ่งที่ทำลายภาพลักษณ์ที่ดีของเขาด้วยเช่นกัน เขายังถูกข้อกล่าวหาลวนลามทางเพศเด็กในปี 1993 แต่ก็ปิดลงโดยเขาไม่มีความผิดเนื่องจากมีหลักฐานไม่เพียงพอ แจ็กสันมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 และยังมีข้อมูลรายงานขัดแย้งในเรื่องฐานะการเงินของเขาตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 แจ็กสันแต่งงานมาแล้วสองครั้ง มีลูกสามคน ต่อมาในปี 2005 เขามีข้อพิพาทอีกครั้งเรื่องล่วงละเมิดทางเพศและอีกหลายคดี แต่เขาก็ไม่มีความผิด (ซึ่งในภายหลังคู่กรณีหลายรายได้ออกมายอมรับว่า แจ็กสัน ไม่ได้กระทำ และที่กล่าวหา เพราะเป็นเด็ก และถูกผู้ปกครองบังคับ โดยหวังที่จะได้รับเงินค่าเสียหาย) เขาเป็นหนึ่งในไม่กี่ศิลปินที่มีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟมถึงสองครั้ง ผลงานของเขาประสบความสำเร็จได้รับบันทึกสถิติหลายครั้ง กินเนสส์บุ้คเวิลด์เรคคอร์ดจารึกชื่อเขาเป็น "ศิลปินบันเทิงที่ประสบความสำเร็จที่สุดตลอดกาล" เขาเป็นนักร้องคนเดียวจากโลกดนตรีป็อปและร็อกแอนด์โรลที่มีชื่ออยู่ในหอเกียรติยศแดนซ์ฮอลออฟเฟม และยังเป็นศิลปินเพียงคนเดียวที่มีเพลงฮิตติดท็อป 10 บนบิลบอร์ดฮ็อต 100 ทุก 10 ปี ติดต่อกันนานกว่าครึ่งศตวรรษ แจ็กสันชนะรางวัลจากเวทีต่างๆ นับร้อยกว่ารางวัล ทำให้เขาเป็นศิลปินที่คว้ารางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์เพลงป็อปความสำเร็จอื่นๆ ของเขาได้แก่ สถิติในกินเนสบุ้คเวิลด์เรคคอร์ดหลายครั้ง 13 รางวัลแกรมมี่ รางวัลพิเศษ Grammy Legend Award, Grammy Lifetime Achievement Award 26 อเมริกันมิวสิกอวอร์ดส มากกว่าศิลปินคนใดๆ รวมไปถึงรางวัลพิเศษ "ศิลปินแห่งศตวรรษ" และ "ศิลปินแห่งทศวรรษ" 13 ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในฐานะนักร้องเดี่ยว มากกว่าที่ศิลปินชายคนใดจะทำได้ และมียอดขายรวมกว่า 400 ล้านชุดทั่วโลก ไมเคิล แจ็กสัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไมเคิล แจ็กสัน · ดูเพิ่มเติม »

ไวน์

วน์แดง (หน้า) และไวน์ขาว (หลัง) บนโต๊ะอาหาร ไวน์ (wine) เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทำจากองุ่นหรือผลไม้อื่นหมัก สมดุลเคมีธรรมชาติขององุ่นทำให้มันหมักโดยไม่ต้องเพิ่มน้ำตาล กรด เอ็นไซม์ น้ำหรือสารอาหารอื่น ยีสต์บริโภคน้ำตาลในองุ่นแล้วเปลี่ยนเป็นเอทานอลและคาร์บอนไดออกไซด์ พันธุ์ขององุ่นและสายพันธุ์ของยีสต์ที่ต่างกันทำให้ได้ไวน์คนละแบบ แบบที่รู้จักกันดีเกิดจากอันตรกิริยาที่ซับซ้อนยิ่งระหว่างการเจริญทางชีวเคมีของผลไม้ ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องในการหมัก แหล่งที่ปลูก (terrior) และการระบุแหล่ง (appellation) ตลอดจนการแทรกแซงของมนุษย์ในกระบวนการโดยรวม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไวน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอพุตที่ 2

อพุตที่ 2 เป็นมเหสีของฟาโรห์อียิปต์โบราณของราชวงศ์ที่หก และยังเป็นน้องสาวและมเหสีของฟาโรห์เปปิที่ 2 เนเฟอร์กาเร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไอพุตที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ไอยคุปต์

ำหรับเทพที่เกี่ยวข้องกับอียิปต์โบราณ ดูที่ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์ ไอยคุปต์ เป็นคำศัพท์ที่คนไทยใช้เรียก อียิปต์สมัยโบราณ มีความหมายรวมถึง ชนชาติ ภาษา และวัฒนธรรม กล่าวโดยย่อคือ ใช้ทั้งในฐานะของคำนามและคุณศัพท์ ส่วนอียิปต์หลังยุคฟาโรห์ นิยมใช้คำว่า "อียิปต์" ตามปกต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไอยคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอด้า

อด้า / อาอิด้า (ละครโทรทัศน์) เป็นละครทีวีทุนสูง ภาคดึก ของคณะ 67 การละคร ทางไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม ราว..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไอด้า · ดูเพิ่มเติม »

ไฮพาเทีย

ปาเธีย แห่งอเล็กซานเดรีย (Hypatia of Alexandria ประมาณ พ.ศ. 918-958) นักปรัชญาลัทธิพลาโตใหม่ (Neoplatonist) นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ และครู ธิดาของนักปรัชญาธีออน ซึ่งเป็นนักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์แห่งเมืองอเล็กซานเดรีย ในอียิปต์ยุคเฮเลเนียน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไฮพาเทีย · ดูเพิ่มเติม »

ไฮแรกซ์จุดเหลือง

แรกซ์จุดเหลือง หรือ ไฮแรกซ์พุ่มไม้ (Yellow-spotted rock hyrax, Bush hyrax) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) ในวงศ์ไฮแรกซ์ (Procaviidae) มีลักษณะรูปร่างคล้ายกับไฮแรกซ์หิน ซึ่งเป็นไฮแรกซ์อีกชนิดหนึ่ง มีน้ำหนักประมาณ 1.5-2.5 กิโลกรัม มีความสูง 20-25 เซนติเมตร ความยาว 35-57 เซนติเมตร อายุขัยเฉลี่ย 5-10 ปี ไฮแรกซ์จุดเหลืองมีรูปร่างลักษณะเหมือนไฮแรกซ์หิน แต่มีจุดสีขาวเหนือดวงตาแต่ละข้าง อาศัยอยู่ตามโขดหินและถ้ำเล็ก ๆ กินพืชต่าง ๆ และใบไม้บนต้นไม้เป็นอาหาร ไฮแรกซ์จุดเหลืองก็เหมือนกับไฮแรกซ์หินตรงที่ก็ตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น เสือดาว, เสือชีตาห์, แมวป่าต่าง ๆ, นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ เช่น อินทรี, เหยี่ยว หรือนกฮูก รวมทั้งงู ไฮแรกซ์จุดเหลือง นับเป็นไฮแรกซ์ชนิดที่พบได้มากที่สุดและกระจายพันธุ์ในวงกว้างที่สุด โดยพบที่แองโกลา, บอตสวานา, บูรุนดี, คองโก, อียิปต์ตอนใต้, เอริเธรีย, เอธิโอเปีย, เคนยา, มาลาวี, โมซัมบิก, รวันดา, โซมาลี, ตอนเหนือของแอฟริกาใต้, ซูดาน, แทนซาเนีย, อูกันดา, แซมเบีย และ ซิมบับเว โดยไม่พบในอาระเบียเหมือนไฮแรกซ์หิน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไฮแรกซ์จุดเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไทยในอียิปต์

วไทยในประเทศอียิปต์ เป็นบุคคลที่มีเชื้อสายหรือสัญชาติไทยที่พำนักอยู่ประเทศอียิปต์ แบ่งเป็นบุคคลที่เข้ามาศึกษา, ผู้ใช้แรงงาน และผู้พำนักถาวรจากการสมรส ชาวไทยที่เข้ามาศึกษาส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และเข้าศึกษาในสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของประเทศอียิปต์ อย่างมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (Al Azhar University) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และมีความเก่าแก่กว่ามหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดของสหราชอาณาจักรด้วย นอกจากนี้ยังมีมหาวิทยาลัยอเมริกัน (The American University in Cairo) และมหาวิทยาลัยไคโรที่มีชื่อเสียงในการศึกษาด้านตะวันออกกลางและอาหรับศึกษา แต่การสมัครเข้าไม่สะดวกนักเพราะสภาการศึกษาของอียิปต์ยังไม่รับรองวุฒิการศึกษาของสถาบันการศึกษาในไทย นอกจากนักศึกษาก็ยังมีชาวไทยที่เข้ามาประกอบอาชีพเช่น ร้านอาหารไทย โดยเฉพาะสปาและหมอนวดซึ่งมีชาวไทยทำมากกว่า 300-500 คน รองลงมาคือ ช่างทอง และช่างเพชร หรือบางส่วนได้สมรสกับชาวอียิปต์ ซึ่งมีหญิงไทยจำนวนมากสมรสกับชาวอียิปต์ในต่างเมืองโดยมิได้ติดต่อกับสังคมไทยในอียิปต์ตามหัวเมืองใหญ่เล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไทยในอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 — สิ้นพระชนม์ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เป็นพระชายาองค์แรกของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารอังกฤษ ไดอานาถือกำเนิดในตระกูลขุนนางที่สืบทอดเชื้อสายจากราชวงศ์อังกฤษโบราณ  เป็นบุตรีคนที่ 3 ของ จอห์น สเปนเซอร์ ไวเคานต์อัลธอร์พ และฟรานเซส โรช ในวัยเด็กไดอานาพักอาศัยที่คฤหาสน์พาร์กเฮาส์ ซึ่งตั้งอยู่ภายในพื้นที่ตำหนักซานดริงแฮม ไดอานาเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนที่ประเทศอังกฤษและได้เข้าศึกษาต่อเป็นเวลาสั้นๆ ในโรงเรียนการเรือนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  เมื่ออายุได้ 14 ปี ไดอานาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เลดี้ เมื่อบิดาสืบทอดฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น เอิร์ลแห่งสเปนเซอร์ ไดอานาเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกเมื่อเป็นเข้าพิธีหมั้นหมายกับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไคโร

ร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ไคโร (القاهرة; Cairo) เป็นเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไนล์ ไคโรมีประชากรประมาณ 15.2 ล้านคน ซึ่งเป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในทวีปแอฟริกา และเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นแห่งหนึ่งในโลก ชื่อเมือง "ไคโร" ในภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ชัยชนะ" โดยความเชื่อว่าเกิดจากที่มีการมองเห็นดาวอังคารในช่วงที่ก่อสร้างเมือง และดาวอังคารเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของการทำลายล้าง อย่างไรก็ตามในอีกความเชื่อหนึ่ง ชื่อไคโรมาจากที่เมืองไคโรเป็นเมืองที่รบชนะทุกกองทัพที่มาตีเมืองไคโร รวมไปถึงกองทัพมองโกล กองทัพครูเสด หรือแม้แต่กองทัพออตโตมัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไคโร · ดูเพิ่มเติม »

ไปรษณีย์

ในที่ทำการไปรษณีย์ โดยในภาพเป็นที่ทำการไปรษณีย์นาหว้า อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม ไปรษณีย์ เป็นคำที่มีความหมายได้หลายอย่าง อาจหมายถึง จดหมาย (mail) บริการรับส่งจดหมายและพัสดุภัณฑ์ (postal service) รวมทั้งเป็นคำเรียกย่อ ๆ ของ ที่ทำการไปรษณี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไปรษณีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไป่ตู้

ป่ตู้ เป็นเสิร์ชเอนจินอันดับหนึ่งของประเทศจีน และเป็นเว็บไซต์ที่คนใช้มากที่สุดอันดับ 4 ของโลก (ข้อมูล กรกฎาคม พ.ศ. 2549) ใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และไป่ตู้ · ดูเพิ่มเติม »

เบวะซิซิวแมบ

วะซิซิวแมบ (Bevacizumab) ที่วางตลาดในชื่อการค้า Avastin เป็นยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งบางอย่างและโรคตาอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ สำหรับมะเร็ง มันปล่อยเข้าเส้นเลือดดำอย่างช้า ๆ เพื่อรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งปอด, มะเร็งสมอง (glioblastoma), และมะเร็งเซลล์ไต (renal cell carcinoma) สำหรับรักษาจุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (AMD) มันใช้ฉีดเข้าในตา ผลข้างเคียงสามัญเมื่อใช้รักษามะเร็งรวมทั้งเลือดกำเดาไหล ปวดหัว ความดันโลหิตสูง และผื่น ผลข้างเคียงรุนแรงรวมทั้งทางเดินอาหารทะลุ (gastrointestinal perforation) เลือดออก แพ้ ลิ่มเลือด และความเสี่ยงติดเชื้อสูงขึ้น เมื่อใช้รักษาตา ผลข้างเคียงรวมทั้งการเสียการเห็นและจอตาลอก bevacizumab อยู่ในหมู่ยายับยั้งกำเนิดหลอดเลือด (angiogenesis inhibitor) และสารภูมิต้านทานโมโนโคลน (monoclonal antibody) มันทำงานโดยชะลอการเกิด/การเติบโตของเส้นเลือด bevacizumab อนุมัติให้ใช้รักษาในสหรัฐอเมริกาปี 2004 เป็นยาอย่างหนึ่งในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก คือเป็นยาที่มีประสิทธิผลและปลอดภัยที่สุดและจำเป็นในระบบสาธารณสุข โดยติดรายการเพราะใช้รักษาโรคตา ในประเทศกำลังพัฒนา ราคาขายส่งของมันอยู่ที่ 638.54 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 20,741 บาท) ต่อขวดในปี 2014 เพื่อขวดขนาดเดียวกันองค์การอนามัยสหราชอาณาจักร (NHS) ต้องจ่าย 242.66 ปอนด์สเตอร์ลิง (ประมาณ 12,700 บาท).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเบวะซิซิวแมบ · ดูเพิ่มเติม »

เชิงเทิน

วาดของเชิงเทิน ด้านข้างของภาพวาดของเชิงเทินปราสาทปิเยร์ฟงด์ (Château de Pierrefonds) ที่เป็นเชิงเทินสามชั้น เชิงเทิน (Battlement หรือ Crenellation) เป็นสิ่งก่อสร้างทางยุทธศาสตร์เช่นบนกำแพงเมืองหรือปราสาทที่ประกอบด้วยกำแพงบัง (parapet) ที่เป็นกำแพงเตี้ยที่บากออกเป็นช่องๆ เป็นระยะๆ เพื่อใช้ในการยิงธนูหรือเครื่องยิงอื่นๆ ออกจากกำแพง ส่วนที่บากหรือตัดออกไปเรียกว่า “ช่องกำแพง” (Embrasure) ส่วนที่เป็นกำแพงเรียกว่า “ใบสอ” (Merlon) พื้นเชิงเทินมักจะมีช่องที่เปิดได้ระหว่างคันทวย ที่ใช้ในการหย่อนหินหรือของร้อนลงมายังหรือยิงศัตรูที่อยู่ข้างล่าง ส่วนนี้เรียกว่าช่องเชิงเทิน (machicolation) คำว่า “Battlement” มาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า “batailler” ที่แปลว่าสร้างเสริมด้วย “batailles” หรือหอเล็ก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเชิงเทิน · ดูเพิ่มเติม »

เบเรนิซที่ 4

รนิซที่ 4 เอพิฟิเนีย (กรีก: Βερενίκη; 77-55 ปีก่อนคริสตกาล) พระองค์ประสูติและสิ้นพระชนม์ในเมืองอเล็กซานเดรียที่อียิปต์ พระองค์เป็นเจ้าหญิงชาวกรีกแห่งราชวงศ์ปโตเลมี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเบเรนิซที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

้าหญิงเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (พระนามเต็ม: เฟรเดอริกา หลุยส์ ไธรา วิกตอเรีย โอลกา ซิซิลี อิสซาเบล คริสตินา; กรีก: Φρειδερίκη,18 เมษายน พ.ศ. 2460 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีพอลที่ 1 แห่งกรีซ พระนางจึงมีพระยศเป็นสมเด็จพระราชินีเฟรเดอริกาแห่งกรีซ (กรีก: Βασίλισσα Φρειδερίκη των Ελλήνων).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

เกรตริฟต์แวลลีย์

แนวหุบเขาทรุดถ่ายจากดาวเทียม เกรตริฟต์แวลลีย์ (Great Rift Valley) คือหุบเขารอยเลื่อนขนาดใหญ่ เป็นรอยแยกยาวต่อเนื่องขนาดยาวที่สุดในโลก ขนาดความกว้างประมาณ 30-100 กิโลเมตร เป็นหน้าผาดิ่งจากที่ราบสูงรอบ ๆ ลึกกว่า 450-800 เมตร พาดผ่าน 19 ประเทศ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เรียงกันได้ดังนี้ เริ่มต้นจากประเทศซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน เวสต์แบงก์ (ปาเลสไตน์) ผ่านเข้าสู่ทะเลแดง เลียบชายฝั่งอียิปต์และซูดาน ก่อนจะเข้าสู่เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา ยูกันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) รวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย แซมเบีย มาลาวี และสิ้นสุดในโมซัมบิก รวมความยาวที่พาดผ่านตั้งแต่เหนือจรดใต้ ประมาณ 6,750 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ 1 ใน 4 เท่าของเส้นรอบวงโลก (เส้นศูนย์สูตร) โดยที่ขอบด้านข้างของหุบเขาทรุดสูงมากกว่า 2,000 เมตร หุบเขาทรุดเกิดจากการที่แผนเปลือกโลก 2 แผ่นแยกออกจากกัน คือ แผ่นเปลือกโลกที่รองรับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกาตะวันออก กับแผ่นเปลือกโลกที่รอบรับทวีปแอฟริกาทั้งทวีป ซึ่งค่อย ๆ แยกตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอทำให้เกิดแนวทรุดตัวเป็นแนวยาว เกิดที่ที่ราบทรุดตัวแม่น้ำ ร่องธารลึก และภายในยุคหน้าน้ำทะเลจะท่วมเข้ามาจนกระทั่งตัดทวีปแอฟริกาขาดออกจากกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเกรตริฟต์แวลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลียวอาร์คิมิดีส

กลียวอาร์คิมิดีส ใช้มือหมุนเพื่อขนถ่ายน้ำขึ้นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกลียวอาร์คิมิดีส (Archimedes' screw) หรือปั๊มเกลียว (screwpump) คือเครื่องจักรในประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการขนถ่ายน้ำจากที่ต่ำไปยังท้องร่องชลประทาน อาร์คิมิดีสได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นปั๊๊มเกลียว แต่ที่แท้แล้วมีการใช้งานเครื่องจักรลักษณะนี้มาก่อนหน้าเขาแล้วหลายศตวรรษในประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเกลียวอาร์คิมิดีส · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เกีย ซีเฟีย

กีย ซีเฟีย (Kia Sephia) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็ก (Compact Car) ที่ผลิตโดย เกีย เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2535 เพื่อทดแทนรุ่นเก่าอย่าง เกีย แคพพิตัล (Kia Capital) และเลิกผลิตไปในปี พ.ศ. 2546 ชื่อ Sephia นั้นได้มาจากคำ 6 คำดังต่อไปนี้ "Style" "Elegant" "Powerful" "Hi-tech" "Ideal" "Auto.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเกีย ซีเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ

มืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ อยู่ภายใต้การจัดการขององค์การยูเนสโก ในโครงการเมืองหลวงทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมอาหรับและสร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1951

กีฬาเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1951 (ألعاب البحر الأبيض المتوسط 1951) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่อะเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ 1951 · ดูเพิ่มเติม »

เมดีตาซียง

มดีตาซียง (Méditation) เป็นท่อนดนตรีอินเตอร์เมซโซ จากองก์ที่สองของอุปรากรเรื่อง ตาอิส ของฌูล มัสแน คีตกวีชาวฝรั่งเศส แต่งขึ้นสำหรับบรรเลงเดี่ยวไวโอลินร่วมกับวงออร์เคสตรา ออกแสดงครั้งแรกที่โรงอุปรากรปาแลการ์นีเย กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเมดีตาซียง · ดูเพิ่มเติม »

เมนาเฮม เบกิน

''(1978)'' เมนาเฮม เบกิน เมนาเฮม วูล์โฟวิช เบกิน (Menachem Wolfovich Begin - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2535) หัวหน้าองค์กรลับใต้ดิน "อิรกูน" ของลัทธิไซออนชาวโปแลนด์เชื้อสายยิว ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ นายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอลที่สังกัดพรรคลิคุด (พ.ศ. 2520-2526).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเมนาเฮม เบกิน · ดูเพิ่มเติม »

เราะมะฎอน ศุบฮี

ราะมะฎอน ศุบฮี (translit; เกิด 23 มกราคม ค.ศ. 1997) เป็นนักฟุตบอลชาวอียิปต์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งปีกให้ฮัดเดอส์ฟีลด์ทาวน์และทีมชาติอียิปต์ ศุบฮีเริ่มต้นอาชีพฟุตบอลกับอัลอะฮ์ลี โดยลงเล่นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเราะมะฎอน ศุบฮี · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเรือดำน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เลกอส

ตลาดในนครเลกอส ปัจจุบันเลกอสเป็นเมืองที่ประชากรหนาแน่นมากแห่งหนึ่งของโลก เลกอส หรือ ลากอส (Lagos) จัดว่าเป็นเมืองใหญ่อันดับสองของทวีปแอฟริกา รองจากกรุงไคโรของอียิปต์ เลกอสเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรหนาแน่นมาก มีจำนวนประชากรถึง 15.5 ล้านคน เป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ การบิน การพาณิชย์ อุตสาหกรรมน้ำมันในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศไนจีเรีย เนื่องจากเลกอสเป็นเมืองที่ใหญ่มาก มีประชากรอาศัยหนาแน่นเกินไป ดังนั้นรัฐบาลไนจีเรียจึงได้ย้ายเมืองหลวงจากเลกอสไปอยู่ที่กรุงอาบูจาแทน ปัจจุบันเลกอสจึงจัดเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของโลก เพราะไนจีเรียจัดเป็นประเทศที่ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเลกอส · ดูเพิ่มเติม »

เลียร์เซอ เอส.กา.

ราชสโมสรกีฬาเลียร์ (Koninklijke Lierse Sportkring) หรือเรียกแบบย่อว่า (กา.) เลียร์เซอ เอ.ก. ((K.) Lierse S.K.) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพอยู่ในเมืองเลียร์ จังหวัดแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม เลียร์เซอเคยเป็นแชมป์ 4 สมัย และเป็นแชมป์บอลถ้วย 2 สมัย เลียร์เซอเป็นหนึ่งในหกของทีมในลีกเบลเยียมที่เคยเล่นในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก อดีตมีนักฟุตบอลชาวไทยร่วมทำหน้าที่กับสโมสรแห่งนี้ด้วยคือ ธีรเทพ วิโนทั.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเลียร์เซอ เอส.กา. · ดูเพิ่มเติม »

เลขาธิการสหประชาชาติ

ลขาธิการสหประชาชาติ เป็นหัวหน้าสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ โดยตามกฎบัตรสหประชาชาติ การแต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติจะต้องได้รับมติจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามคำแนะนำของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่จะเป็นฝ่ายเสนอตัวบุคคลที่มารับตำแหน่งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งที่มีบทบาทสูงสุดในองค์การสหประชาชาติ เลขาธิการสหประชาชาติจะดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี โดยจะดำรงตำแหน่งคนละหนึ่งหรือสองสมัย และตามธรรมเนียมแล้ว จะต้องไม่เป็นบุคคลจากประเทศสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนี้ก็เป็นที่เข้าใจกันว่า บุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งคนต่อไปจะต้องมาจากประเทศนอกทวีปของเลขาธิการคนล่าสุด ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ อังตอนีอู กูแตรึช อดีตนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส โดยเป็นเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนที่ 9.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเลขาธิการสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เวลา

ำหรับนวนิยายซีไรต์ดูที่ เวลา (นวนิยาย) นาฬิกาพก เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเวลา เวลา ในมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นองค์ประกอบพื้นฐานหนึ่งของจักรวาล ให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ดำเนินอยู่ในนั้น ซึ่งเป็นแนวคิดของไอแซก นิวตัน อีกมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นสิ่งสมมุติเช่นเดียวกับพื้นที่ (สเปซ) และตัวเลข มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นลำดับ แต่ไม่ได้หมายความว่าเวลากับเหตุการณ์เหล่านั้นจะรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งเป็นแนวคิดของอิมมานูเอล คานต์ และกอตฟรีด ไลบ์นิซ บางที มุมมองทั้งสองเกี่ยวกับเวลาก็ยังน่าสับสนอยู่ จึงมีการนิยามโดยการปฏิบัติ ความหมายของการดำเนินงาน หรือ(operational definition) ซึ่งมักใช้การเคลื่อนที่หรือการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นคาบของวัตถุเป็นตัววัดเวลา เช่น ดิถี (ข้างขึ้นข้างแรม) ของดวงจันทร์ การแกว่งของลูกตุ้ม การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เวลา เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศิลปศาสตร์ แต่ละสาขาก็มีมุมมองต่าง ๆ กันไป เช่น ในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจมองว่า "เวลาเป็นเงินทอง" ("Time is money.") เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปตะวันออก

วลายุโรปตะวันออก (Eastern European Time - EET) เป็นชื่อเขตเวลา UTC+2 อันหนึ่ง ใช้ในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ประเทศส่วนใหญ่จะใช้เวลาฤดูร้อนยุโรปตะวันออก เป็นเวลาออมแสงด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเวลายุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก

วลาออมแสงยุโรปตะวันออก (Eastern European Summer Time - EEST) เป็นชื่อเขตเวลาออมแสงของเขตเวลา UTC+3 เป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนหน้าเวลาสากลเชิงพิกัด เป็นเวลาที่กำหนดใช้ระหว่างช่วงฤดูร้อนในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ในระหว่างฤดูหนาวประเทศเหล่านี้จะกลับไปใช้เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เศาะลาฮุดดีน

วาดแซลาดิน จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เศาะลาฮุดดีน อัลอัยยูบี หรือที่ชาวตะวันตกเรียกว่า แซลาดิน มีชื่อภาษาอาหรับเต็มว่า เศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ อิบน์ อัยยูบ บางครั้งก็ถูกเรียกว่า อัลมาลิก อัลนาศิร เศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ เกิดเมื่อ..1137 ในตำบลติกรีต (ปัจจุบันอยู่ในอิรัก) และเสียชีวิตในวันที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเศาะลาฮุดดีน · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพ

รีภาพ, อิสรภาพ หรือเสรีธรรม ในทางปรัชญา หมายถึง เจตจำนงเสรี ซึ่งตรงข้ามกับนิยัตินิยม ในทางการเมือง เสรีภาพประกอบด้วยเสรีภาพทางสังคมและการเมืองที่รับประกันแก่พลเมืองทุกคน ในทางเทววิทยา เสรีภาพ คือ อิสรภาพจากพันธะบาป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเสรีภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่ง

ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่งแคสเปียน

ือโคร่งแคสเปียน หรือ เสือโคร่งเปอร์เซีย (Caspian tiger, Persian tiger.; ببر قزويني) เสือโคร่งสายพันธุย่อยสายพันธุ์หนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้ว มีการกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงตะวันออกกลาง เช่น อัฟกานิสถาน, เทือกเขาคอเคซัส, ภาคตะวันตกของจีน, ที่ราบสูงแมนจูเรีย, อิหร่าน, อิรัก, ตุรกี, มองโกเลีย, คาซัคสถาน, ทาจิกิสถาน, คีร์กีซสถาน, เติร์กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน รวมถึงอาจจะแพร่กระจายพันธุ์ไปถึงซูดานในแอฟริกาเหนือด้วยก็เป็นได้ เนื่องจากมีผู้พบขนเสือโคร่งวางขายในตลาดของไคโร อียิปต์ ในปี ค.ศ. 1951 ซึ่งขนเสือผืนนี้มาจากซูดาน เสือโคร่งแคสเปียน มีลักษณะคล้ายคลึงกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) มาก นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่อีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยตัวผู้ในเตอร์กิสถานมีความยาวลำตัว 270 เซนติเมตร นับเป็นสถิติที่ใหญ่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา ในขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมา น้ำหนักตัวเต็มที่ประมาณ 240 กิโลกรัม ล่ากวางและหมูป่า รวมถึงไก่ฟ้า กินเป็นอาหาร ถิ่นที่อยู่อาศัยของเสือโคร่ง 2 สายพันธุ์นี้ต่อติดกัน โดยเสือโคร่งแคสเปียนจะกระจายพันธุ์อยู่แถบตะวันตกของภูมิภาคเอเชียกลาง และเสือโคร่งไซบีเรียจะกระจายพันธุ์อยู่ทางตะวันออกของภูมิภาคเอเชียกลางจนถึงเอเชียเหนือ ภาพวาดแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของลายที่หางของเสือโคร่งแคสเปียน (ซ้าย) กับเสือโคร่งไซบีเรีย (ขวา) เสือโคร่งแคสเปียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 โดยที่เทือกเขาคอเคซัสตัวสุดท้ายถูกฆ่าตายไปในปี ค.ศ. 1922 ใกล้กับทบิลิซี จอร์เจีย หลังจากไปฆ่าสัตว์เลี้ยงในฟาร์มของชาวบ้าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายในตุรกีถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1970 ใกล้กับอูลูเดเร ฮักการี ในอิรักเคยพบเสือโคร่งแคสเปียนเพียงตัวเดียว ถูกฆ่าใกล้กับโมซูล ในปี ค.ศ. 1887 ในอิหร่าน เสือโคร่งแคสเปียนตัวสุดท้ายถูกฆ่าในปี ค.ศ. 1959 ในโกลีสตาน เสือโคร่งแคสเปียนตัวหนึ่งในลุ่มแม่น้ำทาริม ของจีนถูกฆ่าตายในปี ค.ศ. 1899 ใกล้กับทะเลสาบลอปนอร์ในมณฑลซินเจียง และหลังจากทศวรรษที่ 20 ก็ไม่มีใครเห็นเสือโคร่งสายพันธุ์นี้ในลุ่มแม่น้ำนี้อีกเลย เสือโคร่งแคสเปียนหายไปจากลุ่มแม่น้ำมานัสในเทือกเขาเทียนซานทางตะวันตกของอุรุมชี ในทศวรรษที่ 60 ที่แม่น้ำไอรี ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยสำคัญแหล่งสุดท้ายในบริเวณทะเลสาบบัลฮัช มีผู้พบครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1948 และตอนปลายแม่น้ำอามูดาร์ยาบริเวณชายแดนระหว่างเติร์กเมนิสถาน, อุซเบกิสถาน และอัฟกานิสถาน เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 70 แล้ว แม้จะมีรายงานอย่างไม่เป็นทางการว่าพบเสือโคร่งแคสเปียนบริเวณทะเลอารัลใกล้กับนูคัส ในปี ค.ศ. 1968 หรือในเขตสงวนทางธรรมชาติทิโกรวายาบัลกา ซึ่งเป็นป่ากกริมแม่น้ำอามูดาร์ยา บริเวณชายแดนทาจิกิสถานและอัฟกานิสถาน มีผู้พบเห็นครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1953 แต่มีผู้อ้างว่าพบเห็นรอยเท้าคล้ายรอยเท้าเสือโคร่งขนาดใหญ่ในปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเสือโคร่งแคสเปียน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางสายอำพัน

“เส้นทางการค้าสายอำพัน” เส้นทางสายอำพัน (Amber Road) เป็นเส้นทางการค้าสายโบราณสำหรับการขนส่งอำพัน เส้นทางการค้าสายอำพันเป็นเส้นทางบกและทางน้ำที่เชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชีย และจากตอนเหนือของยุโรปไปยังทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อำพันเป็นสิ่งสำคัญที่ใช้ในการตกแต่งที่ขนส่งจากฝั่งทะเลเหนือและทะเลบอลติกข้ามแผ่นดินใหญ่ยุโรปตามลำแม่น้ำวิสทูรา (Vistula River) และ แม่น้ำนีพเพอร์ ไปยังอิตาลี, กรีซ, ทะเลดำ และอียิปต์เป็นเวลาหลายพันปีมาแล้วและเป็นเวลานานหลังจากนั้น ในสมัยโรมันเส้นทางสายหลักแล่นลงมาทางใต้จากฝั่งทะเลบอลติกในภูมิภาคปรัสเซีย ฝ่าดินแดนโบอิอิ (สาธารณรัฐเช็ก และ สโลวาเกียปัจจุบัน) ไปยังตอนต้นทะเลเอเดรียติก อำพันจากฝั่งทะเลบอลติกพบในที่ฝังพระศพของฟาโรห์ตุตันคามุน และถูกส่งจากทะเลเหนือไปเครื่องสักการะยังเทวสถานอพอลโลที่เดลฟี จากทะเลดำอำพันก็ถูกส่งต่อไปยังเอเชียโดยเส้นทางสายไหมซึ่งเป็นเส้นทางการค้าสายโบราณอีกสายหนึ่ง จุดเริ่มต้นของเส้นทางอยู่ที่เมืองคอพและทรูโซในภูมิภาคปรัสเซียเดิมบนฝั่งทะเลบอลติก เส้นทางการค้าสายอำพันอาจจะมีส่วนช่วยในการสร้างความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมของยุคสัมฤทธิ์นอร์ดิก (Nordic Bronze Age) ในสแกนดิเนเวียโดยการนำอิทธิพลของเมดิเตอเรเนียนเข้ามายังประเทศต่าง ๆ ทางตอนเหนือสุดของยุโรป บางครั้งแคว้นคาลินินกราด ก็เรียกว่า “Янтарный край” หรือ “บริเวณอำพัน”.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเส้นทางสายอำพัน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก เส้นเมริเดียนนี้หมายถึงเส้นแบ่งเขตแดนส่วนมากทางตะวันออกระหว่างลิเบียกับอียิปต์ และเป็นเส้นแบ่งเขตแดนทั้งหมดระหว่างลิเบียกับซูดาน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวออสเปร

หยี่ยวออสเปร (Osprey, Sea hawk, Fish eagle) เป็นนกล่าเหยื่อที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ ยาว 60 เซนติเมตร ช่วงปีกกว้าง 2 เมตร ขนส่วนบนเป็นสีน้ำตาล ศีรษะและส่วนล่างมีสีค่อนข้างเทา มีสีดำบริเวณตาและปีก เหยี่ยวออสเปรมีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชอบทำรังใกล้กับแหล่งน้ำ แม้ว่าในทวีปอเมริกาใต้จะเป็นเพียงแค่นกอพยพนอกฤดูผสมพันธุ์ แต่ก็ถือว่าสามารถพบได้ทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา เหยี่ยวออสเปรกินปลาเป็นอาหาร จึงพัฒนาลักษณะทางกายภาพเฉพาะและแสดงพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เพื่อช่วยในการล่าและการจับเหยื่อ จึงส่งผลให้มีสกุลและวงศ์เป็นของตนเองคือ สกุล Pandion และ วงศ์ Pandionidae มี 4 สปีชีส์ย่อยที่ได้รับการยอมรับ แม้จะมีนิสัยชอบในการทำรังใกล้แหล่งน้ำ แต่เหยี่ยวออสเปรก็ไม่ใช่อินทรีทะเล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเหยี่ยวออสเปร · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ฟาโชดา

แผนที่ทวีปแอฟริกาแสดงอาณานิคมของอังกฤษ (สีเหลือง) และฝรั่งเศส (สีแดง) ที่ตั้งเมืองโคดอก (ฟาโชดาในปัจจุบัน) ในประเทศซูดาน เหตุการณ์ฟาโชดา (Fashoda Incident พ.ศ. 2441 - 2442) เป็นกรณีพิพาทระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศสเพื่อแข่งขันกันช่วงชิงลุ่มแม่น้ำไนล์ตอนบนและดินแดนในทวีปแอฟริกาเป็นอาณานิคมของตน เหตุการณ์รุนแรงมากจนถึงขั้นวิกฤติเมื่อฝรั่งเศสเข้ายึดเมืองฟาโชดาได้ก่อนอังกฤษในวันที่ 18 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเหตุการณ์ฟาโชดา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในอเล็กซานเดรีย พ.ศ. 2554

หตุระเบิดในอเล็กซานเดรี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเหตุระเบิดในอเล็กซานเดรีย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุปลาฉลามโจมตีที่ซาร์มอัลชีค พ.ศ. 2553

อ่าวนามา ซาร์มอัลชีค ใกล้กับสถานที่เกิดเหตุปลาฉลามฆ่านักท่องเที่ยวเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม เหตุปลาฉลามโจมตีที่ซาร์มอัลชี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเหตุปลาฉลามโจมตีที่ซาร์มอัลชีค พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560

มื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

เอ แอนด์ ดับบลิว

อแอนด์ดับบลิว (A&W) เป็นธุรกิจร้านอาหารจานด่วนที่มีสาขาหลายประเทศทั่วโลก มีจุดเด่นของอาหารคือ เครื่องดื่มรูทเบียร์ และวาฟเฟิล โดยชื่อเอแอนด์ดับบลิว มาจากอักษรตัวแรกของชื่อท้ายของ รอย อัลเลน (Roy Allen) และแฟรงค์ ไรท์ (Frank Wright) ปัจจุบันเป็นบริษัทในเครือของยัม! แบรนด์ส อิง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอ แอนด์ ดับบลิว · ดูเพิ่มเติม »

เอบียูโรบอตคอนเทสต์

อบียูโรบอตคอนเทสต์ (อังกฤษ: ABU Robot Contest หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า ABU Robocon) เป็นการการแข่งขันหุ่นยนต์ของนักเรียน นักศึกษาในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยจะมีประเทศที่เป็นสมาชิกของเอบียูหมุนเวียนจัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพในทุกปี ซึ่งยังคงจัดการแข่งขันอยู่จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอบียูโรบอตคอนเทสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เอบียูโรบอตคอนเทสต์ 2002

การแข่งขันเอบียูโรบอตคอนเทสต์ในปี ค.ศ. 2002นั้น ถือเป็นปีแรกของการจัดการแข่งขันเอบียูโรบอตคอนเทสต์ ซึ่งทางเอบียูได้มอบหมายให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งแรก โดยทางเจ้าภาพนั้นได้กำหนดกติกาการแข่งขันและใช้ชื่อการแข่งขันนี้ว่า Reach for The Top of Mt.Fuji หรือชื่อภาษาไทยว่า พิชิตยอดภูเขาไฟฟูจิ ซึ่งประเทศไทยนั้นได้ส่งทีม MIMI ซึ่งเป็นทีมที่มาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและเป็นผู้ชนะในการแข่งขันหุ่นยนต์เอบียูชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันกับอีก 19 ทีม จาก 18 ประเทศ(ไม่รวมประเทศไทย) และในที่สุดทีม TELEMATIC จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีโฮจิมินซิตี้ ประเทศเวียดนาม ก็สามารถคว้าชัยชนะในการแข่งขันครั้งนี้ได้สำเร็.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอบียูโรบอตคอนเทสต์ 2002 · ดูเพิ่มเติม »

เอกราชอัสซีเรีย

อกราชอัสซีเรีย (Assyrian independence) เป็นขบวนการทางการเมืองและลัทธิที่สนับสนุนการสร้างดินแดนอัสซีเรียสำหรับชาวคริสต์อัสซีเรียที่พูดภาษาแอราเมอิกในภาคเหนือของอิรัก การต่อสู้ของขบวนการเอกราชอัสซีเรียเริ่มตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงปัจจุบัน บริเวณที่ชาวอัสซีเรียอาศัยอยู่คือบริเวณนินนาวา-โมซูล ซึ่งเป็นที่ตั้งของนินเนเวห์ เมืองหลวงของอัสซีเรียในคัมภีร์ไบเบิล บริเวณนี้เป็นที่รู้จักในชื่อสามเหลี่ยมอัสซีเรี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอกราชอัสซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เดอลาครัว

วาดตัวเอง พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) แฟร์ดีน็อง-วิกตอร์-เออแฌน เดอลาครัว เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส เขาสามารถเรียนจากงานของยุคอื่นๆ เขานับถือการใช้สีของราฟาเอล และพลังวาดภาพอย่างเต็มที่ของแรมบรังด์และรูเบนส์ การศึกษางานของปีเตอร์ พอล รูเบนส์อย่างใกล้ชิดของเขาทำให้เขาพัฒนารูปแบบภาพวาดที่ทิ้งความเข้มงวดของยุคคลาสสิก นำค่าแท้จริงของสีกลับมา เดอลาครัวมีอำนาจวาสนาจากคลาสสิก ศิลปะของเขาให้ทางเข้าตรงไปสู่สถานะทางอารมณ์ภายใน ดังนั้นมันกลายเป็นบางอย่างที่ศิลปะสมัยใหม่ (Modernism) จะเอาทิศทางมาจากมัน ศิลปะซึ่งปล่อยตัวมันเองให้เป็นอิสระอย่างเพิ่มขึ้นจากความจริงเพื่อหาค่าแท้จริงของมัน ราบเรียบ นามธรรมและเต็มไปด้วยอารมณ.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเออแฌน เดอลาครัว · ดูเพิ่มเติม »

เอจออฟมีโธโลจี

อจออฟมีโธโลจี (Age of Mythology) หรือมักย่อเป็น AoM เป็นเกมคอมพิวเตอร์แนววางแผนเรียลไทม์ ซึ่งมีเนื้อหาของปรัมปราวิทยา พัฒนาโดย เอนเซมเบิลสตูดิโอส์ และจัดจำหน่ายโดยไมโครซอฟท์เกมสตูดิโอส์ ออกวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอจออฟมีโธโลจี · ดูเพิ่มเติม »

เอจออฟเอ็มไพร์ส (วีดีโอเกม)

อจออฟเอ็มไพร์ส (Age of Empires; AoE) เป็นชุดวิดีโอเกมแนว real-time strategy อิงประวัติศาสตร์ซึ่งเปิดตัวในปี 1997 พัฒนาโดยเอนเซมเบิลสตูดิโอส์ และวางจำหน่ายในนามไมโครซอฟท์ ภาคแรกของเกม เอจออฟเอ็มไพร์ส เกมพัฒนาจากคอมพิวเตอร์แบบ 2 มิติ เกมให้ผู้เล่นสวมบทเป็นผู้นำของอารยธรรมโดยพัฒนาอารยธรรมต่าง ๆ จนครบทั้ง 4 ยุค (ยุคหิน ยุคหินใหม่ ยุคสัมฤทธิ์ และยุคเหล็ก) ภายหลังเกมถูกย้ายมาลงพอคเก็ตพีซีโดยวินโดว์ แต่ยังคงคล้ายกับภาคเดิมบนพีซี Despite this, it received generally good reviews, and the ภาคเสริม Age of Empires: The Rise of Rome was released in 1998.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอจออฟเอ็มไพร์ส (วีดีโอเกม) · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มไอเอ็ม-104 แพทริออต

รวดแพทริออตขณะยิงจากรถบรรทุก TEL ขนาดบรรจุ 4 ลูก MIM-104 แพทริออต หรือ จรวดแพทริออต (PATRIOT, ย่อมาจาก Phased Array Tracking Radar to Intercept Of Target) เป็นระบบขีปนาวุธจากพื้นสู่อากาศ ของกองทัพเรือสหรัฐ และประเทศพันธมิตร ระบบแพทริออต ออกแบบโดยเรธีออน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969 เพื่อใช้เป็นระบบป้องกันขีปนาวุธ เริ่มผลิตตั้งแต่ปี ค.ศ. 1976 และประจำการในกองทัพสหรัฐตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 และจำหน่ายให้ประจำการในกองทัพของมิตรประเทศที่ประกอบด้วย โปแลนด์ ไต้หวัน อียิปต์ เยอรมนี กรีซ อิสราเอล ญี่ปุ่น คูเวต เนเธอร์แลนด์ ซาอุดิอาระเบีย จอร์แดน และสเปน และอยู่ระหว่างการจัดซื้อโดยเกาหลีใต้ จรวดแพทริออตเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในสงครามอ่าวเปอร์เซีย เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอ็มไอเอ็ม-104 แพทริออต · ดูเพิ่มเติม »

เอเคอร์ (อิสราเอล)

อเคอร์ หรือ อักโก (Acre หรือ Akko) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของบริเวณกาลิลีทางตอนเหนือของอิสราเอล ตัวเมืองตั้งอยู่บนแหลมหรือแผ่นดินที่ยื่นออกไปในทะเล (promontory) ของอ่าวไฮฟา (Haifa Bay) ตามสถิติของสำนักงานสถิติกลางแห่งอิสราเอล เอเคอร์มีประชากรทั้งหมดราว 46,000 คนในปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเอเคอร์ (อิสราเอล) · ดูเพิ่มเติม »

เฮอรอโดทัส

รูปแกะสลักเฮอโรโดทัส เฮอโรโดทัส (Herodotos หรือ Herodotus – ประมาณ พ.ศ. 58-118) นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกผู้บันทึกสงครามเปอร์เซีย ผู้เริ่มต้นประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันตก เกิดที่เมืองฮาลิคาร์นาสซัส ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียไมเนอร์ซึ่งในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของเปอร์เซีย เฮอโรโดทัสได้เดินทางท่องเที่ยวศึกษาทั่วดินแดนในเอเชียไมเนอร์และตะวันออกกลาง และยังได้เดินทางลงใต้ไปอียิปต์ถึงเมืองเอเลแฟนทีน (อัสวานในปัจจุบัน) Oikumene) ประมาณ พ.ศ. 90 หรือ 450 ปีก่อนคริสตกาล โดยจำลองจากบันทึกของเฮอโรโดทัส เฮอโรโดทัส เคยอาศัยอยู่ที่กรุงเอเธนส์ หรืออย่างน้อยก็ตอนกลางของกรีกและได้พบกับโสโฟเคิลส์ (Sophocles) ก่อนที่จะไปเข้าเป็นพลเมืองร่วมอยู่กับอาณานิคมกรีกที่เมืองธุริ (Thurii) เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเฮอรอโดทัส · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์เมทิคา

อร์เมทิคาเป็นวรรณคดีโบราณของอียิปต์ เชื่อกันว่าเขียนขึ้นโดยเทพเจ้าธอธซึ่งเป็นเทพเจ้าที่ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ไฮโรกลิฟ ชาวกรีกเชื่อว่าเทพเจ้าองค์นี้เป็นองค์เดียวกับเทพเฮอร์มีสของตน จึงเรียกงานเขียนของเทพธอธว่าเฮอร์เมท.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเฮอร์เมทิคา · ดูเพิ่มเติม »

เฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์

อาลัฟ (เกษียณ) เฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์ (הרצל בודינגר; Herzl Bodinger; ค.ศ. 1943 –) เป็นนายพลที่เกษียณแล้วในกองกำลังป้องกันประเทศอิสราเอล และอดีตผู้บัญชาการทหารแห่งกองทัพอากาศอิสราเอล ปัจจุบัน โบดิงเงอร์เป็นสมาชิกของคณะกรรมการผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยแอเรียล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเทปเฮอร์เนบติ

ทปเฮอร์เนบติ เป็นสมเด็จพระราชินีและพระมเหสีแห่งราชวงศ์ที่สามในช่วงราชอาณาจักรเก่าของอียิปต์โบราณ พระองค์เป็นพระองค์เดียวที่รู้จักว่าเป็นพระมเหสีของฟาโรห์โจเซอร์ พระนางเฮเทปเฮอร์เนบติและพระธิดาของพระองค์นามว่า ไอเนตคาเอส ได้ปรากฎอยู่ในแผ่นศิลาสลักที่ค้นพบที่พิระมิดขั้นบันไดที่ค้นพบอยู่ที่เมืองซัคคาราและที่เมืองเฮลิโอโพลิส ซึ่งสลักเป็นภาพทั้งสามพระองค์ พระองค์อาจจะเป็นพระราชธิดาของฟาโรห์คาเซคเคมวีกับพระนางนิมาอัตเทป ดังนั้นพระองค์อาจจะเป็นพระขนิฐาหรือพระขนิษฐาต่างมารดากับฟาโรห์โจเซอร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเฮเทปเฮอร์เนบติ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเทปเฮเอสที่ 1

ทปเฮเอสที่ 1 เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณในช่วงราชวงศ์ที่สี่ของราชอาณาจักรอียิปต์ และเป็นพระมเหสีในฟาโรห์สเนฟรู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเฮเทปเฮเอสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เฮเตเฟอร์เรส

เจ้าหญิงเฮเตเฟอร์เรส (หรือ เฮเตเฟอร์เรส A) เป็นเจ้าหญิงอียิปต์ที่อาศัยอยู่ในช่วงราชวงศ์ที่ 4 เฮเตเฟอร์เรสเป็นลูกสาวของฟาโรห์สเนฟรูและเป็นภรรยาของอัครมหาเสนาบดีอังค์ฮาฟ สามีของเฮเตเฟอร์เรส อังค์ฮาฟมีมาสตาบาขนาดใหญ่หมายเลข G 7510 ในกิซ่าตะวันออก การตกแต่งรวมถึงภาพของหลานชายที่อ้างว่าหลุมฝังศพที่ถูกสร้างและการตกแต่งต่อไปในชีวิตของอังค์ฮาฟ ไม่มีหลุมฝังศพสำหรับเฮเตเฟอร์เรส ในหลุมฝังศพนี้และเธออาจจะตายก่อนที่จะเสร็จสิ้นการฝังศพและอาจถูกฝังอยู่ที่อื่น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเฮเตเฟอร์เรส · ดูเพิ่มเติม »

เจิ้งเหอ

รูปวาดเจิ้งเหอในจินตนาการของศิลปินที่ไม่ทราบชื่อ เจิ้งเหอ (แต้จิ๋ว: แต้ฮั้ว) เป็นผู้บัญชาการทหารเรือจีนในยุคราชวงศ์หมิง (明; Ming) มีบันทึกว่าเจิ้งเหอเริ่มเดินทางรอบโลกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1421 และเคยติดต่อกับอาณาจักรอยุธยาด้วย มีผู้เสนอทฤษฎีว่า เจิ้งเหอน่าจะค้นพบทวีปอเมริกาก่อนคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส โดยไม่มีหลักฐานใดๆมายืนยันได้ชัดเจนเลยว่าเจิ้งเหอเคยเดินทางผ่านแอฟริกาใต้ หรือ อเมริกา เจิ้งเหออาจเป็นแค่ทฤษฎีที่ชาวต่างชาติบางคนคิดขึ้นมาเพื่อสร้างชื่อเสียงให้กับตัวเองเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจิ้งเหอ · ดูเพิ่มเติม »

เจนเนลี ชาปาร์โร

นเนลี ชาปาร์โร (เกิด 12 กันยายน 2534 ใน บาร์เซโลนา, เปอร์โตริโก) เป็นนางงามชาวเปอร์โตริโก เคยประกวดเวที มิสเวิลด์ ในปี 2012 ที่ติดหนึ่ง ใน 30 คน และเวที มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 เธอเป็นผู้ชนะครั้งแรกของการประกวดเวที มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจนเนลี ชาปาร์โร · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ทไฟเออร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

็ทไฟร์ แปลงร่างเป็น เครื่องบิน แบล็คเบิร์ด เอสอาร์-71 เจ็ทไฟเออร์ หรือ เจ็ทไฟร์ (.) ชื่อตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (TRANSFORMERS) ชื่อของเจ็ทไฟเออร์ สามารถเรียกชื่อได้อีกหนึ่ง คือ สกายไฟเออร์ หรือ สกายไฟร.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ็ทไฟเออร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส) · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก

็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก (Seven Wonders of the World) คือ สิ่งก่อสร้างที่มีความยิ่งใหญ่และโดดเด่น ทั้งหมด 7 แห่งด้วยกัน โดยมีการกล่าวถึงครั้งแรกในงานของเฮโรโดตุส (Herodotos หรือ Herodotus เมื่อราว 5 ศตวรรษก่อนคริสตกาล แต่หลังจากนั้นก็การอ้างถึงจากกวีชาวกรีก เช่น คัลลิมาฆุส แห่งคีเรนี, อันทิพาเตอร์ แห่งซีดอน และฟิโล แห่งไบเซนไทน์ เมื่อราวศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ หรือสิ่งมหัศจรรย์ทั้งเจ็ดของโลก ในบัญชีแรก เรียกกันว่า เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ และหลังจากนั้น ยังมีบัญชีเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางและยุคปัจจุบัน โดยไม่ปรากฏผู้จัดทำรายการอย่างชัดเจน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3

้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา, ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-ออสตา 28 ตุลาคม ค.ศ. 1898 — 1 มีนาคม ค.ศ. 1942) เป็นพระญาติของพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี และทรงเป็นดยุคแห่งเอออสตาลำดับที่ 3 พระนามหลังทรงได้รับศีลจุ่มในศาสนาคริสต์คือ "อาเมเดโอ อุมแบร์โต อิซาเบลลา ลุยจี ฟิลิปโป มาเรีย จูเซปเป โจวานนี ดี ซาวอย-เอออสตา" (Amedeo Umberto Isabella Luigi Filippo Maria Giuseppe Giovanni di Savoia-Aosta) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นอุปราชแห่งแอฟริกาตะวันออกของอิตาลี (Africa Orientale Italiana).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย

้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิม

้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิม (Şivekiar İbrahim; 25 ตุลาคม ค.ศ. 1876 – 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1947) พระธิดาในเจ้าชายอีบราฮิม ฟาห์มี อะห์มัด ปาชา กับวิจดัน นัฟจูวัน คานุม เป็นอดีตพระชายาในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงชีเวการ์ อีบราฮิม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์ ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 ณ เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ โดยเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ โดยพี่พระพี่น้องด้วยกัน 5 พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์, เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์, เจ้าหญิงไฟซาแห่งอียิปต์ และพระขนิษฐาอีก 1 พระองค์ คือ เจ้าหญิงไฟทิยาแห่งอียิปต์ เจ้าหญิงฟัยกะฮ์เสกสมรสเมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1950 ที่เมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยเสกสมรสกับนายฟูอัด ซาดิก เบย์ มีบุตร-ธิดาด้วย 4 คน ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี

้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี (ประสูติ 12 มีนาคม พ.ศ. 2506-) พระราชธิดาพระองค์กลางในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فادية Fādiya, ประสูติ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1943-26 ธันวาคม ค.ศ. 2002) พระราชธิดาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ พระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย

้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย (Княгиня Мария Луиза Българска; 13 มกราคม พ.ศ. 2476 —) เป็นพระธิดาในพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี พระองค์เป็นพระเซษฐภคินีใน พระเจ้าซาร์ซิเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรี.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน

้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (Her Royal Highness Crown Princess Victoria of Sweden; Hennes Kungliga Höghet Kronprinsessan Victoria, Sveriges kronprinsessa; พระนามเต็ม วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 —) เป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งในราชบัลลังก์สวีเดน หากเมื่อเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ พระองค์จะทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถลำดับที่สี่ของประเทศ (ต่อจาก สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินา และสมเด็จพระราชินีนาถอุลริคา เอเลโอนอรา) ทั้งนี้พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 7 ของราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซาบิฮา ฟาซิละ ฮานิม สุลต่าน

้าหญิงซาบิฮา ฟาซิละ ฮานิม สุลต่าน (ภาษาอังกฤษ: Sabiha Fazila Hanım Sultan; ประสูติ; 8 สิงหาคม พ.ศ. 2484 ณ เนยยี-ซูร์-แซน ประเทศฝรั่งเศส) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งอียิปต์และเจ้าหญิงแห่งจักรวรรดิออตโตมัน เป็นพระปทินัดดาในกาหลิบองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิออตโตมัน กาหลิบอับดุลเมซิดที่ 2 ผ่านทางพระสันตติวงศ์ของพระมารดา และยังทรงเคยเป็นพระคู่หมั้นในพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก พระนางอาจจะได้เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งอิรักถ้าไม่เกิดเหตุการณ์ปฏิวัติ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงซาบิฮา ฟาซิละ ฮานิม สุลต่าน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Katherine of Greece and Denmark) หรือว่า เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (Lady Katherine Brandram; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามและองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2466) และ เจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (พ.ศ. 2413 - พ.ศ. 2475) และเป็นพระราชปนัดดาหญิงซึ่งทรงพระชนม์ชีพอยู่พระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (โดยพระราชปนัดดาชายพระองค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ขณะนี้คือ เค้านท์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต (พระชนมายุ 91 ชันษา).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี

้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:لیلا پهلوی, ประสูติ 27 มีนาคม ค.ศ. 1970 - สิ้นพระชนม์ 10 มิถุนายน ค.ศ. 2001) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์

้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์ (อาหรับ:الأميرة فريال Feriyāl, ประสูติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1938 - สิ้นพระชนม์ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 Deccan Chronicle. Retrieved on 29 November 2009.) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فوزية Fawziya, ประสูติ 7 เมษายน ค.ศ. 1940 - สิ้นพระชนม์ 27 มกราคม ค.ศ. 2005) พระราชธิดาพระองค์กลางของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ (فوزية بنت فؤاد الأول.; فوزیه فؤاد; ประสูติ: 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์: 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2013) เจ้าหญิงแห่งอียิปต์และอดีตสมเด็จพระราชินีในโมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์อิหร่าน หลังจากการเสกสมรสอีกครั้งใน..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เธลีส

ลีส แห่ง มิเลทัส (Thales of Miletus) 640-546 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เป็นนักปรัชญาของชาวกรีกโบราณ ได้รับการยกย่องจากอริสโตเติล ว่า เธลีสเป็นนักปรัชญาคนแรกที่บันทึกความคิดไว้เป็นหลักฐาน และได้รับเกียรติให้เป็นบิดาของวิชาปรัชญาตะวันตก เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์กล่าวว่า "วิชาปรัชญาเริ่มต้นจากเธลิส".

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเธลีส · ดูเพิ่มเติม »

เทคเคน

ทคเคน ภาค 1 คะซึยะ ต่อสู้กับ คิง กล่องเกมเพลย์สเตชัน ภาค 5 เทคเคน เป็นเกมต่อสู้ที่ผลิตโดยบริษัท นัมโค จากประเทศญี่ปุ่น สำหรับเครื่องเล่นเพลย์สเตชัน และเกมตู้ โดยเกมเทคเคนนั้น เป็นเกมต่อสู้ 3 มิติที่ออกมาในยุคแรกของเกม 3 มิติ พร้อมกับเกมโทชินเดนสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน ในปัจจุบัน เกมล่าสุดในชุดเทคเคน คือ เกม เทคเคน 7 กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาสำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 4,XBox One และ คอมพิวเตอร์ ลักษณะการเล่นเกมของเทคเคน โดยผู้เล่นจะเลือกตัวละครขึ้นมาหนึ่งตัว โดยเป็นตัวละครตัวแทนจากทุกมุมโลก และต่อสู้เพื่อชิงรางวัลอันยิ่งใหญ่ของ ไซบัตซึ ผู้จัดการแข่งขันเทคเคน โดยหัวหน้าใหญ่ในเกมจะเปลี่ยนแปลงไปทุก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเทคเคน · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อน

ื่อน (dam) เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่สำหรับกั้นทางน้ำ เพื่อใช้ในการเก็บกักน้ำและป้องกันอุทกภัยรวมถึงผลิตกระแสไฟฟ้า ส่วนบนของเขื่อนจะประกอบไปด้วยส่วนที่เรียกว่าทางน้ำล้น สำหรับให้น้ำที่สูงกว่าระดับที่ต้องการไหลผ่านมาที่ฝั่งปลายน้ำ มากกว่าครึ่งหนึ่งของแม่น้ำสายหลักทั่วโลกจะมีเขื่อนกั้นไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในทางใดทางหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเขื่อน · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนอัสวาน

ื่อนอัสวาน เขื่อนอัสวาน (السد العالي as-Sad al-'Aly; Aswan Dam) เป็นเขื่อนขนาดใหญ่ของประเทศอียิปต์ สร้างโดยการสนับสนุนของสหภาพโซเวียต เป็นเขื่อนขนาดใหญ่อันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเขื่อนอัสวาน · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เด เวอร์มิส มิสเทรีส

วอร์มิส มิสเทรีส (อักษรละติน: De Vermis Mysteriis) หรือ ปริศนาแห่งหนอนเป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลู.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเด เวอร์มิส มิสเทรีส · ดูเพิ่มเติม »

เดอะซิมส์ 3

อะซิมส์ 3 (The Sims 3) เป็นเกมจำลองวางแผนการใช้ชีวิต ในเกมชุด เดอะซิมส์ โดยแต่เดิมพัฒนาโดย แม็กซิส วางจำหน่ายสำหรับเครื่อง ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ แมคอินทอช วันที่ 2 มิถุนายน 2009 ในอเมริกาเหนือ, 4 มิถุนายน 2009 ในออสเตรเลีย, และ 5 มิถุนายน 2009 ในยุโรป และเดอะซิมส์ 3 เวอร์ชันคอนโซล ได้แก่เครื่องเล่น เพลย์สเตชัน 3, เอกซ์บอกซ์ 360, นินเทนโด วี และ นินเทนโด ดีเอส ซึ่งจะวางจำหน่ายในวันที่ 26 ตุลาคม 2010 และ นินเทนโด ทรีดีเอส วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเดอะซิมส์ 3 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะซิมส์ 3 เวิลด์ แอดเวนเจอร์ส

อะซิมส์ 3 เวิลด์ แอดเวนเจอร์ส (The Sims 3 World Adventures) เป็นภาคเสริมตัวแรกของเกมเดอะซิมส์ 3 พัฒนาโดย อีเอแบล็คบอกซ์และเดอะซิมส์ดิวิชัน จัดจำหน่ายโดยอิเล็กโทรนิคอาร์ต สำหรับในภาคเสริมเวิลด์ แอดเวนเจอร์ส ก่อนหน้านี้เคยมีภาคเสริมที่เกี่ยวกับการพักร้อนมาก่อนหน้านี้แล้วคือ "เดอะซิมส์ วัยรักพักร้อน" และ "เดอะซิมส์ 2 ทริปซ่าส์" แต่ในภาคเสริมเวิลด์ แอดเวนเจอร์สไม่เหมือนกับภาคเสริมที่แล้วมา เพราะภาคเสริมเวิลด์ แอดเวนเจอร์ส จะเน้นไปที่การผจญภัยหาสมบัติมากกว่าการที่จะพาชาวซิมส์ไปพักร้อน โดยมีสถานที่ที่มีอยู่จริง 3 สถานที่ ไม่ว่าจะเป็น ประเทศอียิปต์,ประเทศจีน และประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังสามารถพาชาวซิมส์ไปเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ๆ พัฒนาทักษะการฝึกป้องกันตัว ทักษะการถ่ายภาพ และทักษะการทำไวน์ อีกทั้งยังเข้าไปพบปะพูดคุยกับชาวซิมส์ที่อยู่ในประเทศนั้นๆได้ แต่มีอีกอย่างที่เพิ่มเข้ามาคือโหมดสร้างชั้นใต้ดิน โดยที่ไม่จำเป็นต้องไปปรับระดับของพื้นดินเลย และระดับวีซ่าจะมีผลต่อวันที่ชาวซิมส์จะมาเที่ยว ระดับวีซ่าจะเพิ่มก็ต่อเมื่อพาชาวซิมส์ไปผจญภัยในที่ต่างๆ มีการประกาศอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับเดอะซิมส์ 3 เวิลด์ แอดเวนเจอร์ส ทางเว็บไซต์อย่างเป็นทางการของเดอะซิมส์ 3 เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 และได้กำหนดวันวางจำหน่ายในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 สำหรับทวีปอเมริกาเหนือ และวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 สำหรับทวีปยุโรป สำหรับในประเทศไทยมีกำหนดวันวางจำหน่ายในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ในช่วงแรกที่เดอะซิมส์ 3 ภาคเสริมเวิลด์ แอดเวนเจอร์สออกวางจำหน่าย เกมนี้ได้รับการตอบรับในด้านบวกจากหลายสำนักเช่น ในเกมโปร วันอัพดอตคอม รวมไปถึงเมตะคริติค โดยได้รับคะแนนการวิจารณ์เกมจาก เมตะคริติค 81 คะแนน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเดอะซิมส์ 3 เวิลด์ แอดเวนเจอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เคมี

มี (chemistry) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาในเรื่องของสสาร โดยไม่เพียงแต่ศึกษาเฉพาะในเรื่องของปฏิกิริยาเคมี แต่ยังรวมถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและคุณสมบัติของสสารอีกด้วย การศึกษาทางด้านเคมีเน้นไปที่อะตอมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะตอมกับอะตอม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณสมบัติของพันธะเคมี บางครั้ง เคมีถูกเรียกว่าเป็นวิทยาศาสตร์ศูนย์กลาง เพราะเป็นวิชาช่วยที่เชื่อมโยงฟิสิกส์เข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสาขาอื่น เช่น ธรณีวิทยาหรือชีววิทยา ถึงแม้ว่าเคมีจะถือเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์กายภาพแต่ก็มีความแตกต่างจากวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างมาก มีการถกเถียงกันอย่างมากมายถึงต้นกำเนิดของเคมี สันนิษฐานว่าเคมีน่าจะมีต้นกำเนิดมาจากการเล่นแร่แปรธาตุซึ่งเป็นที่นิยมกันมาอย่างยาวนานหลายสหัสวรรษในหลายส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเคมี · ดูเพิ่มเติม »

เควี 29

หลุมฝังศพ KV29 เป็นสุสานอียิปต์โบราณในหุบเขากษัตริย์ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศอียิปต์ ซึ่งไม่ได้ถูกขุดขึ้นและยังคงเต็มไปด้วยซากที่เกิดมาจากน้ำท่วม เหลือแค่ทางเข้าสุสานที่ไม่ได้ถูกน้ำท่วม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเควี 29 · ดูเพิ่มเติม »

เควี 62

วี 62 (KV62) เป็นชื่อสุสานในหุบผากษัตริย์ (Valley of the Kings) ประเทศอียิปต์ ที่ไว้พระศพของทุตอังค์อามุน (Tutankhamun) และมีชื่อเสียงเพราะทรัพย์สมบัติที่พบข้างใน ในปี 1922 เฮาเวิร์ด คาร์เตอร์ (Howard Carter) พบสุสานนี้อยู่ในหุบผาซึ่งมีซากบ้านเรือนคนงานที่สร้างขึ้นในสมัยอาณาจักรใหม่ปกคลุมอยู่ นี้เป็นเหตุผลที่สุสานรอดพ้นจากการระดมขุดกรุอย่างร้ายแรงที่สุดในช่วงนั้น เมื่อพบสุสานแล้ว ปรากฏว่า ภายในมีข้าวของเรียงไว้ระเกะระกะ คาร์เตอร์ได้ถ่ายภาพพวงมาลัยพวงหนึ่งไว้ซึ่งพอแตะแล้วก็สลายเป็นผงธุลีไป การขนทรัพย์สินออกจากสุสานใช้เวลา 8 ปี เนื่องจากสภาพของสุสานเอง และความประสงค์ของคาร์เตอร์ที่จะบันทึกข้อมูลไว้ให้ละเอียดที่สุด ทรัพย์สินดังกล่าวขนไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์อียิปต์ในกรุงไคโร หลังฝังพระศพแล้วไม่นาน ขโมยขึ้นสุสานนี้อย่างน้อย 2 ครั้ง พระทวารบานนอกสุดของห้องไว้พระศพนั้นถูกเปิดทิ้งไว้และมิได้ลั่นดาล มีการประเมินว่า ร้อยละ 60 ของอัญมณีในพระคลังของสุสานถูกลักพาออกไป.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเควี 62 · ดูเพิ่มเติม »

เซาเปาลู

นตัวเมืองเซาเปาลู right right right เซาเปาลู (São Paulo) เป็นเมืองหลวงของรัฐเซาเปาลู ประเทศบราซิล เมืองนี้เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลกตามจำนวนประชากร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของบราซิล นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่มีความมั่งคั่งที่สุดในประเทศ ชื่อเซาเปาลูเป็นภาษาโปรตุเกส มีความหมายว่า "นักบุญพอล" เซาเปาลูมีเนื้อที่ 1,523 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 10,886,518 คน ซึ่งทำให้เมืองนี้เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศบราซิล ทวีปอเมริกาใต้ และซีกโลกใต้ (เขตมหานคร: ประมาณ 19 ล้านคน) เซาเปาลูเดิมเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1554 โดยคณะมิชชันนารีนิกายเยซูอิตชาวโปรตุเกส ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โปรตุเกสก็เริ่มเข้ามาขยายอำนาจในอเมริกาใต้ (ภายในเขตที่กำหนดไว้ในสนธิสัญญาตอร์เดซียัส) โดยส่งคณะนักสำรวจเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้และค้นหาทองคำ เพชร และทรัพยากรอื่น ๆ ซึ่งมีส่วนทำให้เซาเปาลูขยายตัวมากขึ้น จนในที่สุดก็ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1711 ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คลื่นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี โปรตุเกส สเปน เยอรมนี และประเทศอื่น ๆ ก็เริ่มเข้ามาในเซาเปาลูเพื่อทำงานในไร่กาแฟภายในรัฐ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 การค้ากาแฟตกต่ำลง ผู้ประกอบการจึงเริ่มหันไปลงทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรมในเมือง โดยในครึ่งแรกของศตวรรษ นอกจากชาวยุโรปแล้ว ชาวญี่ปุ่นและชาวอาหรับก็อพยพเข้ามาด้วย และตลอดศตวรรษเดียวกันนี้ เศรษฐกิจที่เฟื่องฟูของเซาเปาลูก็เป็นตัวดึงดูดให้ประชากรจากรัฐอื่น ๆ ที่ยากจนในบราซิลเข้ามาทำงานในเมืองนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเซาเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

เปอโยต์ 405

ปอโยต์ 405 (Peugeot 405) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง (Mid-Size Car) ผลิตโดยเปอโยต์ เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2530 ออกมาเพื่อทดแทนเปอโยต์ 505 (Peugeot 505) และเลิกผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีเปอโยต์ 406 (Peugeot 406) มาทดแทน แต่ในบางประเทศ เปอโยต์ 405 ยังมีการผลิตอยู่เพื่อแซยิดรุ่นเดิมไปก่อน เปอโยต์ 405 มีตัวถัง 2 แบบคือ ซีดาน 4 ประตู และสเตชันวากอน 5 ประตู มีเครื่องยนต์ตั้งแต่ 1.4 ไปจนถึง 2.0 ลิตรทั้งแบบเบนซินและดีเซล มีฐานการประกอบที่ประเทศอาร์เจนตินา,ชิลี,อียิปต์,ฝรั่งเศส,อินโดนีเซีย,อิหร่าน,โปแลนด์,ไต้หวัน,สหราชอาณาจักรและซิมบับเว ตลอดระยะเวลาที่ทำตลาด เปอโยต์ขาย 405 ไปได้ทั่วโลก 2.5 ล้านคัน ในประเทศไทย บริษัท ยนตรกิจ คอร์เปอเรชั่น จำกัด ซึ่งเป็นผู้ผลิต นำเข้าและจำหน่ายเปอโยต์์ในยุคนั้น เคยนำเข้าเปอโยต์ 405 มาจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีรุ่น 405 GR และ 405 Mi16 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2536 จึงมีการไมเนอร์เชนจ์ให้ดูสวยงามขึ้น ยุบรุ่น GR และ Mi16 ลง เหลือแต่รุ่น SRi เครื่องยนต์เปลี่ยนมาใช้เป็นแบบ 4 สูบ SOHC 8 วาล์ว 2.0 ลิตร 123 แรงม้า ภายในออกแบบให้ดูสวยงามขึ้น มีลายไม้แผ่นเล็กๆ แปะอยู่ตรงแดชบอร์ดฝั่งคนนั่ง ล้อลายเดิม แต่กันชนหน้า-หลังที่เป็นแบบสเกิร์ตในตัว กับสปอยเลอร์บนฝากระโปรงท้ายไม่มีให้แล้ว ภาพลักษณ์ของรถจึงออกไปทางแนวหรูขึ้น ต่อมาก็มีรุ่นประหยัด 405 GRi เครื่องยนต์ 1.6 ลิตร 90 แรงม้า ทำราคาแข่งกับรถญี่ปุ่น ก่อนที่ 405 จะหลีกทางให้กับการมาของ 406 ก็มีการนำชื่อ Mi16 กลับมาขายใหม่โดยใช้บอดี้ของ SRi ใส่ชุดแต่งสปอร์ตไฟหน้ากลม 4 ดวง และนำเครื่องยนต์จาก 306 S16 2.0 ลิตร 155 แรงม้ามาใช้ รถรุ่นนี้ในปัจจุบันถือว่าหายากมาก เพราะในช่วงที่ยังวางจำหน่ายอยู่ ก็ไม่ค่อยประสบความสำเร็จมากนัก.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเปอโยต์ 405 · ดูเพิ่มเติม »

เปตรา

right เปตรา (จากภาษากรีก πέτρα แปลว่าหิน ภาษาอารบิก البتراء) คือนครหินแกะสลักโบราณที่ซ่อนตัวอย่างลึกลับในหุบเขาวาดี มูซา หุบเขาที่ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเดดซีกับอ่าวอะกาบาในประเทศจอร์แดน นครนี้แต่เดิมนั้นเป็นนครแห่งการค้าขนาดใหญ่ซึ่งต่อมาถูกละทิ้งเป็นเวลานานกว่า 700 ปี จนเมื่อมีนักสำรวจชาวสวิตเซอร์แลนด์ โยฮันน์ ลุควิก บวร์กฮาร์ท เดินทางผ่านมาพบเห็นเข้าเมื่อปี พ.ศ. 2355 (ค.ศ. 1812) นครเปตราได้รับลงทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเปตรา · ดูเพิ่มเติม »

เนลสัน แมนเดลา

นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

เนเฟรูที่ 1

นเฟรูที่ 1 (มีความหมายว่า "ความงาม") เป็นพระราชินีพระองค์แรกของราชวงศ์ที่สิบเอ็ด พระองค์เป็นพระมเหสีของฟาโรห์เมนทูโฮเตปที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเนเฟรูที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เนเฟอร์ติติ

รูปแกะสลักในท่ายืนของเนเฟอร์ติติจากเมืองอามาร์นา ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อียิปต์ แห่งกรุงเบอร์ลิน รูปแกะสลักของเนเฟอร์ติติกับ อาเคนาเตน และธิดาสามองค์ จากเมืองอามาร์นา ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อียิปต์ แห่งกรุงเบอร์ลิน เนเฟอร์ติติ (1370 - 1330 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นราชินีของฟาโรห์อาเมนโฮเทป ที่ 4 แห่งอียิปต์ (ภายหลังได้เปลี่ยนพระนามมาเป็นอาเคนาเทน) และพระมารดาสะใภ้ของฟาโรห์ตุตันคามุน กล่าวกันว่าเนเฟอร์ติติอาจเคยขึ้นครองบัลลังก์อียิปต์เป็นช่วงเวลาสั้นๆหลังจากพระสวามีสิ้นพระชนม์ และก่อนที่ฟาโรห์ตุตันคามุนจะเถลิงศิริราชสมบัติ แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการ ชื่อของพระนางอาจแปลได้โดยสังเขปว่า โฉมงามผู้มาสู่ และยังพ้องกับคำเรียกเครื่องประดับชนิดหนึ่งที่เป็นลูกปัดทองคำรูปยาวรี ดังที่เราเห็นรูปปั้นของเธอสวมใส่อยู่เสมอ ลูกปัดชนิดนี้เรียกว่า ลูกปัด"เนเฟอร์" เนเฟอร์ติติโด่งดังจากรูปปั้นท่อนบน ที่ตอนนี้จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อียิปต์แห่งชาติเยอรมนีในนครเบอร์ลิน รูปปั้นดังกล่าวเป็นรูปที่ถูกทำเลียนแบบซ้ำมากที่สุดในบรรดาศิลปวัตถุของไอยคุปต์ สร้างขึ้นโดยประติมากร Djhutmose และถูกค้นพบในห้องทำงานศิลปะของเขา รูปปั้นท่อนบนนี้มีชื่อเสียงโด่งดังเนื่องจากเป็นตัวอย่างของความเข้าใจอย่างถ่องแท้ของชาวอียิปต์โบราณเกี่ยวสัดส่วนขององค์ประกอบบนใบหน้า พระนางถูกเรียกขานมากมายหลายชื่อ ที่วิหารคาร์นัก มีศิลาจารึกที่ขานพระนางว่าเป็น 'ผู้สืบทอด' 'ที่สุดของผู้เป็นที่โปรดปราน' 'ผู้มีสเน่ห์' 'ผู้แผ่ความสุข' 'ชายาผู้อ่อนหวาน' 'ผู้เป็นที่รัก' 'ผู้ปลอบประโลมหัวใจขององค์ราชาในวัง' 'ผู้มีถ้อยคำอ่อนโยน' 'ชายาแห่งอียิปต์ตอนบนและอียิปต์ตอนล่าง' 'ชายาของกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่' 'ผู้ที่กษัตริย์ทรงรัก' 'สตรีแห่งดินแดนทั้งสอง' 'เนเฟอร์ติติ'.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และเนเฟอร์ติติ · ดูเพิ่มเติม »

MENA

ีน้ำเงินเข้มหมายถึงการจำกัดความมาตรฐาน ส่วนสีฟ้าหมายถึงประเทศที่ถูกรวมในการจำกัดความในความหมายกว้าง คำว่า MENA ย่อมาจาก "ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ" เป็นอักษรย่อซึ่งมักถูกใช้ในการงานเชิงวิชาการและธุรกิจ คำดังกล่าวครอบคลุมอาณาบริเวณกว้างขวาง นับตั้งแต่โมร็อกโกไปจนถึงอิหร่าน รวมไปถึงประเทศตะวันออกกลางและมาเกร็บส่วนใหญ่ คำดังกล่าวเกือบจะมีความหมายเหมือนกันกับคำว่า "มหาตะวันออกกลาง" (แต่บางครั้งคำดังกล่าวถูกใช้โดยรวมปากีสถาน อัฟกานิสถาน หรือทั้งสองประเทศเข้าไปด้วย) ประชากรของภูมิภาค MENA หากในความหมายที่กินอาณาบริเวณน้อยที่สุด จะมีประมาณ 381 ล้านคน ราว 6% ของประชากรโลกทั้งหมด และในความหมายที่กินอาณาบริเวณมากที่สุด ประชากรจะอยู่ที่ราว 531 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และMENA · ดูเพิ่มเติม »

.eg

.eg เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศอียิปต์ เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ.eg · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+12 m²

1 E+12 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 1,000,000 ถึง 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 1 ล้านตารางกิโลเมตร ---- ประเทศอียิปต์ มีพื้นที่ประมาณ 1 ล้าน ตร.กม. ดวงจันทร์ไททาเนีย ของดาวยูเรนัส มีพื้นที่ 7.8 ล้าน ตร.กม. สหรัฐอเมริกา มีพื้นที่ 9.82 ล้าน ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ1 E+12 m² · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ19 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

20

วภาคพ 20 (ยี่สิบ) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 19 (สิบเก้า) และอยู่ก่อนหน้า 21 (ยี่สิบเอ็ด).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ20 · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กรกฎาคม

วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ23 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ26 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 ตุลาคม

วันที่ 29 ตุลาคม เป็นวันที่ 302 ของปี (วันที่ 303 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 63 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ29 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ5 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศอียิปต์และ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Egyptสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์อียิปต์อีจิปต์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »