โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศสโลวาเกีย

ดัชนี ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552.

272 ความสัมพันธ์: บราติสลาวาบันสกาบิสตรีตซาชาวฮังการีชาวเซิร์บบูกัตติ เวย์รอนชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศบีเวอร์ช็อลโกตอร์ยานฟรังซัวส์ ซากัตฟุตบอลทีมชาติสโลวาเกียฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกียฟุตบอลโลก 2006ฟ็อกซ์คอนน์พ.ศ. 2552พรรคคอมมิวนิสต์เชโกสโลวาเกียพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียพระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกสพันโนเนียกองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1)กองทัพสโลวาเกียกัวดาลาฆารา (ประเทศสเปน)การบุกครองโปแลนด์การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกียการก่อการกำเริบชาติสโลวาเกียการรถไฟสหพันธรัฐออสเตรียการรถไฟฮังการีการรถไฟเช็กการขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกียการขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์การขนส่งระบบรางในประเทศเช็กเกียการประกวดเพลงยูโรวิชันการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553การไม่มีศาสนากุสตาว ฮูซากกีฬามหาวิทยาลัยโลกกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1999กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - รุ่น 56 กิโลกรัม ชายกีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – รุ่น 77 กิโลกรัม ชายกติกาสัญญาวอร์ซอกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์นกแดโดโมฟมูยฝ่ายอักษะภราดร ศรีชาพันธุ์ภาพทดสอบภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษารัสเซียภาษาสโลวักภาษาฮังการีภาษาเช็ก...ภูมิศาสตร์ยุโรปมหาวิหารรองมอชอฟต์เซมาร์ติน ชเกอร์เตลมาเรีย ลูโดวีกา แห่งออสเตรีย-เอสเตมาเร็ก เซ็ก (นักฟุตบอลชาวสโลวัก)มิสแกรนด์สโลวาเกียมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013มิสเวิลด์ 2016มิสเอิร์ธ 2017มีราเลม เพียนิชยาส 39ยาน มูคายุโรปตะวันออกยูโรยูโรโซนรอเบร์ต มักรอเบิร์ต วิตเตกระบบจราจรซ้ายมือและขวามือระเบิดพลาสติกรัฐสภายุโรปรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐโลเวอร์ออสเตรียรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออกรายชื่อหอดูดาวรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลกรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัวรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศสโลวาเกียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศบัลแกเรียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวาเกียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวีเนียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสเปนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศออสเตรียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอิตาลีรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฮังการีรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศแอลเบเนียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโรมาเนียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโครเอเชียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลเยียมรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเยอรมนีรายการภาพธงชาติรางรัสเซียลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลิฟวิงทิงส์ลิตเทิลมิกซ์วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรปวอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008วอลเลย์บอลชายทีมชาติสโลวาเกียวอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรปวอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017วัฒนธรรมลาแตนวันชัยในทวีปยุโรปวันชาติวันครูวันแม่วิทยาศาสตรบัณฑิตสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนียสรุปเหรียญรางวัลพาราลิมปิกตลอดกาลสวีตดรีมส์สหพันธรัฐสหภาพยุโรปสหภาพโซเวียตสะพานพระราม 8สะพานโนวีโมสต์สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสาธารณรัฐสโลวักที่ 1สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สถาปัตยกรรมบาโรกสงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามโลกครั้งที่สองสตาร์บัคส์สโมสรฟุตบอลทีโอทีสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันในฤดูกาล 2017–18หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กอัลโฟนส์ มูคาอันชลุสส์อันเดรจ บาบิสอุทยานแห่งชาติสโลวักพาราไดซ์องค์การที่อยู่อาศัยเพื่อมนุษยชาติสากลองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาแรมซาร์อ็อนเดรย์ ดูดาอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลอเล็กซานเดอร์ ดุปเชคฮอกกี้น้ำแข็งฮุนได ทูซอนจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีธงชาติสโลวาเกียธงชาติเช็กเกียทวีปยุโรปทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปีทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปีข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลกดิอะเมซิ่งเรซเซ็นทรัลยุโรปคริสต์มาสคริสต์สหัสวรรษที่ 3คริสเตียน ดอปเพลอร์คอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีกคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์กคาทอลิกตะวันออกคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศค็อทบุสตราแผ่นดินของสโลวาเกียตราแผ่นดินในทวีปยุโรปตำนานดาบคิงอาเธอร์ซุคฮอยซีอีวีแชมเปียนส์ลีกปฏิบัติการบาร์บารอสซาประเทศกำลังพัฒนาประเทศยูเครนประเทศลิทัวเนียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1938ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1948ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1954ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1960ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1964ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1971ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1976ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1981ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1986ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1990ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1992ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1994ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1998ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2002ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2006ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2010ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2012ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2016ประเทศออสเตรียประเทศฮังการีประเทศโปแลนด์ประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเชโกสโลวาเกียในโอลิมปิกประเทศเช็กเกียปรากปีเตอร์ ซาแกนนาดทาโทรซาบลีซกานางงามจักรวาล 1994นาซีเยอรมนีนิติภาวะแช็สกาแตแลวิแซแฟแร็นตส์ ซาลอชีแม่น้ำวากแม่น้ำดานูบแอนดี วอร์ฮอลแอ็ตแชร์แคว้นซาคาร์ปัตเตียแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)โรเจอร์ เฟเดอเรอร์โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1953โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1970โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2005โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2006โปเกมอน โกไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)เพลงชาติเชโกสโลวาเกียเกีย สปอร์ตเทจเกียรติ ศงสนันทน์เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเมธีนามีนเยเรวานเล็งกา (หมู่บ้าน)เล็งกา (แก้ความกำกวม)เวลายุโรปกลางเวลาออมแสงยุโรปกลางเส้นทางสายอำพันเส้นเวลาของยุคใหม่เอ็มเอฟเค รูซอมเบรอคเฮลิคอปเตอร์เจ้าชายราโกตซี แฟแร็นตส์ที่ 2เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเทศมณฑลโกมาโรม-แอ็สแตร์โกมเทือกเขาคาร์เพเทียนเขตเวลาเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย)เดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศเตรนชีนเตอร์นาวาเปรเชาMega Clever ฉลาดสุดสุดSKUTC+01:00UTC+02:00.cs.sk1 กันยายน1 มกราคม1 E+10 m²31 ธันวาคม ขยายดัชนี (222 มากกว่า) »

บราติสลาวา

ราติสลาวา (Bratislava) คือเมืองหลวงของประเทศสโลวาเกีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ มีประชากรประมาณ 427,000 คน บราติสลาวาตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสโลวาเกียบน 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบ มีอาณาเขตติดกับประเทศออสเตรียและประเทศฮังการี จึงเป็นเมืองหลวงแห่งเดียวในโลกที่มีอาณาเขตติดต่อกับ 2 ประเทศ เมืองนี้และเวียนนายังเป็นเมืองหลวง 2 แห่งที่ตั้งอยู่ใกล้กันมากที่สุดในยุโรป โดยตั้งอยู่ห่างกันไม่ถึง 60 กิโลเมตร บราติสลาวาเป็นศูนย์กลางทางการปกครอง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของสโลวาเกีย เป็นที่ตั้งของทำเนียบประธานาธิบดี รัฐสภา และหน่วยงานภาครัฐต่างๆ และยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์ โรงละคร หอศิลป์ และสถาบันอื่น ๆ ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการศึกษา รวมทั้งสำนักงานใหญ่ของสถาบันทางธุรกิจและการเงินขนาดใหญ่ของสโลวาเกียจำนวนมาก ประวัติศาสตร์ของเมืองนี้ได้รับอิทธิพลจากหลายเผ่าพันธุ์ ได้แก่ ออสเตรีย เช็ก เยอรมัน ฮังการี ยิว และสโลวัก โดยในอดีตเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาเยอรมันว่า Pressburg เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฮังการีภายใต้ Habsburg monarchy ระหว่าง พ.ศ. 2079-2326 และเคยเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์ Slovak National Movement เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาวสโลวัก ฮังกาเรียน และเยอรมันหลายแห่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและบราติสลาวา · ดูเพิ่มเติม »

บันสกาบิสตรีตซา

ันสกาบิสตรีตซา (Banská Bystrica; Neusohl; Besztercebánya) เป็นเมืองทางตอนกลางของประเทศสโลวาเกีย บนฝั่งแม่น้ำฮารอน เมืองมีประชากร 78,327 คน เป็นเทศบาลที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ เมืองในปัจจุบัน ก่อตั้งโดยผู้ตั้งรกรากชาวเยอรมัน แต่อย่างไรก็ตาม เมืองเคยเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวสลาฟ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและบันสกาบิสตรีตซา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฮังการี

ชาวฮังการี หรือ ม็อดยอร์ (Hungarian people หรือ Magyars, magyarok) คือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับประเทศฮังการี ชนมาจยาร์มีด้วยกันราว 10 ล้านคนในประเทศฮังการี (ค.ศ. 2001).

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและชาวฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเซิร์บ

วเซิร์บ (Serbs, Срби) เป็นกลุ่มเชื้อชาติสลาฟใต้ในบอลข่านและตอนใต้ของยุโรปกลาง ชาวเซิร์บส่วนใหญ่มักพบอาศัยอยู่ในเซอร์เบีย มอนเตเนโกร และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเป็นชนกลุ่มน้อยในโครเอเชีย มาซิโดเนีย และสโลวีเนีย เช่นเดียวกัน ชาวเซิร์บยังได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการว่าเป็นชนกลุ่มน้อยในโรมาเนีย ฮังการี เช่นเดียวกับแอลเบเนีย สาธารณรัฐเช็ก และสโลวาเกียhttp://www.blic.rs/Vesti/Politika/175617/Srbi-u-Slovackoj-nacionalna-manjina นอกจากนี้ยังมีชาวเซิร์บพลัดถิ่นกลุ่มใหญ่ในยุโรปตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเยอรมนี สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และออสเตรีย เช่นเดียวกับในฝรั่งเศสและอิตาลี ชาวเซิร์บมากกว่าหนึ่งล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและชาวเซิร์บ · ดูเพิ่มเติม »

บูกัตติ เวย์รอน

ูกัตติ เวย์รอน (Bugatti Veyron) เป็นรถยนต์นั่งสมรรถนะสูง เครื่องยนต์กลางลำหลัง ขับเคลื่อนสี่ล้อ (M4) 2 ประตู 2 ที่นั่ง ผลิตโดย บริษัทผลิตรถยนต์สัญชาติฝรั่งเศส บูกัตติ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือโฟล์คสวาเก็น เป็นรถต้นแบบที่ออกแบบขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1999 ใช้ชื่อว่า EB 18/4 "Veyron" เปิดตัวครั้งแรกอย่างเป็นทางการเมื่อ 19 ตุลาคม ค.ศ. 2005 ที่ งานโตเกียวมอเตอร์โชว์ ออกแบบโดย นักออกแบบรถยนต์ชาวสโลวาเกีย โจเซฟ แคแบน (Jozef Kaban) บูกัตติ เวย์รอน ได้รับการบันทึกลงกินเนสบุ๊คว่าเป็นรถที่เร็วที่สุดในโลก ด้วยสถิติความเร็วสูงสุด 431.072 กิโลเมตร/ชั่วโมง (ในรุ่น Super Sport) ซึ่งเร็วกว่า เอสซีซีเอโร่ (SCC AERO) ที่ทำได้ 412.29 กิโลเมตร/ชั่วโมง (สำหรับ เวย์รอนรุ่นแรกนั้นสร้างความเร็วสูงสุดได้ที่ 408.47 กิโลเมตร/ชั่วโมง) และวันที่ 13 เมษายน ปี ค.ศ. 2013 บูกัตติ เวย์รอน ก็ได้บันทึกสถิติใหม่ ด้วยความเร็วสูงที่สุดเท่าที่โรสเตอร์เคยมีมา ด้วยรุ่น เวย์รอน แกรนด์ สปอร์ต วิเทสส์ (Veyron Grand Sport Vitesse) ซึ่งสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 408.84 km/h บูกัตติ เวย์รอน แต่ละคันมีราคาสูงถึง 1.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 165 ล้านบาท เมื่อนำเข้าไทย จึงทำให้บูกัตติ เวย์รอน เคยได้รับการจัดอันดับเป็นรถยนต์ที่มีราคาสูงที่สุดในโลก ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงติดอันดับ 1 ใน 10 อยู่อย่างเสมอ ถึงแม้จะตกจากอันดับ 1 ไปก็ตาม บูกัตติ เวย์รอน ได้รับรางวัล "รถแห่งทศวรรษ" (Car of the Decade) ประจำช่วงปี ค.ศ. 2000 – 2009 จาก รายการท็อปเกียร์ ของบีบีซี และยังได้รับรางวัลจากท็อปเกียร์ ในปี ค.ศ. 2005 ว่า "เป็นรถที่ขับขี่ดีที่สุดในทุกๆปี" (Best Car Driven All Year).

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและบูกัตติ เวย์รอน · ดูเพิ่มเติม »

ชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Biology Olympiad: IBO) เป็นการแข่งขันชีววิทยาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่เมืองโอโลโมอุตส์ ประเทศเชกโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

บีเวอร์

รงกระดูกของบีเวอร์ บีเวอร์ (beaver) เป็นสัตว์กินพืชเลี้ยงลูกด้วยนมจัดเป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่งเช่นเดียวกับหนูยักษ์ พวกมันมีอยู่ด้วยกันสองสายพันธุ์คือ พันธุ์ยูเรเชียน (Eurasian beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor fiber) กับพันธุ์อเมริกาเหนือ (North American beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์ก็คือ Castor Canadensis) ถึงแม้จะมีขนาดและรูปร่างหน้าตาที่คล้ายคลึงกัน แต่ทั้งสองสายพันธุ์แยกขาดจากกันตั้งแต่เมื่อ 24,000 ปีที่แล้ว พวกมันจึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันเองได้อีก บีเวอร์มีขนาดตัวที่ใหญ่ตัวโตเต็มวัยจะมีขนาดใหญ่พอ ๆ กับเด็กอายุ 8 ขวบ ตัวผู้สามารถมีน้ำหนักได้มากกว่า 25 กิโลกรัมส่วนตัวเมียอาจมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ในช่วงอายุเท่ากัน นอกจากนี้บีเวอร์มีอายุยืนยาวได้ถึง 24 ปี พวกมันยังมีอีกสายพันธุ์หนึ่งในอดีตคือสายพันธุ์บีเวอร์ยักษ์ (Giant beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor ohioensis) ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 10,000 ปีก่อน พวกมันส่วนมากอาศัยอยู่ในบริเวณซีกโลกเหนือมีจำนวนประชากรในแถบอเมริกาเหนือมากกว่า 60 ล้านตัว แต่เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและบีเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช็อลโกตอร์ยาน

นใจกลางเมือง ศูนย์การประชุมในตัวเมือง ช็อลโกตอร์ยาน เป็นเมืองศูนย์กลางประจำเทศมณฑลโนกราด ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฮังการี ตัวเมืองอยู่บริเวณเชิงภูเขาคารันคส์ในเนินเขาเซอรัต สูงจากระดับน้ำทะเล 250 เมตร อยู่ห่างจากบูดาเปสต์ 120 กิโลเมตร และอยู่ห่างจาก Miskolc 70 กิโลเมตร ตัวเมืองล้อมรอบด้วยป่าและซากปราสาทโบราณ ซึ่งสามารถเดินทางไปท่องเที่ยวได้โดยรถโดยสารประจำทางจากตัวเมือง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและช็อลโกตอร์ยาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรังซัวส์ ซากัต

ฟรังซัวส์ ซากัต (François Sagat) เป็นนายแบบชาวฝรั่งเศสและเป็นนักแสดงหนังโป๊ ทั้งในหนังโป๊เกย์และไบเซ็กชัวล.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฟรังซัวส์ ซากัต · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสโลวาเกีย

ฟุตบอลทีมชาติสโลวาเกีย (Slovenské národné futbalové mužstvo) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศสโลวาเกีย อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสโลวัก หลังจากที่เชโกสโลวาเกียแยกตัวเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกีย จึงก่อตั้งสมาคมฟุตบอลสโลวาเกียในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฟุตบอลทีมชาติสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากเชโกสโลวาเกียในช่วงปี พ.ศ. 2465-พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1922-1993) ภายหลังประเทศนี้ได้แยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก ทีมชาติจึงได้ถูกแบ่งออกเป็นทีมชาติเช็กเกียและทีมชาติสโลวาเกีย ปัจจุบันทีมชาติเช็กเกียถือเป็นผู้สืบทอดทีมชาติเชโกสโลวาเกียแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้การรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า ทีมชาติเชโกสโลวาเกียนี้ได้อันดับรองชนะเลิศในฟุตบอลโลก 2 ครั้งใน ฟุตบอลโลก 1934 และฟุตบอลโลก 1962 ชนะเลิศฟุตบอลยูโร ในฟุตบอลยูโร 1976 และยังคงได้เหรียญทองฟุตบอลโอลิมปิก 1980 ที่มอสโก และเหรียญเงินโอลิมปิก 1964 ที่ โตเกียว.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2006

ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีทีมเข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย 32 ทีม ทีมชาติอิตาลีคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วยการเอาชนะฝรั่งเศสในการยิงจุดโทษ 5-3 หลังเสมอกัน 1-1 ประตู อันดับสามตกเป็นของเจ้าภาพเยอรมนีหลังเอาชนะโปรตุเกส 3-1 ประตู ประเทศเยอรมนีชนะได้สิทธิจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฟุตบอลโลก 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ฟ็อกซ์คอนน์

ฟ็อกซ์คอนน์ ฟ็อกซ์คอนน์อินเตอร์เนชั่นแนลโฮลดิงส์ (Foxconn International Holdings Ltd.) เป็นบริษัทในเครือของ หองไห่พรีซีชันอินดัสทรี จำกัด (Hon Hai Precision Industry Co.) บริษัทสัญชาติไต้หวันที่เป็นผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รายใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นผู้ผลิตแผ่นวงจรพิมพ์รายใหญ่ และมีแผนการเข้าซื้อหน่วยธุรกิจการผลิตจอแอลซีดีของฮิตาชิในประเทศญี่ปุ่น บริษัทหองไห่พรีซีชันอินดัสทรีก่อตั้งขึ้นในไต้หวันในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฟ็อกซ์คอนน์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์เชโกสโลวาเกีย

รรคคอมมิวนิสต์เชโกสโลวาเกีย (เช็กและสโลวัก: Komunistická strana Československa, KSČ) เป็นพรรคการเมืองและพรรคคอมมิวนิสต์สายมาร์กซิสต์–เลนินนิสต์ของเชโกสโลวาเกียโดยพรรคได้อำนาจการปกครองจากรัฐประหารในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและพรรคคอมมิวนิสต์เชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

ลตรีหญิง ดร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2404 — 10 กันยายน พ.ศ. 2491; พระนามเมื่อประสูติ: เจ้าชายเฟอร์ดินานด์ แม็กซิมิลเลียน คาร์ล ลีโอโปลด์ มาเรียแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา-โคฮารี) ทรงเป็นองค์อธิปัตย์แห่งบัลแกเรีย และหลังจากนั้นทรงดำรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรีย ทรงเป็นทั้งนักประพันธ์,นักพฤกษาศาสตร์,นักกีฏวิทยาและเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแสตมป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส (ภาษาอังกฤษ:Ferdinand II) (29 ตุลาคม พ.ศ. 2359 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2428) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์โปรตุเกสและเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกสนับตั้งแต่การประสูติกาลพระราชโอรสองค์แรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและพระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พันโนเนีย

ักรวรรดิโรมันในสมัยของจักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงจังหวัดโรมันทางตอนกลางของแม่น้ำดานูบ: "อัปเปอร์พันโนเนีย" (ออสเตรียตะวันออก/สโลวีเนีย) และ "โลว์เออร์พันโนเนีย" (ฮังการีตะวันตก) และกองทหารโรมันสองกองที่ถูกส่งไปยังทั้งสองบริเวณนั้นในปี ค.ศ. 125 300px พันโนเนีย (Pannonia) เป็นจังหวัดโบราณแห่งหนึ่งของจักรวรรดิโรมันที่ทางตอนเหนือและตะวันออกมีแม่น้ำดานูบเป็นเขตแดน ติดต่อไปทางตะวันตกจนถึงนอริคัมและอิตาลีตอนเหนือ ทางด้านใต้เป็นดัลเมเชียและมีเชียตอนเหนือ พันโนเนียตั้งอยู่ในบริเวณที่ในปัจจุบันคือทางครึ่งตะวันตกของฮังการีและบางส่วนของออสเตรีย โครเอเชีย เซอร์เบีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ปัจจุบันคำว่า "พันโนเนีย" มักจะใช้กับบริเวณที่เรียกว่าทรานส์ดานูเบียในฮังการี หรือที่ง่าย ๆ คือฮังการีทั้งประเท.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและพันโนเนีย · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1)

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1) (14., 14а Гренадерська Дивізія СС (1а галицька)), ก่อนปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1) · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสโลวาเกีย

กองทัพสาธารณรัฐสโลวาเกีย (Ozbrojené sily Slovenskej Republiky) เป็นกองกำลังของสโลวาเกีย ประกอบไปด้วย กองทัพบก กองทัพอากาศ และ หน่วยสนับสนุน.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกองทัพสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

กัวดาลาฆารา (ประเทศสเปน)

ระวังสับสันกับ กัวดาลาฮารา (ประเทศเม็กซิโก) สำหรับความหมายอื่น ดูที่ กัวดาลาฆารา กัวดาลาฆารา (Guadalajara) เป็นเมืองหลักของจังหวัดกัวดาลาฆาราในแคว้นกัสติยา-ลา มันชา ประเทศสเปน ตั้งอยู่ห่างจากกรุงมาดริดไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 60 กิโลเมตร มีประชากร 83,609 คน (ค.ศ.2008) ได้ถูกนำชื่อไปตั้งเป็นเมืองกัวดาลาฮารา รัฐฮาลิสโกในประเทศเม็กซิโก โดยNuño de Guzmán ชาวเมืองกัวดาลาฆาร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกัวดาลาฆารา (ประเทศสเปน) · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย

การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย เกิดขึ้นในช่วงการบุกครองโปแลนด์ของนาซีเยอรมนี โดยสโลวาเกียได้ส่งกองทัพเบอร์โนลัค ซึ่งประกอบด้วยทหาร 50,000 นาย แบ่งออกเป็น 3 กองพลทหารราบ ระหว่างการรบในโปแลนด์ ทหารสโลวัคพบกับการต้านทานและความสูญเสียเพียงเล็กน้อยเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบชาติสโลวาเกีย

การก่อกบฏชาติสโลวาเกีย (Slovenské národné povstanie, abbreviated SNP) หรือการก่อกำเริบปี 1944 เป็นการเคลื่อนไหวของการก่อกบฏด้วยอาวุธโดยกลุ่มต่อต้านสโลวักในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สโลวาเกีย.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการก่อการกำเริบชาติสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย

รถไฟความเร็วสูง เรลเจต การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย (เยอรมนี: Österreichische Bundesbahnen, ÖBB) เป็นองค์กรรถไฟแห่งชาติของประเทศออสเตรีย และยังดูแลในส่วนของรถไฟในประเทศลิกเตนสไตน์อีกด้วย การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย ได้แบ่งการทำงานออกเป็นหลายแผนกด้วยกัน ปัจจุบัน การรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย อยู่ในระหว่างการพัฒนาโครงข่ายรถไฟประเทศ เช่น การสร้างสถานีรถไฟกลางในเมืองสำคัญ การสร้างอุโมงค์เพื่อเชื่อมไปยังอิตาลี เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฮังการี

การรถไฟฮังการี (Magyar Államvasutak or MÁV) เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการรถไฟในประเทศฮังการี แบ่งออกเป็นหลายแผนก ได้แก่ "MÁV START Zrt.", "MÁV-Gépészet Zrt.", "MÁV-Trakció Zrt." และ "MÁV Cargo Zrt".

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการรถไฟฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟเช็ก

รถไฟฟ้ารุ่น 680 เพนโดลิโน ที่สถานีรถไฟกลางปราก การรถไฟเช็ก (České dráhy, ČD) เป็นบริทรถไฟหลักที่ดำเนินการการขนส่งระบบรางในประเทศเช็กเกีย ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการรถไฟเช็ก · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกีย

แผนที่เส้นทางรถไฟในสโลวาเกีย การขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกีย เริ่มตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1840 โดยเป็นระบบรถไฟม้า และพัฒนามาเป็นรถจักรไอน้ำในวันที่ 20 สิงหาคม..1848.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการขนส่งระบบรางในประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์

การขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์ มีระยะทาง รับกระแสไฟฟ้าตรง 3 โวลต์ จ่ายไฟฟ้าเหนือหัว โครงข่ายส่วนใหญ่ติดตั้งการจ่ายไฟฟ้า ทางรถไฟก่อสร้างก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง โดยบริษัทต่างชาติ เช่น เยอรมนี และรัสเซีย ประเทศโปแลนด์ไม่มีรถไฟความเร็วสูง เส้นทางรถไฟที่มีชื่อเสียงได้แก่ สายเซ็นทรัลเรล ทำความเร็วได้ 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศเช็กเกีย

การขนส่งระบบรางในประเทศเช็กเกีย สถิติผู้โดยสาร 162.906 คน และสินค้า 68.37 ล้านตันในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการขนส่งระบบรางในประเทศเช็กเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

UTC ของวันที่ 19 เมษายน การพยากรณ์ล่าสุดมีการอัปเดตที่ http://www.metoffice.gov.uk/aviation/vaac/vaacuk_vag.html London Volcanic Ash Advisory Centre site (Met Office, สหราชอาณาจักร) ประเทศซึ่งได้รับผลกระทบ (18 เมษายน พ.ศ. 2553): '''สีแดง''' – ปิดน่านฟ้าโดยสมบูรณ์ตามระเบียบเครื่องมือการบิน; '''สีส้ม''' – ปิดน่านฟ้าบางส่วนตามระเบียบเครื่องมือการบิน; อย่างไรก็ตาม น่านฟ้าของไอซ์แลนด์ได้รับผลกระทบน้อยมาก การจราจรทางอากาศเกือบเป็นปกติ ภายหลังจากการปะทุครั้งที่สองของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ในไอซ์แลน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาว ฮูซาก

กุสตาว ฮูซาก (Gustáv Husák) เป็นนักการเมืองชาวสโลวัก ประธานาธิบดีแห่งเชโกสโลวาเกีย และเลขาธิการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย สมัยที่เขาปกครองมีชื่อเรียกว่า สมัยปรับให้เป็นปกติ (Normalization) หลังจากปรากสปริง โดยในสมัยนี้ฮูซากปกครองประเทศอย่างเข้มงวดและใกล้ชิดกับทางมอสโกมากขึ้น ก่อนที่จะถูกขับออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีในเหตุการณ์การปฏิวัติกำมะหยี่ หมวดหมู่:ชาวสโลวาเกีย หมวดหมู่:นักลัทธิคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกุสตาว ฮูซาก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยโลก

กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Universiade) เป็นชื่อการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยจากนานาชาติทั่วโลก อยู่ในการกำกับดูแลของ สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Federation of International University Sports - FISU) โดยชื่อ Universiade เป็นการนำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำ คือ university (มหาวิทยาลัย) และ olympiad (โอลิมปิก) มาสนธิกัน การจัดการแข่งขันจะจัดขึ้นทุกสองปี โดยมีกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ซึ่งทั้งสองมหกรรมกีฬานี้จะจัดแข่งขันในปีเดียวกัน แต่ต่างเวลาและสถานที่ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2504 โดยจัดขึ้นที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกีฬามหาวิทยาลัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1999

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1999 (1999 Winter Universiade) หรือการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวครั้งที่ 19 เป็นการแข่งขันกีฬาของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั่วโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่ Poprad Tatry สโลวาเกีย ระหว่างวันที่ 22 มกราคม ถึง 30 มกราคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1999 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - รุ่น 56 กิโลกรัม ชาย

กีฬายกน้ำหนักรุ่น 56 กก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - รุ่น 56 กิโลกรัม ชาย · ดูเพิ่มเติม »

กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – รุ่น 77 กิโลกรัม ชาย

การแข่งขันยกน้ำหนัก ชาย 77 กก. ที่ โอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ใน รีโอเดจาเนโร จัดขึ้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ที่ เดอะ ปาวีลีอง 2 ของ รีอูเซงตรู.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – รุ่น 77 กิโลกรัม ชาย · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น (Anti-Comintern Pact) คือ สนธิสัญญาเกิดจากความร่วมมือระหว่างนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1936 และมีเป้าหมายเพื่อที่จะต่อต้านองค์การคอมมิวนิสต์สากล (Comintern) โดยทั่วไป แต่หมายถึง สหภาพโซเวียต เป็นพิเศษ "เป็นที่รู้กันดีว่าเป้าหมายขององค์การคอมมิวนิสต์สากล หรือที่เป็นที่รู้จักกันในนามโคมินเทิร์น นั้นคือการทำให้รัฐต่างๆ แตกออกจากกันและหลังจากนั้นก็จะใช้กำลังเข้าปราบปรามเพื่อให้รัฐทั้งหลายบนโลกนี้ตกอยู่ใต้อำนาจบังคับของคอมมิวนิสต์ ด้วยความมั่นใจว่าการเข้าแทรกแซงกิจการภายในของรัฐโดยองค์การคอมมิวนิสต์สากลนั้นมิได้เพียงแต่เข้าไปคุกคามต่อสันติภาพภายในประเทศและความสงบสุขของสังคมแล้ว แต่ยังเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงเป็นความปรารถนาที่จะทำให้เกิดความร่วมมือกันป้องกันตัวจากกิจกรรมทั้งหลายของพวกคอมมิวนิสต์".

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

กแดโดโมฟมูย

กแดโดโมฟมูย? (Kde domov můj?) บ้านของฉันนั้นคือที่ใด? เป็นเพลงชาติเชโกสโลวาเกียและเช็กเกีย ผลงานประพันธ์โดย František Škroup เรียบเรียงทำนองโดย Josef Kajetán Tyl.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและกแดโดโมฟมูย · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

ภราดร ศรีชาพันธุ์

ราดร ศรีชาพันธุ์ (ชื่อเล่น บอล, เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2522) ฉายา "ซูเปอร์บอล" เป็นนักเทนนิสชาวไทย และเป็นอดีตนักเทนนิสชายชาวเอเชียที่มีอันดับสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ด้วยอันดับ 9 ของโลกในปี พ.ศ. 2546 ภราดรเริ่มเล่นในระดับอาชีพเมื่อปี พ.ศ. 2540 และในรายการเอทีพี ปี พ.ศ. 2541 โดยจบปีด้วยอันดับท้ายๆ ของมือวางร้อยอันดับแรกของเอทีพีมาหลายปี จนกระทั่งปี พ.ศ. 2545 สามารถเป็นขึ้นมือวาง 30 อันดับแรก ภายหลังจากสามารถเอาชนะ อังเดร อากัสซี ในรายการวิมเบิลดัน และขึ้นเป็นอันดับ 9 ของโลกในปี 2546.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภราดร ศรีชาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพทดสอบ

ลวดลายโดยพื้นฐานของภาพทดสอบ ภาพทดสอบโทรทัศน์ยุคแรก ภาพทดสอบ (Test card) หรือรู้จักกันในชื่อ แถบสี หรือ แท่งสี (test pattern) คือหน้าจอสำหรับการทดสอบของโทรทัศน์ ออกอากาศช่วงปิดสถานี ประเทศแรกที่นิยมใช้คือสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ บางครั้งการส่งสัญญาณผ่านรถถ่ายทอดสัญญาณแต่ยังไม่มีรายการใด ในขณะที่ยังแพร่พาภาพอยู่ (บ่อยครั้งมักจะเปิดสถานีและปิดสถานี) ซึ่งใช้มาตั้งแต่การแพร่ภาพโทรทัศน์เป็นครั้งแรก ภาพทดสอบแรกคือภาพทดสอบรูปร่างกาย สิ่งนี้จะใช้กล้องถ่ายโทรทัศน์จับภาพได้อย่างชัดเจน และมักจะใช้เป็นเครื่องวัดขนาดภาพนิ่ง การจัดตำแหน่ง และความเข้ากันของวัตถุ จะใช้กล้องถ่ายวิดีโอ หรือกล้องแบบพกพาก็ได้ ส่วนภาพแถบสีใช้สำหรับวัดขนาดและตำแหน่งของวัตถุ หรือการแก้ไขทิศทางของสัญญาณ สิ่งเหล่านี้คือผู้ที่คิดค้นภาพทดสอบ สิ่งนี้อาจมีจุดขาดตกบกพร่องในเรื่องของโครงสร้าง ช่างกล้อง จากนั้นจึงได้คิดค้นภาพทดสอบแบบดิจิตอลซึ่งอนุญาตให้จำหน่ายภาพทดสอบนี้ ท่านผู้ชมและสถานีโทรทัศน์ได้ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อให้เหมาะสมต่อหน้าที.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภาพทดสอบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสโลวัก

ภาษาสโลวัก (slovenčina, slovenský jazyk) เป็นภาษากลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก (กลุ่มเดียวกับภาษาเช็ก ภาษาโปแลนด์ และภาษาซอร์เบีย) ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาสโลวักมีความใกล้ชิดกับภาษาเช็กเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ภาษาสโลวักและภาษาสโลวีเนียเป็นภาษาสลาฟสมัยใหม่สองภาษาเท่านั้นที่ชื่อท้องถิ่นของตนเองมีความหมายตรงตามตัวอักษรว่า "สลาวิก (Slavic) " (ชาวสโลวาเกีย: slovenčina และชาวสโลวีเนีย: slovenščina) (ส่วน slověnskii เป็นภาษาสลาโวนิกเก่า) ภาษาสโลวักพูดในประเทศสโลวาเกีย (ประมาณ 5 ล้านคน) สหรัฐอเมริกา (500,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศเช็กเกีย (320,000 คน เนื่องมาจากอดีตเชโกสโลวาเกีย) ประเทศฮังการี (20,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โบราณ) ประเทศเซอร์เบีย-วอยวอดีนาภาคเหนือ (60,000 คน ผู้สืบเชื้อสายจากผู้ตั้งถิ่นฐานรุ่นแรก ๆ ในช่วงที่อยู่ภานใต้การปกครองของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก) ประเทศโรมาเนีย (22,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์เก่าแก่) ประเทศโปแลนด์ (20,000 คน) ประเทศแคนาดา (20,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรเลีย (เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรีย ประเทศยูเครน ประเทศบัลแกเรีย ประเทศโครเอเชีย (5,000 คน) และประเทศอื่น ๆ บางประเทศ สโลวัก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสโลวาเกีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโรมาเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภาษาสโลวัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮังการี

ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภาษาฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเช็ก

ภาษาเช็ก เป็นภาษาราชการของเช็กเกีย อยู่ในกลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 12 ล้านคน หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภาษาเช็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและภูมิศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารรอง

มหาวิหารรอง (Basilica minor) คือคริสต์ศาสนสถานสำคัญชนิดหนึ่งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีสถานะต่ำกว่ามหาวิหารเอก โบสถ์คริสต์ใด ๆ จะได้รับสถานะเป็นมหาวิหารได้ก็ต่อเมื่อได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการจากพระสันตะปาปา หรือเป็นสถานที่ที่ถูกขนานนามว่ามหาวิหารมาเนิ่นนานแล้ว คำว่า "บาซิลิกา" เดิมใช้หมายถึงอาคารที่มีสถาปัตยกรรมรูปแบบหนึ่งโดยเฉพาะ อาคารลักษณะนี้มักใช้เป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งของมุขนายก ทำให้ต่อมาบาซิลิกามักใช้หมายถึงมหาวิหาร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมหาวิหารรอง · ดูเพิ่มเติม »

มอชอฟต์เซ

มอชอฟต์เซ (Mošovce) เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ ประชากรประมาณ 1,300 คน ตั้งอยู่ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมอชอฟต์เซ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ชเกอร์เตล

มสรฟุตบอลเฟเนร์บาห์เช่ มาร์ติน สเคอร์เทล (Martin Škrtel) เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1984 เป็นนักฟุตบอลชาวสโลวาเกีย เล่นตำแหน่งกองหลังในพรีเมียร์ลีก สโมสรลิเวอร์พูล และเล่นให้กับฟุตบอลทีมชาติสโลวาเกีย ปัจจุบันย้ายไปเล่นใน ตุรกีกับ เฟเนร์บาห.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมาร์ติน ชเกอร์เตล · ดูเพิ่มเติม »

มาเรีย ลูโดวีกา แห่งออสเตรีย-เอสเต

อาร์คดัชเชสมาเรีย ลูโดวิก้าแห่งออสเตรีย-เอสต์ อาร์คดัชเชสมาเรีย ลูโดวิก้าแห่งออสเตรีย-เอสต์ (ภาษาเยอรมัน: Maria Ludovika von Österreich-Este, ภาษาอังกฤษ: Archduchess Maria Ludovika of Austria-Este) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลูโดวิก้า เบียทริกซ์, Maria Ludovika Beatrix von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นสมาชิกราชสกุลฮับส์บูร์ก-ลอร์เรน และเป็นพระชายาองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิท.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมาเรีย ลูโดวีกา แห่งออสเตรีย-เอสเต · ดูเพิ่มเติม »

มาเร็ก เซ็ก (นักฟุตบอลชาวสโลวัก)

มาเร็ก เซ็ก (Marek Čech) เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม..1983 (พ.ศ. 2526) เป็นนักฟุตบอลชาวสโลวาเกียเชื้อสายเช็ก ปัจจุบันเล่นอยู่กับสโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมมิชอัลเบียนในเอฟเอพรีเมียร์ลีกของประเทศอังกฤษ โดยปกติเซ็กจะเล่นในตำแหน่งแบ็กขวา นอกจากนี้เซ็กสามารถเล่นในตำแหน่งวิงแบ็กและปีกขวาได้อีกด้วย หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวสโลวาเกีย หมวดหมู่:ผู้เล่นในพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมมิชอัลเบียน หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 2010 หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลโปร์ตู หมวดหมู่:กองหลังฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมาเร็ก เซ็ก (นักฟุตบอลชาวสโลวัก) · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์สโลวาเกีย

มิสแกรนด์สโลวาเกีย (Miss Grand Slovakia) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของสโลวาเกีย เพื่อคัดเลือกตัวแทนเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล เริ่มจัดประกวดเพื่อคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมิสแกรนด์สโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอิร์ธ 2017

มิสเอิร์ธ 2017, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 17 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมิสเอิร์ธ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มีราเลม เพียนิช

มีราเลม เพียนิช (เกิดวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1990) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวบอสเนีย ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลยูเวนตุส และทีมชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ในตำแหน่งกองกลาง หลังจากที่ได้ลงเล่นในลีกเอิงให้กับสโมสรเม็ตซ์และลียง เขาได้ย้ายมาเล่นให้กับโรมาในเซเรียอา ก่อนที่จะย้ายไปยูเวนตุสในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและมีราเลม เพียนิช · ดูเพิ่มเติม »

ยาส 39

39 กริพเพน (JAS 39 Gripen) (อ่านในภาษาสวีเดนว่า "ยอซ แทร็กตี้นิโยะ กรีเผ่น") เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่ผลิตโดยบริษัทซ้าบของประเทศสวีเดน โดยมีกริพเพน อินเตอร์เนชั่นแนล (Gripen International) ทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการทำสัญญาซึ่งจะรับผิดชอบต่อการตลาด การขาย และการสนับสนุนเครื่องบินขับไล่กริพเพนทั่วโลก ปัจจุบันมันอยู่ในประจำการของกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศเช็ก กองทัพอากาศฮังการี และกองทัพอากาศแอฟริกาใต้ และยังถูกสั่งซื้อโดยกองทัพอากาศไทยอีกด้วย มีกริพเพนทั้งหมด 236 ลำที่ถูกสั่งซื้อในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและยาส 39 · ดูเพิ่มเติม »

ยาน มูคา

น มูคา (Ján Mucha) เกิดวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1982 นักฟุตบอลชาวสโลวาเกีย เล่นตำแหน่งผู้รักษาประตู ปัจจุบันเล่นในประเทศอังกฤษกับสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและยาน มูคา · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันออก

แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 (บางประเทศใช้ตามในภายหลัง) 1 ยูโรแบ่งออกเป็น 100 เซนต์ แต่ชื่อเรียกของเซนต์อาจแตกต่างกันในแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและยูโร · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรโซน

ประเทศนอกยูโรโซนที่ใช้เงินสกุลยูโร ยูโรโซน หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า พื้นที่ยูโร เป็นสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 รัฐ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ซึ่งใช้เงินสกุลยูโรเป็นสกุลเงินร่วม และเป็นเงินสกุลเดียวที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ยูโรโซนปัจจุบันประกอบด้วยออสเตรีย เบลเยียม ไซปรัส เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก ลัตเวีย มอลตา เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สโลวาเกีย สโลวีเนีย และสเปน รัฐสหภาพยุโรปอื่นส่วนใหญ่ถูกผูกมัดให้เข้าร่วมเมื่อรัฐนั้นผ่านเกณฑ์การเข้าร่วม ไม่มีรัฐใดออกจากกลุ่มและไม่มีข้อกำหนดในการออกหรือขับสมาชิกออก นโยบายการเงินของโซนเป็นความรับผิดชอบของธนาคารกลางยุโรป ซึ่งควบคุมโดยประธานและคณะกรรมการหัวหน้าธนาคารกลางแห่งชาติ งานหลักของธนาคารกลางยุโรปคือ รักษาเงินเฟ้อให้อยู่ภายใต้การควบคุมแม้ไม่มีการเป็นผู้แทนร่วม วิธีการปกครองหรือนโยบายการคลังของสหภาพการเงิน มีการร่วมมือเกิดขึ้นบ้างผ่านกลุ่มยูโร ซึ่งดำเนินการตัดสินใจทางการเมืองเกี่ยวข้องกับยูโรโซนและสกุลเงินยูโร กลุ่มยูโรประกอบด้วยรัฐมนตรีคลังของรัฐสมาชิกยูโรโซน อย่างไรก็ดี ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ผู้นำแห่งชาติอาจตั้งกลุ่มยูโรได้เช่นกัน นับแต่วิกฤตการณ์การเงินปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและยูโรโซน · ดูเพิ่มเติม »

รอเบร์ต มัก

รอเบร์ต มัก (เกิดวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1991) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวสโลวาเกีย ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลพีเอโอเคในกรีกซูเปอร์ลีก ซึ่งยืมตัวจากเซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และทีมชาติสโลวาเกีย ในตำแหน่งปีก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรอเบร์ต มัก · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต วิตเตก

รอเบิร์ต วิตเตก (Róbert Vittek) เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรอเบิร์ต วิตเตก · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดพลาสติก

ระเบิดพลาสติก (Plastic explosive หรือ plastique) คือวัตถุระเบิดชนิดพิเศษอย่างหนึ่ง ที่อ่อนนุ่ม ใช้มือกดดัดให้เปลี่ยนรูปได้ ทั้งยังเก็บไว้ในช่วงอุณหภูมิสูงที่กว้างกว่าระเบิดชนิดบริสุทธิ์ ระเบิดพลาสติกนั้นเหมาะเป็นพิเศษกับการระเบิดทำลาย เพราะสามารถขึ้นรูปได้ง่าย สำหรับการตัดโครงสร้างที่แข็งแรง และมีความเร็วสูงพอสำหรับการชุดชนวนและมีความรุนแรงสำหรับการตัดโลหะ แต่จะไม่นิยมใช้ระเบิดพลาสติกสำหรับการทำลายทั่วไป เพราะระเบิดพลาสติกมีราคาแพงกว่าวัตถุระเบิดชนิดอื่นๆ ซึ่งทำงานได้ดีในขอบข่ายงานดังกล่าว นอกจากนี้เมื่อห่อระเบิดไว้ในพลาสติก อานุภาพมักจะต่ำกว่าเมื่อไม่ห่อหุ้ม ระเบิดพลาสติกที่เก่าแก่ที่สุด คือ โนเบล 808 (Nobel 808) ที่พัฒนาขึ้นมาด้วยดีก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และใช้อย่างแพร่หลายโดยหน่วยปฏิบัติการพิเศษของอังกฤษ ในช่วงสงครามดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีใช้โดยบรรจุในระเบิดทำลายรถถังแบบ HESH ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและหลังจากนั้น มีการพัฒนาระเบิดแบบใหม่ขึ้นมาจำนวนหนึ่ง โดยมีส่วนประกอบเป็น RDX ได้แก่ Composition C, C2 และสุดท้ายก็เป็น C3 การใช้ระเบิดที่มี RDX เป็นส่วนประกอบ สามารถผลิตพลาสติกได้หลากหลาย เพื่อลดความไวในการระเบิด และผลิตพลาสติกเป็นส่วนประกอบ ระเบิดซีทรี (C3) มีประสิทธิภาพสูงก็จริง แต่มีจุดอ่อนเมื่ออยู่ในสภาพอากาศหนาวเย็น จะทำให้เกิดการร่วนแตกง่าย เมื่อถึงทศวรรษ 1960 จึงมีการพัฒนาระเบิดซีโฟร์ (C-4) ขึ้นมา เพื่อใช้แทนระเบิดพลาสติก ซึ่งมีส่วนผสมของอาร์ดีเอกซ์เช่นเดียวกัน แต่ใช้ร่วมกับโพลีไอโซบิวทีลีน (polyisobutylene) และได (2-เอทิลเฮกซีล) ซีเบเคต (di (2-ethylhexyl) sebacate) นอกจากนี้ ในช่วงเวลายังมีการพัฒนา Semtex ขึ้น โดยสตานิสลาฟ เบรเบรา จากการผสมสาร RDX กับ PETN และจากนั้นก็เพิ่มเครื่องห่อหุ้มและอุปกรณ์เพิ่มเสถียรภาพ ระเบิดพลาสติกที่มีใช้ในปัจจุบันด้วยกันหลายแบบ ได้แก่ ซีโฟร์ (C-4), PENO, พรีมาชีต (Primasheet) และ Semtex.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและระเบิดพลาสติก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภายุโรป

รัฐสภายุโรป (European Parliament) (ตัวย่อ: Europarl หรือ EP) เป็นรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของสหภาพยุโรป (EU) สภายุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปและคณะกรรมาธิการยุโรปร่วมกันทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติของสหภาพยุโรป ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในฝ่ายนิติบัญญัติที่ทรงอำนาจที่สุดในโลก ปัจจุบันสภายุโรปประกอบด้วยสมาชิกสภายุโรปจำนวน 751 คน โดยเป็นร่างตัวแทนของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยมากเป็นอันดับสองของโลก (รองจากรัฐสภาอินเดีย) และมีจำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยมากที่สุดในโลก (375 ล้านคนจากข้อมูลใน พ.ศ. 2552) สมาชิกรัฐสภายุโรปมาจากการเลือกตั้งโดยตรง โดยจัดการเลือกตั้งทุกๆ 5 ปี ซึ่งทุกคนมีสิทธิ์ออกเสียง โดยดำเนินการมาตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรัฐสภายุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 6 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 28 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโลเวอร์ออสเตรีย

ลเวอร์ออสเตรีย (Lower Austria) หรือ นีเดอร์เอิสเทอร์ไรช์ (Niederösterreich) เป็นหนึ่งในรัฐ (Bundesländer) ของออสเตรีย ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรัฐโลเวอร์ออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

มุมหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียม

้านล่างนี้ เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียม โดยเป็นข้อมูลจาก United States Geological Survey เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแมกนีเซียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศสโลวาเกีย

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อปีในประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก

รปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตก

รป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศบัลแกเรีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศบัลแกเรียทั้งสิ้น 10 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 3 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศยูเครนทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวาเกีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสโลวาเกียทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 5 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวีเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสโลวีเนียทั้งสิ้น 4 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 2 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสเปน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสเปนทั้งสิ้น 46 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 40 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 4 แหล่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศออสเตรีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศออสเตรียทั้งสิ้น 10 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 9 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอิตาลี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอิตาลีทั้งสิ้น 53 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 48 แห่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 5 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฮังการี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฮังการีทั้งสิ้น 8 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศแอลเบเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศแอลเบเนียทั้งสิ้น 3 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 2 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโรมาเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศโรมาเนียทั้งสิ้น 8 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโครเอเชีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศโครเอเชียทั้งสิ้น 10 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 8 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลเยียม

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเบลเยียมทั้งสิ้น 13 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 12 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเยอรมนี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเยอรมนีทั้งสิ้น 42 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 39 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 3 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รางรัสเซีย

รถไฟสายมอสโก-เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ใช้รางรัสเซีย รางรัสเซีย มีขนาดความกว้างของราง ระหว่าง 1,520 มิลลิเมตร -, retrieved 2008-07-20.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและรางรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ลงนามในกฤษฎีกาให้เช่า-ยืม ภายหลังจากได้รับการลงคะแนนเสียงจากรัฐสภาแล้ว ทหารเยอรมันขณะทำการรบในกรีซ - เมษายน 1941 พลร่มเยอรมันถูกส่งไปยังเกาะครีต - พฤษภาคม 1941 รถถังแพนเซอร์ของเยอรมนีรุดหน้าผ่านทะเลทรายเปิด เส้นทางการรุกรานของกองทัพฝ่ายอักษะในปฏิบัติการบาร์บารอสซา - มิถุนายน 1941 เชลยศึกทหารโซเวียตถูกจับกุมหลังจากยุทธการแห่งมินสก์ ทหารเกณฑ์โซเวียตในมณฑลทหารบกเลนินกราด ประธานาธิบดีโรสเวลต์และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์พบกันบนดาดฟ้าของเรือรบหลวง ''พรินซ์ออฟเวลส์'' ระหว่างการประชุมเพื่อลงนามกฎบัตรแอตแลนติก - 10-12 สิงหาคม 1941 สตรีชาวโซเวียตขุดสนามเพลาะรอบกรุงมอสโกเพื่อเตรียมรับการโจมตีของกองทัพเยอรมนี กองทัพเยอรมันรุกไปตามท้องถนนของเมืองคาร์คอฟ - ตุลาคม 1941 การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์: เรือประจัญบาน ''แอริโซนา'' ถูกเพลิงไหม้หลังจากถูกโจมตีโดยเครื่องบินรบญี่ปุ่น - 7 ธันวาคม 1941.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941) · ดูเพิ่มเติม »

ลิฟวิงทิงส์

ลิฟวิงทิงส์ (Living Things) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 5 ของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555 โดยวอร์เนอร์บราเธอร์ส เรคคอร์ดส และ แมชชีนช็อปเรคคอร์ดดิง โปรดิวซ์โดย ไมค์ ชิโนดะ และ ริก รูบิน ซึ่งได้ร่วมผลิตกันมา 2 สตูดิโออัลบั้มด้วยกัน ได้แก่ มินิตส์ทูมิดไนต์ (Minutes to Midnight) ในปี พ.ศ. 2550 และ อะเทาซันด์ซันส์ (A Thousand Suns) ในปี พ.ศ. 2553 ลิงคินพาร์กกล่าวว่า ลิฟวิงทิงส์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลายอย่างจากอัลบั้มที่ผ่านมาทั้งหมดในการสร้างเสียงรูปแบบใหม่ๆ โดยวงได้คุ้นเคยในการทำอัลบั้มแบบนี้มาแล้ว หลังจากการทดลองใน 2 อัลบั้มที่ผ่านมาอย่าง มินิตส์ทูมิดไนต์ และ อะเทาซันด์ซันส์ เป็นเวลาหลายปี คำว่า ลิฟวิงทิงส์ (ที่หมายถึง สิ่งมีชีวิต) ได้ถูกตั้งขึ้นเป็นชื่ออัลบั้ม เนื่องจากเนื้อหาในเพลงเป็นเรื่องราวของประเด็นต่างๆ ในสังคม และเรื่องราวของบุคคลทั่วไป เพลงที่ปล่อยออกมาเป็นซิงเกิล ในอัลบั้มนี้ มีทั้งหมด 3 เพลง ได้แก่ "เบิร์นอิตดาวน์" (Burn It Down) ในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2555, "ลอสต์อินดิเอคโค" (Lost in the Echo) ในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2555 และ "คาสเซิลออฟกลาส" (Castle of Glass)ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและลิฟวิงทิงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิตเทิลมิกซ์

ลิตเทิลมิกซ์ เป็นวงเกิร์ลกรุปจากอังกฤษ ที่ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและลิตเทิลมิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2015 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก CEV หาสมาชิกทั้ง 8 ประเทศ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน ที่โปแลนด์ ทั้งสองทีมที่ดีที่สุดการจัดอันดับจากปี 2013 วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรปบวกหกทีมจากการแข่งขันรอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008

วอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008 (2008 Men's European Volleyball League) เป็นครั้งที่ 5 ของการแข่งขัน การแข่งขันจะจัดเป็นประจำทุกปี รอบคัดเลือกระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลชายยูโรเปียนลีก 2008 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติสโลวาเกีย

วอลเลย์บอลชายทีมชาติสโลวาเกีย (Slovenské národné volejbalové družstvo mužov) เป็นทีมชาติของประเทศสโลวาเกีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลสโลวาเกีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาต.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลชายทีมชาติสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป (Boys' Youth European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุต่ำกว่า 19 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป (Girls' Youth European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุไม่เกิน 18 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก CEV หาสมาชิกทั้ง9ประเทศ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน ที่อิตาลี ทั้งสองทีมที่ดีที่สุดการจัดอันดับจากปี 2013 วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรปบวกเจ็ดทีมจากการแข่งขันรอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป (Men's Junior European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุต่ำกว่า 21 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ สองปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลเยาวชนชายชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป (Women's Junior European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุไม่เกิน 19 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014 เป็นครั้งที่ 25 ของการแข่งขันวอลเลย์บอลชายประจำปีระดับนานาชาติมีทั้งหมด 28 ประเทศ ระหว่าง 23 พฤษภาคม - 20 กรกฎาคม 2014 กลุ่มที่ 1 รอบชิงชนะเลิศจะถูกจัดขึ้นในฟลอเรนซ์, ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015

วอลเลย์บอลชายเวิลด์ลีก 2015 (2015 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 32 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม – 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016 (2016 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับโลก จำนวน 36 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน – 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2016 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017 (2017 FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับโลก จำนวน 36 ทีม เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมลาแตน

วัฒนธรรมลาแตน (La Tène culture) เป็นวัฒนธรรมยุคเหล็กของยุโรปที่ตั้งชื่อตามแหล่งโบราณคดีที่ลาแตนบนฝั่งเหนือของทะเลสาบเนอชาแตลในสวิตเซอร์แลนด์ที่เป็นที่พบสิ่งของมีค่าทางโบราณคดีจำนวนมากมายโดยฮันสลี ค็อพพ์ ในปี ค.ศ. 1857 วัฒนธรรมลาแตนเคลตสเครุ่งเรืองระหว่างปลายยุคเหล็ก (ตั้งแต่ปี 450 ก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึงการพิชิตของโรมันใน ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช) ในบริเวณตะวันออกของฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย ตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมนี สาธารณรัฐเช็ก สโลวาเกีย และฮังการี ทางตอนเหนือไปจรดกับวัฒนธรรมยาสตอร์ฟของเยอรมนีตอนเหนือ วัฒนธรรมลาแตนเจริญขึ้นมาจากวัฒนธรรมฮัลล์ชตัทท์ของยุคเหล็กตอนต้น โดยไม่มีการแบ่งแยกทางวัฒนธรรมที่เห็นได้ชัด และเป็นวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลพอประมาณจากเมดิเตอร์เรเนียนจากกรีกในภูมิภาคกอลก่อนสมัยโรมันและต่อมาอารยธรรมอีทรัสคัน การโยกย้ายศูนย์กลางของที่ตั้งถิ่นฐานเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 4 โบราณวัตถุทางวัฒนธรรมของวัฒนธรรมลาแตนพบในบริเวณอันกว้างไกลที่รวมไปถึงบางส่วนของไอร์แลนด์และบริเตนใหญ่ (หมู่บ้านริมทะเลสาบกลาสตันบรีในอังกฤษเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับวัฒนธรรมลาแตน), ทางตอนเหนือของสเปน ภูมิภาคเบอร์กันดี และ ออสเตรีย สถานที่ฝังศพอันหรูหราก็เป็นเครื่องแสดงเครือข่ายของการค้าอันกว้างไกล เช่นเนินบรรจุศพวีซ์ในฝรั่งเศสซึ่งเป็นที่ฝังศพของสตรีสูงศักดิ์จากศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราชที่ถูกฝังพร้อมด้วยไหคอลดรอนสำริดที่ทำในกรีซ สินค้าออกของจากบริเวณวัฒนธรรมลาแตนไปยังบริเวณวัฒนธรรมเมดิเตอร์เรเนียนก็จะมีเกลือ ดีบุก ทองแดง อำพัน ขนแกะ หนัง ขนสัตว์ และทองคำ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวัฒนธรรมลาแตน · ดูเพิ่มเติม »

วันชัยในทวีปยุโรป

วันชัยในทวีปยุโรป (Victory in Europe Day หรือ VE Day) หมายถึง วันที่ 7 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 คือ วันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของนาซีเยอรมนี ในวันที่ 30 เมษายน หลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฆ่าตัวตายที่หลุมหลบภัยในกรุงเบอร์ลิน ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีตกเป็นของ คาร์ล เดอนิทซ์ เขาได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนในวันที่ 7 พฤษภาคม ในเมืองแรมส์ ฝรั่งเศส นอกจากนั้นวิลเฮล์ม ไคเทล ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเวร์มัคได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนต่อสหภาพโซเวียตในวันที่ 8 พฤษภาคม ในกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวันชัยในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย (24 สิงหาคม พ.ศ. 2408 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2457 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สรุปเหรียญรางวัลพาราลิมปิกตลอดกาล

หมวดหมู่:กีฬาพาราลิมปิก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสรุปเหรียญรางวัลพาราลิมปิกตลอดกาล · ดูเพิ่มเติม »

สวีตดรีมส์

วีตดรีมส์ (Sweet Dreams) คือเพลงโดยบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องอาร์แอนด์บี ชาวอเมริกัน จากผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ไอแอม... ซาชาเฟียร์ส แต่งและดูแลการผลิตโดยโนวส์, James Scheffer, Wayne Wilkins, และ Rico Love เพลงนี้ปล่อยซิงเกิลวิทยุเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยเป็นซิงเกิลที่ 6 จากอัลบั้ม ซิงเกิลนี้สามารถขึ้นอันดับหนึ่งบนชาร์ตของนิวซีแลนด์, แอฟริกาใต้ และอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสวีตดรีมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสหพันธรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 8

นพระราม 8 (Rama VIII Bridge) เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน (สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขตบางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสะพานพระราม 8 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานโนวีโมสต์

นโนวีโมสต์ มองจากปราสาทบราติสลาวา ปราสาทบราติสลาวาและวิหารเซนต์มาร์ติน มองจากสะพานโนวีโมสต์ สะพานโนวีโมสต์ (Nový Most แปลว่า สะพานใหม่) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำดานูบในเมืองบราติสลาวา เมืองหลวงของประเทศสโลวาเกีย ก่อสร้างในระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสะพานโนวีโมสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวักที่ 1

รณรัฐสโลวักที่ 1 (Slovenská republika) หรือ รัฐสโลวัก (Slovenský štát) เป็นรัฐบริวารของนาซีเยอรมนีในวันที่ 14 มีนาคม 1939 ถึง 4 เมษายน 1945 มีดินแดนคือในประเทศสโลวาเกียในปัจจุบัน สาธารณรัฐมีพรมแดนติดกับ ราชอาณาจักรฮังการี, นาซีเยอรมนี, รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวีย และโปแลนด์ (เขตยึดครอง General Government) เยอรมนีได้ยอมรับสาธารณรัฐสโลวักที่ 1 นี้เป็นรัฐเอกราชรวมทั้ง Provisional Government of the Republic of China, โครเอเชีย, เอลซัลวาดอร์, เอสโตเนีย, อิตาลี, ฮังการี, ญี่ปุ่น, ลิทัวเนีย, แมนจูกัว, Mengjiang, โรมาเนีย, สหภาพโซเวียต, สเปน, สวิตเซอร์แลนด์ และนครรัฐวาติกัน ส่วนฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกไม่ยอบรับเป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสาธารณรัฐสโลวักที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ. 1918–1939) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐโปแลนด์หรือเครือจักรภพโปแลนด์ (Rzeczpospolita Polska) รัฐโปแลนด์ถูกสร้างใหม่ใน ค.ศ. 1918 เป็นผลสืบเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังความขัดแย้งในภูมิภาคหลายครั้ง เขตแดนของรัฐถูกชี้ชัดใน ค.ศ. 1922 ประเทศโปแลนด์มีเพื่อนบ้าน ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย เยอรมนี นครเสรีดันซิก ลิทัวเนีย ลัตเวีย โรมาเนียและสหภาพโซเวียต มีทางเข้าทะเลบอลติกโดยทางชายฝั่งสั้น ๆ ที่อยู่ข้างนครกดือเนีย (Gdynia) ระหว่างเดือนมีนาคมและสงหาคม ค.ศ. 1939 โปแลนด์ยังมีเขตแดนร่วมกับรูธีเนียคาร์พาเธีย (Carpathian Ruthenia) ซึ่งขณะนั้นเป็นจังหวัดของฮังการี แม้มีแรงกดดันทั้งในและนอกประเทศ ประเทศยังคงอยู่จน ค.ศ. 1939 เมื่อโปแลนด์ถูกนาซีเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสโลวักบุกครอง เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป สาธารณรัฐที่สองมีพื้นที่ต่างจากรัฐโปแลนด์ปัจจุบันมาก โดยมีดินแดนทางทิศตะวันออกมากกว่าและทางทิศตะวันตกน้อยกว.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสถาปัตยกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์บัคส์

ตาร์บัคส์ (Starbucks) เป็นร้านกาแฟจากอเมริกาในเมืองซีแอตเทิลในรัฐวอชิงตัน ในปี ค.ศ. 1971 โดย กอร์ดอน โบเคอร์, เจอรี่ บัลด์วิน และซิฟ ซีเกิ้ล โดยตอนแรกใช้โลโก้เป็นรูปไซเรน 2 หาง ก่อตั้งในฐานะร้านขายเมล็ดกาแฟคั่ว ต่อมาปี 1982 สตาร์บัคส์มีสาขา 5 สาขา และโฮเวิร์ด ชูลทส์ได้เข้ามาร่วมงานด้วย โดยดูแลด้านการตลาดและค้าปลีก ซึ่งเขาเป็นผู้แนะนำให้สตาร์บัคส์เปิดเป็นบาร์กาแฟ แต่หลายคนก็ไม่เชื่อในวิสัยทัศน์ของเขา ต่อมาชูลทส์ได้ลาออกจากบริษัท ไปเปิดบาร์กาแฟของตนเองชื่อ อิล จิออร์เนล และจำหน่ายกาแฟของสตาร์บัคส์ ในปี 1987 สตาร์บัคส์ประสบปัญหายุ่งยากจากการไม่สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้ ปี 1988 อิล จิออร์เนลจึงซื้อกิจการด้านค้าปลีกไว้พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สตาร์บัคส์ คอร์ปอเรชั่น และจ้างนักบริหารมืออาชีพเข้ามาดูแล ปี 1992 สตาร์บัคส์ได้เข้าตลาดหลักทรัพย์ และในปี 1996 สตาร์บัคส์ได้เปิดสาขาแรกนอกอเมริกาเหนือที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมากกว่า 1 ใน 3 ของร้านสตาร์บัคส์ทั้งหมดอยู่ในต่างประเทศ โดยเฉลี่ยแล้วสตาร์บัคส์เปิดสาขาใหม่เพิ่มวันละ 2 สาขาระหว่างปี 1987 และ 2007 บริษัทได้เริ่ม Caffe Starbucks เป็นระบบบริการออนไลน์โดยอาศัยเครือข่ายของ เอโอแอล สัญลักษณ์ของสตาร์บัคส์ครั้งแรกนั้นเป็นรูปนางเงือก ซึ่งเป็น นางเงือกไซเรนสองหาง (Norse Siren) ในเทพนิยายปรัมปรา เพื่อให้นึกถึงการผจญภัยในทะเล และปรับเปลี่ยนหลายครั้งและล่าสุดคือ..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสตาร์บัคส์ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลทีโอที

มสรฟุตบอลทีโอที เอสซี เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพใน ประเทศไทย โดยเป็นทีมจากบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) โดยในอดีตมีชื่อตามองค์กรที่ส่งเข้าแข่งขันว่า สโมสรฟุตบอลองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผลงานในอดีตเคยได้อันดับ 2 ในการแข่งขัน ไทยลีก ฤดูกาลแรก (พ.ศ. 2539) และชนะเลิศ โปรลีก ฤดูกาล 2006.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสโมสรฟุตบอลทีโอที · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันในฤดูกาล 2017–18

มสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันในฤดูกาล 2017–18 เป็นฤดูกาลที่ 64 ของเอฟเวอร์ตันในลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันในฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย ฮังการี โครเอเชีย และโบฮีเมีย (Otto von Habsburg; พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ ออทโท โรเบิร์ต มาเรีย แอนตัน คาร์ล แมกซ์ เฮ็นริค ซิกส์ตัส เซเวอร์ เฟลิกซ์ เรเนตัส ลุดวิก แกตัน พิอุส อิกเนเชียส ฟอน ฮับส์บูร์ก-ลอแรน; Franz Joseph Otto Robert Maria Anton Karl Max Heinrich Sixtus Xaver Felix Renatus Ludwig Gaetan Pius Ignatius von Habsburg-Lorraine) (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) ทรงเป็นอดีตประมุขแห่งราชวงศ์ของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี หรือออสเตรีย ฮังการี สาธารณรัฐเช็ก โครเอเชีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นพระโอรสองค์โตในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี) และ จักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย พระองค์ทรงเป็นอดีตสมาชิกของสภายุโรป สมาคมคริสเตียนแห่งบาวาเรีย และทรงเคยเป็นประธานสหภาพแพนยุโรปนานาชาติ (International Paneuropean Union) อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อัลโฟนส์ มูคา

อัลโฟนส์ มารียา มูคา (Alfons Maria Mucha) เป็นศิลปินแนวนวศิลป์ (Art Nouveau) ที่มีผลงานออกแบบอย่างหลากหลาย ทั้งภาพโปสเตอร์ ปฏิทิน ภาพประกอบหนังสือ งานพิมพ์ ภาพพิมพ์หิน งานโลหะ งานหนัง การออกแบบเครื่องประดับ และการออกแบบของตกแต่งบ้าน อีกทั้งยังมีผลงานวาดภาพเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อีกด้วย นับว่าเป็นศิลปินมากความสามารถ และมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นคนหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอัลโฟนส์ มูคา · ดูเพิ่มเติม »

อันชลุสส์

ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอันชลุสส์ · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรจ บาบิส

อันเดรจ บาบิส  (เกิด 2 กันยายน ค.ศ. 1954) เป็นผู้ประกอบการ, นักธุรกิจ และนักการเมืองชาวเช็ก เป็นผู้ก่อตั้งพรรคอาโน 2011 และเป็นว่าที่นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศเช็กเกีย จากการเลือกตั้งเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอันเดรจ บาบิส · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติสโลวักพาราไดซ์

อุทยานแห่งชาติสโลวักพาราไดซ์ (Slovak Paradise National Park) เป็น 1 ใน 9 อุทยานแห่งชาติในสโลวาเกีย ตั้งอยู่ในสโลวาเกียตะวันออก อุทยานแห่งนี้ครอบคลุมพื้นที่ของเทือกเขาสโลวักพาราไดซ์ ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของทิวเขา Slovenské rudohorie อุทยานแห่งนี้ครอบคลุมพื้นที่ 197.63 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอุทยานแห่งชาติสโลวักพาราไดซ์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การที่อยู่อาศัยเพื่อมนุษยชาติสากล

องค์การที่อยู่อาศัยเพื่อมนุษยชาติสากล (Habitat For Humanity International; HFHI) เป็นองค์การสากล ไม่แสวงหาผลกำไร ทำงานด้านที่อยู่อาศัยกับผู้ขัดสน มุ่งขจัดปัญหาการไร้ที่อยู่อาศัยทั่วโลก มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองอเมริคุส รัฐจอร์เจีย โดยมีสำนักงานบริหารตั้งอยู่ที่เมืองแอตแลนตา และมีสำนักงานตั้งอยู่ทั่วโลกใน 5 ภูมิภาค ทั้งในสหรัฐอเมริกา แคนาดา แอฟริกา เอเชียกลาง (ตั้งอยู่ในเมืองพริทอเรีย แอฟริกาใต้) เอเชียแปซิฟิก (กรุงเทพ ประเทศไทย) ยุโรปและเอเชียกลาง (บราติสลาวา สาธารณรัฐสโลวาเกีย) และละตินอเมริกาและแคริบเบียน (ซันโคเซ คอสตาริกา).

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและองค์การที่อยู่อาศัยเพื่อมนุษยชาติสากล · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ. 2491) ในช่วงสมัยสงครามเย็น วัตถุประสงค์คือเพื่อร่วมมือกันฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจของประเทศยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้กลับคืนมาและคงไว้อย่างมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจทุนนิยมโดยแผนการมาร์แชลล์ สัญญาในการก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 โดยมีสมาชิกประเทศยุโรปตะวันตกจำนวน 19 ประเทศ เป็นผู้ลงนาม ได้แก่ ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฝรั่งเศส, กรีซ, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์,โปรตุเกส, อังกฤษ, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี, สหรัฐอเมริกา,เยอรมนีตะวันตกและแคว้นอิสระของตรีเอสเต โปสเตอร์สำหรับแผนมาร์แชลล์แสดงธงชาติของประเทศในยุโรปตะวันตก รวมไปถึงแคว้นอิสระตรีเอสเตที่มีพื้นหลังสีฟ้าอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูยุโรปแล้วยังเป็นการต่อต้านหยุดยั้งไม่ให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตมาเผยแพร่ที่ยุโรปตะวันตกและยังเป็นการโน้มน้าวให้ยุโรปตะวันออกที่เป็นประเทศบริวารให้เห็นด้วยและเข้าร่วม แต่ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลินได้หวาดระแวงแผนการมาร์แชลล์ โดยมองว่า เป็นแผนการร้ายของสหรัฐฯที่จะขยายอิทธิพลและเผยแพร่ลัทธิระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจทุนนิยมเข้าสู่ยุโรปตะวันออกจึงทำการบีบบังคับประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกให้ปฏิเสธแผนการดังกล่าวและได้เสนอแผนการโมโลตอฟ(Molotov Plan)ในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์ขึ้นมาแทนเพื่อเป็นการโต้ตอบแผนการมาร์แชล พร้อมก่อตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือคอมิคอน (Council for Mutual Economic Assistance, Comecon) เพื่อเป็นการคานอำนาจจากองค์กรโออีอีซีเช่นเดียวกับสนธิสัญญาวอร์ซอต่อต้านองค์กรนาโต (แต่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1991 คอมิคอนก็ได้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต) ต่อมาในช่วงหลังสงครามเย็นก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากองค์กรโออีอีซีมาเป็นโออีซีดี และมีการลงนามกันใหม่อีกครั้ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อ็อนเดรย์ ดูดา

อ็อนเดรย์ ดูดา (เกิดวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1994) เป็นนักฟุตบอลกองกลางชาวสโลวาเกีย ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรกีฬาแฮร์ทาเบอร์ลินและทีมชาติสโลวาเกีย ชื่อเล่นของเขาคือ ดูดิญโญ และ อ็อนเดรย์ ดิ มาเรี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอ็อนเดรย์ ดูดา · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล (America's Next Top Model หรือในชื่อย่อว่า ANTM) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ที่ทำการคัดเลือกหญิงสาวจากรัฐต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา ที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ โดยผู้เข้าแข่งขันต้องขับเคี่ยวกันจากบททดสอบมากมาย ตั้งแต่การถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ที่ล้วนต้องอาศัยความสามารถระดับสูงก่อนจะมาเป็นสุดยอดนางแบบของอเมริกา ซึ่งผู้ชนะในแต่ละฤดูกาลจะได้รับรางวัลดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค

อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค (Alexander Dubček; 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 – 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992) เป็นนักการเมืองชาวสโลวาเกีย เป็นอดีตผู้นำเชโกสโลวาเกีย (ค.ศ. 1968–1969) ในช่วงปรากสปริง เขาพยายามที่จะปฏิรูปสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก แต่ถูกบีบให้ลาออกหลังการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายสนธิสัญญาวอร์ซอ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค · ดูเพิ่มเติม »

ฮอกกี้น้ำแข็ง

อกกี้น้ำแข็ง ฮอกกี้น้ำแข็ง หรือ ไอซ์ฮอกกี้ (Ice hockey) เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นบนพื้นน้ำแข็ง ที่ใช้ความเร็วและกำลังในการเล่น ฮอกกี้น้ำแข็งเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากในแทบที่มีความหนาวเย็นตามธรรมชาติ ที่มีน้ำแข็งเกาะอย่างเช่น ประเทศแคนาดา อเมริกาเหนือ แถบสแกนดิเนเวียและรัสเซีย ต่อมาสามารถเล่นภายในอาคารจากลานเล่นสเก็ตน้ำแข็งเทียมได้ และยังเป็นกีฬาของนักกีฬาสมัครเล่นในเมืองใหญ่อย่าง เมืองที่เป็นเจ้าภาพจัด National Hockey League (NHL) หรือเป็นกีฬาอาชีพของลีกอาชีพ มีลีกใหญ่ สำคัญ 4 ลีกคือ North American professional sports, และ NHL ที่เป็นระดับสูงสุด และ Canadian Women's Hockey League (CWHL) และ Western Women's Hockey League (WWHL) ซึ่งถือว่าเป็นระดับสูงสุดของฮอกกี้น้ำแข็งสตรี นอกจานี้ยังเป็นกีฬาฤดูหนาวอย่างเป็นทางการของแคนาดา มีสมาชิก 66 ประเทศที่เป็นสมาชิกกับ International Ice Hockey Federation (IIHF) แต่ประเทศอย่าง แคนาดา,เช็กเกีย, ฟินแลนด์, รัสเซีย, สโลวาเกีย, สวีเดน และสหรัฐอเมริกา ที่ได้ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ในการแข่ง IIHF World Championships มากที่สุด และจากแข่งขันโอลิมปิก 63 เหรียญประเภทผู้ชาย ตั้งแต่ปี 1920 มีเพียง 6 ครั้งเท่านั้นที่ประเทศที่ได้รับเหรียญไม่ใช่ประเทศดังกล่าว และหากไม่นับอดีตประเทศอย่าง เชโกสโลวาเกียหรือสหภาพโซเวียตแล้ว มีเพียง 1 เหรียญจาก 6 ครั้งที่ได้เหนือเหรียญทองแดง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฮอกกี้น้ำแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮุนได ทูซอน

นได ทูซอน (Hyundai Tucson) เป็นรถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดเล็ก (Compact SUV) ผลิตโดยฮุนได ผู้ผลิตรถยนต์ของประเทศเกาหลีใต้ เริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2547 เพื่อมาทดแทน SUV รุ่นเก่า ฮุนได แกลลอปเปอร์ (Hyundai Galloper) ซึ่งเป็นรถ SUV ที่ใช้โครงสร้างร่วมกับมิตซูบิชิ ปาเจโรรุ่นแรก และยังไม่ใช่ SUV รุ่นแรกที่พัฒนาขึ้นโดยฮุนได ฮุนได ทูซอน เป็นหนึ่งในรถตระกูล Recreation Vehicle จากฮุนได นอกจากรถ SUV ขนาดกลาง ฮุนได ซานตาเฟ่ (Hyundai Santa Fe) และ SUV ขนาดใหญ่ ฮุนได เวล่าครูส (Hyundai Veracruz) ที่มาของชื่อคือชื่อของเมืองแห่งหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่ทางใต้ของแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของรัฐรองจากฟินิกซ์ สภาพเมืองรายล้อมไปด้วยภูเขา Santa Catalina และอื่นๆ อีก 3 ภู.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและฮุนได ทูซอน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย หรือ สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี (พระนามเต็ม: คาร์ล ฟรันซ์ โยเซฟ ลุดวิก ฮิวเบิร์ต จอร์ช มาเรีย; Karl Franz Josef Ludwig Hubert Georg Maria von Habsburg-Lothringen, ภาษาฮังการี: Károly Ferenc József) ทรงเป็นจักรพรรดิออสเตรียและพระมหากษัตริย์ฮังการี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2459 ถึง พ.ศ. 2461 หลังจากที่ราชวงศ์ถูกโค่นอำนาจ เมื่อตอนที่ทรงเถลิงวัลย์ราชสมบัติ พระองค์ทรงได้รับพระนามอย่างเป็นทางการว่า จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี); His Imperial and Royal Apostolic Majesty the Emperor Karl I of Austria and the Apostolic King Karl IV of Hungary.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสโลวาเกีย

งชาติสโลวาเกีย (Vlajka Slovenska) นับย้อนไปในปี พ.ศ. 2391 ซึ่งเป็นปีของการปฏิวัติในยุโรปและเป็นเวลาที่ชนเผ่าสลาฟได้กำหนดบทบาทของตนเองจากการปกครองของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และออกแบบธงชาติ 3 สี ขาว และแดงเป็นธงประจำชาติของตน สโลวาเกียได้ใช้ธงชาติ 3 สีโบกสะบัดเมื่อประเทศได้รับอิสรภาพ ต่อมาเมื่อแยกตัวออกจากเชโกสโลวาเกียในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและธงชาติสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเช็กเกีย

งชาติเช็กเกีย (Česká vlajka) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งครึ่งตามแนวนอน โดยครึ่งบนมีสีขาว ครึ่งล่างมีสีแดง ที่ด้านคันธงมีรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วสีน้ำเงิน โดยฐานของรูปนั้นอยู่ติดกับด้านคันธง ธงนี้เดิมเป็นธงชาติของประเทศเช็กโกสโลวาเกีย แต่เมื่อมีการแยกประเทศเช็กโกสโลวาเกียเป็นสาธารณรัฐเช็ก (เช็กเกีย) และสโลวาเกียในปี พ.ศ. 2536 สาธารณรัฐเช็กก็ได้รับเอาธงชาติเช็กโกสโลวาเกียเดิมเป็นธงชาติของตนสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าจะเป็นการขัดรัฐธรรมนูญซึ่งห้ามทั้งสองชาติใช้สัญลักษณ์ที่สืบทอดจากประเทศเช็กโกสโลวาเกียเดิมก็ตาม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและธงชาติเช็กเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลก

แผนที่จำนวนครั้งที่ผ่านรอบคัดเลือกของประเทศต่างๆ ผลงานที่ดีที่สุดของประเทศต่าง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี

;สัญลักษณ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี · ดูเพิ่มเติม »

ทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี

;สัญลักษณ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี · ดูเพิ่มเติม »

ข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก

ปรดสังเกตว่า รายการจัดอันดับการตลาดนี้ขึ้นอยู่กับมูลค่าการค้าปลีก (มากกว่าหน่วย) แต่ละตลาดจะมีการสร้างเป็นรายปี มูลค่าการค้าปลีกจะแบ่งเป็นปีต่อปี ตัวเลขที่อยู่บนพื้นฐานของรายงานประจำปีของสมาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซเซ็นทรัลยุโรป

อะเมซิง เรซ เซ็นทรัล ยุโรป (The Amazing Race Central Europe) เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ที่สร้างจากเรียลลิตี้โชว์ของสหรัฐอเมริกาชื่อดังที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ รายการนี้ผลิตโดยเอเอ็กซ์เอ็น ยุโรป ที่มีบริษัท โซนี่ พิคเจอร์ เอ็นเตอร์เทเมน อินเตอร์เนชั่นแนล เป็นบริษัทแม่ เช่นเดียวกันกับ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย โดยการแข่งขันจะแบ่งเป็นทีมละสองคน ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุด และระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ทำการรับสมัครวันสุดท้ายวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2548 การเดินทางส่วนใหญ่จะอยู่ในประเทศ สาธารณรัฐเช็ค, โปแลนด์, สโลวาเกีย, ฮังการี, โรมาเนีย และ บัลแกเรีย โดยผู้ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ สำหรับกฎกติกาส่วนใหญ่จะนำมาจาก ดิ อะเมซิ่ง เรซ เวอร์ชันอเมริกา ทั้งหมด แต่ขีดจำกัดอายุขั้นต่ำของผู้เข้าแข่งขันลดลงเหลืออายุ 18 ปีขึ้นไป เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 มีการประกาศออกมาจากทางเอเอ็กซ์เอ็นว่า การคัดตัวผู้เข้าแข่งขันนั้นได้สิ้นสุดลงแล้ว และรายการมีกำหนดจะออกอากาศในเร็ว ๆ นี้อย่างไรก็ดีในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2550 ได้มีการถอดเว็บไซต์ของรายการเนื่องจากรายการอาจถูกยกเลิก รวมถึงมีการถอดผังรายการที่มีรายการนี้อยู่ด้วย และเมื่อเดือน กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและดิอะเมซิ่งเรซเซ็นทรัลยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียน ดอปเพลอร์

ริสเตียน ดอปเพลอร์ (Christian Doppler; 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1803 – 17 มีนาคม ค.ศ. 1853) เป็นนักฟิสิกส์และนักคณิตศาสตร์ชาวออสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคริสเตียน ดอปเพลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก

อนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก (Kontinental Hockey League - KHL, Континентальная Хоккейная Лига, Kontinental'naya Khokkeynaya Liga) เป็นลีกฮอกกี้น้ำแข็งอาชีพระหว่างประเทศในยูเรเซีย ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก

ร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก หรือที่ในประเทศออสเตรียเรียกว่า คาร์ล ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน (คาร์ล โธมัส โรเบิร์ต มาเรีย ฟรานซิสกัส จอร์ช แบนัม ฟอน ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน; Karl Thomas Robert Maria Franziskus Georg Bahnam von Habsburg-Lothringen) ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2504 ณ เมืองสแตนเบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เป็นประมุขแห่งราชวงศ์ของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี หรือออสเตรีย ฮังการี สาธารณรัฐเช็ก โครเอเชีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสองค์แรกในออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กและเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน พระองค์ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Order of the Golden Fleece ของประเทศออสเตรีย การสิ้นพระชนม์ของพระราชบิดาในต้นเดือนกรกฎาคมคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิกตะวันออก

ระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก หรือ ศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออก (Eastern Catholic Churches) เป็นคริสตศาสนจักรตะวันออก 23 ศาสนจักรที่ร่วมเอกภาพสมบูรณ์กับพระสันตะปาปาแห่งโรมโดยยอมรับพระองค์เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรแต่มีอำนาจปกครองตนเอง มีจารีตธรรมประเพณีเป็นของตนเองและเป็นส่วนหนึ่งของนิกายคาทอลิกทั่วโลก สถานะพิเศษของศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออกได้รับการรับรองโดยกฤษฎีกาจากสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ใน Orientalium ecclesiarum (กฤษฎีกาว่าด้วยพระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก) จากข้อมูลหนังสือ Annuario Pontificio ฉบับปี 2016 ได้ให้ข้อมูลว่ามีคริสตศาสนิกชนนิกายคาทอลิกที่เป็นคาทอลิกตะวันออกเกือบ 18 ล้านคน (จำนวนทั้งสิ้น 17,881,222 คน) คิดเป็นประมาณ 1.4-1.5% ของจำนวนคริสตศาสนิกชนคาทอลิกทั้งหมดและกระจายออกไปทั่วโลก ตราอาร์มของพระอัครสังฆราชใหญ่สวีอาโตสลาฟ เชฟชุคแห่งศาสนจักรยูเครนกรีกคาทอลิก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคาทอลิกตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ค็อทบุส

็อทบุส (Cottbus; ซอร์เบียล่าง: Chośebuz) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐบรันเดนบูร์ก ประเทศเยอรมนี อยู่ห่างจากเบอร์ลินไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 125 ก.ม. บนแม่น้ำชเปร มีประชากร 106,415 คน สำรวจเมื่อสิ้นปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและค็อทบุส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสโลวาเกีย

ตราแผ่นดินของสโลวาเกีย เริ่มใช้เมื่อวันที่13 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและตราแผ่นดินของสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและตราแผ่นดินในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานดาบคิงอาเธอร์

ตำนานดาบคิงอาเธอร์ (The Last Legion) เป็นภาพยนตร์ในปี 2007 จากอังกฤษ นำแสดงโดยนักแสดงชั้นนำจากประเทศอังกฤษ โคลิน เฟิร์ธ นักแสดงผู้โด่งดังจาก Bridget Jones's Diary และ Shakespeare in Love ในบทของ ออเรลิอัส อัศวินผู้ภักดี ภาพยนตร์มหากาพย์อภิมหาสงครามเรื่องนี้ลงทุนสร้าง 2200 ล้านบาท ใช้เวลาในการเตรียมงานสร้างนานกว่า 5 ปี ภาพยนตร์ใช้เทคนิคงานสร้าง เทคนิคเดียวกับ ลอร์ดออฟเดอะริงส์ โดยถ่ายทำใน 3 ประเทศ อิตาลี – สโลวาเกีย และ ตูนิเซีย ใช้เวลาถ่ายทำนานถึง 5 ปีเต็ม ร่วมด้วยนักแสดงหญิง ไอศวรรยา ราย และ เซอร์ เบน คิงสลีย์ นักแสดงระดับออสการ์ จับงานมาแล้วทั้งทางจอเงิน จอแก้ว และบนเวที และ ธอมัส แซงสเตอร์ หนุ่มน้อยผู้โด่งดังจากบทบาทใน Love Actually ผู้รับบท โรมูลุส กษัตริย์องค์สุดท้ายของอาณาจักรโรมัน ภาพยนตร์สร้างขึ้นโดยอาศัยโครงเรื่องหลวมๆ ที่อิงจากเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 เกี่ยวกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมันตะวันตก โดยมีส่วนเกี่ยวข้องกับตำนานอื่นด้วยคือ จากตำนานแห่งบริเตน และเรื่องราวแฟนตาซีจากตำนานกษัตริย์อาเธอร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและตำนานดาบคิงอาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย

Sukhoi Superjet 100 (Campeche, Mexico) 2015 ซุคฮอย (Sukhoi, Сухой) เป็นผู้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ของรัสเซียมีที่มีชื่อเสียงจากเครื่องบินขับไล่ มันถูกก่อตั้งโดยพาเวล ซุคฮอยเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและซุคฮอย · ดูเพิ่มเติม »

ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก

ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก (CEV Champions League; ชื่อเดิม: ซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ; CEV European Champions Cup ตั้งแต่ ค.ศ. 1959 ถึง ค.ศ. 2000) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับสโมสรของทวีปยุโรป และจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี).

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและซีอีวีแชมเปียนส์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกำลังพัฒนา

ประเทศสีเหลือง/ส้ม มีการพัฒนามนุษย์ในระดับกลาง และประเทศสีแดง มีการพัฒนามนุษย์ในระดับต่ำ ประเทศกำลังพัฒนา หรือ ประเทศพัฒนาน้อยกว่า หรือ ประเทศด้อยพัฒนา เป็นคำที่ใช้เรียกประเทศที่มีมาตรฐานการดำรงชีวิตปานกลาง-ต่ำ พื้นฐานอุตสาหกรรมยังไม่พัฒนา และมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index) อยู่ในระดับปานกลาง-ต่ำ คำนี้มีแนวโน้มที่จะถูกแทนใช้ที่คำอื่น ๆ ที่เคยใช้ก่อนหน้า ซึ่งรวมถึงคำว่า "โลกที่สาม" ซึ่งเกิดขึ้นในยุคสงครามเย็น เนื่องจากไม่มีคำจำกัดความใดๆมากำหนด คำว่าประเทศพัฒนานาแล้ว อาจเป็นไปได้ว่า ระดับของคำว่า พัฒนาแล้ว จะมีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดมากกว่า คำว่า กำลังพัฒนาด้วย สำหรับบางประเทศที่ถูกเรียกว่า เป็นประเทศกำลังพัฒนา ยังพบว่ามีค่าเฉลี่ยของมาตรฐานการดำรงชีวิตอยู่ในระดับสูงเช่นกัน ส่วนประเทศที่มีสภาพเศรษฐกิจที่จัดอยู่ในระดับก้าวหน้ามากกว่าประเทศที่กำลังพัฒนา แต่ยังไม่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของ ประเทศพัฒนาแล้ว จะถูกจัดให้อยู่กลุ่มที่ใช้คำจำกัดความว่า ประเทศอุตสาหกรรมใหม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศกำลังพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1938

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1938 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1938 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1948

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1948 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1954

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1954 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1954 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1960 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1964 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1971

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1971 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1976 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1981

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1981 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1981 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1986

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1986 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1986 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1990

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1990 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1992 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1994 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1998 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2002 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2012 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 ในประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเชโกสโลวาเกียในโอลิมปิก

ประเทศเชโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศเชโกสโลวาเกียในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กเกีย

็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เมืองหลวงของประเทศคือ ปราก เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศด้วย เมืองสำคัญอื่น ๆ ของประเทศ ได้แก่ เบอร์โน, ออสตราวา, เปิลเซน, ฮราเดตส์กราลอเว, เชสเกบุดเยยอวีตเซ และอูสตีนัดลาเบม นับตั้งแต่การยุบเลิกประเทศเชโกสโลวาเกียเมื่อปลายปี พ.ศ. 2535 กระทรวงการต่างประเทศและกระทรวงศึกษาธิการของสาธารณรัฐเช็กได้สนับสนุนให้ใช้ชื่อประเทศแบบสั้นเป็นภาษาอังกฤษว่า "เช็กเกีย" (Czechia) แต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก จนกระทั่งในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีสาธารณรัฐเช็กได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ชื่อ "เช็กเกีย" เป็นชื่อเรียกประเทศแบบสั้นอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและประเทศเช็กเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ. 1992 องค์การยูเนสโก ได้ประกาศให้ปรากเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและปราก · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ ซาแกน

ปีเตอร์ ซาแกน(Peter Sagan) เกิดวันที่ 26 มกราคม..1990 เป็นนักแข่งจักรยานทางเรียบชาวสโลวาเกีย สังกัดทีม ยูซีไอเวิลด์ทัวร์ ทิงก์ออฟ-ซาโซ่ ก่อนที่จะมาแข่งจักรยานทางเรียบ ซาแกนเคยประสบความสำเร็จในการแข่งขันจักรยานประเภทไซโคลครอสและจักรยานเสือภูเขามาก่อนโดยได้แชมป์เวิลด์เมาน์เท่นไบค์แชมเปี้ยนชิพในปี..2008 ประเภทเยาวชน ปีเตอร์ ซาแกนจัดว่าเป็นดาวรุ่งที่น่าจับตามองที่สุดในการแข่งขันจักรยานทางเรียบยุคนี้ ด้วยรางวัลที่ได้มาอย่างมากมายในการแข่งขันตั้งแต่ช่วงอายุเพียงแค่ 20 ต้นๆเท่านั้น เพียงแค่การเข้าแข่งแกรนด์ทัวร์ครั้งแรกในรายการตูร์เดอฟรองซ์ปี 2012 เขาก็สามารถสร้างชื่อให้กับตัวเองได้ในทันที โดยยกตัวเองขึ้นไปชิงเสื้อเขียวจากบรรดาสปรินเตอร์มากประสบการณ์ไม่ว่าจะเป็น มาร์ค คาเวนดิช อังเดร ไกรเพ่ล หรือจอห์น เดเก้นคลอป ปีเตอร์ ซาแกน แม้จะถูกมองว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการสปรินต์ แต่ว่าเขาก็สามารถไต่เขาและปั่นสนามค็อบเบิลสโตนได้ดี ฟาเบียง คันชาลาร่าเองเคยพูดถึงซาแกนไว้ว่าเขา(ซาแกน)แข็งแกร่งมากถ้าได้สเตจที่เหมาะกับเขา และไม่ว่าคุณจะถนัดพื้นที่สนามแบบไหนก็ตาม เขา(ซาแกน)จะอยู่ตรงนั้นเสมอและเอาชนะคุณ หลังจากนั้น ซาแกนก็มักจะถูกจับตามองและถูกวางให้เป็นตัวเต็งลำดับต้นๆในทุกรายการที่เขาลงแข่ง ซึ่งในการแข่งขันเวิลด์แชมเปี้ยนชิพปี..2015 ซาแกนเองก็ถูกวางให้เป็นตัวเต็งคว้าแชมป์ในการแข่งประเภทชายซึ่งภายหลังซาแกนก็คว้าแชมป์นี้มาได้สำเร็จด้วยการโจมตีในช่วงท้.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและปีเตอร์ ซาแกน · ดูเพิ่มเติม »

นาดทาโทรซาบลีซกา

ลงชาติสาธารณรัฐสโลวัก หรือประเทศสโลวาเกีย มีชื่อว่า "นาดทาโทรซาบลีซกา" (สโลวัก: Nad Tatrou sa blýska) อันมีความหมายว่า "สายฟ้าเหนือเขาทาทราส" ทำนองเพลงมาจากเพลงพื้นเมืองของสโลวาเกีย ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1844 (พ.ศ. 2387) โดยยานโก มาตุสกา (Janko Matúška) เพลงนี้มีต้นกำเนิดมาจากอิทธิพลความคิดโรแมนติค (จินตนิยม) และชาตินิยมในแถบยุโรปตอนกลางในเวลานั้น ซึ่งเพลงนี้ต่อมาได้รับความนิยมจากชาวสโลวาเกียทั่วไปในเหตุการณ์การปฏิวัติปี ค.ศ. 1848 (พ.ศ. 2391) เนื้อหาของเพลงโดยรวมเป็นการนำเอาภาพของสายฟ้าเหนือภูเขาทาทราสมาเปรียบเทียบกับภยันตรายที่สโลวาเกียต้องเผชิญและความปรารถนาที่จะฟันฝ่าปัญหาเหล่านั้นไปให้จงได้ ในยุคที่สโลวาเกียยังคงรวมอยู่ในประเทศเชโกสโลวาเกียนั้น ปรากฏว่ามีธรรมเนียมการบรรเลงเพลงนี้ในเวลา 12 นาฬิกาทุกวัน ในเมืองของชาวสโลวัก ต่อมาธรรมเนียมนี้ได้เลิกไปเมื่อมีการแยกตัวเป็น 2 ประเทศ ปัจจุบันนี้ เพลง "นาดทาโทรซาบลีซกา" ใช้บรรเลงเนื่องในวาระพิเศษต่างๆ เช่น การแข่งขันกีฬา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและนาดทาโทรซาบลีซกา · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1994

นางงามจักรวาล 1994 (Miss Universe 1994) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 43 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและนางงามจักรวาล 1994 · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

แช็สกาแตแลวิแซ

แช็สกาแตแลวิแซ (Česká televize) หรือ ČT เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งของประเทศเช็กเกีย โดยรัฐบาลของประเทศดังกล่าว โดยมีลักษณะเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งชาติและแบบสาธารณ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแช็สกาแตแลวิแซ · ดูเพิ่มเติม »

แฟแร็นตส์ ซาลอชี

แฟแร็นตส์ ซาลอชี (6 มกราคม ค.ศ. 1897 – 12 มีนาคม ค.ศ. 1946) เป็นผู้นำพรรคแอร์โรว์ครอสส์ที่นิยมฟาสซิสต์-กลุ่มเคลื่อนไหวชาวฮังการี,"ผู้นำแห่งชาติ"(Nemzetvezető) ได้เป็นประมุขแห่งรัฐและนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรฮังการีในฐานะ"รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี"(Nemzeti Összefogás Kormánya) ในช่วงหกเดือนสุดท้ายของการเข้าร่วมของฮังการีในสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากเยอรมันได้เข้ายึดครองฮังการีและทำการล้มล้างอำนาจมิกโลช โฮร์ตีด้วยกองกำลัง ในช่วงบทบาทสั้นๆของเขา คนของซาลอชีได้ทำการสังหารหมู่ชาวยิวประมาณ 10,000 - 15,000 คน ภายหลังสงคราม เขาถูกจับกุมและถูกไต่สวนโดยศาลฮังการี เขาจึงถูกตัดสินลงโทษด้วยการประหารชีวิตสำหรับการก่ออาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ หมวดหมู่:ชาวฮังการี หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฮังการี หมวดหมู่:ทหารชาวฮังการี หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:อาชญากรสงคราม หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแฟแร็นตส์ ซาลอชี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำวาก

แม่น้ำวาก (Váh; Waag; Vág; Wag) เป็นแม่น้ำสายยาวสุดของประเทศสโลวาเกีย มีความยาว 406 กิโลเมตร ไหลผ่านทางทิศเหนือและตะวันตกของสโลวาเกีย ก่อนที่จะไหลลงแม่น้ำดานูบที่เมืองคอมาร์นอ.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแม่น้ำวาก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดี วอร์ฮอล

แอนดี วอร์ฮอล (Andy Warhol) เป็นศิลปินชาวอเมริกัน เขาเป็นหนึ่งในผู้นำกลุ่มศิลปะแนวป็อปอาร์ต (pop art) ที่ประสบความสำเร็จอย่างมากจนได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของงานแนวนี้ งานของเขาสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในเรื่อง คนดัง วงการบันเทิง และการโฆษณาซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาในช่วงยุค 60 หลังจากการประสบความสำเร็จในงานวาดภาพประกอบ แอนดีก็กลายเป็นบุคคลมีชื่อเสียงตามที่เขาหวังเอาไว้ งานของแอนดีมีหลายประเภทตั้งแต่งานมีเดียไปจนถึง ภาพเขียน ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ภาพพิมพ์สกรีน ประติมากรรม ภาพยนตร์ และดนตรี นอกจากนี้เขายังเป็นศิลปินรุ่นแรกๆที่นำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานศิลปะด้วย นอกจากงานเหล่านี้แล้วแอนดียังเป็นผู้ก่อตั้งนิตยสารและเขียนหนังสืออีกหลายเล่ม อาทิ เช่น The Philosophy of Andy Warhol และ Popism: The Warhol Sixties แม้ในช่วงระยะหลังของชีวิตแอนดีจะไม่ค่อยทำงานศิลปะออกมามากเท่าไหร่ แต่เขาก็ยังคงมีงานในด้านอื่นๆ ออกมาให้เห็นอยู่อย่างต่อเนื่อง เช่น งานโฆษณา หรือ งานแสดงที่เขาได้รับเชิญจากภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง เรือรักเรือสำราญ (Love Boat) และนั้นยิ่งเป็นการตอกย้ำถึงความสำเร็จของเขา หลังจากการแสดงงานครั้งสุดท้ายในยุโรป เมื่อกลับมานิวยอร์กได้ระยะหนึ่ง แอนดีก็เสียชีวิตลงในปี 1987.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแอนดี วอร์ฮอล · ดูเพิ่มเติม »

แอ็ตแชร์

แอ็ตแชร์ (Ecser) เป็นหมู่บ้านหนึ่งในเทศมณฑลแป็ชต์ เขตมหานครบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแอ็ตแชร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นซาคาร์ปัตเตีย

แคว้นซาคาร์ปัตเตีย (Закарпатська область) เป็นหน่วยการปกครองประเภทแคว้น (Oblast) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ ประเทศยูเครน, เป็นที่ตั้งของภูมิภาคทางประวัติศาสตร์ Carpathian Ruthenia มีเมืองปกครองหลัก ที่เมืองอุจโกรอด แคว้นก่อตั้งขึ้นในวันที่ 22 มกราคม 1946 หลังจากที่ เชโกสโลวาเกีย มอบดินแดน Sub Carpathian Ruthenia (Podkarpatská Rus) ให้กับ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน ภายใต้สนธิสัญญาระหว่างเชโกสโลวาเกีย และ สหภาพโซเวียต แคว้นซาคาร์ปัตเตีย ยังเป็นที่ตั้งของ เทือกเขาคาร์เพเทียน ของยูเครนตะวันตก แคว้นนี้ยังเป็นหน่วยการปกครองเดี่ยวของยูเครนที่มีพรมแดนติดถึง 4 ประเทศคือ โปแลนด์, สโลวาเกีย, ฮังการี และ โรมาเนีย โดยรายได้ส่วนใหญ่ของแคว้นซาคาร์ปัตเตียมาจากการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแคว้นซาคาร์ปัตเตีย · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ เฟเดอเรอร์

* โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ (Roger Federer) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1981 เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสวิส เขาเคยขึ้นครองอันดับที่ 1 ของโลกมาตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ต่อเนื่องมาจนถึง วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2008 นับเป็นระยะเวลา 237 สัปดาห์ติดต่อกัน ซึ่งถือเป็นสถิติการครองอันดับ 1 ติดต่อกันที่ยาวนานที่สุดตลอดกาลของวงการเทนนิสโลก ปัจจุบันตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 เขาสามารถแย่งอันดับที่ 1 ของโลกกลับมาจากราฟาเอล นาดาลได้เป็นผลสำเร็จ หลังจากที่สามารถคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้เป็นสมัยที่ 6 เป็นที่ยอมรับกันว่า เฟเดอเรอร์เป็นนักเทนนิสที่เก่งที่สุดในยุคของเขา โดยถูกจัดอยู่ในกลุ่มนักเทนนิสชายยอดเยี่ยมตลอดกาล และถือเป็นชาวสวิสคนแรกที่ยังมีชีวิตอยู่ที่มีรูปอยู่ในสแตมป์ของสวิสซึ่งถูกผลิตในเดือนเมษายน ค.ศ. 2007 เป็นรูปเฟเดอเรอร์กับถ้วยวิมเบิลดัน เขาเป็นนักกีฬาคนแรกที่ได้รับรางวัลนักกีฬาโลกแห่งปี (Laureus World Sportsman of the Year) 4 ครั้งติดต่อกัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 - ค.ศ. 2008 เฟเดอเรอร์ ชนะการแข่งขันประเภทเดี่ยว ในรายการแกรนด์สแลม 20 ครั้ง (6 ออสเตรเลียนโอเพน, 1 เฟรนช์โอเพน, 8 วิมเบิลดัน, 5 ยูเอสโอเพน) (ถือเป็นการทำลายสถิติการคว้าแชมป์ 14 แกรนด์สแลมตลอดกาลของพีท แซมพราส), รายการเทนนิสมาสเตอร์คัพ 6 ครั้ง, รายการเอทีพีมาสเตอร์ซีรีส์ 24 ครั้ง และรายการเอทีพีทัวร์อื่นๆอีก 26 ครั้ง อีกทั้งยังชนะ การแข่งขันประเภทคู่ 8 ครั้ง และเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 เฟเดอเรอร์สามารถเอาชนะราฟาเอล นาดาล ในการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดัน ทำให้เขาครองสถิติ ชนะเลิศติดต่อกัน 5 สมัย เทียบเท่าบิยอร์น บอร์ก หลังจากการคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2009 เฟเดอเรอร์จึงกลายเป็นนักเทนนิสชายคนที่ 6 ในประวัติศาสตร์วงการเทนนิสโลกที่สามารถคว้าแชมป์แกรนด์สแลมได้ครบทั้ง 4 รายการในการเล่นเทนนิสอาชีพ หรือที่เรียกว่า "Career Grand Slam" นั่นเอง เฟเดอเรอร์สร้างสถิติใหม่ในกีฬาเทนนิสขึ้นมาอย่างมากมาย เช่น การเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 10 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2005 จนถึง ยูเอสโอเพน ค.ศ. 2007) การเข้าถึงรอบรองชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 23 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2004 จนถึงปัจจุบัน) การชนะติดต่อกันมากที่สุดในยุคโอเพน บนพื้นคอร์ต 2 ประเภท คือ คอร์ตหญ้า (65 แมตซ์ติดต่อกัน) และ คอร์ตคอนกรีต (56 แมตซ์ติดต่อกัน) เป็นต้น และล่าสุด ชัยชนะออสเตรเลียนโอเพนของเขาในปี 2017 ส่งผลให้เขาเป็นนักเทนนิสชายคนแรกที่ได้แชมป์แกรนด์สแลม 3 รายการอย่างน้อย 5 ครั้ง (ออสเตรเลียนโอเพน, วิมเบิลดัน และ ยูเอสโอเพน นอกจากนี้ เขายังเป็นนักเทนนิสที่อายุมากที่สุดที่คว้าถ้วยแกรนด์สแลมนับตั้งแต่ปี 1972 หลังจาก Ken Rosewell.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกมส์โอเวอร์วอตช์ที่กำลังจะเกิดขึ้น จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมส์ดังกล่าวขึ้น การแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันครั้งแรกของชุด และเกิดขึ้นที่งานบลิซซ์คอน ณ ศูนย์การประชุมแอนาไฮม์ ในวันที่ 4 ถึง 5 พฤศจิกายน 2016.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1953

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1953 ในโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1970

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1970 ในโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 1970 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2005

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2005 ในโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2005 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและโทรทัศน์ประเทศสโลวาเกียใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)

"เบบี้" เป็นเพลงที่ร้องโดยศิลปินชาวแคนาดา จัสติน บีเบอร์ เพลงนี้เป็นเพลงครึ่งของอัลบั้มบีเบอร์ มายเวิลด์ 2.0 เพลงนี้แต่งโดยบีเบอร์ ร่วมกับ ทริกกี้ สตีวาสตร์ และดิดรีม ทั้งสองเคยร่วมแต่งเพลงของบีเบอร์ เช่น เพลงวัน ทาม (One Time) และเพลงนี้เป็นเพลงแนวอาร์แอนด์บีร่วมสมัย แร็ปโดย ลูดาคริส เพลงนี้ให้ดาวน์โหลดทางดิจิทัลเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์) · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติเชโกสโลวาเกีย

ลงชาติเชโกสโลวาเกีย (Československá hymna ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2461 ภายหลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศเชโกสโลวาเกียได้รับการสถาปนา โดยได้นำเนื้อร้องบทแรกของเพลงคเด โดโมฟ มูย? และ นาดทาโทรซาบลีซกา (สาธารณรัฐสโลวัก) รวมเป็นเพลงเดียวกัน ในดินแดนเช็กนั้น มีกลุ่มชาติพันธุ์เยอรมัน และ ฮังการี โดยได้แปลเนื้อร้องเป็น ภาษาฮังการี และ เยอรมัน. ภายหลังจากการสลายของเชโกสโลวาเกีย โดยแบ่งออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก ในปี พ.ศ. 2535 ยังคงใช้เนื้อร้องเดิม และ บทแรกของนาดทาโทรซาบลีซกา ได้กลายมาเป็นเพลงชาติสาธารณรัฐสโลวัก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเพลงชาติเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

เกีย สปอร์ตเทจ

กีย สปอร์ตเทจ (Kia Sportage) เป็นรถยนต์เอนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดเล็ก (Compact SUV) ที่ผลิตโดยเกีย ผู้ผลิตรถยนต์จากประเทศเกาหลีใต้ เริ่มผลิตในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเกีย สปอร์ตเทจ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติ ศงสนันทน์

กียรติ ศงสนันทน์ เป็นนักเขียนบทภาพยนตร์ และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย เกียรติเกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รุ่นเดียวกับคงเดช จาตุรันต์รัศมี จากนั้นได้ศึกษาต่อสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต และทำงานที่บริษัทโฆษณา เคยร่วมกับคงเดชกำกับภาพยนตร์สั้น เรื่อง เจ๊ง ส่งเข้าร่วมการประกวดของมูลนิธิหนังไทย ได้รับรางวัลชมเชยในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเกียรติ ศงสนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เมธีนามีน

มธีนามีน หรือ เฮกซะเมทิลีนเตตรามีน (Methenamine หรือ Hexamethylenetetramine) เป็นสารประกอบอินทรีย์เฮเทอโรไซคลิก มีสูตรโครงสร้างคือ (CH2)6N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายได้ดีในน้ำและตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีขั้ว โครงสร้างโมเลกุลมีลักษณะคล้ายกรงเหมือนกับอะดาแมนแทน เมธีนามีนถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการสังเคราะห์สารประกอบเคมีอื่น เช่น พลาสติก ยา สารเติมแต่งยาง สารนี้มีจุดระเหิด ณ สภาวะสุญญากาศที่ 280 องศาเซลเซียส เมธีนามีนเป็นสารที่ได้จากการเกิดปฏิกิริยาระหว่างงฟอร์มาลดีไฮด์กับแอมโมเนีย ถูกค้นพบโดยอเล็กซานเดอร์ บัทเลรอฟ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเมธีนามีน · ดูเพิ่มเติม »

เยเรวาน

รวาน (Yerevan; Երևան) บางครั้งเรียกว่า เอเรวาน (Erevan) ชื่อเดิมคือ เอเรบูนี (Erebuni) และ เอรีวาน (Erivan) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอาร์มีเนีย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำฮรัซดัน (Hrazdan River) กรุงเยเรวานเป็นศูนย์กลางการบริหาร วัฒนธรรม และอุตสาหกรรมของประเทศ ปัจจุบันมีประชากร 1,088,000 คน (ค.ศ. 2004) มีนายตารอน มาร์กาเรียน (Taron Margaryan) เป็นนายกเทศมนตรี ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของเมืองนี้ย้อนไปถึงในช่วงศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช โดยมีการตั้งป้อมอูราร์เตียนแห่งเมืองเอเรบูนีเมื่อ 782 ปีก่อนคริสต์ศักราช กรุงเยเรวานเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเยเรวานสเตต (1919) บัณฑิตยสถานอาร์มีเนีย รวมทั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ โรงอุปรากร ห้องแสดงดนตรี สถาบันเทคโนโลยี ห้องสมุดสาธารณะขนาดใหญ่ สวนพฤกษศาสตร์ และสวนสัตว์อีกหลายแห่ง สถาบันมาเตนาดารัน (Matenadaran) ได้สะสมเอกสารต้นฉบับของอาร์มีเนียโบราณ กรีก ซีเรีย ฮีบรู โรมัน และเปอร์เซียที่มีค่าเอาไว้มากมาย เยเรวานยังเป็นหัวใจของเครือข่ายทางรถไฟและเป็นศูนย์กลางการค้าหลักของสินค้าเกษตรกรรมของประเทศ นอกจากนี้ โรงงานอุตสาหกรรมในเมืองนี้ยังผลิตโลหะ เครื่องมือจักรกล อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ และผลิตภัณฑ์อาหารอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเยเรวาน · ดูเพิ่มเติม »

เล็งกา (หมู่บ้าน)

ล็งกา (Sajólenke) เป็นหมู่บ้านในตำบล Rimavská Sobota แคว้นบันสกาบิสตรีตซา ประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเล็งกา (หมู่บ้าน) · ดูเพิ่มเติม »

เล็งกา (แก้ความกำกวม)

ล็งกา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเล็งกา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปกลาง

ตเวลาชาติยุโรปกลาง (Central European Time; CET) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานบบเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 1 ชั่วโมง (UTC+1) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเวลายุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เวลาออมแสงยุโรปกลาง

ตเวลาออมแสงยุโรปกลาง (Central European Summer Time; CEST) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 2 ชั่วโมง (UTC+2) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเวลาออมแสงยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางสายอำพัน

“เส้นทางการค้าสายอำพัน” เส้นทางสายอำพัน (Amber Road) เป็นเส้นทางการค้าสายโบราณสำหรับการขนส่งอำพัน เส้นทางการค้าสายอำพันเป็นเส้นทางบกและทางน้ำที่เชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชีย และจากตอนเหนือของยุโรปไปยังทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อำพันเป็นสิ่งสำคัญที่ใช้ในการตกแต่งที่ขนส่งจากฝั่งทะเลเหนือและทะเลบอลติกข้ามแผ่นดินใหญ่ยุโรปตามลำแม่น้ำวิสทูรา (Vistula River) และ แม่น้ำนีพเพอร์ ไปยังอิตาลี, กรีซ, ทะเลดำ และอียิปต์เป็นเวลาหลายพันปีมาแล้วและเป็นเวลานานหลังจากนั้น ในสมัยโรมันเส้นทางสายหลักแล่นลงมาทางใต้จากฝั่งทะเลบอลติกในภูมิภาคปรัสเซีย ฝ่าดินแดนโบอิอิ (สาธารณรัฐเช็ก และ สโลวาเกียปัจจุบัน) ไปยังตอนต้นทะเลเอเดรียติก อำพันจากฝั่งทะเลบอลติกพบในที่ฝังพระศพของฟาโรห์ตุตันคามุน และถูกส่งจากทะเลเหนือไปเครื่องสักการะยังเทวสถานอพอลโลที่เดลฟี จากทะเลดำอำพันก็ถูกส่งต่อไปยังเอเชียโดยเส้นทางสายไหมซึ่งเป็นเส้นทางการค้าสายโบราณอีกสายหนึ่ง จุดเริ่มต้นของเส้นทางอยู่ที่เมืองคอพและทรูโซในภูมิภาคปรัสเซียเดิมบนฝั่งทะเลบอลติก เส้นทางการค้าสายอำพันอาจจะมีส่วนช่วยในการสร้างความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมของยุคสัมฤทธิ์นอร์ดิก (Nordic Bronze Age) ในสแกนดิเนเวียโดยการนำอิทธิพลของเมดิเตอเรเนียนเข้ามายังประเทศต่าง ๆ ทางตอนเหนือสุดของยุโรป บางครั้งแคว้นคาลินินกราด ก็เรียกว่า “Янтарный край” หรือ “บริเวณอำพัน”.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเส้นทางสายอำพัน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มเอฟเค รูซอมเบรอค

อ็มเอฟเค รูซอมเบรอค เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศสโลวาเกีย ตั้งอยู่ที่เมืองรูซอมเบรอค สโมสรก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเอ็มเอฟเค รูซอมเบรอค · ดูเพิ่มเติม »

เฮลิคอปเตอร์

ลิคอปเตอร์แบบ เบล 206 (Bell 206) ของตำรวจสหรัฐอเมริกา เฮลิคอปเตอร์กู้ภัยแบบ AW139SAR แห่งสำนักงานความปลอดภัยทางทะเลของสเปน (A Spanish Maritime Safety Agency) HH-43 Huskie เฮลิคอปเตอร์ จัดเป็น อากาศยาน ปีกหมุน (Rotor Craft) มีใบพัดขนาดใหญ่ติดตั้งเหนือลำตัว ใบพัดหมุนรอบตัวในแนวนอน ทำหน้าที่ช่วยพยุงตัวและบังคับให้บินไปตามทิศทางที่ต้องการได้ ใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อนและบินขึ้นลงในแนวดิ่งได้ สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างสะดวกแม้แต่ในที่แคบก็ขึ้นลงได้อย่างสบาย เฮลิคอปเตอร์ลำแรกของโลกพัฒนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2482 โดยชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย ชื่ออิกอร์ ซิคอร์สกี (Igor Sikorsky) โดยใช้ชื่อว่า VS-300 ใช้เครื่องยนต์ 4 สูบ ประกอบด้วยเหล็กท่ออย่างหนา ไม่มีผนังลำตัวปกปิด และไม่มีเครื่องวัดใด ๆ โรเตอร์หลักประกอบด้วยใบพัดสามใบ และมีโรเตอร์ท้ายเพื่อต้านแรงหมุนที่เกิดขึ้น.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเฮลิคอปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายราโกตซี แฟแร็นตส์ที่ 2

้าชายราโกตซี แฟแร็นตส์ที่ 2 (II.) ประสูติเมื่อวันที่ 27 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเจ้าชายราโกตซี แฟแร็นตส์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลโกมาโรม-แอ็สแตร์โกม

กมาโรม-แอ็สแตร์โกม (Komárom-Esztergom; Komitat Komorn Gran; Komárňansko-ostrihomská) เป็นเทศมณฑลทางตอนเหนือของประเทศฮังการี มีเนื้อที่ 2,264.52 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเทศมณฑลโกมาโรม-แอ็สแตร์โกม · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาคาร์เพเทียน

ทือกเขาคาร์เพเทียน (Carpathian Mountains หรือ Carpathians) เป็นเทือกเขาที่มีความยาวราว 1,500 กม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเทือกเขาคาร์เพเทียน · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย)

ริษัทเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (DELTA ELECTRONICS (THAILAND) PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:DELTA) บริษัทดำเนินธุรกิจด้านการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์เพาเวอร์ซัพพลายและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ปัจจุบันมีโรงงานในประเทศไทย 2 แห่งตั้งอยู่ที่เขตนิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ และในนิคมอุตสาหกรรมเวลโกร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และมีโรงงานในต่างประเทศ ได้แก่ประเทศอินเดีย (ในเมืองรูดราเพอร์ (Rudrapur) และนิวเดลี) และอีกแห่งหนึ่งในประเทศสโลวาเกีย ที่เมือง Dubnica nad Vahomแบบรายงาน56-1 เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) ประจำปี:2555.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์

อะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ (The Prismatic World Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สามของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี เพื่อส่งเสริมอัลบั้มลำดับที่สี่ ปริซึม (2013) ทัวร์เริ่มวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เตรนชีน

เตรนชีน (Trenčín), เทรนชิน (Trentschin) หรือ เตรนเชน (Trencsén) เป็นเมืองทางทิศตะวันตกของประเทศสโลวาเกีย บนฝั่งแม่น้ำวาก ใกล้กับชายแดนของสาธารณรัฐเช็ก ห่างจากกรุงบราติสลาวาราว 120 กิโลเมตร มีประชากร 56,000 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ ตเรนชีน.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเตรนชีน · ดูเพิ่มเติม »

เตอร์นาวา

ตอร์นาวา (Trnava), ทือร์เนา (Tyrnau) หรือ นอจโซมบอต (Nagyszombat) เป็นเมืองในประเทศสโลวาเกีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงบราติสลาวาไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 47 กม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเตอร์นาวา · ดูเพิ่มเติม »

เปรเชา

ปรเชา (Prešov) เป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศสโลวาเกีย เมืองมีประชากรราว 91,000 คน เป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของประเทศ ตั้งอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 250 ม. และพื้นที่ 70.4 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและเปรเชา · ดูเพิ่มเติม »

Mega Clever ฉลาดสุดสุด

Mega Clever ฉลาดสุดสุด (clever! – Die Show, die Wissen schafft) เป็นรายการโทรทัศน์แนวทดลองวิทยาศาสตร์ของเยอรมนีออกอากาศครั้งแรกทางช่อง Sat.1 ในวันที่ 3 มกราคม 2004 โดยมีพิธีกรประจำรายการคือ Barbara Eligmann และ Wigald Boning.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและMega Clever ฉลาดสุดสุด · ดูเพิ่มเติม »

SK

SK หรือ Sk สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและSK · ดูเพิ่มเติม »

UTC+01:00

UTC+01:00 เป็นช่วงเวลาที่การชดเชยที่เพิ่ม 1 ชั่วโมง ไปยังเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC).

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและUTC+01:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+02:00

UTC+02:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน: UTC +2 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและUTC+02:00 · ดูเพิ่มเติม »

.cs

.cs เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับ ประเทศเชโกสโลวาเกีย ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ภายหลังจากที่เชโกสโลวาเกียแยกประเทศออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกีย ซึ่งใช้โดเมน.cz และ.sk ตามลำดั.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและ.cs · ดูเพิ่มเติม »

.sk

.sk เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศสโลวาเกีย เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและ.sk · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+10 m²

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 20,494 ตารางกิโลเมตร ประเทศปานามา มีพื้นที่ 78,200 ตารางกิโลเมตร ประเทศโปรตุเกส มีพื้นที่ 92,391 ตารางกิโลเมตร 1 E+10 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000 ถึง 100,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและ1 E+10 m² · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: ประเทศสโลวาเกียและ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Slovak RepublicSlovakiaสาธารณรัฐสโลวักสาธารณรัฐสโลวัคสาธารณรัฐสโลวาเกียสโลวะเกียสโลวักสโลวัคสโลวาเกียประเทศสโลวะเกียประเทศสโลวัก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »