โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศลิทัวเนีย

ดัชนี ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

275 ความสัมพันธ์: บอร์นดิสเวย์บอลบัวขาว บัญชาเมฆชาวปรัสเซียเก่าบิรูเต กัลดิกาส์ชิอุเนะ ซุงิฮะระบีกอสฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนียฟุตบอลทีมชาติอังกฤษฟุตบอลทีมชาติเบลารุสฟุตซอลทีมชาติฝรั่งเศสพ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2533พ.ศ. 2558พรมแดนของประเทศรัสเซียกรอดโนกลุ่มภาษาเคียปชักกวางมูสกองทัพลิทัวเนียการบุกครองโปแลนด์การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียตการยึดครองรัฐบอลติกการล่มสลายของสหภาพโซเวียตการขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซียการขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์การข่มขืนกระทำชำเราการฆ่าตัวตายการปฏิวัติ ค.ศ. 1989การประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากลการประกวดเพลงยูโรวิชันการไม่มีศาสนาการเมืองการปกครองของประเทศลิทัวเนียการเลิกล้มราชาธิปไตยกีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนกดัญสก์กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษายิดดิชภาษาลิทัวเนียภาษาฮีบรูอาซเกนาซีภาษาคาไรม์ภาษาโปแลนด์ภูมิศาสตร์ยุโรปมหาวิหารรองมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสเวิลด์ 2015มีลิตซียายาสชา ไฮเฟตซ์...ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครองยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพยูโรยูโรโซนรัฐบอลติกรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่รัฐร่วมประมุขรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐหุ่นเชิดราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461)รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อหอดูดาวรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนียรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัวรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวารายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุสรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนียรายพระนามพระมหากษัตริย์ลิทัวเนียรายพระนามพระมหากษัตริย์โปแลนด์รายการภาพธงชาติรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งรางรัสเซียลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)ลิลเลฮัมเมร์วรอตสวัฟวอมชาวอลเลย์บอลชายทีมชาติลิทัวเนียวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือกวัลดัส อะดัมคุสวันชาติวันสาธารณรัฐวันครูวันแม่วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557วิลนีอุสวิทยาศาสตรบัณฑิตวีเต็บสค์ศาลาประชาคมร้อยปีศิลปศาสตรบัณฑิตสภาล่างสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลกสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สวนสัตว์คาอูนัสสหภาพยุโรปสหประชาชาติสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสีประจำชาติสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทันสตอรีไลน์สนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์สนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–สหภาพโซเวียตสแตตินหนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตอักซานาอัศวินทิวทอนิกอันชลุสส์อำพันอินซฺวีอนุสัญญาแรมซาร์ฮอโลคอสต์ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซินฮันนิบาล เล็กเตอร์จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียธงชาติยูเครนธงชาติลัตเวียธงชาติลิทัวเนียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียทบิลีซีทวีปยุโรปทะเลบอลติกทาอูทิชคา กีเอสมิทีวี 3 ลิทัวเนียทีวีพี 1ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดัชชีวอร์ซอดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)ดิอะเมซิ่งเรซ 12คริสต์สหัสวรรษที่ 3คลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555ความสำคัญของศาสนาตามประเทศคาลีนินกราดคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศตราแผ่นดินของลิทัวเนียตราแผ่นดินในทวีปยุโรปตแชสวัฟ มีวอชปฏิบัติการบอลติกปฏิบัติการบาร์บารอสซาประวัติศาสตร์เบลารุสประเทศยูเครนประเทศรัสเซียประเทศลัตเวียประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1236ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1263ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1265ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1268ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1282ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1285ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1291ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1295ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1316ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1341ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1345ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1377ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1381ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1382ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1392ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1430ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1432ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1440ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1492ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1506ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1548ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1918ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1992ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1996ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2000ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2002ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2004ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2006ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2008ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2010ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2012ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2014ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2016ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2018ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2020ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศโปแลนด์ประเทศเบลารุสปาเนียเวจีสนวลพรรณ ล่ำซำนางงามจักรวาล 2012นางงามจักรวาล 2015นางงามนานาชาติ 2010นางงามนานาชาติ 2013นางงามนานาชาติ 2014นางงามนานาชาติ 2017นาซีเยอรมนีนิกิตา โคลอฟฟ์นิติภาวะนโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทยแม่น้ำเนริสแหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยนแอล. แอล. ซาเมนฮอฟแฮร์มันน์ มินคอฟสกีแผนตะวันออกแคว้นคาลินินกราดแคทริน บิเกโลว์แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โบสถ์คริสต์โมกีลอฟโมเช แอเร็นส์โอ๊กโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1993โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1994โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1995โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1996โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2003โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2008โปเกมอน โกไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ไอโฟน เอสอีไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไคลเปดาเบอร์โนเชาเลเบียวิสตอคเบเกิลเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซีเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเมนาเฮม เบกินเวลายุโรปตะวันออกเวลาออมแสงยุโรปตะวันออกเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนียเอมิล เคร็บส์เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวนเขตเวลาเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียเคานัสISO 4217UTC+03:00X ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน).lt1 มกราคม1 E+10 m²10 ตุลาคม11 มีนาคม16 กุมภาพันธ์17 มิถุนายน25 ตุลาคม28 กันยายน ขยายดัชนี (225 มากกว่า) »

บอร์นดิสเวย์บอล

อะบอร์นดิสเวย์บอล (อังกฤษ: The Born This Way Ball) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตที่ 3 ของศิลปินนักร้องอเมริกันเลดี้ กาก้า โดยในการสนับสนุนของอัลบั้มที่ 2 บอร์นดิสเวย์ ที่ประกอบด้วยทัวร์ 110 รายการในเอเชีย โอเซียเนียและต่อด้วยในยุโรปในเดือนสิงหาคมปี 2555 ตามด้วยในละตินอเมริกาในช่วงปลายปี ทัวร์เริ่มต้นที่อเมริกาเหนือ ในเดือนมกราคม 2556 และดำเนินการต่อจนสิ้นสุดในเดือนมีนาคม ซึ่งหนึ่งในทัวร์รอบโลกของเธอ ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในทัวร์ โดยจัดการแสดงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน โดยผู้จัด บริษัท บีอีซี เทโร เอนเตอร์เทนเม้นท์ เป็นผู้รับผิดชอบจัดคอนเสิร์ตนี้ นับเป็นคอนเสิร์ตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในรอบ 10 ปี หลังจาก ไมเคิล แจ็กสัน เคยมาแสดงในประเทศไทยเมื่อหลายปีก่อน เมื่อเดือน ธันวาคม ภาพประชาสัมพันธ์คอนเสิร์ต ปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและบอร์นดิสเวย์บอล · ดูเพิ่มเติม »

บัวขาว บัญชาเมฆ

ท สมบัติ บัญชาเมฆ หรือ บัวขาว บัญชาเมฆ เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในวงการการต่อสู้ระดับสากล โดยเฉพาะในทวีปยุโรปและประเทศญี่ปุ่น เคยเป็นนักมวยไทยสังกัดค่ายมวย ป.ประมุข ส่วนสูง 174 เซนติเมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม บัวขาวจัดเป็นหนึ่งในนักกีฬาอาชีพไทยที่ทำรายได้สูง โดยส่วนใหญ่มาจากการชกมวยที่ต่างประเทศ นอกจากนี้แล้ว ยังมีผลงานการแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ซามูไร อโยธยา และใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและบัวขาว บัญชาเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวปรัสเซียเก่า

นเผ่าปรัสเซียภายในกลุ่มชนบอลติค ราว ค.ศ. 1200 บอลติคตะวันออกสีน้ำตาลและบอลติคตะวันตกสีเขียว เขตแดนที่แสดงเป็นเขตแดนโดยประมาณ ชนปรัสเซียเก่า หรือ ชนบอลติกปรัสเซีย (Old Prussians หรือ Baltic Prussians; Pruzzen or Prußen; Pruteni; Prūši; Prūsai; Prusowie) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ท้องถิ่นในกลุ่มชนบอลต์ (Balts) ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณปรัสเซีย ซึ่งเป็นดินแดนบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลบอลติกในบริเวณรอบ ๆ ลากูนวิตูลา (Vistula Lagoon) และ ลากูนคูโรเนียน (Curonian Lagoon) ภาษาที่พูดปัจจุบันเรียกว่าภาษาปรัสเซียเก่า ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในบริเวณที่นักวิชาการเชื่อว่าเกี่ยวข้องโดยตรงกับบริเวณลิทัวเนียที่นับถือลัทธิเพกันที่นับถือพระเจ้าเช่นเพอร์กูน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ชนปรัสเซียเก่าถูกพิชิตโดยอัศวินทิวทันและในที่สุดก็ค่อยๆ กลายเป็นเยอรมัน (Germanisation) ในหลายร้อยปีต่อมา อาณาจักรปรัสเซียเดิมของเยอรมนีนำชื่อนี้มาใช้เป็นชื่ออาณาจักร แม้ว่าจะมีผู้นำเป็นชาวเยอรมันผู้กลืนไปกับชนปรัสเซียเก่า ส่วนภาษาปรัสเซียเก่าก็สูญหายไปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17Encyclopædia Britannica entry 'Old Prussian language' ดินแดนของชนปรัสเซียเก่าเป็นดินแดนที่อยู่ราวตอนกลางและตอนใต้ของปรัสเซียตะวันออก — ปัจจุบัน Warmian-Masurian Voivodeship ของโปแลนด์ คาลินินกราด ของรัสเซีย และ ทางใต้ของ บริเวณไคลพาดา (Klaipėda Region) ของลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและชาวปรัสเซียเก่า · ดูเพิ่มเติม »

บิรูเต กัลดิกาส์

ปกหนังสือ Reflections of Eden, My Years with the Orangutans of Borneo บิรูเต กัลดิกาส์ (Biruté Marija Filomena Galdikas;10 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 -) นักวานรวิทยา นักอนุรักษ์ นักศึกษาพฤติกรรมสัตว์ มีชื่อเสียงจากผลงานวิจัยพฤติกรรมของอุรังอุตังในป่าทึบของบอร์เนียว กัลดิกาส์ เกิดที่เยอรมันในครอบครัวชาวลิทัวเนีย และเติบโตที่แคนาดา จบการศึกษาด้านชีววิทยาและสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยบริทิชโคลัมเบียในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและบิรูเต กัลดิกาส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิอุเนะ ซุงิฮะระ

อุเนะ ซุงิฮะระ (1 มกราคม ค.ศ. 1900 - 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1986) เป็นนักการทูตชาวญี่ปุ่น ประจำอยู่ที่สถานทูตจักรวรรดิญี่ปุ่นในเมืองเคานัส ประเทศลิทัวเนีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาได้ช่วยเหลือชาวยิวนับพันให้หลบหนีออกจากประเทศโดยเขาได้ออกวีซ่าให้ผู้ลี้ภัยชาวยิวให้สามารถเดินทางมายังญี่ปุ่นได้ ส่วนใหญ่ผู้ลี้ภัยมาจากโปแลนด์ในการยึดครองของเยอรมนีหรือผู้อาศัยอยู่ในลิทัวเนีย สึกิฮาระได้ออกวีซ่าช่วยเหลือชาวยิวผู้ลี้ภัยได้มากกว่า 6,000 คนไปยังดินแดนของญี่ปุ่น ซึ่งเสี่ยงต่ออาชีพการงานของเขา รวมถึงครอบครัวของเขาด้วย ในปี 1985 อิสราเอลได้มอบรางวัล Righteous Among the Nations ให้แก่การกระทำของ.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและชิอุเนะ ซุงิฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

บีกอส

ีกอส (bigos) เป็นอาหารประจำชาติของโปแลนด์Barbara Rolek, About.com, a part of The New York Times CompanyKathryn Vercillo, A Polish national dish: "Vegetarian Bigos Recipe", 2010, เป็นการนำกะหล่ำปลีดองมาปรุงกับเนื้อ เบคอน พลัมดอง และผลไม้อื่น ๆ อาหารนี้เป็นที่นิยมในฐานะอาหารกลางแจ้งของพรานล่าสัตว์ในสมัยก่อน เป็นอาหารประเภทสตูที่นิยมในโปแลนด์ ลิทัวเนีย และยูเครน บีกอสนิยมรับประทานกับมันฝรั่งบดหรือขนมปังข้าวไรย์ บีกอสสามารถเก็บในที่เย็นแล้วนำมาอุ่นใหม่ ซึ่งทำให้รสชาติเข้มข้นขึ้น บางครั้งเก็บไว้นานเป็นสัปดาห์ เนื่องจากเป็นฤดูเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีแลมีวิตามินซีสูง บีกอสจึงเป็นอาหารที่นิยมในฤดูหนาวในโปแลนด์และที่อื่นๆ ในโปแลนด์นิยมรับประทานในวันที่สองของเทศกาลคริสต์มาส บีกอสที่กำลังต้ม บีกอสในร้านอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและบีกอส · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย

ฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย (Lietuvos nacionalinė futbolo rinktinė) อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลลิทัวเนีย แข่งขันครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ

ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ ทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ชาติอังกฤษ สำหรับในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติ ในการแข่งขันฟุตบอลโลก และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป โดยทีมชาติอังกฤษเป็นไม่กี่ทีมที่ไม่มีสิทธิในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เนื่องจากเหตุผลทางการเมืองที่ประเทศอังกฤษไม่ถือว่าเป็นประเท.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส

ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส (Нацыянальная зборная Беларусі па футболе, Natsyyanalnaya zbornaya Bielarusi pa futbolie) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเบลารุส อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเบลารุส ใช้บอรีซอฟอารีนาในเมืองบารีซอฟ เป็นสนามเหย้า เบลารุสไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ปัจจุบันมีผู้จัดการทีมคือ Igor Kriushenko ซึ่งคุมทีมมาตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฟุตบอลทีมชาติเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลทีมชาติฝรั่งเศส

ฟุตซอลทีมชาติฝรั่งเศส (France national futsal team)เป็นทีมฟุตซอลซึ่งเป็นตัวแทนของฝรั่งเศสในการแข่งขันระดับนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฟุตซอลทีมชาติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พรมแดนของประเทศรัสเซีย

หลักพรมแดน ของ รัสเซีย ประเทศรัสเซีย มี พรมแดนระหว่างประเทศ ถึง 16 ประเทศ รวมถึงพรมแดนทางน้ำอีกสองประเทศ (สหรัฐ, ญี่ปุ่น) นอกจากนี่ยังติดกับ ประเทศที่ไม่ได้รับการรับรอง อย่าง เซาท์ออสซีเชีย และ อับคาเซีย โดยพรมแดนภาคพื้นดินมีความยาวโดยรวมถึง รัสเซียเป็นประเทศที่มีพรมแดนติดกับทุกประเทศรองจากจีน;รายชื่อประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย;If Abkhazia and South Ossetia are counted as sovereign states:Georgia and the majority of the world does not recognize the independence of Abkhazia and South Ossetia, considering the Russian border with these countries as part of the Russian–Georgian border.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและพรมแดนของประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กรอดโน

กรอดโน, ครอดนา หรือ ครอดโน (Гродна; Гродно; Grodna, Grodnae; Gardinas; Grodno) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเนแมน อยู่ใกล้กับชายแดนประเทศโปแลนด์และลิทัวเนีย (ราว 20 กม. และ 30 กม. ตามลำดับ) มีประชากร 327,540 คน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและกรอดโน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเคียปชัก

การแพร่กระจายของกลุ่มภาษาเคียปชัก กลุ่มภาษาเคียปชัก (Kypchak languages) หรือกลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นสาขาหลักของกลุ่มภาษาเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากกว่า 12 ล้านคน ในบริเวณตั้งแต่ลิธัวเนียถึงจีน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและกลุ่มภาษาเคียปชัก · ดูเพิ่มเติม »

กวางมูส

กวางมูส (moose) คือกวางขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตหนาวและอบอุ่นซีกโลกเหนือ สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือสายพันธุ์อะแลสกา สามารถพบได้ในบริเวณป่าไทกา ในทวีปอเมริกาเหนือจะเรียกว่า มูส ในยูเรเชียจะเรียกว่า เอลก์ พบมากในบริเวณประเทศแคนาดา, ประเทศลัตเวีย, ประเทศเอสโตเนีย และประเทศรัสเซีย พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่รวมกันเป็นฝูงและมีขนาดใหญ่แถมยังมีเขาที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้มันเคลื่อนที่ได้ค่อยข้างช้าทำให้พวกมันตกเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างหมาป่าและมนุษย์ โดยปกติพวกมันจะเคลือนไหวช้าแต่ถ้าพวกมันโกรธหรือตกใจพวกมันก็สามารถวิ่งได้เร็วเช่นกัน พวกมันจะผสมพันธุ์กันในช่วงฤดูใบไม้ร่วงซึ่งช่วงนั้นมันจะมีการต่อสู้อย่างดุเดือดของตัวผู้เพื่อแย่งตัวเมี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและกวางมูส · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพลิทัวเนีย

กองทัพลิทัวเนีย (Lietuvos ginkluotosios pajėgos) เป็นกองกำลังของประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและกองทัพลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต เป็นปฏิบัติการทางทหาร ซึ่งเริ่มขึ้นโดยปราศจากการประกาศสงคราม เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1939 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สิบหกวันหลังจากการเริ่มต้นบุกครองโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนี การบุกครองดังกล่าวจบลงด้วยชัยชนะอย่างเด็ดขาดของกองทัพแดง เมื่อต้นปี ค.ศ. 1939 สหภาพโซเวียตพยายามที่จะสร้างพันธมิตรต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเชื่อมสัมพันธไมตรีกับสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส โปแลนด์ และโรมาเนีย แต่ประสบกับอุปสรรคหลายประการ รวมถึงการปฏิเสธที่จะยอมให้มีการเคลื่อนกำลังกองทัพโซเวียตผ่านดินแดนของประเทศเหล่านั้น อันเป็นส่วนหนึ่งของความมั่นคงร่วมกันAnna M. Cienciala (2004).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองรัฐบอลติก

การยึดครองรัฐบอลติก (occupation of the Baltic states) เป็นการยึดครองด้วยทหารต่อรัฐบอลติกทั้งสามคือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย โดยสหภาพโซเวียตตามสนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพในวันที่ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการยึดครองรัฐบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)Declaration № 142-Н of the Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union, formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการล่มสลายของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย

รถไฟสำคัญในรัสเซีย การขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย เคยถูกเรียกว่าเป็น "ความเศรษฐกิจอันอัศจรรย์ในรัสเซีย" ระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-21 ถ้านับตามระยะทางแล้ว รัสเซียถือว่ามีทางรถไฟยาวอันดับที่ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา ถ้านับในด้านการขนส่งสินค้า จะมีระยะทางเป็นอันดับที่ 3 รองจากสหรัฐอเมริกาและจีน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์

การขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์ มีระยะทาง รับกระแสไฟฟ้าตรง 3 โวลต์ จ่ายไฟฟ้าเหนือหัว โครงข่ายส่วนใหญ่ติดตั้งการจ่ายไฟฟ้า ทางรถไฟก่อสร้างก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง โดยบริษัทต่างชาติ เช่น เยอรมนี และรัสเซีย ประเทศโปแลนด์ไม่มีรถไฟความเร็วสูง เส้นทางรถไฟที่มีชื่อเสียงได้แก่ สายเซ็นทรัลเรล ทำความเร็วได้ 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการขนส่งระบบรางในประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การข่มขืนกระทำชำเรา

การข่มขืนกระทำชำเรา (rape) เป็นการทำร้ายร่างกายทางเพศซึ่งปกติเกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์หรือการใช้การล่วงล้ำทางเพศแบบอื่นต่อบุคคลโดยปราศจากความยินยอมของบุคคลเหล่านั้น การกระทำดังกล่าวอาจโดยใช้กำลังทางกาย การบีบบังคับ การละเมิดอำนาจหรือต่อบุคคลที่ไม่สามารถให้ความยินยอมสมบูรณ์ได้ เช่น ผู้ที่หมดสติ ไร้ความสามารถหรืออายุต่ำกว่าอายุที่ยอมให้มีการร่วมประเวณีได้ตามกฎหมาย คำว่า "ข่มขืนกระทำชำเรา" บางครั้งใช้แทนคำว่า "การทำร้ายร่างกายทางเพศ" ได้ อุบัติการณ์การข่มขืนกระทำชำเราที่ตำรวจบันทึกทั่วโลกในปี 2553 แปรผันระหว่าง 0.2 ต่อ 100,000 คนในประเทศอาเซอร์ไบจาน ถึง 92.9 ต่อ 100,000 คนในประเทศบอตสวานา โดยมีค่า 6.3 ต่อ 100,000 คนในประเทศลิทัวเนียเป็นมัธยฐาน United Nations.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการข่มขืนกระทำชำเรา · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าตัวตาย

การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการฆ่าตัวตาย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การปฏิวัต..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากล

งเอสเปรันโต การประชุมเอสเปรันโตโลก (World Congress of Esperanto; Universala Kongreso de Esperanto) เป็นการร่วมประชุมภาษาเอสเปรันโตในระดับนานาชาติอันหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน โดยจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905) ที่เมืองบูลอน ซู แมร์ ในประเทศฝรั่งเศส โดยมีการจัดต่อเนื่องทุกปียกเว้นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 และ สงครามโลกครั้งที่ 2 การประชุมจัดขึ้นทั่วโลกและเปลี่ยนสถานที่จัดทุกปี ในประมาณช่วงปลายเดือนกรกฎาคม หรือเดือนสิงหาคม โดยในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากล · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองการปกครองของประเทศลิทัวเนีย

ปัจจุบันสถานภาพทางการเมืองของประเทศลิทัวเนียในสายตาของนานาชาตินั้นถือได้ว่า มีเสถียรภาพและเอื้ออำนวยต่อการค้าการลงทุน ภายหลังจากการถอนทหารรัสเซียออกจากลิทัวเนียตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2539 กอปรกับชนกลุ่มน้อยชาวรัสเซียในลิทัวเนียไม่มีบทบาทสำคัญทางการเมือง จึงส่งผลทำให้การบริหารบ้านเมืองของรัฐบาลลิทัวเนียในเรื่องชนกลุ่มน้อยค่อนข้างเป็นไปอย่างราบรื่น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศบอลติกอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ลัตเวียและเอสโตเนีย ระบบการเมือง มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ภายใต้รัฐธรรมปัจจุบัน ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการเมืองการปกครองของประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิก (Basketball) ในโอลิมปิก ค.ศ. 1904 ที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา บาสเกตบอลชายได้เป็นกีฬาสาธิต ปี ค.ศ. 1908 มีการเปลี่ยนแปลงกฎจากที่ให้ผู้เล่นที่ทำฟาล์ว 5 ครั้ง ถูกตัดสิทธิ์ไม่ให้เล่นในเกมนั้น เป็นการให้อีกฝ่ายได้ชู้ตลูกโทษ 1 หรือ 2 ลูก บวกเพิ่มพิเศษอีก 1 ลูก ในปี 1936 กีฬาบาสเกตบอลชายได้รับการบรรจุให้เป็นกีฬาชิงเหรียญในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี คราวนั้นยังแข่งขันกลางแจ้งบนคอร์ทดินของสนามเทนนิส ทีมชาติสหรัฐฯ ซึ่งตอนนั้นมีชื่อเรียกว่า แมคเฟอร์สันโกล๊บออยเลอร์ส (McPherson Globeoilers) ได้เหรียญทองโอลิมปิกจากการเอาชนะทีมแคนาดาไปด้วยคะแนน 19: 8 ที่ได้แต้มกันน้อยนั้นก็เป็นผลมาจากฝนตกสนามเฉอะแฉะ ทำให้ยากต่อการเล่น โดยเฉพาะการเลี้ยงบอล ส่วนบาสเกตบอลหญิงโอลิมปิกเกิดขึ้นครั้งแรกในปี 1976 ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ทีมบาสเกตบอลสหรัฐฯ เป็นทีมที่น่าเกรงขามที่สุด และครองความเป็นจ้าวมานานกว่า 50 ปี ได้เหรียญทองบาสเกตบอลโอลิมปิก 7 เหรียญแรก เสียให้กับสหภาพโซเวียต 3 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1972 ค.ศ. 1980 และ ค.ศ. 1988 แต่ในปี 1980 นั้น ทีมสหรัฐฯไม่ได้ร่วมแข่ง เนื่องจากบอยคอตต์สหภาพโซเวียต แล้วปี 1992 ดรีมทีมของสหรัฐฯก็ได้เหรียญทอง โดยทำคะแนนทิ้งห่างคู่แข่งเฉลี่ยเกมละ 40 คะแนน หลังจากนั้นทีมสหรัฐฯ ก็อยู่อันดับต้นๆ มาตลอด ส่วนทีมรองๆ ลงไปนั้น มีทีมต่างๆในยุโรป เช่น โครเอเชีย ยูโกสลาเวีย และลิธัวเนีย ที่พัฒนาฝีมือขึ้นมาอย่างรวดเร็ว London 2012 basketball กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เริ่มแข่งขันตั้งแต่ วันที่ 28 กรกฎาคม ถึง 12 สิงหาคม 2555มีการชิงชัย 2 ประเภทเหรียญทอง คือ ทีมชาย ทีมหญิง สนามที่ใช้ในการแข่งขัน คือสนาม Basketball Arena และสำหรับนัดชิงชนะเลิศที่สนาม Greenwich Arena.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและกีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กดัญสก์

กดัญสก์ (Gdańsk) หรือชื่อเดิม ดันซิก (Danzig) เป็นเมืองบนชายฝั่งบอลติก ในตอนเหนือของประเทศโปแลนด์ เป็นเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 เป็นเมืองท่าที่สำคัญของโปแลนด์ และยังเป็นเมืองหลักของจังหวัดปอมอแช (พอเมอเรเนีย) ตั้งอยู่บนอ่าวกดัญสก์ (ทะเลบอลติก) และปากแม่น้ำมอตลาว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและกดัญสก์ · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ

นื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน) กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ (Molotov–Ribbentrop Pact) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามในกรุงมอสโก เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7 ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง กติกาสัญญานาซี–โซเวียต (Nazi–Soviet Pact), กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน, กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต หรือบางครั้งก็เรียกว่า พันธมิตรนาซี–โซเวียตBenjamin B. Fischer, "", Studies in Intelligences, Winter 1999–2000, last accessed on 10 December 2005 กติกาสัญญามีผลจนถึงวันที่ 22 มิถุนายน 1941 เมื่อเยอรมนีเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซา นอกเหนือจากการกำหนดเงื่อนไขในการไม่รุกรานระหว่างกันแล้ว กติกาสัญญาดังกล่าวยังรวมไปถึงข้อตกลงลับ ซึ่งแบ่งยุโรปตะวันออกให้อยู่ภายใต้เขตอิทธิพลของเยอรมนีและโซเวียต เพื่อให้มีการจัดระเบียบทางดินแดนและทางการเมืองในพื้นที่ดังกล่าวใหม่ หลังจากนั้น เยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้ร่วมกันบุกครองโปแลนด์ ตามด้วยการผนวกเอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนียและดินแดนทางตอนเหนือของโรมาเนียเข้าไปอยู่ในเขตอิทธิพลของสหภาพโซเวียต รวมไปถึงการผนวกดินแดนทางตะวันออกของฟินแลนด์ หลังจากความพยายามรุกรานของสหภาพโซเวียตในสงครามฤดูหนาว ภาคผนวกลับดังกล่าวถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ และเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดสงครามแห่งการรุกราน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและภาษายิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิทัวเนีย

ษาลิทัวเนีย (lietuvių kalba) เป็นภาษาทางการของประเทศลิทัวเนีย และเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและภาษาลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูอาซเกนาซี

ษาฮีบรูอาซเกนาซี (Ashkenazi Hebrew) เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิล และภาษาฮีบรูมิซนะห์ที่นิยมใช้ในหมู่ชาวยิวอาซเกนาซี ระบบการออกเสียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาใกล้เคียงที่มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เช่น ภาษายิดดิช และภาษากลุ่มสลาฟหลายภาษา ทุกวันนี้เหลือรอดในฐานะภาษาทางศาสนาควบคู่ไปกับภาษาฮีบรูสมัยใหม่ในอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและภาษาฮีบรูอาซเกนาซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาไรม์

ษาคาไรม์ (Karaim language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรูในทำนองเดียวกับภาษายิดดิชหรือภาษาลาดิโน พูดโดยชาวคาไรต์ในไครเมียซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือศาสนายูดายในไครเมีย ลิธัวเนีย โปแลนด์และยูเครนตะวันตกเหลือผู้พูดอยู่เพียง 6 คน ภาษาคาไรม์สำเนียงลิธัวเนียเคยใช้พูดในกลุ่มชุมชนขนาดเล็กบริเวณเมืองตราไก ชาวคาไรต์เหล่านี้ถูกซื้อมาโดยแกรนด์ดุ๊กเวียเตาตัสแห่งลิธัวเนียเมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและภาษาคาไรม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปแลนด์

ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและภาษาโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและภูมิศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารรอง

มหาวิหารรอง (Basilica minor) คือคริสต์ศาสนสถานสำคัญชนิดหนึ่งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีสถานะต่ำกว่ามหาวิหารเอก โบสถ์คริสต์ใด ๆ จะได้รับสถานะเป็นมหาวิหารได้ก็ต่อเมื่อได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการจากพระสันตะปาปา หรือเป็นสถานที่ที่ถูกขนานนามว่ามหาวิหารมาเนิ่นนานแล้ว คำว่า "บาซิลิกา" เดิมใช้หมายถึงอาคารที่มีสถาปัตยกรรมรูปแบบหนึ่งโดยเฉพาะ อาคารลักษณะนี้มักใช้เป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งของมุขนายก ทำให้ต่อมาบาซิลิกามักใช้หมายถึงมหาวิหาร.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและมหาวิหารรอง · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014, ครั้งที่ 43 จัดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2015

มิสเวิลด์ 2015 มีเรยา ลาลากูนา, สเปน มิสเวิลด์ 2015 การประกวดครั้งที่ 65 จัดขึ้นในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและมิสเวิลด์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มีลิตซียา

ตราติดหมวก "มีลิตซียา" โซเวียต (ชั้นนายพล) มีลิตซียา (mʲɪˈlʲitsɨjə, міліцыя, miilits, միլիցիա, милиция, milicija, milicja, miliția, Serbo-Croatian: милиција / milicija, milica, милитсия, міліція, militsiya or милиция) เป็นคำเรียกของตำรวจมักใช้กับกลุ่มของอดีตสหภาพโซเวียตและกลุ่มตะวันออก ในปัจจุบันมีลิตซียาของประเทศต่าง ๆ ได้เปลี่ยนรูปแบบเป็นรูปแบบตำรวจตะวันตกอย่างบัลแกเรีย โปแลนด์ โรมาเนีย เอสโตเนีย ลิทัวเนีย มอลโดวา ลัตเวีย มองโกเลีย มาซิโดเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ยูโกสลาเวีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา คาซัคสถาน อาร์มีเนีย เติร์กเมนิสถาน รัสเซีย และยูเครน แต่ในบางประเทศได้การเรียกตำรวจว่ามีลิตซียาเช่น เบลารุส ทาจิกิสถาน อุซเบกิสถาน คีร์กีซสถาน และประเทศที่ไม่ได้รับการรับรองอย่างอับคาเซีย เซาท์ออสซีเซีย และทรานส์นิสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและมีลิตซียา · ดูเพิ่มเติม »

ยาสชา ไฮเฟตซ์

ฟตซ์ (Jascha Heifetzas) เป็นนักไวโอลินชาวยิวรัสเซีย-ลิทัวเนีย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา และโอนสัญชาติเป็นชาวอเมริกัน ไฮเฟตซ์ได้รับการยกย่องเป็นอัจฉริยะ เป็นหนึ่งในนักไวโอลินที่ดีที่สุดตลอดกาล ไฮเฟตซ์เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมืองวิลนุส ในจักรวรรดิรัสเซีย ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของลิทัวเนีย บิดาเป็นครูสอนไวโอลินและหัวหน้าวงออร์เคสตราแห่งเมืองวิลนุส ซึ่งเป็นครูดนตรีคนแรกของเขาตั้งแต่อายุ 4 ปี ไฮเฟตซ์แสดงความสามารถทางดนตรีให้เห็นมาตั้งแต่เด็ก และได้เข้าศึกษาต่อที่สถาบันดนตรีแห่งกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กตั้งแต่อายุ 9 ปี โดยเป็นลูกศิษย์ของลีโอโปลด์ อาวเออร์ และเริ่มตระเวนแสดงในยุโรปตั้งแต่อายุ 12 ปี ไฮเฟตซ์มีโอกาสได้แสดงในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยเปิดตัวที่คาร์เนกีฮอลล์เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและยาสชา ไฮเฟตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นแดนทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว ค.ศ. 1942 การยึดครองยุโรปของเยอรมนี หมายถึง ดินแดนส่วนที่อยู่ภายใต้การยึดครองโดยกำลังทหารของนาซีเยอรมนี ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939-1945) บางประเทศเป็นผู้ประกาศสงครามในฐานะฝ่ายสัมพันธมิตร อย่างเช่น สหราชอาณาจักรหรือสหภาพโซเวียต บางส่วนถูกบีบบังคับให้ยอมจำนนหรือถูกปราบปรามก่อนที่จะถูกยึดครองในภายหลัง ในบางกรณี รัฐบาลบางแห่งถูกบีบบังคับให้พลัดถิ่น หรือไม่ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึ้นใหม่โดยพลเมืองของประเทศนั้น ๆ บางประเทศซึ่งถูกนาซียึดครองนั้นดำรงตนเป็นกลางอย่างเป็นทางการ ดินแดนที่ถูกยึดครองบางส่วนเคยเป็นอดีตสมาชิกของฝ่ายอักษะ และถูกยึดครองโดยกองกำลังเยอรมันในช่วงปลายของสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ

ตราสัญลักษณ์ประจำทัวร์นาเมนต์ ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ (UEFA Intertoto Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่างๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรปหรือยูฟ่า เริ่มก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1961 ในอดีตเคยเป็นการแข่งขันฟุตบอลเพื่อคัดเลือกหาทีมเข้าไปแข่งขันในรายการยูฟ่าคัพ โดยทีมที่จะเข้าแข่งขันจะต้องทำการลงทะเบียนสมัครล่วงหน้า ซึ่งต่างจากฟุตบอลรายการอื่นๆของยุโรปที่ถูกจัดแบ่งสัดส่วนไว้อัตโนมัติ หลังเสร็จสิ้นการแข่งขันประจำปี 2008 รายการนี้ได้ถูกสหพันธ์ฟุตบอลยุโรปยุบลง เพื่อไปเป็นส่วนหนึ่งของ ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบคัดเลือก หรือยูฟ่าคัพ เดิม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 (บางประเทศใช้ตามในภายหลัง) 1 ยูโรแบ่งออกเป็น 100 เซนต์ แต่ชื่อเรียกของเซนต์อาจแตกต่างกันในแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและยูโร · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรโซน

ประเทศนอกยูโรโซนที่ใช้เงินสกุลยูโร ยูโรโซน หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า พื้นที่ยูโร เป็นสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 รัฐ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ซึ่งใช้เงินสกุลยูโรเป็นสกุลเงินร่วม และเป็นเงินสกุลเดียวที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ยูโรโซนปัจจุบันประกอบด้วยออสเตรีย เบลเยียม ไซปรัส เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก ลัตเวีย มอลตา เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สโลวาเกีย สโลวีเนีย และสเปน รัฐสหภาพยุโรปอื่นส่วนใหญ่ถูกผูกมัดให้เข้าร่วมเมื่อรัฐนั้นผ่านเกณฑ์การเข้าร่วม ไม่มีรัฐใดออกจากกลุ่มและไม่มีข้อกำหนดในการออกหรือขับสมาชิกออก นโยบายการเงินของโซนเป็นความรับผิดชอบของธนาคารกลางยุโรป ซึ่งควบคุมโดยประธานและคณะกรรมการหัวหน้าธนาคารกลางแห่งชาติ งานหลักของธนาคารกลางยุโรปคือ รักษาเงินเฟ้อให้อยู่ภายใต้การควบคุมแม้ไม่มีการเป็นผู้แทนร่วม วิธีการปกครองหรือนโยบายการคลังของสหภาพการเงิน มีการร่วมมือเกิดขึ้นบ้างผ่านกลุ่มยูโร ซึ่งดำเนินการตัดสินใจทางการเมืองเกี่ยวข้องกับยูโรโซนและสกุลเงินยูโร กลุ่มยูโรประกอบด้วยรัฐมนตรีคลังของรัฐสมาชิกยูโรโซน อย่างไรก็ดี ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ผู้นำแห่งชาติอาจตั้งกลุ่มยูโรได้เช่นกัน นับแต่วิกฤตการณ์การเงินปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและยูโรโซน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบอลติก

รัฐบอลติก (Baltic states) เป็นชื่อรวมเรียกสามประเทศทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลบอลติก คือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย ในระหว่างปี 1918-1920 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรัฐบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่

ต้นฉบับรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ที่ลงนามโดยคณะผู้แทนฝ่ายต่าง ๆ รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ หรือ รัฐบัญญัติ 11 มีนาคม (Aktas dėl Lietuvos nepriklausomos valstybės atstatymo; Act of the Re-Establishment of the State of Lithuania; Act of March 11) เป็นรัฐบัญญัติของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย ร่างขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 6 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 28 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรัฐหุ่นเชิด · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461)

ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (Lietuvos Karalystė) คืออดีตรัฐระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ที่ดำรงสถานะภายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อลิทัวเนียภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิเยอรมัน สภาแห่งลิทัวเนียทำการประกาศอิสรภาพเมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย

ตารางเบื้องล่างนี้ แสดงภาพและข้อมูลธงต่างๆ ที่ปรากฏการใช้ในประเทศลิทัวเนียอย่างสังเขป.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก

รปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ

รปเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฟินแลนด์ทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมอลโดวาทั้งสิ้น 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศยูเครนทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศรัสเซียทั้งสิ้น 28 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 17 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 11 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลัตเวียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลิทัวเนียทั้งสิ้น 4 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสวีเดนทั้งสิ้น 15 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 13 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 1 แหล่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศนอร์เวย์ทั้งสิ้น 8 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเบลารุสทั้งสิ้น 4 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเอสโตเนียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ลิทัวเนีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายพระนามพระมหากษัตริย์ลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปแลนด์

ปแลนด์ถูกปกครองโดยผู้ปกครองที่มีพระยศต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นดยุค (คริสต์ศตวรรษที่ 10-14)หรือพระมหากษัตริย์(คริสต์ศตวรรษที่ 10-18) ในภายหลังพระยศ พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์ (ในภายหลังควบรวมพระยศแกรนด์ดยุคแห่งลิทัวเนียด้วย) กลายเป็นตำแหน่งที่เลือกตั้งมาโดยขุนนางและสภา โดยการคัดเลือกจะมาจากขุนนางชาวโปแลนด์-ลิทัวเนียหรือเจ้านายต่างชาติ อำนาจของกษัตริย์โปแลนด์นั้นแตกต่างจากกษัตริย์ในอาณาจักรอื่น กล่าวคือในขณะที่กษัตริย์ในอาณาจักรอื่น (เช่นฝรั่งเศสและคาสตีล) สามารถรวบอำนาจจากขุนนางเข้าสู่ศูนย์กลางได้ หรือถูกจำกัดพระราชอำนาจ (เช่นอังกฤษ) กษัตริย์โปแลนด์กลับไม่ทรงมีพระราชอำนาจอันใดเลย บทความนี้รวบรวมรายพระนามผู้ปกครองในตำแหน่ง "ดยุคแห่งชนโปล", "ดยุคแห่งโปแลนด์ใหญ่, "ดยุคแห่งโปแลนด์น้อย, เจ้าชายแห่งโปแลนด์และ "พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์" ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายพระนามพระมหากษัตริย์โปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง

รายนามสตรีซึ่งได้รับการการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในแต่ละประเทศ โดยรายนามนี้ไม่รวมรายนามประมุขแห่งรัฐที่เป็นสตรีและไม่นับรวมหัวหน้าของระบบประธานาธิบดีที่อำนาจอยู่กับฝ่ายบริหาร.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

รางรัสเซีย

รถไฟสายมอสโก-เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ใช้รางรัสเซีย รางรัสเซีย มีขนาดความกว้างของราง ระหว่าง 1,520 มิลลิเมตร -, retrieved 2008-07-20.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและรางรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

นี่คือ ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 1939 ถึง 31 ธันวาคม 1939.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939) · ดูเพิ่มเติม »

ลิลเลฮัมเมร์

ลิลเลฮัมเมร์ เป็นเมืองในเทศมณฑลออปป์ลานด์ ประเทศนอร์เวย์ และตั้งอยู่ในภูมิภาค Gudbrandsdal ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและลิลเลฮัมเมร์ · ดูเพิ่มเติม »

วรอตสวัฟ

วรอตสวัฟ (Wrocław) หรือ เบรสเลา (Breslau) เป็นเมืองหลักของจังหวัดดอลนือชล็อนสก์ ประเทศโปแลนด์ และถือว่าเป็นที่นัดพบสำคัญในทวีปยุโรป มีความหลากหลายและการเปี่ยมล้นด้วยวัฒนธรรมของประวัติศาสตร์ในเมืองนี้ เป็นดังสะพานเชื่อม ที่เชื่อมระหว่างคนในแต่ละรุ่น แต่ละวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน เป็นแบบเมืองที่ทันสมัยของเมืองใหญ่ ที่มีพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ ชีวิตที่เต็มด้วยวัฒนธรรมและการศึกษา และมากไปกว่านั้น เมืองวรอตสวัฟใกล้เขตชายแดนของสองประเทศ นั่นคือชายแดนติดกับสาธารณรัฐเช็ก และชายแดนติดกับประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างกรุงเบอร์ลิน 350 กิโลเมตร, ห่างจากเมืองปราก 280 กิโลเมตร, ห่างจากกรุงเวียนนา 390 กิโลเมตร และห่างจากกรุงวอร์ซอ 340 กิโลเมตร มีประชากร 632,240 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 ของประเทศโปแลนด์ Breslau.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวรอตสวัฟ · ดูเพิ่มเติม »

วอมชา

วอมชา (Łomża) เป็นเมืองทางเหนือ-ตะวันออกของประเทศโปแลนด์ ห่างจากกรุงวอร์ซอ 90 ไมล์ (150 กม.) และห่างจากเมืองเบียวิสตอค 50 ไมล์ (81 กม.) ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำนาเรฟ วอมชาเป็นเมืองสำคัญด้านการค้า การศึกษาและศูนย์กลางด้านวัฒนธรรม ใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวอมชา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติลิทัวเนีย

วอลเลย์บอลชายทีมชาติลิทัวเนีย (Lietuvos vyrų tinklinio rinktinė) เป็นทีมชาติของประเทศลิทัวเนีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวอลเลย์บอลชายทีมชาติลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วัลดัส อะดัมคุส

วัลดัส อะดัมคุส (Valdas Adamkus) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) เคยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีลิทัวเนียมาแล้ว 1 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวัลดัส อะดัมคุส · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันสาธารณรัฐ

วันสาธารณรัฐ (Republic Day) เป็นชื่อวันหยุดในหลายประเทศเพื่อเฉลิมฉลองวันที่ประเทศนั้น ๆ เปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐ วันสาธารณรัฐในอิตาลี (Festa della Repubblica) เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2005 แสดงการบินโดย "Frecce Tricolori".

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวันสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557

วิกฤตการณ์ไครเมี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิลนีอุส

อนุสาวรีย์ไม้กางเขน 3 อันในกรุงวิลนีอุส วิลนีอุส (Vilnius) (ภาษาเบลารุส Вільня, ภาษาโปแลนด์ ไฟล์:Ltspkr.png Wilno, ภาษารัสเซีย Вильнюс, อดีต Вильно, ภาษาเยอรมัน Wilna) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลิทัวเนีย มีจำนวนประชากรมากกว่า 540,000 คน ในปี พ.ศ. 2546 นอกจากนี้ยังมีฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางการบริหารของเทศบาลนครวิลนีอัส (Vilnius city municipality) และเทศบาลเขตวิลนีอัส (Vilnius district municipality) รวมทั้งเป็นที่ตั้งเทศมณฑลวิลนีอัสด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวิลนีอุส · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วีเต็บสค์

วีเต็บสค์ (Vitebsk) หรือ วีตเซียบสค์ (Ві́цебск; Ви́тебск; Viciebsk หรือ Vitsyebsk) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนประเทศรัสเซีย เป็นเมืองหลวงของวีเต็บสค์โอบลาสต์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและวีเต็บสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาประชาคมร้อยปี

ลาประชาคมร้อยปี (Centennial Hall, Jahrhunderthalle, Hala Stulecia) ชื่อเดิม ฮาราลูดอวา (Hala Ludowa) เป็นอาคารทางประวัติศาสตร์ในวรอตสวัฟ, ประเทศโปแลนด์ ได้รับการสร้างขึ้นตามแผนของสถาปนิกที่มีชื่อเสียงชาวเยอรมัน มักซ์ แบร์ก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1911–1913 เมื่อเมืองเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมัน มักซ์ แบร์กได้ออกแบบศาลาประชาคมร้อยปีเพื่อเป็นอาคารอเนกประสงค์ ใช้สำหรับการเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการ, การแสดงคอนเสิร์ต, การแสดงละครโอเปราและการแข่งขันกีฬา ในปี ค.ศ. 1948 ได้มีการสร้างประติมากรรมโลหะรูปทรงเข็ม ("Iglica") มีความสูง 100 เมตร ซึ่งอยู่บริเวณด้านหน้าของศาลาประชาคมร้อยปี ในปี ค.ศ. 2006 ศาลาประชาคมร้อยปีได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและศาลาประชาคมร้อยปี · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและศิลปศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

สภาล่าง

ล่าง (อังกฤษ: lower house) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสองสภา อีกสภาหนึ่งได้แก่ สภาสูง ในแต่ละประเทศ สภาล่างจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างสภาล่าง เช่น สภาผู้แทนราษฎร ถึงแม้ว่าตำแหน่งทางทฤษฎีจะอยู่ "ข้างล่าง" ของสภาสูง แต่ในความเป็นจริง "สภาล่าง" เกือบทุกประเทศในโลกกลับมีอำนาจมากกว่า "สภาสูง" ความเหนือชั้นกว่าของสภาล่างเกิดจากข้อจำกัดพิเศษที่บังคับใช้กับสภาสูง (ไม่ว่าจะเป็นไปตามกฎหมายหรือเห็นได้โดยชัดแจ้งในระเบียบวิธีการประชุม) ที่สามารถทำได้เพียงการชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง แต่ไม่อาจใช้อำนาจยับยั้งการออกกฎหมาย (veto)ได้ หรืออาจไม่มีอำนาจควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับการเงิน ภายใต้ระบบรัฐสภาถือเป็นเรื่องปกติที่สภาล่างเท่านั้นที่มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดตัวหัวหน้ารัฐบาล หรือนายกรัฐมนตรี และยังสามารถถอดถอนผ่านการออกเสียงไม่ไว้วางใจได้อีกด้วย แต่ก็มีข้อยกเว้นอยู่บ้าง เช่น นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ซึ่งเลือกจากการสนับสนุนของทั้งสองสภาไดเอต การร่างกฎหมายที่ทำได้โดยสภาเดียวเรียกว่า "ระบบสภาเดียว".

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสภาล่าง · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก

มาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก สมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก คือ World Society for the Protection of Animals หรือ WSPA เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนนานาชาติ มีสมาชิกระดับท้องถิ่นเข้าร่วมกว่า 800 องค์กรจากกว่า 150 ประเทศ และในประเทศไทย ได้รับพระกรุณาคุณจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นประธานในพิธีเปิดสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก สำนักงานใหญ่ ประจำภูมิภาคเอเชีย (WSPA Asia) ในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ที่ชั้น 19 ตึกOlympia Thai Tower ทั้งนี้เพื่อจะได้เข้าไปช่วยเหลือและยกระดับสัตว์ในภูมิภาคเชียได้ดียิ่งขึ้น ประเทศไทยสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลกมีสมาชิกเข้าร่วม 11 องค์กรด้วยกัน WSPA ได้จัดทำโครงการรณรงค์ลงนามสนับสนุน “ปฏิญญาสากลว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (Universal Declaration on Animal Welfare หรือ UDAW)” ด้วยการนำรายชื่อของประชาคมโลกจำนวน 10 ล้านรายชื่อ ยื่นต่อองค์การสหประชาชาติ (UN) ภายในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์คาอูนัส

แผนที่ของสวนสัตว์คาอูนัส สวนสัตว์คาอูนัส เป็นสวนสัตว์ในเมืองคาอูนัส ประเทศลิทัวเนีย อยู่ในป่าไม้โอ๊คในส่วนตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองคานูอัส ก่อตั้งเมื่อปี 1935 โดยนักสัตววิทยาชื่อ Tadas Ivanauskas เปิดเมื่อเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1938 มีสัตว์ทั้งหมด 40 ตัว มันมีประสบการณ์เงินทุน ความยากลำบากในช่วงทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสวนสัตว์คาอูนัส · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย (Lithuanian Soviet Socialist Republic; Lietuvos Tarybų Socialistinė Respublika; Лито́вская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐแห่งนี้ดำรงอยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

รณรัฐแห่งสหภาพโซเวียต หรือ สาธารณรัฐสหภาพ (союзные республики, soyuznye respubliki, Republics of the Soviet Union) ของสหภาพโซเวียตชึ่งแบ่งตามเชื้อชาติ การบริหารจะขึ้นตรงไปยังรัฐบาลของสหภาพโซเวียตในประวัติศาสตร์ สหภาพโซเวียตเป็นประเทศที่มีรัฐรวมมากเป็นจำนวนมาก; การปฏิรูปการกระจายอำนาจในยุคของเปเรสตรอยคา ("การปรับโครงสร้าง") และกลัสนอสต์ ("การเปิดกว้าง") ดำเนินการของมีฮาอิล กอร์บาชอฟ จนนำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ. 1918–1939) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐโปแลนด์หรือเครือจักรภพโปแลนด์ (Rzeczpospolita Polska) รัฐโปแลนด์ถูกสร้างใหม่ใน ค.ศ. 1918 เป็นผลสืบเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังความขัดแย้งในภูมิภาคหลายครั้ง เขตแดนของรัฐถูกชี้ชัดใน ค.ศ. 1922 ประเทศโปแลนด์มีเพื่อนบ้าน ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย เยอรมนี นครเสรีดันซิก ลิทัวเนีย ลัตเวีย โรมาเนียและสหภาพโซเวียต มีทางเข้าทะเลบอลติกโดยทางชายฝั่งสั้น ๆ ที่อยู่ข้างนครกดือเนีย (Gdynia) ระหว่างเดือนมีนาคมและสงหาคม ค.ศ. 1939 โปแลนด์ยังมีเขตแดนร่วมกับรูธีเนียคาร์พาเธีย (Carpathian Ruthenia) ซึ่งขณะนั้นเป็นจังหวัดของฮังการี แม้มีแรงกดดันทั้งในและนอกประเทศ ประเทศยังคงอยู่จน ค.ศ. 1939 เมื่อโปแลนด์ถูกนาซีเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสโลวักบุกครอง เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป สาธารณรัฐที่สองมีพื้นที่ต่างจากรัฐโปแลนด์ปัจจุบันมาก โดยมีดินแดนทางทิศตะวันออกมากกว่าและทางทิศตะวันตกน้อยกว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สีประจำชาติ

ีประจำชาติ เป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ประจำชาติ หลายรัฐ และ หลายประเทศ ได้นำสีประจำชาติมาใช้อย่างเป็นทางการ (นิตินัย) "สีประจำชาติ" ในขณะที่หลายประเทศได้นำสีสีประจำชาติมาใช้โดยพฤตินัย สีประจำชาติมักจะปรากฏสื่อ, ธงของประเทศ สีที่ใช้ในการเล่นกีฬา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสีประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสงครามกลางเมืองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน

งครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน หรือ มหาสงคราม (Wielka Wojna, Polish–Lithuanian–Teutonic War หรือ Great War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1409 จนถึงปี ค.ศ. 1411 ระหว่างราชอาณาจักรโปแลนด์และอาณาจักรแกรนด์ดยุคแห่งลิทัวเนียฝ่ายหนึ่ง และ อัศวินทิวทันอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามจบลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาธอร์นครั้งที่หนึ่งหลังจากฝ่ายอัศวินทิวทันได้รับความพ่ายแพ่อย่างย่อยยับในยุทธการกรุนวอลด์ (Battle of Grunwald) และทำให้สูญเสียอำนาจต่างๆ ที่เคยมีก่อนสงครามโดยไม่มีโอกาสได้ฟื้นตัวขึ้นอีกหลังจากนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน · ดูเพิ่มเติม »

สตอรีไลน์

นิยมใช้กระดานดำเป็นฉากแล้วติดเรื่องราวลงไปประกอบการสอนแบบสตอรีไลน์ สตอรีไลน์ (Storyline) หมายถึง การใช้เรื่องราวที่สร้างขึ้นมาดำเนินเรื่องโดยอาศัยเส้นทางการดำเนินเรื่อง เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์และมโนทัศน์ต่างๆ โดยผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันกำหนดฉาก ตัวละคร แนวทางการดำเนินเรื่องอย่างเป็นลำดับขั้นตอน เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่คิดค้นขึ้นโดย สตีฟ เบลล์และแซลเลอร์ ฮาร์กเนส ซึ่งเป็นนักการศึกษาชาวสกอตแลนด์ โดยเริ่มต้นจากการนำไปใช้ในระดับชั้นประถมศึกษาเป็นระดับชั้นแรก สำหรับวิธีการนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อคราวสตีฟ เบลล์เดินทางมาถ่ายทอดแนวคิดนี้ ณ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสำคัญในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสตอรีไลน์คือต้องมีคำถามสำคัญ และองค์ประกอบหลักของสตอรีไลน์ 4 ประการ คือ ฉาก ตัวละคร วิถีชีวิตและเหตุการณ์สำคัญ ซึ่งวิธีการสอนนี้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดจินตนาการ ได้ลงมือปฏิบัติจริงและมีความคิดสร้างสรรค์ และเป็นการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอีกด้วย ในปัจจุบันนี้รูปแบบการสอนสตอรีไลน์แพร่หลายอยู่ในสกอตแลนด์ สหรัฐอเมริกา กลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย เนเธอร์แลนด์ ฮ่องกง สิงคโปร์ ลิทัวเนีย กรีซ ตุรกี โปรตุเกสและประเทศไท.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสตอรีไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–สหภาพโซเวียต

แผนที่แนบกับสนธิสัญญาซึ่งแบ่งโปแลนด์ออกเป็นเขตยึดครองของเยอรมนีและสหภาพโซเวียต สนธิสัญญาเยอรมนี–สหภาพโซเวียตว่าด้วยมิตรภาพ ความร่วมมือ และการกำหนดเขตแดน (หรือในชื่อว่า สนธิสัญญาเยอรมนี–สหภาพโซเวียตว่าด้วยพรมแดนและมิตรภาพ) เป็นสนธิสัญญาซึ่งลงนามโดยนาซีเยอรมนีกับสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–สหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สแตติน

pmid.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้

ตัวอย่างหน้าหนังสือเดินทางแบบอ่านด้วยเครื่องได้ หนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้ (Machine-readable passport) เป็นหนังสือเดินทางที่มีการพิมพ์แถบข้อมูลสรุปเกี่ยวกับตัวผู้ถือ เลขที่เอกสาร วันที่หมดอายุ สัญชาติ วันเกิด และรายละเอียดอื่นตามที่รัฐผู้ออกจะกำหนดไว้ มาตรฐานของหนังสือเดินทาง วิธีการพิมพ์ คุณสมบัติความปลอดภัยภาคบังคับ ตลอดจนข้อบังคับอื่นระบุไว้ในเอกสารหมายเลข 9303 ขององค์กรการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตอนที่ 3 และ 4 รวมถึงมาตรฐาน ISO/IEC 7501-1:2008 ทั้งนี้ เพื่อให้การนำเข้าข้่อมูลเกี่ยวกับผู้เดินทางทำได้สะดวกรวดเร็วขึ้น ตรวจสอบบุคคลห้ามเข้าเมืองและบุคคลผู้มีหมายจับหรือหมายเรียกได้สะดวก การอ่านแถบข้อมูลกระทำได้ด้วยตาเปล่าหรือจะใช้เครื่องอ่านได้ทั้งสองวิธี ในประเทศไทย หนังสือเดินทางชนิดนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2536 โดยให้โรงพิมพ์จันวาณิชย์เป็นผู้ดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน โดยก่อนปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและหนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต

หน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นองค์กรตำรวจชำนัญพิเศษในทางต่อต้านการทุจริต บางองค์กรจัดตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญ บางองค์กรโดยกฎหมายระดับรองกว่า ในการนี้ อาจหมายถึง (แบ่งตามทวีป และเรียงตามลำดับอักษรของชื่อดินแดน); แอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต · ดูเพิ่มเติม »

อักซานา

Živilė Raudonienė (née Dvareckaitė) เกิดวันที่ 29 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและอักซานา · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินทิวทอนิก

ณะภราดรบ้านนักบุญมารีย์เยอรมันในเยรูซาเล็ม (Ordo domus Sanctæ Mariæ Theutonicorum Hierosolymitanorum) หรือชื่อสามัญว่า คณะทิวทอนิก (หรือ คณะเยอรมันในปัจจุบัน) เป็นคณะอัศวินสมัยกลางของเยอรมนี และในสมัยปัจจุบันกลายเป็นคณะศาสนาคาทอลิกเต็มตัว ก่อตั้งขึ้นราว ปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและอัศวินทิวทอนิก · ดูเพิ่มเติม »

อันชลุสส์

ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและอันชลุสส์ · ดูเพิ่มเติม »

อำพัน

อำพันตกแต่งเป็นเหรียญประดับรูปไข่ขนาด 2x1.3 นิ้ว อำพัน เป็นซากดึกดำบรรพ์ของยางไม้ เป็นสิ่งมีค่าด้วยสีสันและความสวยงามของมัน อำพันที่มีคุณภาพดีเยี่ยมจะถูกนำมาผลิตเป็นเครื่องประดับและอัญมณี แม้ว่าอำพันจะไม่จัดเป็นแร่แต่ก็ถูกจัดให้เป็นพลอย โดยทั่วไปแล้วจะเข้าใจผิดกันว่าอำพันเกิดจากน้ำเลี้ยงของต้นไม้ แต่แท้ที่จริงแล้ว น้ำเลี้ยงเป็นของเหลวที่ไหลเวียนอยู่ในระบบท่อลำเลียงของพืช ขณะที่ยางไม้เป็นอินทรียวัตถุเนื้ออสัณฐานกึ่งแข็งที่ถูกขับออกมาผ่านเซลล์เอพิทีเลียมของพืช เพราะว่าอำพันเคยเป็นยางไม้ที่เหนียวนิ่มเราจึงพบว่าอาจมีแมลงหรือแม้แต่สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กอยู่ในเนื้อของมันได้ ยางไม้ที่มีสภาพเป็นกึ่งซากดึกดำบรรพ์รู้จักกันในนามของโคปอล สีของอำพันมีได้หลากหลายสีสัน ปรกติแล้วจะมีสีน้ำตาล เหลือง หรือส้ม เนื้อของอำพันเองอาจมีสีได้ตั้งแต่ขาวไปจนถึงเป็นสีเหลืองมะนาวอ่อนๆ หรืออาจเป็นสีน้ำตาลจนถึงเกือบสีดำ สีที่พบน้อยได้แก่สีแดงที่บางทีก็เรียกว่าอำพันเชอรี่ อำพันสีเขียวและสีฟ้าหายากที่มีการขุดค้นหากันมาก อำพันที่มีค่าสูงมากๆจะมีเนื้อโปร่งใส ในทางตรงกันข้ามอำพันที่พบกันมากทั่วไปจะมีสีขุ่นหรือมีเนื้อทึบแสง อำพันเนื้อทึบแสงมักมีฟองอากาศเล็กๆเป็นจำนวนมากที่รู้จักกันในนามของอำพันบาสตาร์ดหมายถึงอำพันปลอม ซึ่งแท้ที่จริงแล้วก็เป็นอำพันของแท้ๆนั่นเอง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและอำพัน · ดูเพิ่มเติม »

อินซฺวี

อินซฺวี คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในเมืองอันหยาง มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน เป็นเมืองหลวงแห่งสุดท้ายของราชวงศ์ซาง โดยเป็นเมืองหลวงอยู่ 225 ปี มีจักรพรรดิปกครองอยู่ 12 พระองค์ เมืองหลวงเก่าแห่งนี้เป็นหลักฐานชิ้นสำคัญของสิ่งที่เป็นไปในยุคทองของอารยธรรมจีนยุคสำริด สุสานหลวงและพระราชวังที่เป็นต้นแบบของสถาปัตยกรรมจีน และกระดูกคำทำนายที่จารึกด้วยตัวอักษรจีนโบราณ ที่บ่งบอกเกี่ยวกับวัฒนธรรม และสถานะทางสังคมของคนในยุคนั้นนับว่าเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ได้ขุดค้นพบในเมืองนี้.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและอินซฺวี · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน

ันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน (Hans Hendrik van Paesschen; ประมาณ ค.ศ. 1510-ค.ศ. 1582) เป็นสถาปนิกจากเมืองแอนต์เวิร์ป อาณาจักรฟลานเดอส์ (ทางตอนเหนือของประเทศเบลเยียมปัจจุบัน) ผู้ออกแบบอาคารรูปแบบคลาสสิกในหลาย ๆ อาณาจักรในเขตยุโรปเหนือ ในยุคนั้น สถาปนิกที่มีอิทธิพลสุดในอิตาลีคืออันเดรอา ปัลลาดีโอ (Andrea Palladio) ฝรั่งเศสคือฟีลีแบร์ เดอลอร์ม (Philibert Delorme) แต่จริง ๆ แล้ว ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน ได้ออกแบบอาคารมากมายในยุโรปเหนือไม่แพ้สถาปนิกสองคนข้างต้น แต่สาเหตุที่เขาไม่ได้มีชื่อเสียงโด่งดังเพราะว่าแต่ละดินแดนที่เขาได้ไปออกแบบสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ให้นั้น ชื่อของเขาได้รับการสะกดแตกต่างกันหมด ปาสเซินได้รับการฝึกมาจากอิตาลี แล้วกลับมาทำงานในเมืองแอนต์เวิร์ป ทำงานร่วมกับประติมากรชื่อดัง โฟลริส เดอ ฟรีนต์ (Floris de Vriendt) ได้รับโครงการมาทำมากมาย ปาสเซินทำการออกแบบโครงการในฟลานเดอส์ เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ เวลส์ เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน และคาลีนินกราด (Kaliningrad) นอกจากนี้ยังมีหลักฐานที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า เขาออกแบบอาคารในตอนเหนือของฝรั่งเศส เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย ปาสเซินมักจะออกแบบลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบเฟลมิชแท้ ๆ โดยผสมความเป็นสถาปัตยกรรมยุโรปเหนือเล็กน้อย ซึ่งแตกต่างกับแบบอย่างในยุโรปเหนือเวลานั้นที่มักจะเป็นส่วนผสมของความเป็นกอทิก (gothic) และจริตนิยม (mannerist style) เขาได้นำองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของเมืองเวนิสมาใช้ไม่น้อย เช่น อาร์เคด (arcade) ทางเดินใต้หลังคา (loggia) โดม (dome) และโครงสร้างโค้งแบบเวนิส (Venetian arches) น่าเสียดายที่งานออกแบบส่วนใหญ่ของเขาได้พังทลายไปหมด หรือได้ถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจนไม่เหลือรูปแบบดั้งเดิมแล้ว งานที่เป็นต้นฉบับที่ไว้ให้ศึกษากันคืออยู่ในเอกสารเท่านั้น ลูกศิษย์ของเขาในอีกหลายชั่วคนต่อมาได้กลายเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียง โดยมักจะมีการใช้นามสกุลเพื่อยกย่องปาสเซิน นามสกุลดังกล่าวเช่น เดอ ปา (de Pas) หรือฟัน เดอปัสเซอ (van de Passe).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ฮันนิบาล เล็กเตอร์

ว็บไซต์ของ ''โทมัส แฮริส'' http://www.randomhouse.com/features/thomasharris/ ฮันนิบาล เล็กเตอร์ (Hannibal Lecter) คือชื่อของฆาตกรอัจฉริยะที่รู้จักกันดีในหนังสือนิยายแนวอาชญากรรม ของ โทมัส แฮร์ริส นักเขียนชาวอเมริกัน ฮันนิบาลยังได้รับการขนานนามว่าเป็นอาชญากรที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในโลกภาพยนตร์ ชื่อเต็มของเขาคือ ฮันนิบาล เล็กเตอร์ ที่ 8 เกิดปี..1933 ที่ประเทศลิธัวเนีย ซึ่งเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่แยกตัวออกมาจากสหภาพโซเวียต โทมัส แฮริส สร้างให้ พ่อ แม่ ของเขาตายที่บ้านพักร้อนซึ่งพวกเขาใช้หลบภัยจากสงครามด้วยเหตุการณ์โดนเครื่องบินทิ้งระเบิดลงบ้านหลังนั้นตั้งแต่ยังเด็ก ฮันนิบาลและ"มิชา"น้องสาวถูกจับตัวไปโดยฝีมือของกองกำลังอิสระที่ทำงานให้กับสหภาพโซเวียต ภายหลังมิชาซึ่งป่วยได้ถูกคนเหล่านี้ฆ่าตายเพื่อนำเนื้อมากินประทังชีวิต เนื่องจากอาหารขาดแคลน เหตุการณ์นี้ทำให้เกิดปมแผลในใจของฮันนิบาลไปชั่วชีวิต และก่อกำเนิดปิศาจร้ายในตัวของเขาตั้งแต่นั้นมา ต่อมาพวกทหารค้นพบฮันนิบาลที่พูดไม่ได้หลังเกิดเหตุไฟไหม้บ้านแล้วนำตัวเขาไปที่สถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้า ซึ่งเคยเป็นปราสาทเล็กเตอร์มาก่อน ฮันนิบาลไม่ค่อยมีความสุขนักที่นั่น และยังฝันถึงฟันน้ำนมของมิชาในส้วมหลุมซึ่งเป็นจินตนาการของเขาเอง จนในที่สุดฮันนิบาลก็ได้รับการช่วยเหลือออกมาโดยอาของเขาซึ่งจิตรกรชั้นสูงอยู่ที่ฝรั่งเศส หลังสงครามจบได้เป็นเคาน์เล็กเตอร์แทนพ่อของฮันนิบาล ฮันนิบาลอยู่ในอุปการะของเคาน์เล็กเตอร์คนใหม่นี้ ภายหลังฮันนิบาลได้ไปจ่ายตลาดกับ"คุณหญิงมุระซะกิ" ภรรยาของอาของเขาและมีเรื่องกับปอล โมมุนคนขายเนื้อ ตรงนี้เองที่ทำให้ฮันนิบาลกลับมาพูดอีกครั้งเพื่อปกป้องคุณหญิงมุระซะกิ ฮันนิบาล เล็กเตอร์เรียนจบ ปริญญาเอก สาขาแพทย์ศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยจอห์น ฮอปกินส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประกอบอาชีพเป็นศัลยแพทย์ จิตแพทย์ และภัณฑรักษ์ ฮันนิบาลเป็นบุคคลที่เฉลียวฉลาด และหน้าตาดีซึ่งน้อยคนนักจะเป็นได้ แต่ด้วยบาดแผลในวัยเด็กที่ต้องสูญเสียครอบครัวในสงครามทำให้เขาเป็นคนเก็บตัว ไม่สุงสิงกับใคร แต่ในความอัจฉริยะนี้ ลึกๆ แล้วเขาก็มีความต้องการบางอย่างที่ผิดแผกไปจากมนุษย์ปุถุชนคนธรรม...

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและฮันนิบาล เล็กเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2272 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2339) พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดินีนาถที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดและครองราชย์ยาวนานที่สุดของรัสเซีย ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2305 หลังจากการรัฐประหารและการปลงพระชนม์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 พระราชสวามีของพระองค์เอง (ไม่นานหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเจ็ดปี) จนกระทั่งเสด็จสวรรคต การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น ผู้ใช้อำนาจเด็ดขาดที่ทรงเรืองปัญญา (enlightened despot) ทั้งยังทรงฟื้นฟูจักรวรรดิรัสเซียให้แข็งแกร่งและมีอาณาเขตกว้างกว่าเดิมอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนรัสเซียกลายมาเป็นชาติมหาอำนาจที่สำคัญมากที่สุดชาติหนึ่งในยุโรป ในการเข้าถึงขุมอำนาจและปกครองจักรวรรดิของพระองค์ พระนางแคทเธอรีนมักจะทรงพึ่งพาอำนาจจากเหล่าขุนนางที่ทรงโปรดปราน และผู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเช่นกริกอรี ออโลฟ และกริกอรี โปเตมคิน หรือเหล่านายพลผู้มีอำนาจบารมีสูงเช่น ปิออตร์ รูเมียนเซฟ และอเล็กซานเดอร์ ซูโวโลฟ หรือแม้แต่พลเรือเอกเช่น ฟิโอดอร์ อูชาโคฟ พระนางปกครองรัสเซียในช่วงเวลาที่จักรวรรดิได้ทำการแผ่ขยายอาณาเขตของตนโดยทั้งการศึกสงครามและการทูต ทางทิศใต้, อาณาจักรข่านแห่งไครเมียร์ถูกบดขยี้และตามมาด้วยชัยชนะเหนือจักรวรรดิออตโตมันในสงครามรัสเซีย-ตุรกี ต่อมารัสเซียได้ทำการเข้ายึดครองดินแดนอันว่างเปล่าแห่งโนโวรอสซิยาตลอดจนชายฝั่งทะเลดำและทะเลอะซอฟ ทางทิศตะวันตก, เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียซึ่งถูกปกครองโดยอดีตคนรักของพระนาง พระเจ้าสตานิส์ลอว์ ออกุส โปเนียโทว์สกี ในที่สุดก็ถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยรัสเซียได้ส่วนแบ่งของดินแดนมากที่สุด ทางทิศตะวันออก, รัสเซียเริ่มเข้ายึดครองอะแลสกาในรูปแบบของอาณานิคมจนนำไปสู่การก่อตั้งอเมริกาของรัสเซีย พระองค์ทรงทำการปฏิรูประบบราชการภายในของเขตกูเบอร์นิยา รวมไปถึงมีรับสั่งให้สถาปนาเมืองและหมู่บ้านขึ้นมากมาย และในฐานะที่ทรงเป็นผู้นิยมชมชอบพระราชกรณียกิจของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช พระองค์จึงได้ดำเนินพระราโชบายตามแนวทางของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราชโดยการปฏิรูปรัสเซียให้เข้าสู่ความทันสมัยตามแบบฉบับชาติยุโรปตะวันตก อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในกองทัพและระบบเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาระบบทาสอยู่ต่อไป ในขณะที่ความต้องการใช้แรงงานของประเทศและของเหล่าผู้ครอบครองที่ดินเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การใช้แรงงานทาสดำเนินไปถึงขั้นกดขี่แรงงานทาส และระบบทาสดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในเหตุผลประการสำคัญของการก่อกบฏหลายต่อหลายครั้ง ดังเช่นกบฏปูกาเชฟที่มีกองทหารม้าและชาวนาจำนวนมากมายเข้าร่วมการกบฏ ตลอดระยะเวลาในการครองราชย์หรือ สมัยแคทเธอรีน ถูกพิจารณาว่าเป็นยุคทองของจักรวรรดิรัสเซียและของระบอบศักดินาในรัสเซีย แถลงการณ์ว่าด้วยเสรีภาพของขุนนางซึ่งเป็นที่โต้แย้งกันในรัชสมัยของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ก็ได้รับการยินยอมในช่วงรัชสมัยของพระนางแคทเธอรีน โดยแถลงการณ์ฉบับนี้ได้ให้อิสรภาพแก่บรรดาขุนนางไม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของกองทัพหรือการรับราชการสนองคุณประเทศ ให้อิสรภาพในการครอบครองที่อยู่อาศัย เช่น แมนชันรูปแบบคลาสสิก โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมดังกล่าวเป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนโดยพระนางเจ้าแคทเธอรีนอย่างมาก ก่อให้เกิดตึกรามบ้านช่องอันหรูหราขึ้นจำนวนมาก ซึ่งตลอดช่วงการครองราชย์ของพระองค์ได้ทรงทำให้โฉมหน้าของประเทศเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง จึงกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระนางคือยุคเรืองปัญญาของรัสเซียก็ว่าได้.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติยูเครน

งชาติยูเครน (державний прапор України; ถอดเป็นอักษรโรมัน: derzhavnyy prapor Ukrayiny) มีต้นกำเนิดจากธงชาติในสมัยการปกครองระยะสั้นๆ ของสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและธงชาติยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลัตเวีย

งชาติลัตเวีย เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นเป็นแถบสีแดงเข้มอย่างสีเลือดหมู ที่กลางธงมีแถบแนวนอนสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 5 ส่วนของความกว้างธง เดิมธงนี้เป็นธงชาติลัตเวียสมัยได้รับเอกราชครั้งแรกในปี พ.ศ. 2461 (แต่ได้รับรองอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2465) ต่อมาลัตเวียถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2483 ธงนี้จึงได้เลิกใช้นานหลายสิบปี จนกระทั่งเมื่อประเทศได้รับเอกราชอีกครั้งในปี พ.ศ. 2534 จึงได้มีการนำธงนี้กลับมาใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 แต่แท้จริงแล้วประวัติของธงนี้มีความเป็นมาที่ยาวนานตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 หรือในช่วงยุคกลางของยุโรป ส่วนที่มาสีในธงชาตินั้นมาจากตำนานที่กล่าวถึงผืนผ้าซึ่งเปื้อนเลือดของผู้นำนักรบชาวลัตเวี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและธงชาติลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลิทัวเนีย

งชาติลิทัวเนีย มีลักษณะเป็นธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีเหลือง สีเขียวและสีแดง เรียงจากบนลงล่าง ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน ธงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2532 ซึ่งเป็นเวลาเกือบ 2 ปี ก่อนการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและการประกาศเอกราช ก่อนหน้านี้ธงนี้เคยใช้เป็นธงชาติลิทัวเนียในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและธงชาติลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย เป็นธงที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1951 (พ.ศ. 2494) จนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) มีลักษณะดังความที่บรรยายในประกาศแบบธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย ลงวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ทบิลีซี

ทบิลีซี (თბილისი) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศจอร์เจีย และก็ยังเป็นศูนย์กลางการปกครองและย่านเศรษฐกิจของประเทศจอร์เจีย ทบิลีซีมีประชากรประมาณ 1,473,551 คน ประกอบกับมีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เพราะมีแหล่งน้ำมากมายพร้อมกับมีทำเลที่ดีในการปกครองทำให้เมืองแห่งนี้กลายเป็นเมืองหลวงในที.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและทบิลีซี · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลบอลติก

ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและทะเลบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

ทาอูทิชคา กีเอสมิ

ทาอูทิชคา กีเอสมิ (Tautiška giesmė) เป็นเพลงชาติของลิทัวเนีย, หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ "Lietuva, Tėvyne mūsų" ("ลิทัวเนีย, มาตุภูมิของเรา" ซึ่งเป็นวรรคแรกของเพลงชาติ) และ "Lietuvos himnas" (เพลงสรรเสริญลิทัวเนีย).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและทาอูทิชคา กีเอสมิ · ดูเพิ่มเติม »

ทีวี 3 ลิทัวเนีย

ทีวี 3 ลิทัวเนีย เป็นสถานีโทรทัศน์ของประเทศลิทัวเนีย ดำเนินกิจการโดย โมเดิร์น ไทมส์ กรุ๊ป (เอ็มทีจี) และมีเป้าหมายในกลุ่มผู้ชม ชาวลิทัวเนีย ก่อตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1992 และออกอากาศเมื่อวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1993 ในชื่อ "เทเล-3" ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็น "ทีวี3" เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1997.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและทีวี 3 ลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ทีวีพี 1

ทีวีพี 1 (TVP1) คือสถานีโทรทัศน์แห่งแรกของโปแลนด์ (เริ่มออกอากาศ 25 ต.ค. 1952) เปิดสถานีเวลา 19.00 มีช่องพีน้อง คือ ทีวีพี 2.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและทีวีพี 1 · ดูเพิ่มเติม »

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีวอร์ซอ

ัชชีวอร์ซอ (Księstwo Warszawskie; Duché de Varsovie; Herzogtum Warschau) เป็นรัฐโปแลนด์ที่สถานปนาโดยนโปเลียน โบนาปาร์ตเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและดัชชีวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกอบต(SAO Astronomy Olympiad: SAO)เป็นการแข่งขันระดับอบตซึ่งจัดขึ้นทุกๆปีในวิชาดาราศาสตร์สำหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยม และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)

ัญลักษณ์รายการอย่างเป็นทางการ สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 1 สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 2 ดิ อะเมซิง เรซ (The Amazing Race) หรือชื่อย่อว่า TAR เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ ผลิตโดยสหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็นทีมละสองคน (มียกเว้น 1 ครั้ง คือครั้งที่ 8) ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุดและระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ได้รางวัล แอมมี่อวอร์ด เรียลลิตี้เกมส์โชว์ประเภทพรามไทม์มาตลอดนั้นตั้งแต่เริ่มมีการประกวดรางวัลนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 แบบผูกขาด ซึ่งทำให้รายการนี้โด่งดังเป็นอย่างมาก จุดเด่นของรายการจะถ่ายทำยากมากและใช้งบประมาณสูงเนื่องจากค่าเดินทางและจ้างคนท้องถิ่นทำงานเพื่อถ่ายทำในแต่ละฤดูกาล โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวฉายทางซีบีเอสและเริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 12

อะเมซิ่ง เรซ 12 (The Amazing Race 12) เป็นฤดูกาลที่ 12 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยแทนที่รายการ Viva Laughlin ที่ถูกยกเลิก และตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 ณ เวลา 20 นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานตะวันออก และเวลามาตรฐานแปซิฟิกของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและดิอะเมซิ่งเรซ 12 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555

นี่คือรายชื่อของ ผลกระทบจากอากาศหนาวจั..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและคลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ความสำคัญของศาสนาตามประเทศ

้านล่างนี้เป็นชาร์ตแสดงรายชื่อประเทศเรียงตามความสำคัญของศาสน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและความสำคัญของศาสนาตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คาลีนินกราด

ลีนินกราด (p) (อดีต: เคอนิจส์แบร์ก; r; ปรัสเซียเก่า: Twangste, Kunnegsgarbs, Knigsberg; Królewiec; Karaliaučius) เป็นเมืองการปกครองหลักของแคว้นคาลีนินกราด ซื่งเป็นดินแดนส่วนแยกของประเทศรัสเซีย ระหว่าง ประเทศโปแลนด์ และ ประเทศลิทัวเนีย ใน ทะเลบอลติก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและคาลีนินกราด · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของลิทัวเนีย

ตราแผ่นดินของลิทัวเนีย เริ่มใช้เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและตราแผ่นดินของลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและตราแผ่นดินในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ตแชสวัฟ มีวอช

ตแชสวัฟ มีวอช (Czesław Miłosz,; 30 มิถุนายน ค.ศ. 1911 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 2004) เป็นนักเขียนและกวีชาวโปแลน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและตแชสวัฟ มีวอช · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบอลติก

ปฏิบัติการบอลติก ยังเป็นที่รู้จักกันคือปฏิบัติการป้องกันในลิทัวเนียและลัตเวียที่ห้อมล้อมด้วยปฏิบัติการของกองทัพแดง ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและปฏิบัติการบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เบลารุส

ประวัติศาสตร์เบลารุสเริ่มจากการตั้งถิ่นฐานของชาวสลาฟ เกิดเป็นราชอาณาจักร ภายหลังสวามิภักดิ์ต่อราชอาณาจักรเคียฟ ต่อมาถูกลิธัวเนียยึดครอง เมื่อประกาศเอกราชได้ไม่นานก็ถูกสหภาพโซเวียตเข้ายึดครองอีก ได้เป็นเอกราชอีกครั้งเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายไป.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประวัติศาสตร์เบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลัตเวีย

ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1236

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1236 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1236 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1263

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1263 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1263 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1265

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1265 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1265 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1268

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1268 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1268 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1282

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1282 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1282 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1285

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1285 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1285 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1291

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1291 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1291 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1295

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1295 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1295 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1316

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1316 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1316 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1341

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1341 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1341 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1345

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1345 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1345 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1377

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1377 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1377 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1381

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1381 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1381 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1382

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1382 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1382 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1392

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1392 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1392 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1430

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1430 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1430 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1432

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1432 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1432 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1440

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1440 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1440 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1492

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1492 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1492 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1506

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1506 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1506 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1548

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1548 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1548 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2018

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2020

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2020 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ปาเนียเวจีส

ปาเนียเวจีส (Panevėžys) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศลิทัวเนีย ตั้งอยู่ห่างจากเมืองเคานัสไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 88 กม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและปาเนียเวจีส · ดูเพิ่มเติม »

นวลพรรณ ล่ำซำ

นวลพรรณ ล่ำซำ กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กงสุลกิตติมศักดิ์สาธารณรัฐลิทัวเนีย อดีตที่ปรึกษาประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นอดีตผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (อภิรักษ์ โกษะโยธิน) และกรรมการผู้จัดการบริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) รวมถึงเป็นผู้จัดการฟุตบอลหญิงทีมชาติไทย นอกจากเป็นผู้บริหารระดับสูงในธุรกิจประกันภัยของตระกูล นวลพรรณยังเปิดกิจการของตัวเอง นำเข้าสินค้าแฟชั่นแบรนด์เนมหลายแบรนด์ ผ่านทางบริษัท วรรณมานี จำกัด และบริษัท ซังออนอเร่ (กรุงเทพ) จำกัด เริ่มจากแบรนด์แรก คือ แอร์เมส (Hermes) จนมีมากมายหลายแบรนด์ในปัจจุบัน เช่น เอ็มโพริโอ อาร์มานี (Emporio Armani), ทอดส์ (Tod's), Rodo, โคลเอ้ (Chole), Christofle และบลูมารีน (Blumarine) นอกจากนี้เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนวลพรรณ ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2012

นางงามจักรวาล 2012 (Miss Universe 2012) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 61 จัดขึ้นในวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนางงามจักรวาล 2012 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2015

นางงามจักรวาล 2015 (Miss Universe 2015) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 64 กำหนดจัดวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนางงามจักรวาล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2010

นางงามนานาชาติ 2010 (Miss International 2010) จะเป็นการประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 50 จัดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 (ตามเวลาในประเทศไทย) โดยจะจัดขึ้นที่เมืองเฉิงตู ประเทศจีน โดย อนากาเบลล่า เอสปิโนซ่า นางงามนานาชาติ 2009 มอบมงกุฎให้แก่ อลิซเบธ มอสเควร่า สาวงามจากเวเนซุเอลา วัย 19 ปี ครองตำแหน่งนางงามนานาชาติ 2010.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนางงามนานาชาติ 2010 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2013

นางงามนานาชาติ 2013 การประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 53 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนางงามนานาชาติ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนางงามนานาชาติ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2017

นางงามนานาชาติ 2017 หรือ มิสอินเตอร์เนชันแนล 2017, ครั้งที่ 57 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนางงามนานาชาติ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นิกิตา โคลอฟฟ์

นิกิตา โคลอฟฟ์ (เนลสัน สกอตต์ ซิมป์สัน เกิด 9 มีนาคม ค.ศ. 1959) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพที่เกษียณอายุ, นักแสดง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงชาวอเมริกัน ตลอดทศวรรษที่ 1980 และต้นปี 1990 เขาปล้ำในฐานะ "ฝันร้ายรัสเซีย" Nikita แข่งรถซึ่งเป็นเล่นชื่อเล่นของแฟนที่ชื่นชอบ "The American Dream" Dusty Rhodes.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนิกิตา โคลอฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทย

วีซ่าไทยในหนังสือเดินทางไต้หวัน ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตไทย เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้ ปัจจุบันประเทศไทยทำความตกลงทวิภาคียกเว้นวีซ่าเพื่อให้สิทธิยกเว้นวีซ่ากับคนชาติของ 56 ประเทศ ประเทศในซีกโลกตะวันตกส่วนมากได้รับยกเว้นวีซ่า อย่างไรก็ดีประเทศทางตะวันออกบางส่วนของสหภาพยุโรปเช่นลัตเวีย ลิทัวเนีย โรมาเนีย บัลแกเรีย มอลตาและไซปรัสจะต้องมีวีซ่า แต่วีซ่าดังกล่าวสามารถขอได้เมื่อเดินทางมาถึง (ในจุดเข้าเมืองที่กำหนดไว้) ตั้งแต่พฤษภาคม พ.ศ. 2557 การรีเซ็ตเวลาสำหรับการยกเว้นวีซ่าโดยการเดินทางออกไปยังประเทศเพื่อนบ้านแล้วกลับเข้ามาอีก ไม่สามารถกระทำได้อีกต่อไป ดังนี้หากคนชาติอื่นประสงค์จะอยู่ต่อเกินเวลายกเว้นวีซ่าจะต้องขอวีซ่าให้เรียบร้อย อย่างไรก็ดีในเดือนสิงหาคมปีเดียวกัน นายกรัฐมนตรีขอให้ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองยืดหยุ่นการบังคับใช้กฎหมายในส่วนนี้เนื่องจากการบังคับใช้กฎหมายเข้มงวดจะมีผลกระทบต่อโรงเรียนและอุตสาหกรรมท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเนริส

แม่น้ำเนริส (Neris) เป็นแม่น้ำระหว่างประเทศโปแลนด์กับประเทศลิทัวเนีย มีความยาว 510 กม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแม่น้ำเนริส · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยน

แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยน (โจวโข่วเตี้ยนเป่ยจิงเหรินอี๋จี่) คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เป็นแหล่งขุดค้นพบกระดูกของมนุษย์ปักกิ่ง ซึ่งมีชีวิตอยู่ประมาณ 200,000 ถึง 750,000 ปีก่อน ค้นพบครั้งแรกเมื่อราวปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ

แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ มินคอฟสกี

แฮร์มันน์ มินคอฟสกี (Hermann Minkowski) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดที่หมู่บ้านอเล็กโซตา (Aleksota) ในจักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันคือเมืองเคานัส ประเทศลิทัวเนีย) ในครอบครัวชาวยิว ในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแฮร์มันน์ มินคอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

แผนตะวันออก

แผนตะวันออก (Plan East; Plan Wschód) เป็นแผนปฏิบัติการทางทหารของโปแลนด์ ถูกร่างขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920-1930 ในกรณีที่มีการโจมตีจากสหภาพโซเวียต ไม่เหมือนกับแผนตะวันตก รัฐบาลโปแลนด์ให้ความสำคัญกับการรับมือกับกองทัพโซเวียต ซึ่งมองว่าเป็นภัยคุกคามทางทหารที่สำคัญที่สุด และมีขีดความสามารถในการเริ่มสงครามเต็มรูปแบบได้.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแผนตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นคาลินินกราด

แคว้นคาลีนินกราด (Калинингра́дская о́бласть) เป็นเขตการปกครองของสหพันธรัฐรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลบอลติก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแคว้นคาลินินกราด · ดูเพิ่มเติม »

แคทริน บิเกโลว์

แคทริน แอนน์ บิเกโลว์ หรือที่รู้จักในชื่อ แคทริน บิเกโลว์ ชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง และนักเขียนบท ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม สาขา Feature Film จากสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์แห่งอเมริกา ในปี 2009 จากภาพยนตร์เรื่อง หน่วยระห่ำ ปลดล็อกระเบิดโลก (The Hurt Locker) และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์หญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ (อะแคเดมีอะวอร์ด) ในปีเดียวกัน แคทรินเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ และรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากแบฟตา (BAFTA) โดยสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศน์บริติช แคทริน บิเกโลว์ เป็นบุคคลสาธารณะที่มีความโดดเด่นและทรงอิทธิพล ใน "100 บุคคลทรงอิทธิพลของโลก" โดยนิตยสารไทม์ ประจำปี 2010.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแคทริน บิเกโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันออก เคยเป็นเขตสงครามในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก คำดังกล่าวขัดกับแนวรบด้านตะวันตก แม้จะแยกกันทางภูมิศาสตร์ เหตุการณ์ในเขตสงครามทั้งสองมีอิทธิพลต่อกันอย่างมาก ในแหล่งข้อมูลรัสเซีย บางครั้งเรียกสงครามนี้ว่า สงครามปุติภูมิครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโบสถ์คริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โมกีลอฟ

มกีลอฟ (Магілёў, Łacinka: Mahiloŭ,; Могилёв,, Mohylew, Mohlev,מאָהלעוו) เป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศเบลารุส จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโมกีลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

โมเช แอเร็นส์

มเช แอเร็นส์ (משה ארנס, Moshe Arens; เกิด 27 ธันวาคม ค.ศ. 1925) เป็นวิศวกรการบิน นักวิจัย อดีตนักการทูตและนักการเมืองชาวอิสราเอล ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโมเช แอเร็นส์ · ดูเพิ่มเติม »

โอ๊ก

อ๊ก (oak) หรือ ก่อ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มในสกุล Quercus (ภาษาละติน "oak tree") มี 600 สปีชีส์ โอ๊กอาจจะหมายถึงพืชบางชนิดในสกุล Lithocarpusด้วย พืชสกุลนี้เป็นพืชพื้นเมืองในซีกโลกเหนือ แพร่กระจายตั้งแต่เขตที่อากาศหนาวเย็นไปจนถึงเขตร้อนในเอเชียและอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโอ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1993

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1993 ในโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1993 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1994 ในโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1994 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1995

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1995 ในโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1996 ในโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2003

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2003 ในโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2008 ในโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโทรทัศน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์

รชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ (Reichskommissariat Ostland, RKO) เป็นหน่วยการปกครองของนาซีเยอรมนีในรัฐบอลติก บางส่วนของเบลารุสและโปแลนด์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ดินแดนนี้ยังมีอีกชื่อว่า Reichskommissariat Baltenland ("ไรชส์คอมมิสซาเรียทแห่งรัฐบอลติก").

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอโฟน เอสอี

อโฟน เอสอี (iPhone SE) เป็นสมาร์ตโฟนที่ออกแบบและผลิตโดยบริษัท แอปเปิล ไอโฟนรุ่นนี้เปิดตัว เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2559 ที่สำนักงานใหญ่บริษัทแอปเปิล และวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 31 มีนาคม 2559 สำหรับประเทศไทยวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2559 ไอโฟน เอสอี นี้พัฒนาต่อยอดจาก ไอโฟน 5เอส โดยยังคงขนาดหน้าจอ 4 นิ้ว และมีรูปลักษณ์เหมือนกับ ไอโฟน 5เอส เกือบทั้งหมด แต่เลือกใช้ชิ้นส่วนฮาร์ดแวร์ภายในรุ่นใหม่จาก ไอโฟน 6เอส นั้นรวมไปถึงโปรเซสเซอร์, กล้องหลัง และอื่นๆ รองรับฟีเจอร์ใน ไอโอเอส 10 เช่น แอปเปิลเพย์ และไลฟ์โฟโต้ อีกทั้งรุ่นนี้ยังมีสีใหม่คือ สีโรสโกลด์ นอกเหนือจากสีมาตรฐานคือ สีสเปซเกรย์, สีเงิน และสีทอง ไอโฟนรุ่นนี้มีการวางจำหน่ายอีกครั้ง มีตัวเลือกความจุใหม่เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2560.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและไอโฟน เอสอี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไคลเปดา

ท่าเรือของไคลเปดารองรับการขนส่งสินค้าทางเรือ เป็นปริมาณมากกว่า 20 ล้านตันต่อปี ไคลเปดา (Klaipėda; Memel หรือ Memelburg; Kłajpeda) เป็นเมืองท่าเพียงแห่งเดียวของลิทัวเนีย ตั้งอยู่ใกล้ปากแม่น้ำเนมันทางฝั่งทะเลบอลติก ไคลเปดามีประชากรราว 194,400 คนเมื่อปี พ.ศ. 2545 ซึ่งลดลงจาก 202,900 คนเมื่อปี พ.ศ. 2532 ปัจจุบันไคลเปดาเป็นท่าเรือเฟอร์รีสำคัญซึ่งมีเส้นทางโดยสารไปยังสวีเดน เดนมาร์ก และเยอรมนี หมวดหมู่:เมืองในประเทศลิทัวเนีย.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและไคลเปดา · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์โน

อร์โน (Brno) หรือ บรึนน์ (Brünn) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศเช็กเกีย (รองจากกรุงปราก เมืองหลวงของประเทศ) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ถูกค้นพบใน..1243 มีประชากรประมาณ 405,337 คน เบอร์โนเป็นเมืองหลวงของเขตเซาท์มอเรเวีย นอกจากนี้ Villa Tugendhat ในเมืองเบอร์โนได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลก เบอร์โนเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมาซารึกและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเบอร์โน.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเบอร์โน · ดูเพิ่มเติม »

เชาเล

ล (Šiauliai) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศลิทัวเนีย มีประชากร 107,086 คน เป็นเมืองหลวงของเชาเลเคาน์ตี ตั้งอยู่ห่างจากเมืองเคานัสไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 121 กม.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเชาเล · ดูเพิ่มเติม »

เบียวิสตอค

ียวิสตอค (Białystok) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโปแลนด์ เป็นเมืองหลวงของจังหวัดปอดลาแช ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเบียวา เป็นเมืองที่มีความแน่นของประชากรเป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 และมีพื้นที่เป็นอันดับ 13 ของประเทศ เมืองนี้มีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศวรรษที่ 14 ผนวกเข้ากับปรัสเซีย ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเบียวิสตอค · ดูเพิ่มเติม »

เบเกิล

กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเบเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย (Lietuvos Tarybų Socialistinės Respublikos himnas) เป็นเพลงชาติของลิทัวเนียสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี ถูกจัดตั้งขึ้นโดยนาซีเยอรมนีเพื่อกักขังชาวยิว และบางครั้งอาจรวมชาวยิปซี เข้าไปในพื้นที่แออัดแน่นของนคร รวมแล้ว ตามบันทึกของพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์การล้างชาติโดยนาซีสหรัฐอเมริกา "พวกเยอรมันจัดตั้งเกตโตอย่างน้อย 1,000 แห่งเฉพาะในโปแลนด์และสหภาพโซเวียตส่วนที่เยอรมนียึดครองและผนวกไว้" ดังนั้น ตัวอย่างจึงตั้งใจเพียงเพื่อแสดงให้เห็นขอบเขตและสภาพความเป็นอยู่ของเกตโตทั่วยุโรปตะวันออก แม้คำว่า "เกตโต" จะใช้โดยทั่วไปในงานประพันธ์เกี่ยวกับการล้างชาติโดยนาซี แต่พวกนาซีมักเรียกสถานกักกันเหล่านี้บ่อยครั้งว่า "ย่านชาวยิว" (Jewish Quarter) ไม่นานหลังการรุกรานโปแลนด์ใน..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เมนาเฮม เบกิน

''(1978)'' เมนาเฮม เบกิน เมนาเฮม วูล์โฟวิช เบกิน (Menachem Wolfovich Begin - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2535) หัวหน้าองค์กรลับใต้ดิน "อิรกูน" ของลัทธิไซออนชาวโปแลนด์เชื้อสายยิว ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ นายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอลที่สังกัดพรรคลิคุด (พ.ศ. 2520-2526).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเมนาเฮม เบกิน · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปตะวันออก

วลายุโรปตะวันออก (Eastern European Time - EET) เป็นชื่อเขตเวลา UTC+2 อันหนึ่ง ใช้ในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ประเทศส่วนใหญ่จะใช้เวลาฤดูร้อนยุโรปตะวันออก เป็นเวลาออมแสงด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเวลายุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก

วลาออมแสงยุโรปตะวันออก (Eastern European Summer Time - EEST) เป็นชื่อเขตเวลาออมแสงของเขตเวลา UTC+3 เป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนหน้าเวลาสากลเชิงพิกัด เป็นเวลาที่กำหนดใช้ระหว่างช่วงฤดูร้อนในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ในระหว่างฤดูหนาวประเทศเหล่านี้จะกลับไปใช้เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย

ประเทศลิทัวเนีย ใช้สกุลเงินลิตัส (Litas) เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2536 แทนเงินสกุลรูเบิล อัตราแลกเปลี่ยน 1 Euro.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์

้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ (Prinsessan Lilian, Hertiginna av Halland; ประสูติ: 30 สิงหาคม ค.ศ. 1915 — สิ้นพระชนม์: 10 มีนาคม ค.ศ. 2013) มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ลิลเลียน เมย์ เดวีส์ (Lillian May Davies) เป็นพระชายาในเจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ พระองค์เป็นพระปิตุลานี (อาสะใภ้) ในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และเป็นพระมาตุลานี (น้าสะใภ้) ของสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงลิเลียนถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์สวีเดนที่มีพระชันษายืนที่สุดในรัชกาล พระองค์สิ้นพระชนม์ลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวน

ตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวน (ซื่อชวนต้าฉงเมาชีซีตี้) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลเสฉวน ประเทศจีน เป็นสถานที่เพาะพันธุ์และบ้านของแพนด้ายักษ์ (หมีแพนด้า) กว่าร้อยละ 30 ของแพนด้ายักษ์ทั่วโลก สัตว์ใกล้ศูนย์พันธุ์หลากหลายสายพันธุ์อื่น ๆ เช่น เสือดาวหิมะ เสือลายเมฆ และแพนด้าแดงอีกด้วย นอกจากนั้นแล้วยังเป็นสถานที่ที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพรรณนานาชนิด ประมาณ 5,000 ถึง 6,000 สปีชีส์ และคาดว่ามีความใกล้เคียงกับป่ายุคเทอร์เชียรี เขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์มีพื้นที่ทั้งหมด 9,245 ตารางกิโลเมตร กินอาณาบริเวณ 7 เขตสงวนธรรมชาติ (自然保护区; Nature Reserve) และ 9 อุทยานทัศนียภาพ (景名胜区; Scenic Parks).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวน · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย

รือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย (Rzeczpospolita Obojga Narodów; Polish-Lithuanian Commonwealth) มีชื่อเป็นทางการว่า “Rzeczpospolita Korony Polskiej i Wielkiego Księstwa Litewskiego” หรือที่รู้จักกันในนาม “สาธารณรัฐโปแลนด์ที่หนึ่ง” (First Polish Republic) หรือ “สาธารณรัฐแห่งสองชาติ” (Republic of the Two Nations) (Pierwsza Rzeczpospolita หรือ Rzeczpospolita Obojga Narodów; Abiejų tautų respublika) เป็นเครือจักรภพที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุด, accessed on 19 March 2006: At its apogee, the Polish-Lithuanian Commonwealth comprised some 400000 sqare mile and a multi-ethnic population of 11 million. For population comparisons, see also those maps:,. แห่งหนี่งในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โครงสร้างทางการเมืองเป็นกึ่งสหพันธรัฐ กึ่งราชาธิปไตย เครือจักรภพก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เคานัส

นัส (Kaunas) เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศลิทัวเนีย และเป็นเมืองหลวงของเทศมณฑลเคานัส เคานัสเคยเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของประเทศลิทัวเนีย ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตั้งอยู่ตรงที่บรรจบกันของแม่น้ำเนริส (Neris River) และแม่น้ำเนมาน (Neman River) ปราสาทเคานั.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและเคานัส · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+03:00

UTC+03:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 3 ชั่วโมง ใช้ใน .

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและUTC+03:00 · ดูเพิ่มเติม »

X ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน)

X ทัวร์ (x Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตรอบโลกที่ 2 ของศิลปินนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ โดย เอ็ด ชีแรน จากอัลบั้มที่ 2 ของเขา × โดยเริ่มต้นที่โอซะกะ,ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและX ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน) · ดูเพิ่มเติม »

.lt

.lt เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศลิทัวเนีย เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ.lt · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+10 m²

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 20,494 ตารางกิโลเมตร ประเทศปานามา มีพื้นที่ 78,200 ตารางกิโลเมตร ประเทศโปรตุเกส มีพื้นที่ 92,391 ตารางกิโลเมตร 1 E+10 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000 ถึง 100,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ1 E+10 m² · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 มีนาคม

วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ11 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ25 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิทัวเนียและ28 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Lithuaniaลิธัวเนียลิธูเอเนียลิทัวเนียสาธารณรัฐลิทัวเนียประเทศลิธัวเนียประเทศลิธูเอเนีย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »