เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประเทศลัตเวีย

ดัชนี ประเทศลัตเวีย

ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 233 ความสัมพันธ์: บอร์นดิสเวย์บอลบัวอียิปต์ชาวนอร์สบาสเกตบอลชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศฟลอร์บอลชิงแชมป์โลกฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนียฟุตบอลทีมชาติซานมารีโนฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียฟุตซอลทีมชาติเอสโตเนียพ.ศ. 2461พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2557พ.ศ. 2559พรมแดนของประเทศรัสเซียพฤศจิกายนกระรอกบินไซบีเรียกวางมูสกองทัพลัตเวียการบุกครองโปแลนด์การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียตการยึดครองรัฐบอลติกการลงโทษทางกายการล่มสลายของสหภาพโซเวียตการล่มของดัลนีวอสตอกการทรยศโดยชาติตะวันตกการขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซียการปฏิวัติ ค.ศ. 1989การประกวดเพลงยูโรวิชันการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553การ์ตูนเน็ตเวิร์คการไม่มีศาสนากุสตาฟ โฮลส์กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาใน พ.ศ. 2548กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษายิดดิชภาษาลัตเวียภาษาลิทัวเนียภูมิศาสตร์ยุโรปมหาวิทยาลัยลัตเวียมหาวิทยาลัยฮาเกินมหาวิทยาลัยตูรีบามักซิม ยาคอบเซนมาร์ก เฮนรีมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013... ขยายดัชนี (183 มากกว่า) »

บอร์นดิสเวย์บอล

อะบอร์นดิสเวย์บอล (อังกฤษ: The Born This Way Ball) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตที่ 3 ของศิลปินนักร้องอเมริกันเลดี้ กาก้า โดยในการสนับสนุนของอัลบั้มที่ 2 บอร์นดิสเวย์ ที่ประกอบด้วยทัวร์ 110 รายการในเอเชีย โอเซียเนียและต่อด้วยในยุโรปในเดือนสิงหาคมปี 2555 ตามด้วยในละตินอเมริกาในช่วงปลายปี ทัวร์เริ่มต้นที่อเมริกาเหนือ ในเดือนมกราคม 2556 และดำเนินการต่อจนสิ้นสุดในเดือนมีนาคม ซึ่งหนึ่งในทัวร์รอบโลกของเธอ ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในทัวร์ โดยจัดการแสดงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและบอร์นดิสเวย์บอล

บัวอียิปต์

ัวอียิปต์ เป็นพืชในวงศ์ Nymphaeaceae พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาตอนกลางและเหนือ เป็นพืชน้ำลำต้นอยู่ในโคลน ใบลอยบนผิวน้ำ ใบเกือบกลมขอบเรียบ มีจุดสีม่วงด้านล่างของใบ ดอกสีน้ำเงินอ่อน ตรงกลางสีขาว บานเฉพาะตอนเช้า มีสารออกฤทธิ์ที่ทำให้มีอาการคล้ายถูกสะกดจิต ประสาทหลอน.

ดู ประเทศลัตเวียและบัวอียิปต์

ชาวนอร์ส

แผนที่แสดงบริเวณการตั้งถิ่นฐานของไวกิงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 11 รวมทั้งบริเวณที่ปล้นสะดมและค้าขายที่ส่วนใหญ่แทบจะแยกกันไม่ได้ ชาวนอร์ส (Norsemen) เป็นคำที่เคยใช้ในการเรียกกลุ่มชนทั้งกลุ่มที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ (North Germanic language) เป็นภาษาแม่ (“นอร์ส” โดยเฉพาะหมายถึงภาษานอร์สโบราณที่เป็นสาขาของภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน โดยเฉพาะภาษานอร์เวย์ ภาษาไอซ์แลนด์ ภาษาสวีเดน และภาษาเดนมาร์กแบบโบราณ) “นอร์สเม็น” หมายความว่า “ผู้มาจากทางเหนือ” และเป็นคำที่ใช้สำหรับชนนอร์ดิกที่เดิมมาจากทางตอนไต้และตอนกลางของสแกนดิเนเวีย ชาวนอร์สได้ตั้งถิ่นฐานและอาณาบริเวณการปกครองในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งบางส่วนของหมู่เกาะแฟโร อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ รัสเซีย อิตาลี แคนาดา กรีนแลนด์ ฝรั่งเศส ยูเครน เอสโตเนีย ลัตเวีย และเยอรมนี “นอร์ส” และ “นอร์สเม็น” หมายถึงประชากรสแกนดิเนเวียของปลายคริสต์ศตวรรษ 8 ถึง 11 ส่วนคำว่า “นอร์มัน” ต่อมาหมายถึงผู้ที่ดั้งเดิมคือผู้มาจากทางเหนือที่ตั้งถิ่นฐานในนอร์ม็องดีในฝรั่งเศส ที่รับวัฒนธรรมและภาษาฝรั่งเศส คำว่า “Norse-Gaels” (เกลลิคต่างประเทศ) เป็นคำที่ใช้เรียก “นอร์ส” ที่มาจากไอร์แลนด์และสกอตแลนด์ผู้ยอมรับวัฒนธรรมเกลส์ ไวกิงเป็นคำทั่วไปที่ใช้สำหรับ “นอร์สเม็น” ในต้นสมัยกลางโดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงการปล้นสดมสำนักสงฆ์ต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลน.

ดู ประเทศลัตเวียและชาวนอร์ส

บาสเกตบอล

การแข่งขันบาสเกตบอลหญิงชิงถ้วยยุโรปของ FIBA ปี พ.ศ. 2548 ไมเคิล จอร์แดน ขณะกระโดดแสลมดังก์ บาสเกตบอล (อังกฤษ: basketball) เป็นกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งแบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีม แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่น 5 คนพยายามทำคะแนนโดยการโยนลูกเข้าห่วงหรือตะกร้า (basket) ภายใต้กติกาการเล่นมาตรฐาน ตั้งแต่ที่คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและบาสเกตบอล

ชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Biology Olympiad: IBO) เป็นการแข่งขันชีววิทยาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่เมืองโอโลโมอุตส์ ประเทศเชกโกสโลวาเกีย ในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ

ฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก

ฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก (Floorball World Championships) เป็นการแข่งขันฟลอร์บอลระหว่างประเท.

ดู ประเทศลัตเวียและฟลอร์บอลชิงแชมป์โลก

ฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย

ฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย (Lietuvos nacionalinė futbolo rinktinė) อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลลิทัวเนีย แข่งขันครั้งแรกในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย

ฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน

ฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน (Nazionale di calcio di San Marino) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐซานมารีโน ควบคุมและบริหารงานโดยสหพันธ์ฟุตบอลซ​​านมารีโน (FSGC) โดยเป็นชาติสมาชิกที่มีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับสองของยูฟ่า รองจากทีมชาติยิบรอลตาร์ ทีมชาติซานมารีโนลงแข่งขันอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..1990 ในรายการฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1992 รอบคัดเลือก โดยแพ้ให้กับทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ 0–4 ซึ่งก่อนหน้าการแข่งขันนัดดังกล่าวทีมชาติซานมารีโนเคยลงแข่งขันอย่างไม่เป็นทางการกับทีมชาติแคนาดาชุดโอลิมปิกและแพ้ไป 0–1 หลังจากลงแข่งขันอย่างเป็นทางการ ทีมชาติซานมารีโนก็ได้เข้าร่วมลงแข่งขันในรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอยู่ทุกสมัย แต่ยังไม่เคยประสบกับชัยชนะเลยแม้แต่นัดเดียว โดยชัยชนะเพียงครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ของทีมชาติซานมารีโนเกิดขึ้นเมื่อเดือนเมษายน..2004 ในการแข่งขันฟุตบอลนัดกระชับมิตรกับทีมชาติลิกเตนสไตน์ ซึ่งซานมารีโนเอาชนะไปได้ 1–0 ในเดือนพฤศจิกายน..2014 ทีมชาติซานมารีโน เคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับสุดท้ายของอันดับโลกฟีฟ่าร่วมกับทีมชาติภูฏาน และมักจะถูกวิจารณ์ให้เป็นทีมชาติที่มีผลงานย่ำแย่ที่สุดในวงการกีฬาอยู่เสมอๆ โดยนับตั้งแต่ที่ก่อตั้งทีมชาติมาประสบกับชัยชนะเพียงแค่ครั้งเดียวซึ่งเป็นการแข่งขันนัดกระชับมิตร เสียประตูไปแล้วมากเกินกว่า 600 ลูก และยิงประตูได้เพียง 23 ประตู มีค่าเฉลี่ยในการเสียประตูมากถึงนัดละ 4 ประตู.

ดู ประเทศลัตเวียและฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย (Estonia national football team,Eesti jalgpallikoondis) เป็นตัวแทนของ ประเทศเอสโตเนียในการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติเช่น ฟุตบอลโลก และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของ สมาคมฟุตบอลเอสโตเนีย (Eesti Jalgpalli Liit),โดยสนามเหย้าของฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียคือ อา เลอ ค็อก อารีน่าใน ทาลลินน์, ประเทศเอสโตเนี.

ดู ประเทศลัตเวียและฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย

ฟุตซอลทีมชาติเอสโตเนีย

ฟุตซอลแห่งชาติเอสโตเนีย (Estonia national futsal team) เป็นฟุตซอลทีมชาติของประเทศเอสโตเนียซึ่งถูกก่อตั้งขึ้นมาในปี 2007 และไปเป็นตัวแทนในการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเอสโตเนี.

ดู ประเทศลัตเวียและฟุตซอลทีมชาติเอสโตเนีย

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประเทศลัตเวียและพ.ศ. 2461

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ดู ประเทศลัตเวียและพ.ศ. 2482

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศลัตเวียและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ดู ประเทศลัตเวียและพ.ศ. 2557

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู ประเทศลัตเวียและพ.ศ. 2559

พรมแดนของประเทศรัสเซีย

หลักพรมแดน ของ รัสเซีย ประเทศรัสเซีย มี พรมแดนระหว่างประเทศ ถึง 16 ประเทศ รวมถึงพรมแดนทางน้ำอีกสองประเทศ (สหรัฐ, ญี่ปุ่น) นอกจากนี่ยังติดกับ ประเทศที่ไม่ได้รับการรับรอง อย่าง เซาท์ออสซีเชีย และ อับคาเซีย โดยพรมแดนภาคพื้นดินมีความยาวโดยรวมถึง รัสเซียเป็นประเทศที่มีพรมแดนติดกับทุกประเทศรองจากจีน;รายชื่อประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย;If Abkhazia and South Ossetia are counted as sovereign states:Georgia and the majority of the world does not recognize the independence of Abkhazia and South Ossetia, considering the Russian border with these countries as part of the Russian–Georgian border.

ดู ประเทศลัตเวียและพรมแดนของประเทศรัสเซีย

พฤศจิกายน

กายน เป็นเดือนที่ 11 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤศจิกายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพิจิก และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีธนู แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวตาชั่ง ผ่านกลุ่มดาวแมงป่องระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน โดยประมาณ และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงูในปลายเดือน เดือนพฤศจิกายนในภาษาอังกฤษ November มาจากภาษาละติน novem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 9 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ดู ประเทศลัตเวียและพฤศจิกายน

กระรอกบินไซบีเรีย

กระรอกบินไซบีเรีย (Siberian flying squirrel) คือ กระรอกบินสายพันธุ์เก่าแก่สายพันธุ์หนึ่งของโลก อาศัยอยู่ในแนวทะเลบอลติกทางตะวันตก ไปจนถึงชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออก กระรอกบินไซบีเรียเป็นกระรอกบินสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในยุโรป และถูกพิจารณาให้อยู่ในสถานะที่สิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์ในทวีปยุโรป.

ดู ประเทศลัตเวียและกระรอกบินไซบีเรีย

กวางมูส

กวางมูส (moose) คือกวางขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตหนาวและอบอุ่นซีกโลกเหนือ สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือสายพันธุ์อะแลสกา สามารถพบได้ในบริเวณป่าไทกา ในทวีปอเมริกาเหนือจะเรียกว่า มูส ในยูเรเชียจะเรียกว่า เอลก์ พบมากในบริเวณประเทศแคนาดา, ประเทศลัตเวีย, ประเทศเอสโตเนีย และประเทศรัสเซีย พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่รวมกันเป็นฝูงและมีขนาดใหญ่แถมยังมีเขาที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้มันเคลื่อนที่ได้ค่อยข้างช้าทำให้พวกมันตกเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างหมาป่าและมนุษย์ โดยปกติพวกมันจะเคลือนไหวช้าแต่ถ้าพวกมันโกรธหรือตกใจพวกมันก็สามารถวิ่งได้เร็วเช่นกัน พวกมันจะผสมพันธุ์กันในช่วงฤดูใบไม้ร่วงซึ่งช่วงนั้นมันจะมีการต่อสู้อย่างดุเดือดของตัวผู้เพื่อแย่งตัวเมี.

ดู ประเทศลัตเวียและกวางมูส

กองทัพลัตเวีย

กองทัพลัตเวีย (Nacionālie Bruņotie Spēki) เป็น กองทัพ ของ สาธารณรัฐลัตเวีย มีกำลังพลประจำการประมาณ 12,000 นาย กองทัพลัตเวียมีกองทัพหลักคือ กองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ และ กองกำลังรักษาดินแดน.

ดู ประเทศลัตเวียและกองทัพลัตเวีย

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ดู ประเทศลัตเวียและการบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต เป็นปฏิบัติการทางทหาร ซึ่งเริ่มขึ้นโดยปราศจากการประกาศสงคราม เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต

การยึดครองรัฐบอลติก

การยึดครองรัฐบอลติก (occupation of the Baltic states) เป็นการยึดครองด้วยทหารต่อรัฐบอลติกทั้งสามคือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย โดยสหภาพโซเวียตตามสนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพในวันที่ 14 กรกฎาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและการยึดครองรัฐบอลติก

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและการลงโทษทางกาย

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)Declaration № 142-Н of the Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union, formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law.

ดู ประเทศลัตเวียและการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

การล่มของดัลนีวอสตอก

รือลากอวนสัญชาติรัสเซีย ดัลนีวอสตอก (Дальний Восток) ล่มลงในวันที่ 1 เมษายน..

ดู ประเทศลัตเวียและการล่มของดัลนีวอสตอก

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและการทรยศโดยชาติตะวันตก

การขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย

รถไฟสำคัญในรัสเซีย การขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย เคยถูกเรียกว่าเป็น "ความเศรษฐกิจอันอัศจรรย์ในรัสเซีย" ระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-21 ถ้านับตามระยะทางแล้ว รัสเซียถือว่ามีทางรถไฟยาวอันดับที่ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา ถ้านับในด้านการขนส่งสินค้า จะมีระยะทางเป็นอันดับที่ 3 รองจากสหรัฐอเมริกาและจีน.

ดู ประเทศลัตเวียและการขนส่งระบบรางในประเทศรัสเซีย

การปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การปฏิวัต..

ดู ประเทศลัตเวียและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและการประกวดเพลงยูโรวิชัน

การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

UTC ของวันที่ 19 เมษายน การพยากรณ์ล่าสุดมีการอัปเดตที่ http://www.metoffice.gov.uk/aviation/vaac/vaacuk_vag.html London Volcanic Ash Advisory Centre site (Met Office, สหราชอาณาจักร) ประเทศซึ่งได้รับผลกระทบ (18 เมษายน พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและการ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ดู ประเทศลัตเวียและการไม่มีศาสนา

กุสตาฟ โฮลส์

องโฮลส์ ถ่ายโดย Herbert Lambert กุสตาฟ โฮลส์ (21 กันยายน ค.ศ. 187425 พฤษภาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษ โดยโอสต์โด่งดังจากเพลงตับ เดอะ พลาเนตส์ โอสต์เรียนใน Royal College of Music ในกรุงลอนดอน โดยเขาได้แรงจูงใจจาก Grieg, Wagner Richard Strauss และ Ralph Vaughan Williams ชื่อเต็มของโฮลส์คือ Gustavus Theodor von Holst แต่เขาได้ตัด "von" จากชื่อของเขาเพื่อตอบสนองการต่อต้านเยอรมันในอังกฤษระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และทำให้เป็นทางการในพินัยกรรมเมื่อปี ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและกุสตาฟ โฮลส์

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาด (Beach Volleyball) มีการแข่งขันครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 ซึ่งจัดอยู่ในกีฬาสาธิต จนกระทั่งในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ที่เมืองแอตแลนตา สหรัฐอเมริกา จึงได้รับการบรรจุเป็นกีฬาที่ใช้แข่งขันในโอลิมปิดอย่างเป็นทางการมีการแข่งขัน 2 ประเภทคือ ทีมชายและทีมหญิง.

ดู ประเทศลัตเวียและกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาใน พ.ศ. 2548

กีฬาใน พ.ศ. 2548.

ดู ประเทศลัตเวียและกีฬาใน พ.ศ. 2548

กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ

นื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน) กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ (Molotov–Ribbentrop Pact) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามในกรุงมอสโก เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7 ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง กติกาสัญญานาซี–โซเวียต (Nazi–Soviet Pact), กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน, กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต หรือบางครั้งก็เรียกว่า พันธมิตรนาซี–โซเวียตBenjamin B.

ดู ประเทศลัตเวียและกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ดู ประเทศลัตเวียและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ดู ประเทศลัตเวียและภาษายิดดิช

ภาษาลัตเวีย

ภาษาลัตเวีย เป็นภาษาราชการของประเทศลัตเวีย อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศลัตเวีย.

ดู ประเทศลัตเวียและภาษาลัตเวีย

ภาษาลิทัวเนีย

ษาลิทัวเนีย (lietuvių kalba) เป็นภาษาทางการของประเทศลิทัวเนีย และเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหภาพยุโรป.

ดู ประเทศลัตเวียและภาษาลิทัวเนีย

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ดู ประเทศลัตเวียและภูมิศาสตร์ยุโรป

มหาวิทยาลัยลัตเวีย

มหาวิทยลัยลัตเวีย เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐบาลที่มีชื่อเสียงเป็นลำดับต้นๆของสาธารณรัฐลัตเวีย และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งในแถบคาบสมุทธบอลติก ตั้งอยู่ที่เมืองริกาซึ้งเป็นเมืองหลวงของประเทศ มีนักศึกษาประมาณ 20000 คน โดยมีนักศึกษาปริญญาเอกถึง 853 คน (ปี 2011).

ดู ประเทศลัตเวียและมหาวิทยาลัยลัตเวีย

มหาวิทยาลัยฮาเกิน

อาคารเก่า IZ/TGZ อาคาร AVZ ห้องสมุด มหาวิทยาลัยฮาเกิน (University of Hagen; FernUniversität in Hagen) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในประเทศเยอรมนีที่สนับสนุนระบบการศึกษาทางไกล ตั้งอยู่ที่เมือง ฮาเกิน (Hagen) ประเทศเยอรมนี มหาวิทยาลัยฮาเกิน ก่อตั้งเมือปี..

ดู ประเทศลัตเวียและมหาวิทยาลัยฮาเกิน

มหาวิทยาลัยตูรีบา

มหาวิทยาลัยตูรีบา มีชื่อเดิมว่า โรงเรียนบริหารธุรกิจตูรีบา เป็นสถาบันระดับอุดมศึกษาเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศลัตเวีย มหาวิทยาลัยได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและมหาวิทยาลัยตูรีบา

มักซิม ยาคอบเซน

มักซิม ยาคอบเซน (Maxim Jacobsen; 26 มิถุนายน ค.ศ. 1887 ในเยลกาวา ประเทศลัตเวีย — ค.ศ. 1973) เป็นทั้งนักไวโอลิน และครูไวโอลินชาวยิว ซึ่งได้รับการจัดเป็นมือหนึ่งของโลกในสมัยนั้น และมีชื่อเสียงอย่างสูงในประเทศอิตาลี ทั้งนี้ เขายังเป็นผู้สอนวิชาดนตรีให้แก่ ชูชาติ พิทักษากร.

ดู ประเทศลัตเวียและมักซิม ยาคอบเซน

มาร์ก เฮนรี

มาร์ก เจรอลด์ เฮนรี (Mark Jerrold Henry) เกิด 12 มิถุนายน..

ดู ประเทศลัตเวียและมาร์ก เฮนรี

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014, ครั้งที่ 43 จัดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสเวิลด์ 2017

มิสเวิลด์ 2017 ครั้งที่ 67 ของการประกวดมิสเวิลด์ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสเวิลด์ 2017

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Mister International 2016) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 11 จัดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพัน..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสเตอร์โกลบอล 2015

มิสเตอร์โกลบอล 2015 (Mister Global 2015) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์โกลบอลครั้งที่ 2 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 มีนาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสเตอร์โกลบอล 2015

มิสเตอร์โกลบอล 2017

มิสเตอร์โกลบอล 2017 (Mister Global 2017) เป็นการประกวดมิสเตอร์โกลบอลครั้งที่ 4 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสเตอร์โกลบอล 2017

มิสเตอร์เวิลด์ 2016

มิสเตอร์เวิลด์ 2016 (Mister World 2016) เป็นครั้งที่ 9 ของการประกวดมิสเตอร์เวิลด์ ซึ่งจัดขึ้นที่ลอรัลฮอลล์ของศูนย์การประชุมเซาท์พอร์ต ใน เซาท์พอร์ต เดวอน สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและมิสเตอร์เวิลด์ 2016

มีราเลม เพียนิช

มีราเลม เพียนิช (เกิดวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1990) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวบอสเนีย ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลยูเวนตุส และทีมชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ในตำแหน่งกองกลาง หลังจากที่ได้ลงเล่นในลีกเอิงให้กับสโมสรเม็ตซ์และลียง เขาได้ย้ายมาเล่นให้กับโรมาในเซเรียอา ก่อนที่จะย้ายไปยูเวนตุสในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและมีราเลม เพียนิช

มีลิตซียา

ตราติดหมวก "มีลิตซียา" โซเวียต (ชั้นนายพล) มีลิตซียา (mʲɪˈlʲitsɨjə, міліцыя, miilits, միլիցիա, милиция, milicija, milicja, miliția, Serbo-Croatian: милиција / milicija, milica, милитсия, міліція, militsiya or милиция) เป็นคำเรียกของตำรวจมักใช้กับกลุ่มของอดีตสหภาพโซเวียตและกลุ่มตะวันออก ในปัจจุบันมีลิตซียาของประเทศต่าง ๆ ได้เปลี่ยนรูปแบบเป็นรูปแบบตำรวจตะวันตกอย่างบัลแกเรีย โปแลนด์ โรมาเนีย เอสโตเนีย ลิทัวเนีย มอลโดวา ลัตเวีย มองโกเลีย มาซิโดเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ยูโกสลาเวีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา คาซัคสถาน อาร์มีเนีย เติร์กเมนิสถาน รัสเซีย และยูเครน แต่ในบางประเทศได้การเรียกตำรวจว่ามีลิตซียาเช่น เบลารุส ทาจิกิสถาน อุซเบกิสถาน คีร์กีซสถาน และประเทศที่ไม่ได้รับการรับรองอย่างอับคาเซีย เซาท์ออสซีเซีย และทรานส์นิสเตรี.

ดู ประเทศลัตเวียและมีลิตซียา

ยัวมาลา

ชายหาดในเมืองยัวมาลา ยัวมาลา (ลัตเวีย: Jūrmala) เป็นเมืองในประเทศลัตเวีย ตั้งอยู่ใกล้กับกรุงรีกา เมืองหลวงของประเทศ คำว่า "ยัวมาลา" ในภาษาลัตเวียมีความหมายว่า "ชายหาด" เมืองยัวมาลามีพื้นที่ 100 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 55,400 คน ความหนาแน่นของประชากร 554 คนต่อตารางกิโลเมตร หมวดหมู่:ประเทศลัตเวีย.

ดู ประเทศลัตเวียและยัวมาลา

ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นแดนทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว ค.ศ. 1942 การยึดครองยุโรปของเยอรมนี หมายถึง ดินแดนส่วนที่อยู่ภายใต้การยึดครองโดยกำลังทหารของนาซีเยอรมนี ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ

ตราสัญลักษณ์ประจำทัวร์นาเมนต์ ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ (UEFA Intertoto Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่างๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรปหรือยูฟ่า เริ่มก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและยูโร

ยูโรโซน

ประเทศนอกยูโรโซนที่ใช้เงินสกุลยูโร ยูโรโซน หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า พื้นที่ยูโร เป็นสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 รัฐ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและยูโรโซน

รัฐบอลติก

รัฐบอลติก (Baltic states) เป็นชื่อรวมเรียกสามประเทศทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลบอลติก คือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย ในระหว่างปี 1918-1920 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐระหว่าง..

ดู ประเทศลัตเวียและรัฐบอลติก

รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่

ต้นฉบับรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ที่ลงนามโดยคณะผู้แทนฝ่ายต่าง ๆ รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ หรือ รัฐบัญญัติ 11 มีนาคม (Aktas dėl Lietuvos nepriklausomos valstybės atstatymo; Act of the Re-Establishment of the State of Lithuania; Act of March 11) เป็นรัฐบัญญัติของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย ร่างขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ดู ประเทศลัตเวียและรัฐหุ่นเชิด

รัฐนักรบครูเสด

ตะวันออกใกล้ในปี ค.ศ. 1135 โดยมีอาณาจักรครูเสดเป็นสีเขียว อานาโตเลียและอาณาจักรครูเสด ราว ค.ศ. 1140 รัฐนักรบครูเสด (Crusader states) คือกลุ่มรัฐเจ้าขุนมูลนายที่นักรบครูเสดชาวยุโรปตะวันตกตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ในอานาโตเลีย กรีซ และแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (อิสราเอลโบราณและปัจจุบัน และในบริเวณปาเลสไตน์) แต่ในที่สุดอำนาจของอิสลามในตะวันออกกลางก็พิชิตรัฐเหล่านี้ได้หมด นอกจากนั้นรัฐนักรบครูเสดก็ยังหมายถึงดินแดนอื่นที่คริสตจักรสมัยกลางได้มา (ส่วนใหญ่เป็นรัฐเล็กและเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น) เพื่อป้องกันชาวมุสลิมและดินแดนของผู้นอกศาสนาอื่น ๆ ด้ว.

ดู ประเทศลัตเวียและรัฐนักรบครูเสด

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า

รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า เป็นรหัสประเทศสามตัวอักษรกำหนดโดยฟีฟ่า สำหรับประเทศที่เป็นและไม่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า โดยรหัสของฟีฟ่านี้จะมีใช้สำหรับการแข่งขันของฟีฟ่า รวมถึงสหพันธ์ย่อยในแต่ละทวีป และบางครั้งมีการใช้งานในการแข่งขันย่อยของแต่ละประเทศ และรหัสของประเทศจะแตกต่างกับรหัสประเทศของที่ใช้ในการแข่งขันโอลิมปิกและรหัสประเทศตามมาตรฐานไอเอสโอ รหัสของฟีฟ่าจะมีทั้งหมด 208 ประเทศ ในขณะที่รหัสของโอลิมปิกจะมี 204 ประเทศ เนื่องจาก ทีมชาติอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และ ไอร์แลนด์เหนือ แข่งขันฟุตบอลในนามของทีมชาติสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อสนธิสัญญา

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

รายชื่อธงในประเทศลัตเวีย

ื้องล่างต่อไปนี้แสดงภาพธงที่มีการใช้ใช้อยู่ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อธงในประเทศลัตเวีย

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อปีในประเทศลัตเวีย

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อปีในประเทศลัตเวีย

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก

รปตะวันออก.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ

รปเหนือ.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฟินแลนด์ทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมอลโดวาทั้งสิ้น 1 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศยูเครนทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศรัสเซียทั้งสิ้น 28 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 17 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 11 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลัตเวียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลิทัวเนียทั้งสิ้น 4 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสวีเดนทั้งสิ้น 15 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 13 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 1 แหล่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 1 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศนอร์เวย์ทั้งสิ้น 8 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเบลารุสทั้งสิ้น 4 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเอสโตเนียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ดู ประเทศลัตเวียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ดู ประเทศลัตเวียและรายการภาพธงชาติ

รายการภาพธงสองสี

รายการภาพธงสองสี เรียงตามชื่อสามัญ (หากธงใดมีตราแผ่นดินที่มีหลายสีติดอยู่ จะไม่นับ).

ดู ประเทศลัตเวียและรายการภาพธงสองสี

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ดู ประเทศลัตเวียและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

รางรัสเซีย

รถไฟสายมอสโก-เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ใช้รางรัสเซีย รางรัสเซีย มีขนาดความกว้างของราง ระหว่าง 1,520 มิลลิเมตร -, retrieved 2008-07-20.

ดู ประเทศลัตเวียและรางรัสเซีย

รีกา

ทัศนียภาพกรุงรีกาจากโปสต์การ์ดในปี พ.ศ. 2443 รีกา (Rīga) เป็นเมืองหลวงของประเทศลัตเวีย ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลบอลติก บนปากแม่น้ำเดากาวา (Daugava) มีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ละติจูด 56°58′เหนือ กับลองจิจูด 24°8′ตะวันออก กรุงรีกาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในกลุ่มรัฐบอลติก และเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม การศึกษา การเมืองการปกครอง ธุรกรรม พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรมในแถบนี้ นอกจากนี้ ศูนย์ประวัติศาสตร์รีกา (Historic Centre of Riga) ยังได้รับการประกาศจากองค์การยูเนสโกให้เป็นแหล่งมรดกโลกด้ว.

ดู ประเทศลัตเวียและรีกา

ฤดูหนาวจากภูเขาไฟ

ูหนาวจากภูเขาไฟ คือการที่โลกมีอุณหภูมิลดลงจากการระเบิดของภูเขาไฟขนาดใหญ่ที่ทำให้เกิดเถ้าภูเขาไฟ, กรดซัลฟิวริกและน้ำจำนวนมากในชั้นบรรยากาศจนทำให้บดบังแสงจากดวงอาทิตย์และมีการเพิ่มอัลบีโด (ค่าการสะท้องแสง) ของโลกมากขึ้น ความหนาวเย็นของปรากฏการณ์นี้จะกินเวลานานเท่าไหร่ก็ขึ้นอยู่กับจำนวนก๊าซกำมะถันที่เปลี่ยนรูปเป็นอนุภาคชื่อว่าละอองลอยของกรดซัลฟิวริกซึ่งจะรวมตัวกันที่ชั้นสตราโทสเฟียร์Robock, Alan (2000).

ดู ประเทศลัตเวียและฤดูหนาวจากภูเขาไฟ

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

นี่คือ ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 1939 ถึง 31 ธันวาคม 1939.

ดู ประเทศลัตเวียและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.

ดู ประเทศลัตเวียและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

วอลเลย์บอลชายทีมชาติลัตเวีย

วอลเลย์บอลชายทีมชาติลัตเวีย (Latvijas volejbola izlase) เป็นตัวแทนของประเทศลัตเวีย ในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ รวมถึงนัดกระชับมิตร.

ดู ประเทศลัตเวียและวอลเลย์บอลชายทีมชาติลัตเวีย

วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป (Boys' Youth European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับทีมชาติอายุต่ำกว่า 19 ปี ปัจจุบันจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี และอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป และสหพันธ์วอลเลย์บอลจากทวีปยุโรป.

ดู ประเทศลัตเวียและวอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก CEV หาสมาชิกทั้ง9ประเทศ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน ที่อิตาลี ทั้งสองทีมที่ดีที่สุดการจัดอันดับจากปี 2013 วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรปบวกเจ็ดทีมจากการแข่งขันรอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก.

ดู ประเทศลัตเวียและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

วัลดิส โดมโบรฟสกิส

วัลดิส โดมโบรฟสกิส (Valdis Dombrovskis; 8 สิงหาคม พ.ศ. 2514 —) เป็นนักการเมืองและอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศลัตเวีย ก่อนหน้านี้โดมโบรฟสกิสเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง และสมาชิกรัฐสภายุโรปโดยเป็นตัวแทนของพรรคที่เขาสังกัดอยู่ หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีลัตเวีย.

ดู ประเทศลัตเวียและวัลดิส โดมโบรฟสกิส

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ดู ประเทศลัตเวียและวันชาติ

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและวันครู

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและวันแม่

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ดู ประเทศลัตเวียและวิทยาศาสตรบัณฑิต

วิ่งปล้นฟัด

วิ่งปล้นฟัด (十二生肖; Chinese Zodiac; ชื่อย่อ CZ12) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ใหญ่สั่งมาเกิด 3 (Armour of God III: Chinese Zodiac) เป็นภาพยนตร์แอ็คชั่นฮ่องกงที่ เขียนบท กำกับ และนำแสดงโดยเฉินหลง ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคต่อของภาพยนตร..

ดู ประเทศลัตเวียและวิ่งปล้นฟัด

วีตัส

ลายเซ็น วีทาลี วลาดาโซวิช กราชอฟ (Vitaly Vladasovich Grachyov; เกิดวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1979) หรือที่รู้จักในชื่อ วีตัส (Vitas) เป็นนักร้องชาวรัสเซียที่เกิดในลัตเวีย ผู้มีจุดเด่นในการใช้เสียงสูงระดับเฮดวอยซ์ (Head Voice) โดยเขาเป็นนักร้องชายที่มีความกว้างของเสียงมากถึง 5 อ็อกเทฟ งานเพลงของวีตัส มักจะทำออกมาในแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีส่วนผสมของดนตรีคลาสสิค แจ๊ส เทคโน แดนซ์ รวมถึงเพลงพื้นเมือง โดยบทเพลงของวีตัสที่ถือว่าประสบความสำเร็จและทำให้เขาเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกคือเพลง "โอเปราทู" (Opera 2) และเพลง "เดอะเซเวนต์เอลลีเมนต์" (The 7th Element) ที่อยู่ในอัลบั้ม Philosophy of Miracle ซึ่งผลงานเพลงของเขาเป็นที่รู้จักในฐานะ 'เพลงแห่งอนาคต'.

ดู ประเทศลัตเวียและวีตัส

สมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก

มาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก สมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก คือ World Society for the Protection of Animals หรือ WSPA เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนนานาชาติ มีสมาชิกระดับท้องถิ่นเข้าร่วมกว่า 800 องค์กรจากกว่า 150 ประเทศ และในประเทศไทย ได้รับพระกรุณาคุณจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นประธานในพิธีเปิดสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก สำนักงานใหญ่ ประจำภูมิภาคเอเชีย (WSPA Asia) ในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ที่ชั้น 19 ตึกOlympia Thai Tower ทั้งนี้เพื่อจะได้เข้าไปช่วยเหลือและยกระดับสัตว์ในภูมิภาคเชียได้ดียิ่งขึ้น ประเทศไทยสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลกมีสมาชิกเข้าร่วม 11 องค์กรด้วยกัน WSPA ได้จัดทำโครงการรณรงค์ลงนามสนับสนุน “ปฏิญญาสากลว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (Universal Declaration on Animal Welfare หรือ UDAW)” ด้วยการนำรายชื่อของประชาคมโลกจำนวน 10 ล้านรายชื่อ ยื่นต่อองค์การสหประชาชาติ (UN) ภายในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ดู ประเทศลัตเวียและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ดู ประเทศลัตเวียและสหภาพยุโรป

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ดู ประเทศลัตเวียและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย (Latvian Soviet Socialist Republic; Latvijas Padomju Sociālistiskā Republika; Латви́йская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียถูกจัดตั้งเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ดู ประเทศลัตเวียและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ดู ประเทศลัตเวียและสงครามกลางเมืองรัสเซีย

สงครามครูเสดลิโวเนีย

งเดนมาร์กลอยลงมาจากท้องฟ้าระหว่างยุทธการลินดานิสส์ ค.ศ. 1219 สงครามครูเสดลิโวเนีย (Livonian Crusade) หมายถึงสงครามที่เยอรมนีและเดนมาร์กได้รับชัยชนะและยึดครองลิโวเนียยุคกลางซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ครอบคลุมดินแดนที่ในปัจจุบันคือลัตเวีย และ เอสโตเนียระหว่างสงครามครูเสดตอนเหนือ ดินแดนริมฝั่งทะเลบอลติกทางตอนเหนือของยุโรปเป็นดินแดนสุดท้ายที่ยังไม่ยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพัน..

ดู ประเทศลัตเวียและสงครามครูเสดลิโวเนีย

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู ประเทศลัตเวียและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน

งครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน หรือ มหาสงคราม (Wielka Wojna, Polish–Lithuanian–Teutonic War หรือ Great War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและสงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทัน

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและสนธิสัญญาแวร์ซาย

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

สแตติน

pmid.

ดู ประเทศลัตเวียและสแตติน

สโมสรฟุตบอลสปาร์ตักส์ยัวมาลา

มสรฟุตบอลสปาร์ตักส์ยัวมาลา เป็นสโมสรฟุตบอลตั้งอยู่ที่เมืองยัวมาลาในประเทศลัตเวีย โดยในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและสโมสรฟุตบอลสปาร์ตักส์ยัวมาลา

หนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้

ตัวอย่างหน้าหนังสือเดินทางแบบอ่านด้วยเครื่องได้ หนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้ (Machine-readable passport) เป็นหนังสือเดินทางที่มีการพิมพ์แถบข้อมูลสรุปเกี่ยวกับตัวผู้ถือ เลขที่เอกสาร วันที่หมดอายุ สัญชาติ วันเกิด และรายละเอียดอื่นตามที่รัฐผู้ออกจะกำหนดไว้ มาตรฐานของหนังสือเดินทาง วิธีการพิมพ์ คุณสมบัติความปลอดภัยภาคบังคับ ตลอดจนข้อบังคับอื่นระบุไว้ในเอกสารหมายเลข 9303 ขององค์กรการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตอนที่ 3 และ 4 รวมถึงมาตรฐาน ISO/IEC 7501-1:2008 ทั้งนี้ เพื่อให้การนำเข้าข้่อมูลเกี่ยวกับผู้เดินทางทำได้สะดวกรวดเร็วขึ้น ตรวจสอบบุคคลห้ามเข้าเมืองและบุคคลผู้มีหมายจับหรือหมายเรียกได้สะดวก การอ่านแถบข้อมูลกระทำได้ด้วยตาเปล่าหรือจะใช้เครื่องอ่านได้ทั้งสองวิธี ในประเทศไทย หนังสือเดินทางชนิดนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและหนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

หน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต

หน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นองค์กรตำรวจชำนัญพิเศษในทางต่อต้านการทุจริต บางองค์กรจัดตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญ บางองค์กรโดยกฎหมายระดับรองกว่า ในการนี้ อาจหมายถึง (แบ่งตามทวีป และเรียงตามลำดับอักษรของชื่อดินแดน); แอฟริก.

ดู ประเทศลัตเวียและหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต

อัสตานา

อัสตานา (Астана) เดิมชื่อ อัคโมลา (Ақмола) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศคาซัคสถาน มีประชากร 577,300 คน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ จัดเป็นเมืองเขตการปกครองพิเศษ มีพื้นที่อยู่ในจังหวัดอัคโมลา ตั้งอยู่ริมแม่น้ำอีชิม มีสูงเหนือน้ำทะเล 347 เมตร (1,138 ฟุต) มีสถานที่ที่เป็นจุดสังเกต (แลนด์มาร์ก) คือ หอคอยไบเตเรค (Bayterek).

ดู ประเทศลัตเวียและอัสตานา

อาดาม ซอล็อย

อาดาม คซาบา ซอล็อย (เกิดวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักฟุตบอลชาวฮังการี ปัจจุบันลงเล่นให้กับฮ็อฟเฟินไฮม์ในตำแหน่งกองหน้า เขาใช้เวลาส่วนใหญ่เล่นที่ประเทศเยอรมนี โดยเริ่มต้นในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและอาดาม ซอล็อย

อำพัน

อำพันตกแต่งเป็นเหรียญประดับรูปไข่ขนาด 2x1.3 นิ้ว อำพัน เป็นซากดึกดำบรรพ์ของยางไม้ เป็นสิ่งมีค่าด้วยสีสันและความสวยงามของมัน อำพันที่มีคุณภาพดีเยี่ยมจะถูกนำมาผลิตเป็นเครื่องประดับและอัญมณี แม้ว่าอำพันจะไม่จัดเป็นแร่แต่ก็ถูกจัดให้เป็นพลอย โดยทั่วไปแล้วจะเข้าใจผิดกันว่าอำพันเกิดจากน้ำเลี้ยงของต้นไม้ แต่แท้ที่จริงแล้ว น้ำเลี้ยงเป็นของเหลวที่ไหลเวียนอยู่ในระบบท่อลำเลียงของพืช ขณะที่ยางไม้เป็นอินทรียวัตถุเนื้ออสัณฐานกึ่งแข็งที่ถูกขับออกมาผ่านเซลล์เอพิทีเลียมของพืช เพราะว่าอำพันเคยเป็นยางไม้ที่เหนียวนิ่มเราจึงพบว่าอาจมีแมลงหรือแม้แต่สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กอยู่ในเนื้อของมันได้ ยางไม้ที่มีสภาพเป็นกึ่งซากดึกดำบรรพ์รู้จักกันในนามของโคปอล สีของอำพันมีได้หลากหลายสีสัน ปรกติแล้วจะมีสีน้ำตาล เหลือง หรือส้ม เนื้อของอำพันเองอาจมีสีได้ตั้งแต่ขาวไปจนถึงเป็นสีเหลืองมะนาวอ่อนๆ หรืออาจเป็นสีน้ำตาลจนถึงเกือบสีดำ สีที่พบน้อยได้แก่สีแดงที่บางทีก็เรียกว่าอำพันเชอรี่ อำพันสีเขียวและสีฟ้าหายากที่มีการขุดค้นหากันมาก อำพันที่มีค่าสูงมากๆจะมีเนื้อโปร่งใส ในทางตรงกันข้ามอำพันที่พบกันมากทั่วไปจะมีสีขุ่นหรือมีเนื้อทึบแสง อำพันเนื้อทึบแสงมักมีฟองอากาศเล็กๆเป็นจำนวนมากที่รู้จักกันในนามของอำพันบาสตาร์ดหมายถึงอำพันปลอม ซึ่งแท้ที่จริงแล้วก็เป็นอำพันของแท้ๆนั่นเอง.

ดู ประเทศลัตเวียและอำพัน

องค์การชาติและประชาชนที่ไม่มีผู้แทน

องค์กรแห่งชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จัก (Unrepresented Nations and Peoples Organization; UNPO) เป็นองค์กรระดับนานาชาติ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 11 กุมภาพัน..

ดู ประเทศลัตเวียและองค์การชาติและประชาชนที่ไม่มีผู้แทน

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ดู ประเทศลัตเวียและอนุสัญญาแรมซาร์

อ่าวรีกา

อ่าวรีกา อ่าวรีกา (Rīgas jūras līcis; Liivi laht; Gulf of Riga) เป็นอ่าวในทะเลบอลติก อยู่ระหว่างประเทศลัตเวียกับประเทศเอสโตเนีย มีพื้นที่ 18,000 ตารางกิโลเมตร โดยมีเกาะซาเรมาของเอสโตเนียกั้นอยู่ระหว่างอ่าวรีกากับทะเลบอลติก หมวดหมู่:ทะเลบอลติก รีกา หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศลัตเวีย หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศเอสโตเนีย.

ดู ประเทศลัตเวียและอ่าวรีกา

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ดู ประเทศลัตเวียและฮอโลคอสต์

ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน

ันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน (Hans Hendrik van Paesschen; ประมาณ ค.ศ. 1510-ค.ศ. 1582) เป็นสถาปนิกจากเมืองแอนต์เวิร์ป อาณาจักรฟลานเดอส์ (ทางตอนเหนือของประเทศเบลเยียมปัจจุบัน) ผู้ออกแบบอาคารรูปแบบคลาสสิกในหลาย ๆ อาณาจักรในเขตยุโรปเหนือ ในยุคนั้น สถาปนิกที่มีอิทธิพลสุดในอิตาลีคืออันเดรอา ปัลลาดีโอ (Andrea Palladio) ฝรั่งเศสคือฟีลีแบร์ เดอลอร์ม (Philibert Delorme) แต่จริง ๆ แล้ว ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน ได้ออกแบบอาคารมากมายในยุโรปเหนือไม่แพ้สถาปนิกสองคนข้างต้น แต่สาเหตุที่เขาไม่ได้มีชื่อเสียงโด่งดังเพราะว่าแต่ละดินแดนที่เขาได้ไปออกแบบสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ให้นั้น ชื่อของเขาได้รับการสะกดแตกต่างกันหมด ปาสเซินได้รับการฝึกมาจากอิตาลี แล้วกลับมาทำงานในเมืองแอนต์เวิร์ป ทำงานร่วมกับประติมากรชื่อดัง โฟลริส เดอ ฟรีนต์ (Floris de Vriendt) ได้รับโครงการมาทำมากมาย ปาสเซินทำการออกแบบโครงการในฟลานเดอส์ เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ เวลส์ เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน และคาลีนินกราด (Kaliningrad) นอกจากนี้ยังมีหลักฐานที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า เขาออกแบบอาคารในตอนเหนือของฝรั่งเศส เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย ปาสเซินมักจะออกแบบลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบเฟลมิชแท้ ๆ โดยผสมความเป็นสถาปัตยกรรมยุโรปเหนือเล็กน้อย ซึ่งแตกต่างกับแบบอย่างในยุโรปเหนือเวลานั้นที่มักจะเป็นส่วนผสมของความเป็นกอทิก (gothic) และจริตนิยม (mannerist style) เขาได้นำองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของเมืองเวนิสมาใช้ไม่น้อย เช่น อาร์เคด (arcade) ทางเดินใต้หลังคา (loggia) โดม (dome) และโครงสร้างโค้งแบบเวนิส (Venetian arches) น่าเสียดายที่งานออกแบบส่วนใหญ่ของเขาได้พังทลายไปหมด หรือได้ถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจนไม่เหลือรูปแบบดั้งเดิมแล้ว งานที่เป็นต้นฉบับที่ไว้ให้ศึกษากันคืออยู่ในเอกสารเท่านั้น ลูกศิษย์ของเขาในอีกหลายชั่วคนต่อมาได้กลายเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียง โดยมักจะมีการใช้นามสกุลเพื่อยกย่องปาสเซิน นามสกุลดังกล่าวเช่น เดอ ปา (de Pas) หรือฟัน เดอปัสเซอ (van de Passe).

ดู ประเทศลัตเวียและฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน

ธงชาติยูเครน

งชาติยูเครน (державний прапор України; ถอดเป็นอักษรโรมัน: derzhavnyy prapor Ukrayiny) มีต้นกำเนิดจากธงชาติในสมัยการปกครองระยะสั้นๆ ของสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและธงชาติยูเครน

ธงชาติลัตเวีย

งชาติลัตเวีย เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นเป็นแถบสีแดงเข้มอย่างสีเลือดหมู ที่กลางธงมีแถบแนวนอนสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 5 ส่วนของความกว้างธง เดิมธงนี้เป็นธงชาติลัตเวียสมัยได้รับเอกราชครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและธงชาติลัตเวีย

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ประเทศลัตเวียและทวีปยุโรป

ทะเลบอลติก

ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).

ดู ประเทศลัตเวียและทะเลบอลติก

ทีวี 3 ลัตเวีย

ทีวี 3 ลัตเวีย เป็นสถานีโทรทัศน์ที่กำหนดเป้าหมายไปที่ผู้ชมชาวลัตเวีย ดำเนินกิจการโดยโมเดิร์นไทม์สกรุ๊ป (เอ็มทีจี) ออกอากาศครั้งแรกในปี..1998 ในปี 2001 ทีวี 3 ลัตเวีย มีสัดส่วนแบ่ง การรับชมเพิ่มมากขึ้นจนกลายเป็นสถานีโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในประเทศลัตเวีย  .

ดู ประเทศลัตเวียและทีวี 3 ลัตเวีย

ขั้นตอนวิธีของเฟรย์วัลส์

ั้นตอนวิธีของเฟรย์วัลส์ (Freivalds' algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีแบบสุ่ม (randomised algorithm) ที่รูซินส์ มาร์ตินส์ เฟรย์วัลส์ (Rusins Martins Freivalds) นักวิทยาศาสตร์ชาวลัตเวีย นำเสนอขึ้นสำหรับใช้ตรวจสอบความเท่ากันของผลคูณของเมทริกซ์กับเมทริกซ์ต้นแ.

ดู ประเทศลัตเวียและขั้นตอนวิธีของเฟรย์วัลส์

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ดู ประเทศลัตเวียและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย

ัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (Ducatus Curlandiæ et Semigalliæ, Księstwo Kurlandii i Semigalii, Herzogtum Kurland und Semgallen, Kurzemes un Zemgales hercogiste) เป็นดัชชีในภูมิภาคบอลติก โดยก่อตั้งขึ้นในปี 1561 จนในปี 1569 ดัชชีนี้ได้กลายเป็นเครือรัฐของแกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย และ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย ตั้งแต่ปี 1569 ถึงปี 1726 ดัชชีได้เข้าร่วมกับ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย โดย Sejm ในปี 1726 จนในวันที่ 28 มีนาคม 1795 ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้ถูกผนวกกับจักรวรรดิรัสเซียในการแบ่งโปแลนด์ครั้งที่สาม ต่อมาดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้จัดตั้งรัฐอายุสั้นขึ้นในวันที่ 8 มีนาคม ถึงวันที่ 22 กันยายน 1918 โดยใช้ชื่อเดียวกัน โดยเป็นแผนที่จะจัดตั้งสหดัชชีบอลติก (United Baltic Duchy) โดย จักรวรรดิเยอรมัน จนเยอรมนียอมจำนนในภูมิภาคบอลติกในช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พื้นที่ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลัตเวีย หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจบลง; ดูเพิ่มที่ ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ดู ประเทศลัตเวียและคริสต์สหัสวรรษที่ 3

ความสำคัญของศาสนาตามประเทศ

้านล่างนี้เป็นชาร์ตแสดงรายชื่อประเทศเรียงตามความสำคัญของศาสน.

ดู ประเทศลัตเวียและความสำคัญของศาสนาตามประเทศ

คอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก

อนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก (Kontinental Hockey League - KHL, Континентальная Хоккейная Лига, Kontinental'naya Khokkeynaya Liga) เป็นลีกฮอกกี้น้ำแข็งอาชีพระหว่างประเทศในยูเรเซีย ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู ประเทศลัตเวียและคอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีก

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ดู ประเทศลัตเวียและคำขวัญประจำชาติ

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ดู ประเทศลัตเวียและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

ตราแผ่นดินของลัตเวีย

ตราแผ่นดินของลัตเวีย เริ่มใช้เมื่อ..

ดู ประเทศลัตเวียและตราแผ่นดินของลัตเวีย

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ดู ประเทศลัตเวียและตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ตลาดหลักทรัพย์รีกา

ตลาดหลักทรัพย์รีกา ในใจกลางเมือง เวซีกา ตลาดหลักทรัพย์รีกา ปัจจุบันชื่อ "แนสแด็ก โอเอ็มเอ็กซ์ รีกา" เป็นตลาดหลักทรัพย์ที่อยู่ในเมืองรีกา ประเทศลัตเวีย แนสแด็ก โอเอ็มเอ็กซ์ เป็นผู้ดูแล ซึ่งยังดำเนินการแลกเปลี่ยนในประเทศสหรัฐอเมริกา, เดนมาร์ก, สวีเดน, ฟินแลนด์, ไอซ์แลนด์, อาร์เมเนีย, ลิทัวเนีย และเอสโทเนีย ซึ่งตลาดเปิดขายล่วงหน้าช่วงเวลา 08:30 ถึง 10:00 ซื้อขายปกติเวลา 10:00 ถึง 16:00 และซื้อขายโพส-มาร์เกตเวลา 16:00 ถึง 16:30.

ดู ประเทศลัตเวียและตลาดหลักทรัพย์รีกา

ปฏิบัติการบอลติก

ปฏิบัติการบอลติก ยังเป็นที่รู้จักกันคือปฏิบัติการป้องกันในลิทัวเนียและลัตเวียที่ห้อมล้อมด้วยปฏิบัติการของกองทัพแดง ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและปฏิบัติการบอลติก

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ประเทศมาซิโดเนีย

รณรัฐมาซิโดเนีย (Republic of Macedonia; Република Македонија) ซึ่งรัฐและองค์กรนานาชาติส่วนใหญ่เรียกว่า อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย (Former Yugoslav Republic of Macedonia: FYROM) เป็นรัฐอิสระบนคาบสมุทรบอลข่านในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนี้มักจะเรียกเฉย ๆ ว่า "มาซิโดเนีย" ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนกับภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง และแคว้นมาซิโดเนียของกรีซ ประเทศมาซิโดเนียเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ชื่อมาซิโดเนีย มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 38 และประชากรเกือบร้อยละ 44 ของพื้นที่ที่ใหญ่กว่าพื้นที่ที่ปกครองโดยสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ก่อนหน้านี้เป็นส่วนทางใต้สุดของยูโกสลาเวีย พรมแดนปัจจุบันได้รับการกำหนดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียก่อตั้ง "สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย" (Socialist Republic of Macedonia) ซึ่งเป็นที่โต้แย้งว่า เป็นการยอมรับสลาฟมาซิโดเนีย เป็นชนชาติแยกต่างหากภายในยูโกสลาเวีย ต่อมาในปี พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศมาซิโดเนีย

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศรัสเซีย

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1924

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1924

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1928

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1932

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1932

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1936

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1936

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1992

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1993

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1993 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1993

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1994

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1995

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1995 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1995

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1996

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1998 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1998

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2000

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2002 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2002

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2004

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2005

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2005 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2005

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2006

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2008

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2009

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2009 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2009

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2010 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2010

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2011

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2011 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2011

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2012

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 ในประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2014

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2016

ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2018

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2018

ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศลิทัวเนีย

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศเบลารุส

ประเทศเอสโตเนีย

อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและประเทศเอสโตเนีย

นางงามจักรวาล 2005

นางงามจักรวาล 2005 (Miss Universe 2005) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 54 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและนางงามจักรวาล 2005

นางงามจักรวาล 2007

นางงามจักรวาล 2007 (Miss Universe 2007) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 56 จัดในวันที่ 29 พฤษภาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและนางงามจักรวาล 2007

นางงามนานาชาติ 2013

นางงามนานาชาติ 2013 การประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 53 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและนางงามนานาชาติ 2013

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ดู ประเทศลัตเวียและนิติภาวะ

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทย

วีซ่าไทยในหนังสือเดินทางไต้หวัน ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตไทย เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้ ปัจจุบันประเทศไทยทำความตกลงทวิภาคียกเว้นวีซ่าเพื่อให้สิทธิยกเว้นวีซ่ากับคนชาติของ 56 ประเทศ ประเทศในซีกโลกตะวันตกส่วนมากได้รับยกเว้นวีซ่า อย่างไรก็ดีประเทศทางตะวันออกบางส่วนของสหภาพยุโรปเช่นลัตเวีย ลิทัวเนีย โรมาเนีย บัลแกเรีย มอลตาและไซปรัสจะต้องมีวีซ่า แต่วีซ่าดังกล่าวสามารถขอได้เมื่อเดินทางมาถึง (ในจุดเข้าเมืองที่กำหนดไว้) ตั้งแต่พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทย

แพริโดเลีย

รูปถ่ายจากดาวเทียมของที่ราบสูงไซโดเนียบนดาวอังคาร ซึ่งบางครั้งเรียกว่า "Face on Mars (ใบหน้าบนดาวอังคาร)" ส่วนรูปที่ถ่ายมาจากมุมอื่น ๆ จะไม่สามารถเห็นภาพลวงตานี้ แพริโดเลีย หรือ แพไรโดเลีย (Pareidolia) เป็นปรากฏการณ์ทางจิต ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สิ่งเร้าเช่นภาพหรือเสียงที่ไม่ชัดเจนและไม่มีรูปแบบ (คือบังเอิญ สุ่ม) ว่ามีความหมายมีความสำคัญ เป็นการรับรู้แบบหนึ่งของ apophenia ซึ่งเป็นการเห็นรูปแบบหรือความสัมพันธ์กันในข้อมูลสุ่มที่ไม่มีความหมาย ตัวอย่างที่สามัญอย่างหนึ่งคือการเห็นรูปสัตว์หรือใบหน้าในก้อนเมฆ ชายบนดวงจันทร์ กระต่ายบนดวงจันทร์ และการได้ยินข้อความที่ซ่อนไว้บนแผ่นเสียงไวนิลที่เล่นย้อนทาง คำว่า Pareidolia มาจากคำในภาษากรีกว่า para- (παρά, แปลว่า "ข้าง ๆ, ไปเป็นหน้ากระดาน, แทนที่") ซึ่งในที่นี้หมายถึงอะไรที่บกพร่อง ผิดพลาด หรือเกิดขึ้นแทนที่ และคำนามว่า eidōlon (εἴδωλον แปลว่า "ภาพ, รูปร่าง, สัณฐาน") ซึ่งมีความหมายเป็นส่วนย่อยของคำว่า eidos.

ดู ประเทศลัตเวียและแพริโดเลีย

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันออก เคยเป็นเขตสงครามในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก คำดังกล่าวขัดกับแนวรบด้านตะวันตก แม้จะแยกกันทางภูมิศาสตร์ เหตุการณ์ในเขตสงครามทั้งสองมีอิทธิพลต่อกันอย่างมาก ในแหล่งข้อมูลรัสเซีย บางครั้งเรียกสงครามนี้ว่า สงครามปุติภูมิครั้งที่สอง.

ดู ประเทศลัตเวียและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

โอ๊ก

อ๊ก (oak) หรือ ก่อ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มในสกุล Quercus (ภาษาละติน "oak tree") มี 600 สปีชีส์ โอ๊กอาจจะหมายถึงพืชบางชนิดในสกุล Lithocarpusด้วย พืชสกุลนี้เป็นพืชพื้นเมืองในซีกโลกเหนือ แพร่กระจายตั้งแต่เขตที่อากาศหนาวเย็นไปจนถึงเขตร้อนในเอเชียและอเมริก.

ดู ประเทศลัตเวียและโอ๊ก

โทรทัศน์ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1998 ในโทรทัศน์ประเทศลัตเวี.

ดู ประเทศลัตเวียและโทรทัศน์ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1998

โคเบะ

() เป็นเมืองเอกของจังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับที่ 5 และเป็นเมืองท่าที่สำคัญของญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของเกาะฮนชู ห่างจากเมืองโอซะกะไปทางตะวันตกประมาณ 30 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคนและเป็นส่วนหนึ่งของมหานครเคฮันชิง โคเบะปรากฏในหลักฐานลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในพงศาวดารนิฮงโชะกิที่กล่าวถึงการก่อตั้งศาลเจ้าอิกุตะโดยพระจักรพรรดิจิงกูเมื่อ..

ดู ประเทศลัตเวียและโคเบะ

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ดู ประเทศลัตเวียและโปเกมอน โก

ไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์

รชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ (Reichskommissariat Ostland, RKO) เป็นหน่วยการปกครองของนาซีเยอรมนีในรัฐบอลติก บางส่วนของเบลารุสและโปแลนด์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ดินแดนนี้ยังมีอีกชื่อว่า Reichskommissariat Baltenland ("ไรชส์คอมมิสซาเรียทแห่งรัฐบอลติก").

ดู ประเทศลัตเวียและไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์

ไอเซยาห์ เบอร์ลิน

ซอร์ ไอเซยาห์ เบอร์ลิน (Isaiah Berlin 6 มิถุนายน ค.ศ. 1909 - 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997) เป็นนักทฤษฎีสังคมและการเมืองชาวอังกฤษ - รัสเซีย เป็นนักปรัชญาการเมือง และนักประวัติศาสตร์ภูมิปัญญา เบอร์ลินเป็นที่รู้จักกันดีจากงานเขียนของเขาเรื่อง "มโนทัศน์เรื่องเสรีภาพสองแบบ" (Two Concepts of Liberty) การบุกเบิกคุณค่าพหุนิยม และสำรวจแนวคิดและผลกระทบของนักคิดที่ต่อต้านยุคเรืองปัญญ.

ดู ประเทศลัตเวียและไอเซยาห์ เบอร์ลิน

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

เบียวิสตอค

ียวิสตอค (Białystok) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโปแลนด์ เป็นเมืองหลวงของจังหวัดปอดลาแช ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเบียวา เป็นเมืองที่มีความแน่นของประชากรเป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 และมีพื้นที่เป็นอันดับ 13 ของประเทศ เมืองนี้มีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศวรรษที่ 14 ผนวกเข้ากับปรัสเซีย ระหว่าง..

ดู ประเทศลัตเวียและเบียวิสตอค

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย ("Latvijas Padomju Sociālistiskās Republikas himna") เป็นเพลงชาติของลัตเวียสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ดู ประเทศลัตเวียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ดู ประเทศลัตเวียและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

เยลกาวา

ลกาวา (Jelgava) เป็นเมืองในประเทศลัตเวีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองรีการาว 41 กม.

ดู ประเทศลัตเวียและเยลกาวา

เรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง

รือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง (中国人民解放军海军辽宁舰; Liaoning) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินลำแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน เรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง เดิมชื่อว่า เรือบรรทุกเครื่องบินวาร์ยัก (Варяг; Varyag) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคุซเนตซอฟของโซเวียต ต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือที่เมืองไมโคเลฟ ติดทะเลดำ ทางตอนใต้ของยูเครน ปล่อยลงน้ำเมื่อปี..

ดู ประเทศลัตเวียและเรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง

เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

ดู ประเทศลัตเวียและเรือดำน้ำ

เวลายุโรปตะวันออก

วลายุโรปตะวันออก (Eastern European Time - EET) เป็นชื่อเขตเวลา UTC+2 อันหนึ่ง ใช้ในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ประเทศส่วนใหญ่จะใช้เวลาฤดูร้อนยุโรปตะวันออก เป็นเวลาออมแสงด้ว.

ดู ประเทศลัตเวียและเวลายุโรปตะวันออก

เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก

วลาออมแสงยุโรปตะวันออก (Eastern European Summer Time - EEST) เป็นชื่อเขตเวลาออมแสงของเขตเวลา UTC+3 เป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนหน้าเวลาสากลเชิงพิกัด เป็นเวลาที่กำหนดใช้ระหว่างช่วงฤดูร้อนในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ในระหว่างฤดูหนาวประเทศเหล่านี้จะกลับไปใช้เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2).

ดู ประเทศลัตเวียและเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก

เวิตส์ยาร์ฟ

ทะเลสาบเวิตส์ยาร์ฟ (Võrtsjärv) เป็นทะเลสาบในประเทศเอสโตเนีย มีเนื้อที่ 270 กม² (104 ไมล์²) เป็นทะเลสาบใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีความลึก 33.7 ม.

ดู ประเทศลัตเวียและเวิตส์ยาร์ฟ

เวนต์สปิลส์

วนต์สปิลส์ (Ventspils; Виндава; Windau) เป็นเมืองทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศลัตเวีย เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ จากข้อมูลในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและเวนต์สปิลส์

เศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย

ประเทศลิทัวเนีย ใช้สกุลเงินลิตัส (Litas) เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2536 แทนเงินสกุลรูเบิล อัตราแลกเปลี่ยน 1 Euro.

ดู ประเทศลัตเวียและเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย

เหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554

หตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมิน..

ดู ประเทศลัตเวียและเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554

เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์

้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ (Prinsessan Lilian, Hertiginna av Halland; ประสูติ: 30 สิงหาคม ค.ศ. 1915 — สิ้นพระชนม์: 10 มีนาคม ค.ศ. 2013) มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ลิลเลียน เมย์ เดวีส์ (Lillian May Davies) เป็นพระชายาในเจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ พระองค์เป็นพระปิตุลานี (อาสะใภ้) ในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และเป็นพระมาตุลานี (น้าสะใภ้) ของสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงลิเลียนถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์สวีเดนที่มีพระชันษายืนที่สุดในรัชกาล พระองค์สิ้นพระชนม์ลงในปี..

ดู ประเทศลัตเวียและเจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ดู ประเทศลัตเวียและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

เขตผู้ว่าการลิโวเนีย

ตผู้ว่าการลิโวเนีย (Лифляндская губерния, Liflyandskaya guberniya. Gouvernement Livland, Livländisches Gouvernement), (Vidzemes guberņa, after the Latvian inhabited Vidzeme region) เป็นส่วนหนึ่งของ เขตผู้ว่าการบอลติกของจักรวรรดิรัสเซีย พื้นที่ของเขตผู้ว่าการลิโวเนียในอดีตปัจจุบันปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลัตเวีย และ ประเทศเอสโตเนี.

ดู ประเทศลัตเวียและเขตผู้ว่าการลิโวเนีย

เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์

ตผู้ว่าการคูร์ลันด์, หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ จังหวัดคูร์ลันด์, Governorate of Kurland (Курля́ндская губерния), และ รัฐบาลคูร์ลันด์ (Kurländisches Gouvernement) เป็นส่วนหนึ่งของ เขตผู้ว่าการบอลติกของจักรวรรดิรัสเซีย พื้นที่ของเขตผู้ว่าการคูร์ลันด์ในอดีตปัจจุบันปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลัตเวีย เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์ก่อตั้งขึ้นในปี 1795 โดยได้ดินแดนส่วนหนึ่งจาก ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย ซึ่งผนวกเข้ากับจักรวรรดิรัสเซีย โดยได้รวมเป็นจังหวัดคูร์ลันด์ซึ่งมีเมืองหลักที่ เยลกาวา (หรือ Mitau ในอดีต) ทั้งนี้เป็นผลสืบเนื้องจากการแบ่งเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียครั้งที่สาม จนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขตผู้ว่าการไม่เคยถูกจักรวรรดิรัสเซียปกครองเต็ม แต่เป็นการปกครองแบบกึ่งอิสระโดยกลุ่มชาวบอลติกเยอรมันภายใต้ Regional Council (Landtag) เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์มีเขตชายแดนติดกับ ทะเลบอลติก, อ่าวริกา และ เขตผู้ว่าการลิโวเนีย ทางทิศเหนือ ทางตะวันตกติดกับทะเลบอลติก; ทางใต้ติดกับVilna Governorate และ ปรัสเซีย และทางตะวันออกติดกับ Vitebsk Governorate และ เขตผู้ว่าการมินสค์ โดยที่จำนวนประชากรของเขตผู้ว่าการนี้อยู่ที่ 553,300 ในปี 1846 เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์สิ้นสภาพลงในช่วง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังจากที่ จักรวรรดิเยอรมัน เข้าปกครองภูมิภาคในปี 1915 และรัสเซียยอมจำนนและยกดินแดนตาม สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ ในวันที่ 3 มีนาคม 1918.

ดู ประเทศลัตเวียและเขตผู้ว่าการคูร์ลันด์

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ดู ประเทศลัตเวียและเขตเวลา

เดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์

อะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ (The Prismatic World Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สามของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี เพื่อส่งเสริมอัลบั้มลำดับที่สี่ ปริซึม (2013) ทัวร์เริ่มวันที่ 7 พฤษภาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์

เดียฟส์ สเวตี ลัตวิยู

ียฟส์ สเวตี ลัตวิยู! (Dievs, svētī Latviju!) มีความหมายว่า "ขอพระเจ้าอวยพรแก่ลัตเวีย" เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งประเทศลัตเวีย ประพันธ์บทร้องและทำนองโดย คาร์ลิส บาอูมานีซ (Baumaņu Kārlis, ค.ศ.

ดู ประเทศลัตเวียและเดียฟส์ สเวตี ลัตวิยู

เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย

รือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย (Rzeczpospolita Obojga Narodów; Polish-Lithuanian Commonwealth) มีชื่อเป็นทางการว่า “Rzeczpospolita Korony Polskiej i Wielkiego Księstwa Litewskiego” หรือที่รู้จักกันในนาม “สาธารณรัฐโปแลนด์ที่หนึ่ง” (First Polish Republic) หรือ “สาธารณรัฐแห่งสองชาติ” (Republic of the Two Nations) (Pierwsza Rzeczpospolita หรือ Rzeczpospolita Obojga Narodów; Abiejų tautų respublika) เป็นเครือจักรภพที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุด, accessed on 19 March 2006: At its apogee, the Polish-Lithuanian Commonwealth comprised some 400000 sqare mile and a multi-ethnic population of 11 million.

ดู ประเทศลัตเวียและเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ดู ประเทศลัตเวียและISO 4217

LV

LV Lv หรือ lv สามารถหมายถึง.

ดู ประเทศลัตเวียและLV

UTC+03:00

UTC+03:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 3 ชั่วโมง ใช้ใน .

ดู ประเทศลัตเวียและUTC+03:00

X ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน)

X ทัวร์ (x Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตรอบโลกที่ 2 ของศิลปินนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ โดย เอ็ด ชีแรน จากอัลบั้มที่ 2 ของเขา × โดยเริ่มต้นที่โอซะกะ,ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 6 สิงหาคม..

ดู ประเทศลัตเวียและX ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน)

.lv

.lv เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศลัตเวีย เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2536.

ดู ประเทศลัตเวียและ.lv

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศลัตเวียและ1 มกราคม

1 E+10 m²

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 20,494 ตารางกิโลเมตร ประเทศปานามา มีพื้นที่ 78,200 ตารางกิโลเมตร ประเทศโปรตุเกส มีพื้นที่ 92,391 ตารางกิโลเมตร 1 E+10 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000 ถึง 100,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ดู ประเทศลัตเวียและ1 E+10 m²

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศลัตเวียและ10 ตุลาคม

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศลัตเวียและ17 มิถุนายน

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศลัตเวียและ18 พฤศจิกายน

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศลัตเวียและ21 สิงหาคม

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศลัตเวียและ4 พฤษภาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Latviaลัตเวียสาธารณรัฐลัตเวียชาวลัตเวีย

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเวิลด์ 2017มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสเตอร์โกลบอล 2015มิสเตอร์โกลบอล 2017มิสเตอร์เวิลด์ 2016มีราเลม เพียนิชมีลิตซียายัวมาลายุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครองยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพยูโรยูโรโซนรัฐบอลติกรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่รัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐหุ่นเชิดรัฐนักรบครูเสดรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่ารายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อธงในประเทศลัตเวียรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัวรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศลัตเวียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวารายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุสรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนียรายการภาพธงชาติรายการภาพธงสองสีรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรางรัสเซียรีกาฤดูหนาวจากภูเขาไฟลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)วอลเลย์บอลชายทีมชาติลัตเวียวอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์ยุโรปวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรปวัลดิส โดมโบรฟสกิสวันชาติวันครูวันแม่วิทยาศาสตรบัณฑิตวิ่งปล้นฟัดวีตัสสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลกสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สหภาพยุโรปสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามครูเสดลิโวเนียสงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโปแลนด์-ลิทัวเนีย-ทิวทันสนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์สแตตินสโมสรฟุตบอลสปาร์ตักส์ยัวมาลาหนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตอัสตานาอาดาม ซอล็อยอำพันองค์การชาติและประชาชนที่ไม่มีผู้แทนองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาแรมซาร์อ่าวรีกาฮอโลคอสต์ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซินธงชาติยูเครนธงชาติลัตเวียทวีปยุโรปทะเลบอลติกทีวี 3 ลัตเวียขั้นตอนวิธีของเฟรย์วัลส์ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียคริสต์สหัสวรรษที่ 3ความสำคัญของศาสนาตามประเทศคอนตีเนนทัลฮอกกี้ลีกคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศตราแผ่นดินของลัตเวียตราแผ่นดินในทวีปยุโรปตลาดหลักทรัพย์รีกาปฏิบัติการบอลติกปฏิบัติการบาร์บารอสซาประเทศมาซิโดเนียประเทศรัสเซียประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1924ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1928ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1932ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1936ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1992ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1993ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1994ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1995ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1996ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1998ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2000ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2002ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2004ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2005ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2006ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2008ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2009ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2010ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2011ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2012ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2014ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2016ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 2018ประเทศลิทัวเนียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศเบลารุสประเทศเอสโตเนียนางงามจักรวาล 2005นางงามจักรวาล 2007นางงามนานาชาติ 2013นิติภาวะนโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทยแพริโดเลียแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โอ๊กโทรทัศน์ประเทศลัตเวียใน ค.ศ. 1998โคเบะโปเกมอน โกไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ไอเซยาห์ เบอร์ลินไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กเบียวิสตอคเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเยลกาวาเรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิงเรือดำน้ำเวลายุโรปตะวันออกเวลาออมแสงยุโรปตะวันออกเวิตส์ยาร์ฟเวนต์สปิลส์เศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนียเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเขตผู้ว่าการลิโวเนียเขตผู้ว่าการคูร์ลันด์เขตเวลาเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์เดียฟส์ สเวตี ลัตวิยูเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียISO 4217LVUTC+03:00X ทัวร์ (เอ็ด ชีแรน).lv1 มกราคม1 E+10 m²10 ตุลาคม17 มิถุนายน18 พฤศจิกายน21 สิงหาคม4 พฤษภาคม