เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประเทศรวันดา

ดัชนี ประเทศรวันดา

รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และRwanda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: Republika y'u Rwanda; Republic of Rwanda; République du Rwanda) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 92 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2502พ.ศ. 2505พ.ศ. 2551พ.ศ. 2559พรรคสังคมนิยมรวันดาพระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดาพอล คากาเมกอริลลากอริลลาภูเขาการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดาภาษาฝรั่งเศสภาษาสวาฮีลีภาษาอังกฤษมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเวิลด์ 2016มิสเอิร์ธ 2017มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีรวันดา นซีซาระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัฐในอารักขารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุกรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศรวันดารายการภาพธงชาติลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกาวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกาวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกาวันชาติวันมือแดงสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกสตัฟฟัน เด มิสตูราหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอันเนอ ฟรังค์อีแลนด์ธรรมดาอนุสัญญาแรมซาร์จังหวัดทวีปแอฟริกาทะเลสาบคีวูทู้ทซี่ดาวเทียมไทยคมดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติคริสต์สหัสวรรษที่ 3คำขวัญประจำชาติ... ขยายดัชนี (42 มากกว่า) »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศรวันดาและพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศรวันดาและพ.ศ. 2505

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศรวันดาและพ.ศ. 2551

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู ประเทศรวันดาและพ.ศ. 2559

พรรคสังคมนิยมรวันดา

รรคสังคมนิยมรวันดา (PSR) เป็นพรรคสนับสนุนรัฐบาลในประเทศรวันดา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม..

ดู ประเทศรวันดาและพรรคสังคมนิยมรวันดา

พระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา

ระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา (King Kigeli V of Rwanda) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งรวันดาตั้งแต่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1959 - 28 มกราคม ค.ศ. 1961 พระองค์เสด็จพระราชสมภพที่เมืองคาเมมเบ ประเทศรวันดา พระองค์มีชื่อแบบคริสเตียนว่า "ฌ็อง-บาติสต์ นดาฮินเดอร์วา" พระเจ้าคิเกลิที่ 5 ทรงครองราชย์ต่อจากพระเจ้ามูทาราที่ 3 แห่งรวันดาพระอิสริยยศของพระองค์เปรียบได้กับสมเด็จพระราชาธิบดีคิเกลิที่5แห่งรวันดา พระราชบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อปี 1959 พระองค์ครองราชย์ขณะมีพระชนมายุได้ 23 พรรษา แต่ความไม่แน่นอนทางการเมืองและความขัดแย้งของชนเผ่าก็เกิดขึ้น และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ แม้พระองค์จะมีความพยายามในการสร้างความปรองดองแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ในที่สุดโดมินิกัว มบอนยูมูตวาได้ทำการปฏิวัติภายใต้การสนับสนุนของทหารเบลเยียม ในปี 1961 ทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์รวันดาถูกล้มล้าง และพระเจ้าคิเกลิที่ 5 ต้องเสด็จลี้ภัยไปต่างประเทศ ปัจจุบันพำนักอยู่ที่ วอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริก.

ดู ประเทศรวันดาและพระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา

พอล คากาเม

พอล คากาเม (Paul Kagame; เกิด 23 ตุลาคม 1957) เป็นประธานาธิบดีแห่งรวันดาคนที่ 6 และคนปัจจุบัน เข้ารับตำแหน่งในปี 2000 หลังจากที่ประธานาธิบดี Pasteur Bizimungu ลาออก คากาเมนำกองกำลังกบฏหยุดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรวันดาในปี 1994 เขาถูกมองว่าเป็นผู้นำที่แท้จริงของรวันดาในขณะที่เขาเป็นรองประธานาธิบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ตั้งแต่ปี 1994 ถึงปี 2000 หมวดหมู่:ประธานาธิบดีรวันดา หมวดหมู่:ประเทศรวันดา.

ดู ประเทศรวันดาและพอล คากาเม

กอริลลา

ัวน้อย กอริลลาเพศเมียที่มีชื่อเสียงแห่งสวนสัตว์พาต้า กอริลลา (Gorilla) เป็นเอปที่อยู่ในเผ่า Gorillini และสกุล Gorilla ในวงศ์ Hominidae นับเป็นไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน กอริลลา จัดเป็นเอปจำพวกหนึ่งในบรรดาเอปทั้งหมดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และจัดเป็นเอปและไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา ทั้งที่เป็นที่ราบต่ำ และเป็นภูเขาสูงแถบเทือกเขาวีรูงกาที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลถึง 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในคองโก และรวันดา กอริลลา นับได้ว่าเป็นเอปที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุดรองจากชิมแปนซีและโบโนโบ โดยมีดีเอ็นเอที่ใกล้เคียงกับมนุษย์ถึงร้อยละ 95–99.

ดู ประเทศรวันดาและกอริลลา

กอริลลาภูเขา

กอริลลาภูเขา (Mountain gorilla) เป็นชนิดย่อยของกอริลลาตะวันออก (G. ฺberingei) ชนิดหนึ่ง กอริลลาภูเขาเป็นสัตว์เฉพาะถิ่นพบกระจายพันธุ์อยู่ในเขตเทือกเขาวีรูงกาในเขตแดน 3 ประเทศเท่านั้น คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, รวันดา และอูกันดา โดยแบ่งออกได้เป็นฝูงทั้งหมด 3 ฝูง ฝูงแรกมีชื่อเรียกว่า "วีรูงกา" มีจำนวนประมาณ 480 ตัว อาศัยอยู่ในเทือกเขาวีรูงกาและภูเขาไฟในอุทยานแห่งชาติทางตอนเหนือของรวันดา ในป่ามงตาน ซึ่งเป็นป่าไผ่ ในระดับความสูงจากน้ำทะเล 2,500–4,000 เมตร, ฝูงที่สองมีชื่อเรียกว่า "มจาฮิงจา" พบทางตอนใต้ของอูกันดา และ "บวินดี" พบในอุทยานแห่งชาติบวินดี ในอูกันดา อาศัยอยู่ในเทือกเขาสูงจากระดับน้ำทะเล 1,500–2,300 เมตร มีประมาณ 400 ตัว โดยถือเป็นสถานที่ ๆ มีชื่อเสียงที่พบได้มากที่สุดอีกด้วย โดยจำนวนกอริลลาภูเขาในปัจจุบันในธรรมชาติมีประมาณ 880 ตัว กอริลลาภูเขา มีพฤติกรรมเหมือนกับกอริลลาชนิดอื่น ๆ คือ อาศัยอยู่เป็นครอบครัว ประกอบด้วยตัวผู้จ่าฝูงที่มีหลังขนหลังสีหงอกเทาหรือสีเงิน หรือที่เรียกว่า "หลังเงิน" (Silverback) ตัวเมียและลูก ๆ จัดเป็นกอริลลาที่มีขนาดใหญ่มากอีกชนิดหนึ่ง โดยเป็นกอริลลาที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากกอริลลาที่ลุ่มตะวันออก (G.

ดู ประเทศรวันดาและกอริลลาภูเขา

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดาเป็นการสังหารหมู่พันธุฆาตทุตซี (Tutsi) และฮูตู (Hutu) สายกลางในประเทศรวันดา โดยสมาชิกรัฐบาลฝ่ายข้างมากฮูตู ระหว่างสมัยประมาณ 100 วันตั้งแต่วันที่ 7 เมษายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม 2537 มีชาวรวันดาประมาณ 501,000–1,000,000 คนเสียชีวิต ซึ่งเป็น 70% ของชาวทุตซี และ 20% ของประชากรรวมของรวันดา สมาชิกอภิชนการเมืองแกนกลางที่เรียก อะคะซุ (akazu) วางแผนพันธุฆาตนี้ ซึ่งหลายคนนั่งตำแหน่งระดับสูงสุดของรัฐบาลแห่งชาติ ผู้ก่อการมาจากทหารในกองทัพรวันดา ตำรวจแห่งชาติ (ก็องดาร์เมอรี) ทหารอาสาสมัครที่รัฐบาลสนับสนุน ซึ่งมีอินเตราฮัมเว (Interahamwe) และอิมปูซูมูกัมบิ (Impuzamugambi) และประชากรพลเรือนฮูตู พันธุฆาตดังกล่าวเกิดในบริบทสงครามกลางเมืองรวันดา ความขัดแย้งที่กำลังดำเนินซึ่งเริ่มในปี 2533 ระหว่างรัฐบาลที่มีฮูตูนำกับแนวร่วมรักประเทศชาติรวันดา (Rwandan Patriotic Front, RDF) ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยผู้ลี้ภัยทุตซีซึ่งครอบครัวของพวกเขาหลบหนีไปประเทศยูกันดาให้หลังระลอกความรุนแรงต่อทุตซีของฮูตู การกดดันระหว่างประเทศต่อรัฐบาลที่มีฮูตูนำของจูเวนัล ไฮเบียรีมานา (Juvénal Habyarimana) ส่งผลให้มีการหยุดยิงในปี 2536 โดยแผนการนำข้อตกลงอารูชา (Arusha Accords) ไปปฏิบัติซึ่งจะสร้างรัฐบาลที่แบ่งอำนาจกับ RDF ความตกลงนี้ทำให้ฮูตูอนุรักษนิยมจำนวนมากไม่พอใจ ซึ่งมีสมาชิกอะคะซุด้วย ซึ่งมองว่าเป็นการยอมรับข้อเรียกร้องของศัตรู ในหมู่ประชากรฮูตูทั่วไป การทัพของ RDF ยังเร่งเร้าการสนับสนุนอุดมการณ์ที่เรียก "พลังฮูตู" ซึ่งพรรณา RDF ว่าเป็นกำลังต่างด้าวที่เจตนาฟื้นฟูพระมหากษัตริย์ทุตซีและจับฮูตูเป็นทาส เป็นความเชื่อที่ทำให้เกิดการต่อต้านอย่างสุดขั้ว วันที่ 6 เมษายน 2537 เครื่องบินที่บรรทุกไฮเบียรีมานา และประธานาธิบดีบุรุนดี ไซเปรียน ทายามิรา (Cyprien Ntaryamira) ถูกยิงตกระหว่างลงจอดสู่กรุงคิกาลี ทำให้ทุกคนบนเครื่องเสียชีวิต การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มในวันต่อมา ทหาร ตำรวจและทหารอาสาสมัครประหารชีวิตผู้นำทุตซีและฮูตูสายกลางคนสำคัญอย่างรวดเร็ว แล้วตั้งจุดตรวจและสิ่งกีดขวางและใช้บัตรประจำตัวประชาชนชาวรวันดาเพื่อฆ่าทุตซีอย่างเป็นระบบ กำลังเหล่านี้เกณฑ์หรือกดดันพลเรือนฮูตูให้ติดอาวุธตนเองด้วยพร้า กระบอง วัตถุทื่อ และอาวุธอื่นเพื่อข่มขืนกระทำชำเรา ทำร้ายอวัยวะและฆ่าเพื่อนบ้านทุตซีของตนและทำลายหรือขโมยทรัพย์สินของพวกเขา การละเมิดความตกลงสันติภาพทำให้ RDF เริ่มการบุกใหม่และยึดการควบคุมส่วนเหนือของประเทศอย่างรวดเร็วก่อนยึดกรุงคิกาลีในกลางเดือนกรกฎาคม ทำให้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สิ้นสุด ระหว่างเหตุการณ์และผลลัพธ์ สหประชาชาติและประเทศอย่างสหรัฐ สหราชอาณาจักร และเบลเยียมถูกวิจารณ์ว่าอยู่เฉย ซึ่งรวมความล้มเหลวในการเสริมกำลังและอาณัติของทหารรักษาสันติภาพคณะผู้แทนช่วยเหลือแก่รวันดาของสหประชาชาติ (United Nations Assistance Mission for Rwanda, UNAMIR) ส่วนผู้สังเกตการณ์วิจารณ์รัฐบาลฝรั่งเศสโดยกล่าวหาว่าสนับสนุนรัฐบาลที่ฮูตูนำหลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มแล้ว พันธุฆาตนี้มีผลกระทบยาวนานล้ำลึกต่อประเทศรวันดาและประเทศเพื่อนบ้าน การใช้การข่มขืนกระทำชำเรายามสงครามอย่างแพร่หลายทำให้มีการติดเชื้อเอชไอวีพุ่งสูงขึ้น ซึ่งรวมเด็กทารกที่เกิดจากการข่มขืนกระทำชำเรามารดาที่ติดเชื้อใหม่ หลายครัวเรือนมีเด็กกำพร้าหรือหญิงหม้ายเป็นหัวหน้าครอบครัว การทำลายโครงสร้างพื้นฐานและการลดประชากรของประเทศอย่างรุนแรงทำให้เศรษฐกิจเป็นอัมพาต เป็นความท้าทายแก่รัฐบาลใหม่ที่จะทำให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็วและสร้างเสถียรภาพ ชัยทางทหารของ RDF และการตั้งรัฐบาลที่ RDF ครอบงำทำให้ฮูตูหลายคนหนีไปประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนตะวันออกของประเทศซาเอียร์ (ปัจจุบันคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก) ที่ที่ฮูตูผู้ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มรวมกลุ่มใหม่ในค่ายผู้ลี้ภัยตามชายแดนกับประเทศรวันดา รัฐบาลที่มี RDF นำประกาศความจำเป็นต่อป้องกันมิให้เกิดพันธุฆาตอีก จึงนำการบุกเข้าประเทศซาเอียร์ ได้แก่ สงครามคองโกครั้งที่หนึ่ง (2539–2540) และครั้งที่สอง (2542–2546) การต่อสู้ด้วยอาวุธระหว่างรัฐบาลรวันดากับศัตรูในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกยังดำเนินต่อผ่านทหารอาสาสมัครตัวแทนในภูมิภาคโกมา ซึ่งรวมการกบฏเอ็ม23 (2546–2556) ประชากรฮูตูและทุตซีรวันดาขนาดใหญ่ยังอาศัยแบบผู้ลี้ภัยทั่วภูมิภาค ปัจจุบัน ประเทศรวันดามีวันหยุดราชการสองวันเพื่อระลึกถึงพันธุฆาตดังกล่าว ช่วงรำลึกแห่งชาติเริ่มด้วยวันอนุสรณ์พันธุฆาตในวันที่ 7 เมษายนและสิ้นสุดด้วยวันปลดปล่อยในวันที่ 4 กรกฎาคม สัปดาห์ถัดจากวันที่ 7 เมษายนกำหนดให้เป็นสัปดาห์ไว้ทุกข์อย่างเป็นทางการ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดาเป็นเหตุผลสนับสนุนให้สร้างศาลอาญาระหว่างประเทศเพื่อกำจัดความจำเป็นสำหรับศาลชำนัญพิเศษเฉพาะกิจเพื่อฟ้องดำเนินคดีต่อผู้ที่ถูกกล่าวหาในเหตุพันธุฆาต อาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงครามในอนาคต.

ดู ประเทศรวันดาและการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาสวาฮีลี

ษาสวาฮีลี (หรือ คิสวาฮีลี) เป็นภาษากลุ่มแบนตูที่พูดอย่างกว้างขวางในแอฟริกาตะวันออก ภาษาสวาฮีลีเป็นภาษาแม่ของชาวสวาฮีลี ซึ่งอาศัยอยู่แถบชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกระหว่างประเทศโซมาเลียตอนใต้ ประเทศโมแซมบิกตอนเหนือ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 5 ล้านคนและคนพูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 30-50 ล้านคน ภาษาสวาฮีลีได้กลายเป็นภาษาที่ใช้โดยทั่วไปในแอฟริกาตะวันออกและพื้นที่รอบ ๆ คำว่า Swahili มาจากรูปพหูพจน์ของคำภาษาอาหรับ sahel ساحل (เอกพจน์) คือ sawahil سواحل แปลว่า "ขอบเขต" และ "ชายฝั่ง" (ใช้เป็นคำวิเศษณ์ที่แปลว่า "คนที่อาศัยอยู่ชายฝั่ง" หรือ "ภาษาชายฝั่ง") นอกจากนี้ คำว่า sahel ใช้เรียกพื้นที่พรมแดนของทะเลทรายซาฮารา การเพิ่ม "i" ตรงท้ายน่าจะมาจาก nisba ของภาษาอาหรับ (ของชายฝั่ง سواحلي) บ้างก็ว่าเป็นเหตุผลทางสัทศาสตร.

ดู ประเทศรวันดาและภาษาสวาฮีลี

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู ประเทศรวันดาและภาษาอังกฤษ

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ประเทศรวันดาและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู ประเทศรวันดาและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ดู ประเทศรวันดาและมิสเวิลด์ 2016

มิสเอิร์ธ 2017

มิสเอิร์ธ 2017, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 17 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ดู ประเทศรวันดาและมิสเอิร์ธ 2017

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

รวันดา นซีซา

ลงชาติรวันดามีชื่อว่า รวันดา นซีซา (กินยาร์วันดา: Rwanda Nziza) แปลว่า "รวันดาอันงามยิ่ง" เพลงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและรวันดา นซีซา

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ดู ประเทศรวันดาและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ดู ประเทศรวันดาและรัฐในอารักขา

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อสนธิสัญญา

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความอื่นๆในหมวดหมู่นี้.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (Q–Z)

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุก

้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตของดีบุก เป็นข้อมูลจากปี 2557.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุก

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อปีในประเทศรวันดา

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและรายชื่อปีในประเทศรวันดา

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ดู ประเทศรวันดาและรายการภาพธงชาติ

ลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา

อาณานิคมที่ประเทศจากยุโรปครอบครองในปี 1913 อาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) หรือ การอาณานิคมในแอฟริกา เกิดขึ้นใน ค.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก (ซีเอวีบี) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกเพื่อหาสมาชิก 4 ประเทศ เข้าร่วมการแข่งขัน ที่ประเทศโปแลน.

ดู ประเทศรวันดาและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือกโซนแอฟริกา จะมีสมาชิกทั้งหมด 3 ประเทศ ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายที่ประเทศอิตาลี และประเทศบัลแกเรี.

ดู ประเทศรวันดาและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ดู ประเทศรวันดาและวันชาติ

วันมือแดง

ตราสัญลักษณ์ของวันมือแดง วันมือแดง (Red Hand Day) ตรงกับวันที่ 12 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นวันรำลึกประจำปีซึ่งมีการร้องขอผู้นำทางการเมืองและมีการจัดงานขึ้นทั่วโลกเพื่อให้ความสนใจแก่ชะตากรรมของทหารเด็ก เด็กผู้ซึ่งถูกบังคับให้เป็นทหารในช่วงสงครามและความขัดแย้งกันด้วยกำลังอาวุธเป้าหมายของวันมือแดงคือเรียกร้องให้มีการดำเนินการกับวิธีปฏิบัติดังกล่าว และสนับสนุนเด็กที่ได้รับผลกระทบจากวิธีปฏิบัตินี้ เด็กได้รับรายงานว่าถูกใช้เป็นทหารหลายครั้งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา รวมทั้งความขัดแย้งกันด้วยกำลังอาวุธในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก รวันดา ยูกันดา ซูดาน โกตดิวัวร์ พม่า ฟิลิปปินส์ โคลัมเบีย และปาเลสไตน์ การฟื้นฟูสภาพของทหารเด็กที่กลับคืนสู่ชุมชนนั้นมีแตกต่างกันตั้งแต่ไม่เพียงพอไปจนถึงไม่ปรากฏเลย วันมือแดงได้รับการริเริ่มขึ้นใน..

ดู ประเทศรวันดาและวันมือแดง

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

สตัฟฟัน เด มิสตูรา

ตัฟฟัน เด มิสตูรา (Staffan de Mistura) เป็นนักการทูตอิตาลี-สวีเดนที่มีประสบการณ์ยาวนานและอดีตสมาชิกของรัฐบาลอิตาลี หลังจากอาชีพ 40 ปีในหลายหน่วยงานของสหประชาชาติ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นปลัดกระทรวง (รัฐมนตรีชั้นรอง) สำหรับการต่างประเทศในรัฐมนตรีอิตาลีที่นำโดยมารีโอ มอนตี ปัจจุบัน เขาเป็นผู้อำนวยการวิลลาซันมีเกเลในกาปรี และทูตพิเศษแห่งสหประชาชาติเพื่อรับมือวิกฤติซีเรีย ตำแหน่งสหประชาชาติของเด มิสตูรา ก่อนหน้าประกอบด้วยผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติในประเทศอิรัก (ค.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและสตัฟฟัน เด มิสตูรา

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

อันเนอ ฟรังค์

อันเนอลีส มารี "อันเนอ" ฟรังค์ (Annelies Marie "Anne" Frank; 12 มิถุนายน 2472 – ประมาณมีนาคม 2488) หรือแอนน์ แฟรงค์ เป็นเด็กหญิงชาวยิว เกิดที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้เขียนบันทึกประจำวันซึ่งต่อมาได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ บรรยายเหตุการณ์ขณะหลบซ่อนตัวจากการล่าชาวยิวในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างที่ถูกเยอรมนีเข้าครอบครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของเธอได้ย้ายไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและอันเนอ ฟรังค์

อีแลนด์ธรรมดา

อีแลนด์ธรรมดา หรือ อีแลนด์ใต้ หรือ อีแลนด์แอนทีโลป (Common eland, Eland, Southern eland, Eland antelope) สัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นแอนทีโลปจำพวกวัวและควาย จัดเป็นอีแลนด์ชนิดหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นแอนทีโลปขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในทวีปแอฟริกา แพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในอุทยานแห่งชาติและเขตอนุรักษ์แห่งชาติในเคนยา, แทนซาเนีย, รวันดา, อูกันดา, นามิเบีย และแอฟริกาใต้ มีรูปร่างใหญ่บึกบึน ตัวผู้มีน้ำหนักตัวประมาณ 500-900 กิโลกรัม หรือมากกว่า 1 ตัน ตัวเมีย 330-500 กิโลกรัม มีความสูงเฉลี่ย 1.4-1.8 เมตร ความยาวลำตัวประมาณ 2.4-3.4 เมตร อายุขัยเฉลี่ยตั้งแต่ 5-20 ปี อีแลนด์ธรรมดา มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่ตัวผู้จะมีเขาใหญ่กว่า ขณะที่ตัวเมียเขาจะยาวกว่าเล็กน้อย อาศัยอยู่ตามทุ่งหญ้าที่โล่งกว้างและป่าละเมาะที่ไม่หนาทึบมากนัก มักเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยไปเรื่อย ๆ เพื่อหาหญ้า, ใบไม้, กิ่งไม้ และผลไม้ กินเป็นอาหาร ความชื้นจากอาหารเหล่านี้ช่วยหล่อเลี้ยงให้อีแลนด์ธรรมดาอดน้ำได้เป็นเวลานาน แม้จะมีรูปร่างที่ใหญ่ แต่ลูกอีแลนด์ธรรมดาหรืออีแลนด์ธรรมดาตัวเมียก็ยังตกเป็นอาหารของสิงโต และไฮยีน่า ที่ล่าเป็นฝูง.

ดู ประเทศรวันดาและอีแลนด์ธรรมดา

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ดู ประเทศรวันดาและอนุสัญญาแรมซาร์

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ดู ประเทศรวันดาและจังหวัด

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ดู ประเทศรวันดาและทวีปแอฟริกา

ทะเลสาบคีวู

ทะเลสาบคีวู (Lake Kivu) เป็นทะเลสาบในทวีปแอฟริกา อยู่ทางตอนกลางของทวีป ระหว่างสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกกับรวันดา ทางเหนือของทะเลสาบแทนกันยีกา และทางใต้ของทะเลสาบเอ็ดเวิร์ด ทะเลสาบมีเนื้อที่ 2,700 ตร.กม.

ดู ประเทศรวันดาและทะเลสาบคีวู

ทู้ทซี่

ปสเตอร์ต้นฉบับของ ทู้ทซี่ ทู้ทซี่ (Tootsie) เป็นชื่อของภาพยนตร์แนวตลกเรื่องหนึ่งที่ออกฉายใน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) โดย โคลัมเบีย พิคเจอร์ส (Columbia Pictures) โดยมีดาราดังในขณะนั้น คือ ดัสติน ฮอฟแมน เป็นตัวเอกของเรื่อง ทู้ทซี่ เป็นภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับดาราชายที่ตกอับ ได้ปลอมตัวเป็นผู้หญิงคนใหม่ เข้าวงการใหม่อีกครั้ง และมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วประเทศ ซึ่งเป็นแนวคิดที่แปลกใหม่ไม่ซ้ำใครในช่วงเวลานั้น ถึงแม้จะไม่ใช่ภาพยนตร์เรื่องแรกที่เกี่ยวกับการปลอมตัวเป็นเพศตรงข้าม แต่ทู้ทซี่ ก็เป็นเรื่องแรกที่เกี่ยวกับการปลอมตัวเป็นเพศตรงข้ามที่โด่งดังในประเทศไทย ประกอบกับเพลงประกอบภาพยนตร์ คือเพลง It Might Be You ซึ่งร้องโดย สตีเฟน บิชอป ซึ่งติดอันดับท็อปฮิตในสหรัฐอเมริกา ทำให้ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จงดงาม ทู้ทซี่ ได้รับรางวัลออสการ์ 1 สาขา คือ นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เจสซิกา แลงจ์) ภาพยนตร์เรื่องนี้ ทำรายได้เปิดตัวสัปดาห์แรก 5,440,470 ดอลลาร์สหรัฐ และทำรายได้รวมทั้งหมด 177.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเทียบเท่า 390.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปัจจุบัน เป็นภาพยนตร์ตลกที่ทำรายได้สูงที่สุดประจำปี พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและทู้ทซี่

ดาวเทียมไทยคม

วเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและดาวเทียมไทยคม

ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ

ลกในปี 1945 ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติแสดงด้วยสีเขียว ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ (United Nations Trust Territories) เป็นผู้สืบทอดดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ (League of Nations mandates) โดยเริ่มเกิดขึ้นมาเมื่อสันนิบาตชาติถูกยุบในปี 1946.

ดู ประเทศรวันดาและดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ดู ประเทศรวันดาและคริสต์สหัสวรรษที่ 3

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ดู ประเทศรวันดาและคำขวัญประจำชาติ

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ดู ประเทศรวันดาและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

คิกาลี

กาลี (Kigali) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศรวันดา มีประชากรเกือบ 1 ล้านคน (ค.ศ. 2009) ตั้งอยู่เกือบใจกลางของประเทศ เป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเดินทาง เป็นเมืองหลวงของประเทศในปี..

ดู ประเทศรวันดาและคิกาลี

คนพื้นเมือง

นพื้นเมืองบราซิล คนพื้นเมืองนอร์เวย์ คนพื้นเมืองนิวซีแลนด์ คนพื้นเมืองCameroon คนพื้นเมืองในแคนาดา หนึ่งในนิยามของ คนพื้นเมือง ชนเผ่าพื้นเมือง หรือ ชาวพื้นเมือง (indigenous peoples หรือ aboriginal peoples) ให้ความหมายของคำนี้ว่าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ มีกำเนิดในท้องถิ่นนั้น มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา เป็นของตนเอง มีเอกตลักษณ์การแต่งกายที่เป็นของตนเอง อย่างไรก็ดีไม่มีนิยามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ยี่สิบ คำนี้มักใช้กล่าวถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับแผ่นดินก่อนการล่าอาณานิคมหรือการก่อตั้งรัฐชาติและกลุ่มชาติพันธุ์ดังกล่าวคงไว้ซึ่งความแตกต่างทางวัฒนธรรมและการเมืองจากวัฒนธรรมและการเมืองกระแสหลักในรัฐชาติที่กลุ่มชาติพันธ์นั้นดำรงอยู่Coates 2004:12 ความหมายทางการเมืองของคำนี้หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่ง่ายต่อการถูกเอาเปรียบและกดขี่โดยรัฐชาติ ด้วยเหตุนี้จึงมีการกำหนดสิทธิพิเศษทางการเมืองให้กับชนพื้นเมืองโดยองค์การนานาชาติ อาทิเช่น สหประชาชาติ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ และธนาคารโลก สหประชาชาติได้ประกาศ Declaration on the Rights of Indigenous Peoples เพื่อปกป้องสิทธิในวัฒนธรรม อัตลักษณ์ ภาษา การจ้างงาน สุขภาพ การศึกษา และทรัพยากรธรรมชาติ ของชนพื้นเมือง ด้วยนิยามที่ต่างกันไป มีประมาณการณ์ว่าชนพื้นเมืองในโลกนี้มีอยู่ราว 220 ล้านคนใน..

ดู ประเทศรวันดาและคนพื้นเมือง

งูเห่าน้ำ

งูเห่าน้ำ (Water cobras) เป็นสกุลของงูพิษสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Boulengerina ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) คำว่า Boulengerina ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น มาจากชื่อของจอร์จ อัลเบิร์ต บุนเลเยอร์ นักสัตววิทยาชาวเบลเยี่ยม-อังกฤษWallach, V., W.

ดู ประเทศรวันดาและงูเห่าน้ำ

ประเทศบุรุนดี

รุนดี (ฝรั่งเศสและBurundi) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐบุรุนดี (Republika y'u Burundi; République du Burundi) หรือชื่อเดิมว่า อุรุนดี (Urundi) คือประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเกรตเลกส์ของแอฟริกา บุรุนดีมีพรมแดนทางเหนือจดประเทศรวันดา ทางใต้และตะวันออกจดประเทศแทนซาเนีย และทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก บุรุนดีเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อย่างไรก็ดี ทางตะวันตกส่วนใหญ่ติดต่อกับทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) ชื่อบุรุนดีมาจากภาษากลุ่มบันตู ภาษาคิรุนดี นอกจากจะเป็นประเทศที่ห่างไกลทางภูมิศาสตร์ มีความกดดันทางประชากร และมีทรัพยากรเบาบางแล้ว บุรุนดีเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนและมีความขัดแย้งมากที่สุดในแอฟริกาและโลก ขนาดเล็กของบุรุนดี ต่างจากปัญหาใหญ่ที่มีเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยพื้นที่ที่เป็นสิทธิ์ของชนกลุ่มน้อยทุตซี กับชนกลุ่มใหญ่ฮูตู.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศบุรุนดี

ประเทศยูกันดา

ูกันดา (Uganda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐยูกันดา (Republic of Uganda) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกจดประเทศเคนยา ทางเหนือจดประเทศซูดานใต้ ทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศรวันดา และทางใต้จดประเทศแทนซาเนีย ทางใต้ของประเทศรวมถึงบางส่วนของทะเลสาบวิกตอเรีย ซึ่งมีพรมแดนติดกับเคนยาและแทนซาเนียด้วย ยูกันดาได้ชื่อมาจากอาณาจักรบูกันดาซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมทางใต้ของประเทศ รวมถึงเมืองหลวง กัมปาลา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นคือ อาณาจักรโตโร อาณาจักรบุนโยโร-กิตารา อาณาจักรบูโซกา อาณาจักรอันโกเล อาณาจักรรเวนซูรูรู เมืองหลวงเก่าของประเทศนี้คือเอนเทบบี อันเป็นที่ตั้งของสนามบินแห่งชาติยูกันดาด้ว.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศยูกันดา

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1984

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1988

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1992

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1994 ในประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1994

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1996

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2000

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2004

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2008

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2012

ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศรวัน.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2016

ประเทศแทนซาเนีย

แทนซาเนีย หรือชื่อทางการ สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย (United Republic of Tanzania; Jamhuri ya Muungano wa Tanzania) เป็นประเทศที่อยู่บนชายฝั่งตะวันออกของแอฟริกา มีอาณาเขตทางเหนือจดเคนยาและยูกันดา ทางตะวันตกจดรวันดา บุรุนดี และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และทางใต้จดแซมเบีย มาลาวี และโมซัมบิก ส่วนทางตะวันออกจดมหาสมุทรอินเดีย ประเทศตั้งชื่อมาจากแผ่นดินใหญ่แทนกันยีกาและเกาะแซนซิบาร์ที่อยู่นอกจากชายฝั่งตะวันออก แทนซาเนียเป็นสมาชิกของเครือจักรภพแห่งชาติ ตั้งแต่ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศแทนซาเนีย

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ดู ประเทศรวันดาและประเทศเบลเยียม

ประเทศเซาท์ซูดาน

ซาท์ซูดาน (South Sudan) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซาท์ซูดาน (Republic of South Sudan) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดมีชื่อว่า จูบา ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐอิเควทอเรียลกลางที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เซาท์ซูดานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ทางตะวันออกมีอาณาเขตติดต่อกับเอธิโอเปีย ทางใต้ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันตกติดต่อกับสาธารณรัฐแอฟริกากลาง และทางเหนือติดต่อกับซูดาน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบึงตมซึ่งเกิดขึ้นจากแม่น้ำไนล์ขาว หลังจากซูดานได้รับเอกราชเมื่อปี..

ดู ประเทศรวันดาและประเทศเซาท์ซูดาน

ป่าเมฆ

ฟินต้นในป่าเมฆบนยอดเขากีนาบาลู, บอร์เนียว ที่ Parque Internacional la Amistad ป่าเมฆเขตอบอุ่นบน La Palma, หมู่เกาะคะเนรี ป่าเมฆของ Monteverde, ประเทศคอสตาริกา ป่าเมฆบนเขาหลูซานทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หนึ่งในสะพานแขวนของ Sky walk ใน Santa Elena, Costa Rica หายไปในเมฆ มอสส์ในป่าเมฆเขตอบอุ่นที่ Budawang National Park, ประเทศออสเตรเลีย ป่าเมฆ (cloud forest) หรือ ป่าหมอก (fog forest) คือป่าไม้เขตร้อนในเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน เติบโตตามภูเขา ไม่ผลัดใบ มีโอกาสถูกปกคลุมด้วยเมฆระดับต่ำได้สูง ปกติมักอยู่ระดับยอดเขาและสันเขา ป่าเมฆจะอุดมไปด้วยมอสส์ไม่ว่าบนพื้นหรือบนต้นไม้จึงเรียกอีกอย่างว่า ป่ามอสส์ (mossy forest) ป่ามอสส์มักจะอยู่บนสันเขาที่ซึ่งได้รับความชื้นจากเมฆอย่างมีประสิท.

ดู ประเทศรวันดาและป่าเมฆ

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ดู ประเทศรวันดาและนิติภาวะ

แหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียง

แหล่งผลิตกาแฟของโลกr: แหล่งปลูก ''Coffea canephora'' m: แหล่งปลูก ''Coffea canephora'' และ ''Coffea arabica''. a: แหล่งปลูก ''Coffea arabica''.

ดู ประเทศรวันดาและแหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียง

แอฟริกาตะวันออก

นแดนแอฟริกาตะวันออก แอฟริกาตะวันออก เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตะวันออกของทวีปแอฟริกา ซึ่งประกอบไปด้วย 18 ประเทศคือ.

ดู ประเทศรวันดาและแอฟริกาตะวันออก

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี (German East Africa; Deutsch-Ostafrika) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี

แทนกันยีกา

แทนกันยีกา (Tanganyika) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในภายหลัง สาธารณรัฐแทนกันยีกา เป็นรัฐเอกราชในแอฟริกาตะวันออกตั้งแต่ปี..

ดู ประเทศรวันดาและแทนกันยีกา

โรคเท้าช้าง

รคเท้าช้าง เป็นโรคที่มีลักษณะผิวหนังและเนื้อเยื่อข้างใต้หนาตัวขึ้น โดยเฉพาะบริเวณขาและอวัยวะเพศ ในบางครั้งอาจมีการบวมของอัณฑะ โดยมียุงเป็นพาหะนำโร.

ดู ประเทศรวันดาและโรคเท้าช้าง

โจเซฟ กาบีลา

ซฟ กาบีลา (Joseph Kabila, เกิด 4 มิถุนายน 1971) เป็นนักการเมืองชาวคองโกและเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกตั้งแต่เดือนมกราคม..

ดู ประเทศรวันดาและโจเซฟ กาบีลา

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ดู ประเทศรวันดาและโปเกมอน โก

ไมเคิล พอร์เตอร์

ตราจารย์ ไมเคิล ยูจีน พอร์เตอร์ (Michael Eugene Porter) (เกิดในปี พ.ศ. 2490) เป็นนักคิด นักบริหาร และนักเศรษฐศาสตร์ มีชื่อเสียงในส่วนของการบริหารเชิงกลยุทธ์ โดยเป็นผู้พัฒนาทฤษฎีในเรื่องกลยุทธ์การแข่งขัน.

ดู ประเทศรวันดาและไมเคิล พอร์เตอร์

ไฮแรกซ์จุดเหลือง

แรกซ์จุดเหลือง หรือ ไฮแรกซ์พุ่มไม้ (Yellow-spotted rock hyrax, Bush hyrax) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) ในวงศ์ไฮแรกซ์ (Procaviidae) มีลักษณะรูปร่างคล้ายกับไฮแรกซ์หิน ซึ่งเป็นไฮแรกซ์อีกชนิดหนึ่ง มีน้ำหนักประมาณ 1.5-2.5 กิโลกรัม มีความสูง 20-25 เซนติเมตร ความยาว 35-57 เซนติเมตร อายุขัยเฉลี่ย 5-10 ปี ไฮแรกซ์จุดเหลืองมีรูปร่างลักษณะเหมือนไฮแรกซ์หิน แต่มีจุดสีขาวเหนือดวงตาแต่ละข้าง อาศัยอยู่ตามโขดหินและถ้ำเล็ก ๆ กินพืชต่าง ๆ และใบไม้บนต้นไม้เป็นอาหาร ไฮแรกซ์จุดเหลืองก็เหมือนกับไฮแรกซ์หินตรงที่ก็ตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น เสือดาว, เสือชีตาห์, แมวป่าต่าง ๆ, นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ เช่น อินทรี, เหยี่ยว หรือนกฮูก รวมทั้งงู ไฮแรกซ์จุดเหลือง นับเป็นไฮแรกซ์ชนิดที่พบได้มากที่สุดและกระจายพันธุ์ในวงกว้างที่สุด โดยพบที่แองโกลา, บอตสวานา, บูรุนดี, คองโก, อียิปต์ตอนใต้, เอริเธรีย, เอธิโอเปีย, เคนยา, มาลาวี, โมซัมบิก, รวันดา, โซมาลี, ตอนเหนือของแอฟริกาใต้, ซูดาน, แทนซาเนีย, อูกันดา, แซมเบีย และ ซิมบับเว โดยไม่พบในอาระเบียเหมือนไฮแรกซ์หิน.

ดู ประเทศรวันดาและไฮแรกซ์จุดเหลือง

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ดู ประเทศรวันดาและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ไดแอน ฟอสซีย์

แอน ฟอสซีย์ กับดิจิต กอริลลาภูเขาตัวผู้ ตัวโปรดของเธอ ไดแอน ฟอสซีย์ (Dian Fossey; 16 มกราคม ค.ศ. 1932 - 26 ธันวาคม ค.ศ. 1985) นักสัตววิทยาชาวอเมริกัน ผู้ทำการศึกษาพฤติกรรมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยเฉพาะกับกอริลลา (วานรวิทยา) เธอมีชื่อเสียงจากการผลงานวิจัยกลุ่มลิงกอริลลาภูเขา ในป่าทึบของประเทศรวันดา มีผลงานเขียนหนังสือ ชื่อ Gorilla in the Mist ซึ่งถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อ Gorillas in the Mist: The Story of Dian Fossey (1988) หลังจากเธอเสียชีวิต รับบทโดยซิกอร์นีย์ วีเวอร.

ดู ประเทศรวันดาและไดแอน ฟอสซีย์

เกรตริฟต์แวลลีย์

แนวหุบเขาทรุดถ่ายจากดาวเทียม เกรตริฟต์แวลลีย์ (Great Rift Valley) คือหุบเขารอยเลื่อนขนาดใหญ่ เป็นรอยแยกยาวต่อเนื่องขนาดยาวที่สุดในโลก ขนาดความกว้างประมาณ 30-100 กิโลเมตร เป็นหน้าผาดิ่งจากที่ราบสูงรอบ ๆ ลึกกว่า 450-800 เมตร พาดผ่าน 19 ประเทศ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เรียงกันได้ดังนี้ เริ่มต้นจากประเทศซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน เวสต์แบงก์ (ปาเลสไตน์) ผ่านเข้าสู่ทะเลแดง เลียบชายฝั่งอียิปต์และซูดาน ก่อนจะเข้าสู่เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา ยูกันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) รวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย แซมเบีย มาลาวี และสิ้นสุดในโมซัมบิก รวมความยาวที่พาดผ่านตั้งแต่เหนือจรดใต้ ประมาณ 6,750 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ 1 ใน 4 เท่าของเส้นรอบวงโลก (เส้นศูนย์สูตร) โดยที่ขอบด้านข้างของหุบเขาทรุดสูงมากกว่า 2,000 เมตร หุบเขาทรุดเกิดจากการที่แผนเปลือกโลก 2 แผ่นแยกออกจากกัน คือ แผ่นเปลือกโลกที่รองรับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกาตะวันออก กับแผ่นเปลือกโลกที่รอบรับทวีปแอฟริกาทั้งทวีป ซึ่งค่อย ๆ แยกตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอทำให้เกิดแนวทรุดตัวเป็นแนวยาว เกิดที่ที่ราบทรุดตัวแม่น้ำ ร่องธารลึก และภายในยุคหน้าน้ำทะเลจะท่วมเข้ามาจนกระทั่งตัดทวีปแอฟริกาขาดออกจากกัน.

ดู ประเทศรวันดาและเกรตริฟต์แวลลีย์

เจ้าชายวิตตอรีโอ เอมานูเอเล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์

้าชายวิตตอริโอ เอ็มมานูเอล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์ หรือ มกุฎราชกุมารแห่งอิตาลี (HRH Prince Vittorio Emanuele, Prince of Naples); เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวใน พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 กับ สมเด็จพระราชินีมารี-โจดซแห่งอิตาลี ภายหลังอิตาลีเปลี่ยนระบอบการปกครอง พระองค์และพระราชวงศ์ยังสามารถดำรงพระอิสริยยศนี้ได้ตลอดพระชนม์ชีพ ทรงอภิเษกสมรสกับ มาริน่า ริโกลฟี่ ดอเรีย ภายหลังได้รับพระราชอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงแห่งเนเปิลส์ มกุฎราชกุมารีแห่งอิตาลี มีพระราชโอรสร่วมกันเพียงพระองค์เดียวคือ เจ้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าขายแห่งเวนิซ ทั้งนี้ พระองค์ยังถือเป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระราชมาร.

ดู ประเทศรวันดาและเจ้าชายวิตตอรีโอ เอมานูเอเล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์

เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน

้าชายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน (رضا پهلوی, ปัจจุบันคือ นายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี, พระราชสมภพ 31 ตุลาคม ค.ศ.

ดู ประเทศรวันดาและเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน

เจ้าชายเอมานูเอเล ฟีลีแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ

้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวใน เจ้าชายวิคตอริโอ เอ็มมานูเอล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์ และ เจ้าหญิงมารินา เจ้าหญิงแห่งเนเปิลส์ ด้วยพระราชวงศ์แห่งอิตาลีถูกล้มล้างไปแล้วก็ตาม แต่สมาชิกพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์ซาวอย ก็ยังสามารถดำรงพระอิสริยยศนี้ไปได้ตลอดพระชนม์ชีพ เจ้าชายเอ็มมานูเอล ทรงเสกสมรสกับนางสาวคลอทิลด์ มารี ปาสคาลล์ คูโร่ (ภายหลัง เจ้าหญิงคลอทิลด์ เจ้าหญิงแห่งเวนิซ) ทรงมีพระธิดาร่วมกัน 2 พระอง.

ดู ประเทศรวันดาและเจ้าชายเอมานูเอเล ฟีลีแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ

เทือกเขาวีรูงกา

ทือกเขาวีรูงกา (Virunga Mountains) เป็นแนวภูเขาไฟในแอฟริกาตะวันออก ตามพรมแดนด้านเหนือของรวันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และยูกันดา เทือกเขานี้เป็นสาขาหนึ่งของอัลเปอร์ไทน์ริฟต์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเกรตริฟต์แวลลีย์ ตั้งอยู่ระหว่างทะเลสาบเอ็ดเวิร์ดและทะเลสาบกิวู คำว่า "วีรูงกา" เป็นคำในภาษาอังกฤษของคำว่า ibirunga ในภาษากินยาร์วันดา ซึ่งมีความหมายว่า "เทือกเขา" เทือกเขาวีรูงกาประกอบด้วยภูเขาไฟหลัก 8 ลูก ส่วนใหญ่เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว ยกเว้นภูเขาไฟเอ็นยิรากอนโก (3,462 เมตร) และภูเขาไฟนัยยะมูรกิรา (3,063 เมตร) ทั้งสองอยู่ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก การปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อ..

ดู ประเทศรวันดาและเทือกเขาวีรูงกา

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ดู ประเทศรวันดาและเขตเวลา

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ดู ประเทศรวันดาและISO 4217

.rw

.rw เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศรวันดา เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2539.

ดู ประเทศรวันดาและ.rw

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศรวันดาและ1 กรกฎาคม

1 E+10 m²

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 20,494 ตารางกิโลเมตร ประเทศปานามา มีพื้นที่ 78,200 ตารางกิโลเมตร ประเทศโปรตุเกส มีพื้นที่ 92,391 ตารางกิโลเมตร 1 E+10 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000 ถึง 100,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ดู ประเทศรวันดาและ1 E+10 m²

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Rwandaรวันดาสาธารณรัฐรวันดา

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคิกาลีคนพื้นเมืองงูเห่าน้ำประเทศบุรุนดีประเทศยูกันดาประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1984ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1988ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1992ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1994ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 1996ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2000ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2004ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2008ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2012ประเทศรวันดาใน ค.ศ. 2016ประเทศแทนซาเนียประเทศเบลเยียมประเทศเซาท์ซูดานป่าเมฆนิติภาวะแหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียงแอฟริกาตะวันออกแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนีแทนกันยีกาโรคเท้าช้างโจเซฟ กาบีลาโปเกมอน โกไมเคิล พอร์เตอร์ไฮแรกซ์จุดเหลืองไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไดแอน ฟอสซีย์เกรตริฟต์แวลลีย์เจ้าชายวิตตอรีโอ เอมานูเอเล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่านเจ้าชายเอมานูเอเล ฟีลีแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซเทือกเขาวีรูงกาเขตเวลาISO 4217.rw1 กรกฎาคม1 E+10 m²