โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศนิการากัว

ดัชนี ประเทศนิการากัว

นิการากัว (Nicaragua) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนิการากัว (República de Nicaragua) เป็นประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดในอเมริกากลาง แต่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศฮอนดูรัส ทางใต้จรดประเทศคอสตาริกา ชายฝั่งตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนชายฝั่งตะวันออกจรดทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากการสนธิระหว่างคำว่า "นีการาโอ" (Nicarao) เป็นชื่อชนเผ่าพื้นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดขณะที่ชาวสเปนมาถึง กับคำว่า "อะกวา" (Agua) ซึ่งเป็นคำในภาษาสเปน แปลว่าน้ำ.

172 ความสัมพันธ์: บริสตอลชวน หลีกภัยชาติชาย เชี่ยวน้อยบาโฮนวยโวแบงก์บูลส์อาย (หนังสือการ์ตูน)บีเลอเฟ็ลท์ชนะ ป.เปาอินทร์พ.ศ. 2530กบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รีการบุกครองอ่าวหมูการลงโทษทางกายฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาสเปนมาซายามานากัวมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสแอมบาสซเดอร์มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2014มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสเตอร์เวิลด์ 2016มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีรัฐในอารักขารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลารายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อปีในประเทศนิการากัวรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริการายการภาพธงชาติรีการ์โด โลเปซลัทธิอาณานิคมลาตินอเมริกาวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือวันชาติวันแม่วงแหวนไฟศาสนาพุทธในประเทศนิการากัวศิลปะสกัดหินสมเสร็จอเมริกากลางสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางสหภาพฟุตบอลอเมริกากลางสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ...สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีสงวนลิขสิทธิ์สงครามรัสเซีย-จอร์เจียสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกสนธิสัญญาแวร์ซายหนังสือเดินทางไทยอับคาเซียอาร์คิมิดีสอาเลกซิส อาร์กูเอโยอูโก ชาเบซอนุสัญญาแรมซาร์อเมริกากลางผู้มีชื่อเสียงธงชาติฮอนดูรัสธงชาตินิการากัวทรายดำทวีปอเมริกาเหนือทะเลสาบนิการากัวดินแดนของสหรัฐอเมริกาด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสคริสต์สหัสวรรษที่ 3คลองปานามาความแพร่หลายของภาษาสเปนคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางตราแผ่นดินของนิการากัวซัลเบอาตี นิการากัวประเทศฮอนดูรัสประเทศคอสตาริกาประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1912ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1914ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1916ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1920ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1924ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1926ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1928ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1930ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1932ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1936ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1950ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1957ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1963ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1967ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1968ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1971ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1972ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1974ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1975ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1976ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1979ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1980ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1983ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1984ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1990ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1991ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1992ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1995ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1996ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1999ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2000ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2001ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2003ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2004ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2006ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2007ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2008ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2011ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2012ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2015ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2016ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2019ประเทศนิการากัวในแพนอเมริกันเกมส์ประเทศไต้หวันปลากระเบนปีศาจหางหนามปลาหมอมาคูลิคัวด้าป่าเมฆนางงามจักรวาล 1955นางงามจักรวาล 1956นางงามจักรวาล 1963นางงามจักรวาล 1964นางงามจักรวาล 1968นางงามจักรวาล 1972นางงามจักรวาล 1973นางงามจักรวาล 1979นางงามจักรวาล 1991นางงามจักรวาล 1994นางงามจักรวาล 1995นางงามจักรวาล 1997นางงามจักรวาล 1998นางงามจักรวาล 2001นิวสเปนแมนเชสเตอร์แหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียงแฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัยแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559แผ่นดินไหวในอีกีเก พ.ศ. 2557แผ่นดินไหวในคอสตาริกา พ.ศ. 2555แคฝรั่งโบลเดอร์โรเซนโด อัลบาเรซโอเล่ห์ดง ศักดิ์เสมอชัยไมยราบยักษ์เบอร์นี แซนเดอร์สเฟอร์นันโด วาร์กัสเลสเตอร์เวลาสากลเชิงพิกัดเหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกาเอร์โมซาโซเบรานาเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเทศกาลเพลงโอตีเขตอุปราชแห่งนิวกรานาดาเขตเวลาเซร์รานียาแบงก์เซร์ฮีโอ กอนซาเลซเซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา)CYP3A5ISO 4217UTC−06:00.ni1 มิถุนายน15 กันยายน17 มิถุนายน ขยายดัชนี (122 มากกว่า) »

บริสตอล

ริสตอล เป็นเมืองที่อยู่ในทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ โดยมีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 433,100 คนกับประชากรในแถบชานเมืองอยู่ 1,070,000 คน เป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในอันดับ 6 ของอังกฤษและอันดับ 8 ของสหราชอาณาจักร โดยเมืองบริสตอลเป็นหนึ่งในเมืองหลักของอังกฤษตะวันตกเฉียงใต้ ใน ค.ศ. 1155 เมืองบริสตอลได้รับพระบรมราชานุญาต และใน ค.ศ. 1373 ได้สถานะเป็นเทศมณฑล ชื่อของเมืองบริสตอลเป็นภาษาอังกฤษเก่า หมายถึง ที่ซึ่งมีตะพาน เมืองนี้เคยเป็นเมืองท่ามากว่า 800 ปีแต่ตอนนี้เรือมีขนาดใหญ่กว่าเมื่อก่อนจึงย้ายเมืองท่าไปที่เมืองแอวันมอทแทน บริสตอล ในอดีตเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทาส ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเมืองนี้ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง แต่ปัจจุปันได้มีโรงงานมากมายมาตั้งอยู่ที่เมืองนี้ และเครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงคองคอร์ดก็ได้สร้างที่เมืองนี้.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและบริสตอล · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย เชี่ยวน้อย

ติชาย เชี่ยวน้อย อดีตนักมวยสากลอาชีพชาวไทย เป็นแชมป์โลกคนที่ 2 ของไท.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและชาติชาย เชี่ยวน้อย · ดูเพิ่มเติม »

บาโฮนวยโวแบงก์

นวยโวแบงก์ (Bajo Nuevo Bank) เป็นเกาะของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์เป็นเกาะที่มีข้อพิพาททางการปกครอง โดยที่นี่เป็นดินแดนที่โคลอมเบีย จาเมกา นิการากัว และสหรัฐอเมริกาต่างอ้างสิทธิ์ ที่นี่เป็นเกาะที่มีขนาดเล็ก อยู่ในแนวปะการัง ที่มีขนาดเล็กบาง เกาะเล็กเกาะน้อย ที่ปกคลุมด้วย หญ้า ที่ตั้งอยู่ในทิศตะวันตก ทะเลแคริบเบียน ที่ 15 ° 53 'n 78 ° 38 'w พิกัด: 15 ° 53 'n 78 ° 38' กับ ประภาคาร โลว เคย์ ที่ 15 ° 51 'n 78 ° 38'.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและบาโฮนวยโวแบงก์ · ดูเพิ่มเติม »

บูลส์อาย (หนังสือการ์ตูน)

ูลส์อาย (Bullseye) เป็นตัวละครของมาร์เวลคอมิกส์ สร้างสรรค์โดยมาร์ฟ วูล์ฟแมนและจอห์น โรมิตา ซีเนียร์ ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูน แดร์เดวิล เล่มที่ 131 (มีนาคม 1976) บูลส์อายเป็นมือสังหารโรคจิตที่มีความแม่นยำในการปาอาวุธเข้าเป้าสูง เป็นศัตรูกับแดร์เดวิล บูลส์อายอยู่ในอันดับที่ 20 ของ 100 อันดับสุดยอดตัวร้ายในหนังสือการ์ตูนตลอดกาลของไอจีเอ็น และอันดับที่ 35 ใน 50 อันดับสุดยอดอเวนเจอ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและบูลส์อาย (หนังสือการ์ตูน) · ดูเพิ่มเติม »

บีเลอเฟ็ลท์

ีเลอเฟ็ลท์ (Bielefeld) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐนอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลิน ประเทศเยอรมนี มีฐานะเป็นเมืองอิสระ (kreisfreie Stadt) ตามการบริหารเขตปกครองของเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐ ปัจจุบันมีประชากรราว 330,000 คน ถือเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดอันดับที่แปดของรัฐ การตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ถูกกล่าวถึงครั้งแรกตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 และถูกกล่าวถึงในฐานะเมืองครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1214 บีเลอเฟ็ลท์เคยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยลินินมาเป็นเวลานาน ปัจจุบันเป็นเมืองอุตสาหกรรมด้านอาหาร สิ่งทอ เครื่องพิมพ์ และเครื่องจักรกล มีมหาวิทยาลัยหลักคือมหาวิทยาลัยบีเลอเฟ็ลท์ นอกจากนี้ยังเป็นบ้านของสโมสรฟุตบอลอาร์มีเนียบีเลอเฟ็ลท์ ซึ่งลงเล่นในลีกระดับสองของประเท.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและบีเลอเฟ็ลท์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ ป.เปาอินทร์

นะ ถูกหมัดของ เคอิทาโร โฮชิโน แต่เมื่อครบ 12 ยก ชนะเป็นฝ่ายชนะคะแนน ได้เป็นแชมป์โลกสมัยที่ 2 ชนะ ป.เปาอินทร์ มีชื่อจริงว่า คูณ หมดมา เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2509 ที่บ้านเลขที่ 191 หมู่ 12 บ้านน้ำหลุม ตำบลบ้านกลาง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ มีสถิติการชกทั้งหมด 61 ครั้ง ชนะ 54 (น็อก 19) เสมอ 3 แพ้ 4 แต่ชนะเกิดทีหลังด้วยความเชื่อของคนต่างจังหวัด จึงนับว่าเป็นพี่ ชนะได้รับฉายาจากแฟนมวยชาวไทยว่า "แชมป์โลกจอมคาถา" เนื่องจากมีรอยสักยันต์ที่กลางหลัง และก่อนชกพี่เลี้ยงจะบริกรรมคาถาให้ทุกครั้งเหมือนการชกมวยไท.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและชนะ ป.เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

กบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รี

กบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รี หรือ กบพิษสตรอว์เบอร์รี (Strawberry poison-dart frog, Strawberry poison frog) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกกบชนิดหนึ่ง ในวงศ์กบลูกศรพิษ (Dendrobatidae) เป็นกบที่มีขนาดเล็กเหมือนกับกบลูกศรพิษทั่วไป มีลำตัวเป็นสีแดงฉูดฉาดเห็นได้ชัดเจนและขาทั้งสี่ข้างเป็นสีน้ำเงิน (แต่ก็ยังมีบางส่วนที่มีสีสันแตกต่างออกไปตามสภาพสัณฐานวิทยา) นิ้วตีนไม่มีพังผืด เนื่องจากใช้ชีวิตในการปีนต้นไม้และอยู่บนพื้นดินเป็นส่วนใหญ่ กระจายพันธุ์อยู่ในป่าดิบชื้นของภูมิภาคอเมริกากลาง เช่น คอสตาริกา, นิคารากัว จนถึงตะวันออกเฉียงเหนือของปานามา กบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รีมีบลูกศรพิษที่หลั่งออกมาจากรูบนผิวหนังเหมือนรูขุมขนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เพื่อใช้ในการป้องกันตัวโดยเฉพาะจากสัตว์นักล่า เช่น งู เนื่องจากมีขนาดลำตัวเล็กมาก เมื่องูได้งับเข้าไปแล้ว จะปล่อยสารเคมีจำพวกแอลคาลอยด์ซึ่งสร้างความเจ็บปวดให้กับงูได้ จนกระทั่งต้องยอมคายออกมา แต่กระนั้นก็มิได้หมายความว่า กบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รีทุกตัวจะรอดได้ทั้งครั้ง หากโดนงับเข้าอย่างแรง ก็อาจทำให้ตัวกบแตกและตายได้ ตัวที่มีสีสันแตกต่างออกไป โดยสารแอลคาลอยด์ได้มาจากการที่กบกินอาหารจำพวกแมลงบางชนิด เช่น ปลวก, แมลงปีกแข็ง ที่กินพืชที่มีสารนี้เข้าไปและสะสมในตัว โดยเก็บไว้ในต่อมสารคัดหลั่ง เมื่อโดนคุกคาม จะคายผ่านผิวหนังเพื่อตอบโต้ กบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รีขยายพันธุ์ในกลีบดอกไม้หรือใบไม้ที่มีน้ำขังบนต้นไม้ขนาดใหญ่ในป่า เช่น บรอมเมเลีย เมื่อตัวเมียวางไข่ ตัวผู้จึงจะปล่อยสเปิร์มเข้าปฏิสนธิ โดยวางไข่จำนวนเพียง 3-4 ฟองเท่านั้น และจะถูกสัตว์บางชนิด เช่น แมงมุม กินเป็นอาหาร แต่จะมีบางส่วนที่เหลือรอด โดยหน้าที่เฝ้าไข่จะเป็นของกบตัวผู้ เมื่อลูกอ๊อดฟักเป็นตัวแล้ว ตัวผู้จะส่งสัญญาณไปยังตัวเมีย และจะเป็นหน้าที่ของตัวเมียที่จะเป็นฝ่ายเลี้ยงดูลูก โดยจะแบกลูกอ๊อดไว้บนหลังเพื่อหาที่ ๆ เหมาะสมสำหรับเลี้ยงดูลูกอ๊อด โดยจะเคลื่อนย้ายลูกอ๊อดไว้บนหลังแบบนี้จนกระทั่งหมด ตัวเมียจะปล่อยไข่ที่ไม่ได้ปฏิสนธิไว้เป็นอาหารแก่ลูกอ๊อด ลูกอ๊อดใช้ระยะเวลาราว 2 สัปดาห์จึงจะเติบโตจนมีสภาพเหมือนกบตัวเต็มวัย และจะปีนลงมาจากใบของต้นบรอมเมเลียลงสู่พื้นดิน เพื่อที่จะใช้ชีวิตต่อไป ซึ่งกบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รีที่เพิ่งลงสู่พื้นดิน ร่างกายจะยังไม่มีพิษสะสม จึงจะต้องเร่งหาอาหารกินเพื่อสะสมพิษ ในตอนนี้จึงอาจตกเป็นอาหารแก่งูได้ง.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและกบลูกศรพิษสตรอว์เบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองอ่าวหมู

อนุสรณ์อ่าวหมูในย่านลิตเทิลฮาวานา เมืองไมแอมี การรุกรานอ่าวหมู (Bay of Pigs Invasion, Invasión de Bahía de Cochinos), การรุกรานหาดฮิรอน (Invasión de Playa Girón) หรือ ยุทธการที่ฮิรอน (Batalla de Girón) เป็นปฏิบัติการล้มเหลวที่ดำเนินการโดยซีไอเอให้การสนับสนุนกลุ่มทหารกองพลน้อย2506 ที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและการบุกครองอ่าวหมู · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

มาซายา

มาซายา (Masaya) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดมาซายา ประเทศนิการากัว ตั้งอยู่ทางตะวันตกของกรานาดาราว 14 กม.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมาซายา · ดูเพิ่มเติม »

มานากัว

มานากัว (Managua) เป็นเมืองหลวงของประเทศนิการากัว ตั้งอยู่ริมชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของทะเลสาบมานากัว ที่พิกัดภูมิศาสตร์ มีจำนวนประชากร 1,380,100 คน เมืองนี้ได้รับการจัดตั้งเป็นเมืองหลวงในปี พ.ศ. 2398 ก่อนหน้านี้ที่ตั้งเมืองหลวงย้ายไปมาระหว่างเมืองเลอองกับเมืองกรานาดา ชาวมานากัวเกือบทั้งหมดเป็นชาวผิวขาวที่พูดภาษาสเปนและเชื้อสายเมสติโซ มีชุมชนรุ่นที่สาม รุ่นที่สี่ และรุ่นที่ห้าของชุมชนชาวกาตาลัน ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี และชาวฝรั่งเศส เช่นเดียวกับชาวตะวันออกกลางและชาวเอเชีย — ชาวญี่ปุ่นและชาวจีน (ทั้งชาวจีนแผ่นดินใหญ่และชาวไต้หวัน) ไม่กี่ปีมานี้ จำนวนชาวอเมริกา (อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และอเมริกาใต้) ที่ย้ายเข้าสู่กรุงมานากัวและประเทศนิการากัวได้เพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับในประเทศคอสตาริกา หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมานากัว · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 (Miss Grand International 2014.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 2 กำหนดจัดกิจกรรมกองประกวด ณ จังหวัดสุโขทัย และประกวดรอบตัดสินในวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแอมบาสซเดอร์

การประกวดมิสแอมบาสซเดอร์ (Miss Ambassador) เป็นการประกวดนางงามที่จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาสาวงามทำหน้าที่เป็นทูตสันถวไมตรี รณรงค์เกี่ยวกับกิจกรรมสาธารณประโยชน์ทั้งปวง โดยวัตถุประสงค์ในแต่ละปีจะเปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสมของการประกวด และการกำหนดรูปแบบ แนวคิดในแต่ละปี การประกวดเริ่มจัดขึ้นครั้งแรก ในปี 1990 ที่นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ดำเนินการโดย องค์กรมิสแอมบาสซเดอร์ (Miss Ambassador Organization) ซึ่งเป็นองค์กรเพื่อการกุศล ดำเนินการเพื่อรณรงค์กิจกรรมเพื่อสังคม จัดตั้งขึ้นโดย Peter Lee Sammor ในปี 1989 และจัดประกวด Miss Ambassador ครั้งแรกในวันที่ 14 มิถุนายน 1990 โดยมีตัวแทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมประกวดครั้งแรกทั้งหมด 59 ประเทศ ปัจจุบันมี Karen McDersonเป็นประธานองค์กร.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมิสแอมบาสซเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2014

นายแบบนานาชาติ 2014 (Mister International 2014) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 9 จัดขึ้นวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Mister International 2017) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 12 จัดเมื่อวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์เวิลด์ 2016

มิสเตอร์เวิลด์ 2016 (Mister World 2016) เป็นครั้งที่ 9 ของการประกวดมิสเตอร์เวิลด์ ซึ่งจัดขึ้นที่ลอรัลฮอลล์ของศูนย์การประชุมเซาท์พอร์ต ใน เซาท์พอร์ต เดวอน สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมิสเตอร์เวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์

รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ไม่ได้รับการรับรองจากรัฐสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งประเทศ การขาดการรับรองทางการทูตเป็นอุปสรรคต่อหน่วย (entity) ทางภูมิรัฐศาสตร์ร่วมสมัยซึ่งปรารถนาจะได้รับการรับรองเป็นรัฐเอกราชโดยนิตินัย ในอดีต เคยมีหน่วยที่คล้ายกัน และปัจจุบันมีหน่วยที่ประกาศอิสรภาพ ซึ่งมีการควบคุมดินแดนของตนโดยพฤตินัย โดยมีการรับรองแปรผันตั้งแต่ได้รับการรับรองจากรัฐที่ได้รับการรับรองอื่นแทบทั้งหมดไปจนถึงแทบไม่มีรัฐใดรับรองเลย มีสองลัทธิแต่เดิมที่มให้การตีความว่าเมื่อใดรัฐเอกราชโดยนิตินัยควรได้รับการรับรองเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศ ทฤษฎี "ประกาศ" (declarative) นิยามรัฐเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากเป็นไปตามเกณฑ์ต่อไปนี้: 1) มีดินแดนแน่นอน 2) มีประชากรถาวร 3) มีรัฐบาล และ 4) มีความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับรัฐอื่น ตามทฤษฎีประกาศ สภาพเป็นรัฐของหน่วยไม่ขึ้นอยู่กับการรับรองของรัฐอื่น ทว่า ทฤษฎี "ก่อตั้ง" นิยามรัฐว่าเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากได้รับการรับรองจากรัฐอื่นซึ่งเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศอยู่แล้ว หลายหน่วยอ้างลัทธิข้างต้นหนึ่งหรือทั้งสองลัทธิเพื่ออ้างความชอบของการอ้างสิทธิ์สภาพเป็นรัฐของหน่วย ตัวอย่างเช่น มีหน่วยที่เป็นไปตามเกณฑ์ทฤษฎีประกาศ (คือ มีการควบคุมเหนือดินแดนที่อ้างสิทธิ์อย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนโดยพฤตินัย มีรัฐบาลและประชากรถาวร) แต่สภาพเป็นรัฐของหน่วยเหล่านั้นไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอย่างน้อยหนึ่งรัฐ การไม่รับรองมักเป็นผลแห่งข้อขัดแย้งกับประเทศอื่นซึ่งอ้างว่าหน่วยเหล่านั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน ในกรณีอื่น หน่วยที่ได้รับการรับรองบางส่วนสองหน่วยหรือกว่านั้นอาจอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่เดียวกัน ซึ่งแต่ละหน่วยมีการควบคุมบางส่วนของพื้นที่นั้นโดยพฤตินัย (เช่นในกรณีสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐจีน และเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้) หน่วยซึ่งได้รับการรับรองจากรัฐส่วนน้อยของโลกปกติอ้างอิงลัทธิประกาศเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การอ้างสิทธิ์ของตน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา

นลสัน แมนเดลา รายการต่อไปนี้คือ รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา เนลสัน แมนเดลา ได้รับรางวัลรวมทั้งสิ้นมากกว่า 250 รางวัลตลอดช่วงเวลา 4 ทศวรรษ รางวัลที่สำคัญที่สุดคือ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งได้รับเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)

ทความนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(ราคาตลาด) ซึ่งเป็นมูลค่าตลาดของสินค้า โดยเป็นข้อมูลประมาณการจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก โดยสำนักข่าวกรองกลาง .

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อประเทศในทวีปอเมริกาเหนือเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อปีในประเทศนิการากัว

้านล่างนี้เป็นรายชื่อปีในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อปีในประเทศนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา

รายพระนามพระมหากษัตริย์และกษัตรีพระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รีการ์โด โลเปซ

รีการ์โด โลเปซ (Ricardo López) อดีตแชมป์โลกชาวเม็กซิโกผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ไม่เคยแพ้ใคร เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 ที่เมืองกูเอร์นาวากา รัฐมอเรโลส ประเทศเม็กซิโก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและรีการ์โด โลเปซ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ลาตินอเมริกา

นแดนลาตินอเมริกา ลาตินอเมริกา (América Latina; Amérique Latine; Latinoamérica, América Latina) คือ กลุ่มประเทศในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ที่พูดภาษากลุ่มโรมานซ์ เป็นหลัก ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและลาตินอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือ

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือกโซนนอร์เซกา จะมีสมาชิกทั้ง 6 ประเทศ เข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายที่ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือ

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือกโซนนอร์เซกา จะมีสมาชิกทั้ง 6 ประเทศ เข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายที่ประเทศญี่ปุ่น ทีมชาติสหรัฐอเมริกาได้ผ่านการคัดเลือกโดยอัตโนมัติสำหรับชิงแชมป์โลก 2018 ในฐานะแชมป์โลก 2014.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและวงแหวนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศนิการากัว

ทธศาสนาในประเทศนิการากัว เริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 19 มีการอพยพของชาวจีนโพ้นทะเลมาตั้งถิ่นฐานในประเทศนิการากัว ในปัจจุบันในประเทศนิการากัวมีชาวพุทธประมาณ 0.1% ซึ่งมีจำนวนน้อยมาก และบางส่วนก็ได้หันไปนับถือศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและศาสนาพุทธในประเทศนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสกัดหิน

อุทยานแห่งชาติแคนยอนแลนด์ในยูทาห์ในสหรัฐอเมริกา งานสลักลายหินที่รู้จักกันว่า "Meerkatze" ที่เป็นภาพสิงโตต่อสู้กันที่ Wadi Methkandoushที่ลิเบีย ศิลปะสกัดหิน (Petroglyph หรือ Rock engravings) เป็นแผนภูมิรูปภาพ (pictogram) และ แผนภูมิโลโก (logogram) ที่สร้างโดยการสกัด, เซาะ, ถาก, แกะ หรือ ครูดหินจนเป็นภาพ นอกทวีปอเมริกาเหนือนักวิชาการมักจะใช้คำว่า "สลัก", "แกะ" หรือคำบรรยายอื่นในการบรรยายวิธีการสร้างภาพดังกล่าว ศิลปะสกัดหินพบทั่วไปในโลกและมักจะเกี่ยวข้อง (แต่ไม่เสมอไป) กับชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในภาษาอังกฤษคำว่า "Petroglyph" มาจากคำสองคำในภาษากรีก คำว่า "Petros" ที่แปลว่า "หิน" และ "glyphein" ที่แปลว่า "แกะสลัก" เดิมเป็นคำที่คิดขึ้นในภาษาฝรั่งเศสว่า "pétroglyphe" "ศิลปะสกัดหิน" ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า "ศิลปะวาดบนหิน" ซึ่งเป็นภาพที่วาดบนหน้าหิน แต่ศิลปะทั้งสองแบบจัดอยู่ในกลุ่มศิลปะหิน (Rock art) หรือ ศิลปะวางหิน (Petroform) ซึ่งเป็นศิลปะของการวางก้อนหินให้เป็นลวดลายหรือทรงต่างๆ บนพื้น หรือศิลปะก่อหิน (Inukshuk) ซึ่งเป็นศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งที่พบเฉพาะในบริเวณอาร์กติก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและศิลปะสกัดหิน · ดูเพิ่มเติม »

สมเสร็จอเมริกากลาง

มเสร็จอเมริกากลาง (Baird’s Tapir) เป็นสมเสร็จที่มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ เป็นสมเสร็จหนึ่งในสามชนิดของลาตินอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสมเสร็จอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง

หพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง (República Federal de Centroamérica) หรือที่รู้จักกันในชื่อ สหมณฑลแห่งอเมริกากลาง (Provincias Unidas del Centro de América) ในปีแรกแห่งการก่อตั้ง เป็นชื่อของรัฐอธิปไตยแห่งหนึ่งในอดีตในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งจัดการปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพฟุตบอลอเมริกากลาง

*สมาชิกของสหภาพฟุตบอลอเมริกากลางอยู่ในบริเวณสีส้มเข้ม*สมาชิกทั้งหมดของคอนคาแคฟอยู่ในบริเวณสีส้มอิฐรวมถึงสีส้มเข้ม สหภาพฟุตบอลอเมริกากลาง (Unión Centroamericana de Fútbol; Central American Football Union) หรือที่นิยมเรียกแบบย่อว่า อุงกัฟ/อันแคฟ (UNCAF) คือองค์กรฟุตบอลที่เกิดจากการรวมตัวกันของสมาคมฟุตบอลในภูมิภาคอเมริกากลาง ได้แก่ คอสตาริกา, ฮอนดูรัส, เบลีซ, เอลซัลวาดอร์, กัวเตมาลา, นิการากัว และปานามา โดยจัดเป็นองค์กรย่อยของคอนคาแคฟ มีอำนาจบริหารสมาคมฟุตบอลในภูมิภาคอเมริกากลาง โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงกัวเตมาลาซิตี ประเทศกัวเตมาลา สหภาพฟุตบอลอเมริกากลางจัดการแข่งขันฟุตบอลในระดับภูมิภาค 2 รายการคือ โกปาเซนโตรอาเมรีกานา และ โกปาอินเตร์กลูเบสอุงกัฟ โดยรายการโกปาเซนโตรอาเมรีกานาจะเป็นการแข่งขันของทีมชาติซึ่งจัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี เริ่มตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสหภาพฟุตบอลอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี

รณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี (Sahrawi Arab Democratic Republic, SADR; الجمهورية العربية الصحراوية الديمقراطية; República Árabe Saharaui Democrática, RASD) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นจัดตั้งโดยแนวร่วมโปลีซารีโอเมื่อ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี · ดูเพิ่มเติม »

สงวนลิขสิทธิ์

งวนลิขสิทธิ์ (Thai) เป็นวลีที่กำเนิดขึ้นในกฎหมายลิขสิทธิ์โดยเป็นส่วนหนึ่งของข้อความสงวนลิขสิทธิ์ วลีดังกล่าวระบุว่าผู้ถือลิขสิทธิ์สงวน หรือถือสิทธิ์ทั้งหมดซึ่งกำหนดโดยกฎหมายลิขสิทธิ์ เช่น การแจกจ่าย การแสดง และการสร้างสรรค์ผลงานดัดแปลง ไว้เพื่อการใช้สอยของตน นั่นคือ พวกเขาไม่ได้สละซึ่งสิทธิ์ใด ๆ ที่กล่าวมา กฎหมายลิขสิทธิ์ในประเทศส่วนใหญ่ไม่กำหนดใหต้องมีประกาศดังนี้แล้ว แต่วลีดังกล่าวยังมีอยู่ หลายคนอาจเข้าใจจากการใช้โดยทั่วไปว่าวลีดังกล่าวหมายความถึงสิทธิตามกฎหมายใด ๆ หากเดิมวลีดังกล่าวเกี่ยวข้องเฉพาะกับลิขสิทธิ์เท่านั้น ในอดีต วลีดังกล่าวจำเป็นต้องระบุตามผลของอนุสัญญาบัวโนสไอเร..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสงวนลิขสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัสเซีย-จอร์เจีย

งครามรัสเซีย-จอร์เจีย หรือสงครามเซาท์ออสซีเชีย (ในรัสเซียมีอีกชื่อหนึ่งว่า สงครามห้าวัน) เป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 ระหว่างจอร์เจียฝ่ายหนึ่ง กับรัสเซียและรัฐบาลผู้แบ่งแยกของเซาท์ออสซีเชียและอับฮาเซียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเซาท์ออสซีเชียเมื่อ พ.ศ. 2534-2535 ระหว่างเชื้อชาติจอร์เจียกับออสเซเตียได้สิ้นสุดลงด้วยพื้นที่เกินกว่าครึ่งเล็กน้อยของเซาท์ออสซีเชียอยู่ภายใต้การควบคุมโดยพฤตินัยของรัฐบาลที่รัสเซียหนุนหลัง หากนานาชาติมิได้ให้การรับรองแต่อย่างใด ระหว่างคืนวันที่ 7 และ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จอร์เจียเปิดฉากการรุกทางทหารขนานใหญ่ต่อเซาท์ออสซีเชีย ในความพยายามที่จะยึดพื้นที่คืน จอร์เจียอ้างว่า พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการสนองต่อเหตุโจมตีต่อผู้รักษาสันติภาพและหมู่บ้านของตนในเซาท์ออสซีเชีย และรัสเซียกำลังเคลื่อนหน่วยทหารที่มิใช่เพื่อการรักษาสันติภาพเข้ามาในพื้นที่ การโจมตีของจอร์เจียเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสียในบรรดาผู้รักษาสันติภาพรัสเซีย ผู้ซึ่งต้านทานการโจมตีร่วมกับทหารอาสาสมัครออสเซเตีย จอร์เจียยึดซคินวาลีได้สำเร็จในไม่กี่ชั่วโมง รัสเซียสนองโดยการจัดวางกำลังกองทัพที่ 58 ของรัสเซีย และกำลังพลร่มรัสเซียในเซาท์ออสซีเชีย และเปิดฉากโจมตีทางอากาศต่อกำลังจอร์เจียในเซาท์ออสซีเชียและเป้าหมายทางทหารและการส่งกำลังบำรุงในดินแดนจอร์เจีย รัสเซียอ้างว่า พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการแทรกแซงทางมนุษยธรรมและการบังคับใช้สันติภาพที่จำเป็น กำลังรัสเซียและออสเซเตียสู้รบกับกำลังจอร์เจียทั่วเซาท์ออสซีเชียเป็นเวลาสี่วัน โดยมีการสู้รบหนักที่สุดในซคินวาลี วันที่ 9 สิงหาคม ทัพเรือของรัสเซียปิดล้อมชายฝั่งจอร์เจียบางส่วน และยกนาวิกโยธินขึ้นบกบนชายฝั่งอับฮาเซียRoy Allison,, in International Affairs, 84: 6 (2008) 1145–1171. Accessed 2009-09-02. 2009-09-05. ทัพเรือจอร์เจียพยายามจะขัดขวาง แต่พ่ายแพ้ในการปะทะกันทางทะเล กำลังรัสเซียและอับฮาเซียเปิดแนวรบที่สองโดยการโจมตีหุบโคโดรีที่จอร์เจียครองอยู่ กำลังจอร์เจียต้านทานได้เพียงเล็กน้อย และต่อมา กำลังรัสเซียได้ตีโฉบฉวยฐานทัพหลายแห่งในทางตะวันตกของจอร์เจีย หลังการสู้รบอย่างหนักในเซาท์ออสซีเชียเป็นเวลาห้าวัน กำลังจอร์เจียก็ร่นถอย ทำให้รัสเซียสามารถกรีธาเข้าสู่จอร์เจียส่วนที่ไม่พิพาทและยึดครองนครต่าง ๆ ของจอร์เจียได้จำนวนหนึ่ง สหภาพยุโรปที่มีฝรั่งเศสเป็นประธานเข้าไกล่เกลี่ยสถานการณ์ และคู่กรณีบรรลุความตกลงหยุดยิงขั้นต้นในวันที่ 12 สิงหาคม โดยจอร์เจียลงนามเมื่อวันที่ 15 สิงหาคมในกรุงทบิลิซี และรัสเซียลงนามเมื่อวันที่ 16 สิงหาคมในกรุงมอสโก หลายสัปดาห์ให้หลังการลงนามในความตกลงหยุดยิงดังกล่าว รัสเซียเริ่มถอนทหารส่วนมากออกจากจอร์เจียส่วนที่ไม่พิพาท รัสเซียได้สถาปนาเขตกันชนรอบอับฮาเซียและเซาท์ออสซีเชีย ตลอดจนตั้งจุดตรวจในดินแดนจอร์เจีย ท้ายที่สุด กำลังเหล่านี้ได้ถูกถอนออกจากจอร์เจียส่วนที่ไม่พิพาท อย่างไรก็ดี เจ้าหน้าที่ตะวันตกบางคนยืนยันว่า ทหารเหล่านี้ไม่ได้กลับไปประจำยังแนวที่ประจำอยู่เดิมก่อนหน้าที่จะเกิดความขัดแย้งขึ้นตามที่ระบุไว้ในแผนสันติภาพ กำลังรัสเซียยังประจำอยู่ในอับฮาเซียและเซาท์ออสซีเชียความตกลงสองฝ่ายกับรัฐบาลทั้งสองดินแดน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ. 2494) เป็นสนธิสัญญาที่นำไปสู่การยุติสงครามระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศร่วมลงนามในสัญญาอีก 49 ประเทศ ประเทศต่างๆ เหล่านี้ได้แก่ประเทศที่ได้ประกาศสงครามกับญี่ปุ่น ยกเว้นรัสเซีย จีนไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่และประเทศอื่นเคยอยู่ในการยึดครองของญี่ปุ่นระหว่างสงคราม ที่ประกาศตั้งเป็นรัฐใหม่หลังการประกาศยอมแพ้ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2488 สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก เป็นสัญญาที่นำไปสู่การยุติการยึดครองประเทศญี่ปุ่นของประเทศต่าง ๆ หลังการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข และเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการรับญี่ปุ่นเข้าร่วมกับประชาคมโลกในฐานะเท่าเทียมกันอีกครั้งหนึ่ง มีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและหนังสือเดินทางไทย · ดูเพิ่มเติม »

อับคาเซีย

อับฮาเซีย (Аҧсны, აფხაზეთი, Абха́зия) เป็นเขตการปกครองที่เกิดข้อโต้แย้งบนชายฝั่งตะวันออกของทะเลดำ ติดกับสหพันธรัฐรัสเซียทางเหนือ ติดกับบริเวณซาเมเกรโล-เซโม สวาเนตีของจอร์เจียทางตะวันออก เป็นที่ตั้งของสาธารณรัฐอับฮาเซีย ซึ่งเป็นสาธารณรัฐเอกราชโดยพฤตินัยแต่ไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติ อยู่ภายในแนวชายแดนของจอร์เจีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีอยู่เพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ให้การรับรอง ได้แก่ รัสเซีย เวเนซุเอลา นิการากัว นาอูรู โอเซเทียใต้ และทรานส์นิสเทรีย (สองประเทศหลังนี้ ประเทศส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ให้การรับรองเช่นกัน) รัฐบาลจอร์เจียถือว่าอับฮาเซียอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของตน โดยมีสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเอง (აფხაზეთის ავტონომიური რესპუბლიკა, Аҧснытәи Автономтәи Республика) ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในประเทศอดีตสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและอับคาเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คิมิดีส

อาร์คิมิดีส (Αρχιμήδης; Archimedes; 287-212 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก เกิดเมื่อ287 ปีก่อนคริสตกาล ในเมืองซีรากูซา ซึ่งในเวลานั้นเป็นนิคมท่าเรือของกรีก แม้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของเขาน้อยมาก แต่เขาก็ได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในสมัยคลาสสิก ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชา สถิตยศาสตร์ของไหล, สถิตยศาสตร์ และการอธิบายหลักการเกี่ยวกับคาน เขาได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรมเครื่องจักรกลหลายชิ้น ซึ่งรวมไปถึงปั๊มเกลียว (screw pump) ซึ่งได้ตั้งชื่อตามชื่อของเขาด้วย ผลการทดลองในยุคใหม่ได้พิสูจน์แล้วว่า เครื่องจักรที่อาร์คิมิดีสออกแบบนั้นสามารถยกเรือขึ้นจากน้ำหรือสามารถจุดไฟเผาเรือได้โดยอาศัยแถบกระจกจำนวนมาก อาร์คิมิดีสได้รับยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล เช่นเดียวกับ นิวตัน เกาส์ และ ออยเลอร์ เขาใช้ระเบียบวิธีเกษียณ (Method of Exhaustion) ในการคำนวณพื้นที่ใต้เส้นโค้งพาราโบลาด้วยการหาผลรวมของชุดอนุกรมอนันต์ และได้ค่าประมาณที่ใกล้เคียงที่สุดของค่าพาย เขายังกำหนดนิยามแก่วงก้นหอยของอาร์คิมิดีส ซึ่งได้ชื่อตามชื่อของเขา, คิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน และคิดค้นระบบสำหรับใช้บ่งบอกถึงตัวเลขจำนวนใหญ่มาก ๆ อาร์คิมิดีสเสียชีวิตในระหว่างการล้อมซีราคิวส์ (ราว 214-212 ปีก่อนคริสตกาล) โดยถูกทหารโรมันคนหนึ่งสังหาร ทั้ง ๆ ที่มีคำสั่งมาว่าห้ามทำอันตรายแก่อาร์คิมิดีส ซิเซโรบรรยายถึงการเยี่ยมหลุมศพของอาร์คิมิดีสซึ่งมีลูกทรงกลมจารึกอยู่ภายในแท่งทรงกระบอกเหนือหลุมศพ เนื่องจากอาร์คิมิดีสเป็นผู้พิสูจน์ว่า ทรงกลมมีปริมาตรและพื้นที่ผิวเป็น 2 ใน 3 ส่วนของทรงกระบอกที่บรรจุทรงกลมนั้นพอดี (รวมพื้นที่ของฐานทรงกระบอกทั้งสองข้าง) ซึ่งนับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาในทางคณิตศาสตร์ ขณะที่ผลงานประดิษฐ์ของอาร์คิมิดีสเป็นที่รู้จักกันดี แต่งานเขียนทางด้านคณิตศาสตร์กลับไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายนัก นักคณิตศาสตร์จากอเล็กซานเดรียได้อ่านงานเขียนของเขาและนำไปอ้างอิง ทว่ามีการรวบรวมผลงานอย่างแท้จริงเป็นครั้งแรกในช่วง ค.ศ. 530 โดย ไอซิดอร์ แห่งมิเลตุส (Isidore of Miletus) ส่วนงานวิจารณ์งานเขียนของอาร์คิมิดีสซึ่งเขียนขึ้นโดย ยูโตเซียส แห่งอัสคาลอน (Eutocius of Ascalon) ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ช่วยเปิดเผยผลงานของเขาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเป็นครั้งแรก ต้นฉบับงานเขียนของอาร์คิมิดีสหลงเหลือรอดผ่านยุคกลางมาได้ไม่มากนัก แต่ก็เป็นแหล่งข้อมูลสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ในยุคเรอเนสซองส์ ปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและอาร์คิมิดีส · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกซิส อาร์กูเอโย

อาเลกซิส อาร์กูเอโย (Alexis Argüello) เกิดวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1952 ที่เมืองมานากัว ประเทศนิการากัว อาร์กูเอโยเริ่มชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1968 เมื่ออายุได้เพียง 16 ปี และใช้เวลาถึง 6 ปี จึงได้เป็นแชมป์โลกครั้งแรกในรุ่นเฟเทอร์เวตของสมาคมมวยโลก (WBA) เมื่อชนะน็อก รูเบน โอลิวาเลส ยก 13 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1974 ซึ่งก่อนหน้านี้อาร์กูเอโยเคยชกชิงแชมป์ในรุ่นเดียวกันนี้มาแล้วครั้งนึงกับ เอร์เนสโต มาร์เซล เจ้าของตำแหน่งชาวปานามา แต่เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน หลังได้เป็นแชมป์โลกเฟเทอร์เวตแล้ว อาร์กูเอโยก็ชกป้องกันตำแหน่งไว้ได้ 4 ครั้ง ก่อนที่จะสละเพื่อขึ้นไปชกในรุ่นที่เหนือกว่า อาร์กูเอโยขึ้นแชมป์โลกในรุ่นที่สอง ในรุ่นซูเปอร์เฟเทอร์เวตของสภามวยโลก (WBC) เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1978 ที่เมืองบายามอน เปอร์โตริโก และเป็นฝ่ายชนะน็อกไปในยกที่ 13 ต่อ อัลเฟรโด เอสดาเลรา เจ้าของตำแหน่งเดิมซึ่งเป็นนักมวยเจ้าถิ่นด้วย จากนั้นจึงป้องกันตำแหน่งเอาไว้ได้ถึง 8 ครั้ง ก่อนที่จะสละตำแหน่งในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1980 เนื่องจากควบคุมน้ำหนักไม่ไหว 20 มิถุนายน ค.ศ. 1981 ขึ้นชิงแชมป์โลกในรุ่นไลต์เวตของสภามวยโลก กับ จิม วัตต์ เจ้าของตำแหน่งชาวสก็อต ที่สนามเวมบลีย์ ในมหานครลอนดอน สหราชอาณาจักร และเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนนไปได้อย่างขาวสะอาดเมื่อชกกันครบ 15 ยก อาเลกซิส อาร์กูเอโย กลายเป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาทันทีจากการเป็นแชมป์โลกถึง 3 รุ่น ในรุ่นไลต์เวตนี้เขาสามารถป้องกันตำแหน่งเอาไว้ได้ 4 ครั้ง และการชกที่น่าประทับใจก็คือการป้องกันตำแหน่งกับ เรย์ "บูม บูม" มานชินี่ นักมวยจอมตะลุยผิวขาวชาวอเมริกัน ที่กำลังมีฟอร์มการชกร้อนแรงและเป็นขวัญใจชาวอเมริกัน แต่อาร์กูเอโยได้แสดงให้เห็นว่าเขามีการชกที่เหนือชั้นกว่า เมื่อเป็นฝ่ายชนะที.เค.โอ.มานชินี่ ไปได้ในยกที่ 14 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1981 อาร์กูเอโยป้องกันตำแหน่งครั้งสุดท้ายในรุ่นไลต์เวต เมื่อชนะน็อกยก 5 ต่อ แอนดี้ กานิแกน เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1982 และข้ามขึ้นไปชิงแชมป์โลกรุ่นที่ 4 ในรุ่นจูเนียร์เวลเตอร์เวต สมาคมมวยโลก กับ อารอน ไพรเออร์ นักมวยอันตรายชาวอเมริกัน ผู้ยังไม่เคยแพ้ใครในขณะนั้น ผลการชกไพรเออร์แข็งแกร่งกว่า และสามารถเอาชนะน็อกอาร์กูเอโยไปในยกที่ 14 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982 แต่ต่อมาทั้งคู่ได้มีโอกาสล้างตากันอีก ผลการชกก็ออกมาในรูปแบบเดิม คือ อาร์กูเอโยเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 10 ชวดตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นที่ 4 อาร์กูเอโยวางนวมไปนาน จนหลายฝ่ายคาดว่าเขาคงแขวนนวมไปแล้ว แต่แล้วอาร์กูเอโยก็หวนคืนมาชกมวยอีกครั้ง และชกครั้งสุดท้ายชนะน็อก บิล คอสเตลโล่ อดีตแชมป์โลกซูเปอร์ไลต์เวต ของสภามวยโลก ไปในยกที่ 4 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 ก่อนที่จะหยุดชกไป เมื่อถูกตรวจพบว่าเป็นโรคหัวใจ อาร์กูเอโยหยุดไปรักษาตัวนานเกือบ 10 ปี ก่อนที่จะกลับมาชกอีกครั้ง แต่ก็มีสถิติลุ่ม ๆ ดอน ๆ เนื่องจากสภาพชีวิตย่ำแย่ และในครั้งสุดท้ายก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนอย่างหมดรูปต่อนักมวยโนเนมอย่าง สก็อต วอล์กเกอร์ ในปี ค.ศ. 1995 ก่อนที่จะอำลาชีวิตการชกไปอย่างเป็นทางการในที่สุด หลังแขวนนวม อาร์กูเอโยได้หันไปเล่นการเมือง และได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกเทศมนตรีกรุงมานากัวด้วย เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 แต่ก็มีปัญหารุมเร้าหลายประการ จนในที่สุดอาร์กูเอโยได้ทำอัตวินิบาตกรรมด้วยการยิงเข้าที่ขั้วหัวใจตนเองเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 รวมอายุได้ 57 ปี.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและอาเลกซิส อาร์กูเอโย · ดูเพิ่มเติม »

อูโก ชาเบซ

อูโก ราฟาเอล ชาเบซ ฟรีอัส (Hugo Rafael Chávez Frías; 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 – 5 มีนาคม ค.ศ. 2013) เป็นประธานาธิบดีเวเนซุเอลาตั้งแต่ปี 1999 กระทั่งถึงแก่อสัญกรรมในปี 2013 เขาเป็นอดีตผู้นำพรรคการเมืองขบวนการสาธารณรัฐที่ห้า (Fifth Republic Movement) นับแต่ก่อตั้งในปี 1997 ถึงปี 2007 เมื่อเขากลายเป็นผู้นำพรรคสหสังคมนิยมแห่งเวเนซุเอลา (PSUV) ตามข้อมูลของรัฐบาล เขามุ่งนำการปฏิรูปสังคมนิยมไปปฏิบัติในประเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสังคมชื่อ การปฏิวัติโบลีวาร์ ที่เห็นการใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สภาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม การโอนอุตสาหกรรมหลักหลายประเภทเป็นของรัฐ การเพิ่มเงินทุนด้านสาธารณสุขและการศึกษาของรัฐ และการลดความยากจนลงอย่างสำคัญ ตามอุดมการณ์ทางการเมืองโบลีวาร์นิยม (Bolivarianism) และ "สังคมนิยมแห่งศตวรรษที่ 21" ของเขาเอง เขาเกิดในครอบครัวชนชั้นกรรมกรในซาบาเนตา รัฐบารีนัส ต่อมาเป็นนายทหารอาชีพ และ หลังไม่พอใจกับระบบการเมืองเวเนซุเอลา เขาได้ก่อตั้งขบวนการปฏิวัติโบลีวาร์-200 (MBR-200) ขึ้นในต้นทศวรรษ 1980 เพื่อดำเนินการโค่นล้มรัฐบาล ชาเบซนำ MBR-200 ในรัฐประหารที่ล้มเหลวต่อรัฐบาลพรรคกิจประชาธิปไตยของรัฐบาลการ์โลส อันเดรส เปเรซในปี 1992 ซึ่งเขาถูกจำคุก เมื่อได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำในอีกสองปีให้หลัง เขาก่อตั้งพรรคการเมืองขบวนการสาธารณรัฐที่ห้าซึ่งมีอุดมการณ์สังคมประชาธิปไตย และได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีเวเนซุเอลาในปี 1998 ภายหลัง เขาริเริ่มรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ซึ่งเพิ่มสิทธิแก่กลุ่มที่ถูกเบียดขับ และเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของรัฐบาลเวเนซุเอลา และได้รับเลือกตั้งอีกสมัยในปี 2000 ระหว่างดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสมัยที่สอง เขาริเริ่มระบบภารกิจโบลีวาร์ (Bolivarian Mission) สภาชุมชน (Communal Council) และสหกรณ์ที่มีกรรมกรเป็นผู้จัดการ เช่นเดียวกับโครงการปฏิรูปที่เดิน ขณะที่ยังโอนอุตสาหกรรมสำคัญหลายประเภทเป็นของรัฐ วันที่ 7 ตุลาคม 2012 ชาเบซชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สี่ และได้ดำรงตำแหน่งอีกสมัยเป็นเวลาหกปี ชาเบซอธิบายนโยบายของตนว่า ต่อต้านจักรวรรดินิยม และเขาเป็นนักวิจารณ์เสรีนิยมใหม่และทุนนิยมปล่อยให้ทำไป โดยทั่วไป ชาเบซเป็นปรปักษ์สำคัญของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา เขาวางตนเป็นพันธมิตรอย่างเข้มแข็งกับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ของฟีเดล และราอูลต่อมา ในคิวบา และรัฐบาลสังคมนิยมของเอโบ โมราเลสในโบลิเวีย ราฟาเอล กอร์เรอาในเอกวาดอร์ และ ดาเนียล ออร์เตกาในนิการากัว การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขาถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของ "คลื่นสีชมพู" สังคมนิยมที่กวาดไปทั่วละตินอเมริกา เขาสันบสนุนความร่วมมือละตินอเมริกาและแคริบเบียน และเป็นตัวตั้งตัวตีในการจัดตั้งสหภาพประชาชาติอเมริกาใต้ พันธมิตรโบลีวาร์เพื่อทวีปอเมริกา ธนาคารใต้ (Bank of the South) ที่ครอบคลุมทั่วทั้งภูมิภาค และเครือข่ายโทรทัศน์ภูมิภาคเทเลซู (TeleSur) ชาเบซเป็นบุคคลซึ่งเป็นที่ถกเถียงและมีความเห็นแตกแยกมากทั้งในและต่างประเทศ วันที่ 30 มิถุนายน 2011 ชาเบซแถลงว่าเขากำลังฟื้นตัวจากการผ่าตัดเพื่อนำเนื้องอกฝีที่มีเซลล์มะเร็งออก เขาต้องเข้ารับการผ่าตัดครั้งที่สองในเดือนธันวาคม 2012 เขามีกำหนดสาบานตนเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2013 แต่รัฐสภาเวเนซุเอลาตกลงเลื่อนพิธีเข้ารับตำแหน่งเพื่อให้เขามีเวลาฟื้นตัวและกลับจากการเดินทางเพื่อไปรักษาพยาบาลเป็นครั้งที่สามที่คิวบา ชาเบซถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2013 ด้วยวัย 58 ปี.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและอูโก ชาเบซ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกากลาง

แผนที่อเมริกากลาง อเมริกากลาง (Central America) เป็นภูมิภาคย่อยที่หมายถึงกลุ่มประเทศที่อยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งตามความหมายส่วนใหญ่แล้วจะนับจาก ทางใต้ของ อ่าวเม็กซิโก ไปถึงพรมแดนระหว่างปานามากับโคลัมเบีย (หรือประเทศต่าง ๆ ระหว่างเม็กซิโกกับโคลัมเบีย) ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้มีชื่อเสียง

มารายห์ แครีและโรเบิร์ต เดอนีโร ผู้มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ผู้มีชื่อเสียง (celebrity) หรือเรียกกันว่า คนดัง, ดารา หมายถึงบุคคลที่โด่งดัง มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักในสังคม ผู้มีชื่อเสียงมีหลายระดับหลากหลายกันไปขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่หรืออาจรวมถึงผู้มีชื่อเสียงที่มีชื่อเสียงไม่ดี ขณะที่บางคนอาจเป็นคนมีชื่อเสียงกับบางคน ในขณะที่อาจจะไม่เป็นที่รู้จักกับบางคน ยกตัวอย่างเช่น ริชาร์ด แบรนสัน ผู้บริหารบริษัทเวอร์จิ้น เป็นที่รู้จักในฐานะประธานเจ้าหน้าที่บริหาร แต่ไม่ใช่เป็นผู้มีชื่อเสียงที่รู้จักกันทั่วไป จนกระทั่งเขาพยายามเดินเรือรอบโลกโดยใช้บัลลูน ทำให้เป็นที่รู้จักต่อสาธารณะ ผู้มีชื่อเสียงอีกประเภทหนึ่งที่เป็นเป้าสายตาของสาธารณชน คือพวกที่เรียกว่า เอ-ลิสต์ (A-list) วัดจากด้านการตลาด สื่อของประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ มักจะพูดถึงผู้มีชื่อเสียงว่าเป็น เอ-ลิสต์ บี-ลิสต์ ดี-ลิสต์ หรือแซด-ลิสต์ เป็นการวัดระดับความสำคัญ อย่างไรก็ตามระดับนี้ก็มีความแตกต่างกันไปตามท้องที่ เป็นการยากที่จะแบ่งประเภท ดาราดังในนิการากัว อาจจะเป็นผู้มีชื่อเสียง บี-ลิสต์ ในสหรัฐอเมริกา แต่อาจจะเป็นดารา เอ-ลิสต์ ในสาธารณรัฐเชคก็ได้ วิธีในการวัดความดังในประเทศจาก เอ-ลิสต์ ไป เอช-ลิสต์ สามารถพิจารณาได้จากยอดจากค้นหาในกูเกิ้ล เช่นกัน แต่วิธีนี้ก็เป็นการวัดเชิงปริมาณ ใช้การสำหรับชื่อที่เป็นคนที่มีชื่อไม่มีคนใช้ชื่อซ้ำเยอะ โดยทั่วไปแล้ว ผู้มีชื่อเสียงคือคนที่ทำให้เป็นที่สนใจของสื่อและโดยมากจะเป็นคนเปิดเผย ความต้องการเป็นที่รู้จักมีนัยยะไปในส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมตะวันตก โดยเฉพาะความฝันอเมริกัน ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่วัดความสำเร็จ นอกจากนี้ยังมีคนที่ไต่เต้าความดังโดยการนำชีวิตส่วนตัวมาเปิดเผยให้เป็นที่รู้จัก อย่างเช่นความสัมพันธ์หลอก ๆ การปรากฏตัวในรายการเรียลลิตี้ การมีภาพโป๊หรือที่แย่กว่านั้นคือเทปลับ ในศตวรรษที่ 20 ความหลงใหลต่อผู้มีชื่อเสียงอย่างไม่มีขีดจำกัดบวกกับความปรารถนาในเรื่องซุบซิบผู้มีชื่อเสียง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดคอลัมน์กอสซิป แท็บลอยด์ ปาปาราซซี และบล็อกผู้มีชื่อเสียง เกิดขึ้นมา ไคลฟ์ เจมส์ นักเขียน ผู้ประกาศข่าว และนักแสดง เขียนหนังสือเกี่ยวกับปรากฏการณ์ความมีชื่อเสียงในศตวรรษที่ 20 ในชื่อ Fame in the 20th Century เขาแย้งว่าคนมีชื่อเสียงจริง เกือบจะไม่เป็นที่รู้จักก่อนศตวรรษที่ 20 เพราะขาดสื่อมวลชนที่เผยแพร่กว้างขวาง เขาระบุว่า ชาร์ลี แชปลิน ถือเป็นผู้มีชื่อเสียงระดับโลกคนแรกอย่างแท้จริง เนื่องจากมีผลกระทบจากภาพยนตร์ของเขาในคริสต์ทศวรรษ 1910 และหลังจากนั้น เขายังชี้ว่าผู้มีชื่อเสียงเป็นที่โดดเด่นขึ้นมาหลายวิธี เขาพูดถึง เอลิซาเบธ เทย์เลอร์ ว่าการใช้ชีวิตของเธอทำให้เธอโด่งดังมากกว่าผลงานการแสดงภาพยนตร์ของเธอเสียอีก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและผู้มีชื่อเสียง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติฮอนดูรัส

งชาติฮอนดูรัส ได้มีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1866 โดยมีรูปแบบที่อิงตามธงของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง ทั้งนี้ ฮอนดูรัสได้เข้าร่วมเป็นเครือรัฐสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางของในปี ค.ศ. 1823 และได้ยอมรับเอาธงของสหพันธรัฐเป็นสัญลักษณ์ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและธงชาติฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินิการากัว

งชาตินิการากัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบกว้างเท่ากัน 3 แถบ​ ​แถบกลางเป็นสีขาว กลางแถบมีภาพตราแผ่นดินของนิการากัว แถบบนและแถบล่างที่ขนาบอยู่เป็นสีฟ้า ธงนี้มีต้นแบบมาจากธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง โดยได้แรงบันดาลใจมาจากธงชาติอาร์เจนตินา และได้ประกาศใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2451 และ นำกลับมาใช้อีกครั้งเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและธงชาตินิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบนิการากัว

ทะเลสาบนิการากัว หรือ โกซิบอลกา หรือ กรานาดา (Lago de Nicaragua, Lago Cocibolca, Mar Dulce, Gran Lago, Gran Lago Dulce, หรือ Lago de Granada) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ในประเทศนิการากัว มีพื้นที่ 8,264 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและทะเลสาบนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนของสหรัฐอเมริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและดินแดนของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส

้วงกว่างเฮอร์คิวลีส เป็นด้วงกว่างที่มีความยาวและความใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dynastes hercules อยู่ในวงศ์ Scarabaeidae พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นตั้งแต่ภูมิภาคอเมริกากลางและทวีปอเมริกาใต้ นับเป็นด้วงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Dynastes ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด เป็นด้วงที่มีความแตกต่างระหว่างตัวผู้กับตัวเมียมาก ตัวผู้มีเขายาว และมีความยาวตั้งแต่ปลายเขาจรดลำตัว 45-178 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขา และมีความยาวเพียงครึ่งหนึ่งของตัวผู้ คือ 50-80 มิลลิเมตร ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส มีชนิดย่อยทั้งหมด 13 ชนิด โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด คือ D. h. hercules พบในเฟรนซ์ กัวดาลูเป้และดอมินีกา ที่ตัวผู้ยาวได้ถึง 178 มิลลิเมตร และมีบันทึกไว้ว่ายาวที่สุดคือ 190 มิลลิเมตร ตัวหนอนกินซากผุของต้นไม้เป็นอาหาร และมีระยะการเป็นตัวหนอนยาวนานถึง 16 เดือน ด้วงกว่างเฮอร์คิวลีสนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในต่างประเทศมาอย่างยาวนาน เช่นที่ ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ได้รับความนิยมโดยเฉพาะในหมู่เด็ก ๆ สำหรับในประเทศไทย ผู้ที่จะเลี้ยงยังต้องนำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศแต่ในกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สามารถเพาะขยายพันธุ์เป็นผลสำเร็จครั้งแรกที่สวนแมลงสยาม ที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและด้วงกว่างเฮอร์คิวลีส · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คลองปานามา

แผนที่การเดินทางในคลองปานามา โดยมีรายชื่อประตูกั้นน้ำประกอบ สถานที่ตั้งของคลองปานามาระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน โดยตัวคลองตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของแผนที่ คลองปานามา (Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและคลองปานามา · ดูเพิ่มเติม »

ความแพร่หลายของภาษาสเปน

ษาสเปนมีสถานะทางการในรัฐ เคาน์ตี และเมืองบางแห่งของสหรัฐอเมริกา ภาษาสเปนเป็นภาษาซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเป็นภาษาราชการใน 21 ประเทศ องค์การระหว่างประเทศจำนวนหนึ่ง และมีผู้พูดราว 329-500 ล้านคน คิดเป็นอันดับ 2 หรือ 3 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและความแพร่หลายของภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง, หรือที่รู้จักกันในชื่อ สหมณฑลแห่งอเมริกากลาง ได้รับการรับรองโดยรัฐสภาสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 ภายหลังจากที่ได้แยกตัวประกาศอิสรภาพจากสเปน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของนิการากัว

ตราแผ่นดินของนิการากัว ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1823 ดวงตราแผ่นดินนี้ มีต้นแบบมาจากตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง ในระยะเวลาต่อมาได้มีการแก้ไขแบบตราแผ่นดินอยู่หลายครั้ง โดยแบบตราปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1971 (โดยแก้ไขแบบตราแผ่นดินครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 1999).

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและตราแผ่นดินของนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ซัลเบอาตี นิการากัว

ซัลเบอาตี นิการากัว (Salve a ti, Nicaragua) เป็นชื่อเรียกของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐนิการากัว ประพันธ์คำร้องโดย ซาโลมอน อีบาร์รา มายอร์กา (Salomón Ibarra Mayorga) เรียบเรียงทำนองโดย ลุยส์ อ. เดลกาดีโย (Luis A. Delgadillo) เพลงนี้ได้รับการยอมรับเป็นเพลงชาตินิการากัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2472 ทำนองของเพลงนี้เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยใช้เป็นเพลงสวดในคริสต์ศาสนาโดยบาทหลวงชาวสเปน ซึ่งในเวลานั้น นิการากัวยังถือเป็นแคว้นหนึ่งที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิสเปน ต่อมาในช่วงปีแรกๆ แห่งการเรียกร้องเอกราชของชาวนิการากัว เพลงนี้ก็ได้ถูกใช้เป็นเพลงสรรเสริญต่อความยุติธรรมของศาลสูงสุดแห่งรัฐของนิการากัว ซึ่งต่อมาได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง บทเพลงซัลเบอาตี นิการากัว ถูกแทนที่ด้วยเพลงอื่นเป็นระยะๆ ถึง 3 ครั้งระหว่างยุคแห่งความวุ่นวายทางการเมืองและการปฏิวัติ แต่ที่สุดเพลงนี้ก็ได้กลับมามีการใช้อีกครั้งในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2461 เมื่อการปฏิวัติเสรีนิยมครั้งสุดท้ายของนิการากัวได้สิ้นสุดลง หลังจากนั้นรัฐบาลจึงได้จัดให้มีการประกวดเนื้อร้องสำหรับเพลงชาติเพลงใหม่ ซึ่งเงื่อนไขของเนื้อร้องใหม่นี้จะต้องกล่าวถึงเพียงสันติภาพและการทำงานเท่านั้น เนื่องจากประเทศในเวลานั้นเพิ่งจะสิ้นสุดภาวะสงครามกลางเมือง ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวทำให้นิการากัวเป็นประเทศเดียวในแถบละตินอเมริกาที่ใช้เพลงชาติซึ่งมีเนื้อหากล่าวถึงสันติภาพ มิได้กล่าวถึงสงครามอย่างชาติอื่นในบริเวณเดียวกัน รัฐบาลชุดใหม่ของนิการากัวซึ่งนิยมสเปนและมีแนวคิดอนุรักษนิยม ได้มอบรางวัลชนะเลิศให้แก่ผลงานของซาโลมอน อีบาร์รา มายอร์กา ครูและกวีชาวนิการากัว และได้ประกาศใช้เพลงซัลเบอาตี นิการากัวเป็นเพลงชาติแทนเพลง "เอร์โมซา โซเบรานา" (Hermosa Soberana - อาจแปลเอาความได้ว่า "อธิปไตยที่งดงาม") ซึ่งเป็นเพลงมาร์ชที่มีเนื้อหาปลุกเร้าให้ผู้คนเข้าสู่สงครามต่อต้านสเปน และแสดงถึงความอึดอัดใจที่ชาวนิการากัวมีรากเหง้าจากวัฒนธรรมสเปนอย่างฝังรากลึก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและซัลเบอาตี นิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอสตาริกา

อสตาริกา (Costa Rica) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคอสตาริกา (República de Costa Rica) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศนิการากัว ทางทิศเหนือ จรดประเทศปานามาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และจรดทะเลแคริบเบียนทางทิศตะวันออก ประเทศนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของภูมิภาคในเรื่องการมีเสถียรภาพทางการเมือง และบางครั้งได้ชื่อว่าเป็น "สวิตเซอร์แลนด์ของอเมริกากลาง".

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1912

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1912 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1914

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1914 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1914 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1916

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1916 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1916 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1920

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1920 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1920 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1924

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1924 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1926

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1926 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1926 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1930

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1930 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1930 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1932

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1932 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1936

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1936 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1950

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1950 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1950 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1957

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1957 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1957 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1963

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1963 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1963 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1967

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1967 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1967 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1971

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1974

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1974 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1974 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1975

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1975 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1979

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1979 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1980

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1983

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1983 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1984 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1990

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1990 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1991

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1991 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1995

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1996 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1999

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2001

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2001 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2001 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2003

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2006 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2007

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2011

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2011 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2015

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2015 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2019

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 2019 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวในแพนอเมริกันเกมส์

ประเทศนิการากัวได้เข้าร่วมการแข่งขันแพนอเมริกันเกมส์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศนิการากัวในแพนอเมริกันเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนปีศาจหางหนาม

ปลากระเบนปีศาจหางหนาม หรือ ปลากระเบนราหูญี่ปุ่น (Spinetail mobula, Japanese devilray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลากระเบนปีศาจชนิดอื่น ๆ และปลากระเบนสกุลอื่นที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน คือ มี ระยางค์เนื้อยื่นเป็นแผ่นคล้ายใบหูอยู่ที่มุมขอบนอกปลายสุดของหัวข้างละอันใช้โบกพัดอาหารเข้าปาก ซึ่งได้แก่ แพลงก์ตอนสัตว์ต่าง ๆ ด้านบนลำตัวเป็นสีดำ และมีแถบสีขาวพาดโค้งอยู่ด้านซ้ายของส่วนหัว มีความกว้างของลำตัวประมาณ 225 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 310 เซนติเมตร และความยาวลำตัวจรดปลายหาง 198–205 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเปิดและมหาสมุทร รวมถึงแนวตามปะการัง ในเขตร้อนและเขตอบอุ่นของอินโด-แปซิฟิกอย่างกว้างไกล ตั้งแต่ออสเตรเลีย, บังกลาเทศ, บราซิล, กัมพูชา, จีน, โคลัมเบีย, คอสตาริกา, ไอวอรี โคสต์, เอกกวาดอร์, เอล ซัลวาดอร์, ฟิจิ, กัวเตมาลา, ฮอนดูรัส, อินเดีย, อินโดนีเซีย, ญี่ปุ่น, คาบสมุทรเกาหลี, เม็กซิโก, พม่า, นิวซีแลนด์, นิคารากัว, โอมาน, ปากีสถาน, ปานามา, เปรู, ฟิลิปปิน, โซมาเลีย, แอฟริกาใต้, ศรีลังกา, ไต้หวัน, ไทย, ตูวาลู, สหรัฐอเมริกา, เวียดนาม, และเยเมน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและปลากระเบนปีศาจหางหนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอมาคูลิคัวด้า

ปลาหมอมาคูลิคัวด้า หรือ ปลาหมอเวียจา (Spotted cichlid, Blackbalt cichild) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นลำตัวสีน้ำตาลจางแกมเหลือง แต่อาจมีสีม่วงแซมอยู่บ้าง มีจุดเล็ก ๆ สีดำกระจายทั่วไปตั้งแต่กลางลำตัวไปจนถึงบริเวณหาง และมีแถบเส้นสีดำขนาดใหญ่พาดกลางลำตัวในแนวตั้งคล้ายคาดเข็มขัดเป็นจุดเด่น แลเห็นชัดเจน หัวมีลักษณะค่อนข้างกลม ปากใหญ่ ริมฝีปากค่อนข้างหนา แก้มและท้องมีสีแดงเรื่อ ๆ นัยน์ตามีสีเขียว ครีบอกใส ครีบกระโดงหลังแผ่กว้างบริเวณส่วนปลายครีบเรียวแหลม เช่นเดียวกับครีบทวารแต่สั้นกว่า ครีบหางมีขนาดใหญ่ ปลายมนกลม ทุกครีบ ยกเว้นครีบอกมีจุดสีดำกระจายทุกครีบโดยมีพื้นสีม่วงจาง ๆ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 35-40 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในภาคพื้นอเมริกากลางตั้งแต่ตอนใต้ของเม็กซิโก, นิคารากัว, ปานามา จนถึงทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปลาหมอมาคูลิคัวด้า จัดเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีนิสัย ก้าวร้าว หวงถิ่น เมื่อเทียบกับปลาหมอสีขนาดใหญ่ชนิดอื่น ๆ และมีนิสัยชอบขุดคุ้ยกรวดทรายบริเวณพื้นตู้ และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในตู้เลี้ยงได้ เมื่อปลาจับคู่ได้แล้ว โดยปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายเลือกมุมหนึ่งของตู้เพื่อสร้างรัง ด้วยการใช้ปากคาบกรวดไปทิ้งรอบ ๆ เป็นวงกลม และเชิญชวนปลาตัวเมียมาวางไข่ โดยที่จะปล่อยไข่ออกมาด้วยการใช้ท้องถูกับวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าปฏิสนธิ เมื่อปลาตัวเมียปล่อยไข่หมดแล้ว ก็จะเสร็จสิ้นการผสมพันธุ์ จากนั้นปลาทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่ โดยที่ไข่ใช้เวลาฟักประมาณ 2-3 วัน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและปลาหมอมาคูลิคัวด้า · ดูเพิ่มเติม »

ป่าเมฆ

ฟินต้นในป่าเมฆบนยอดเขากีนาบาลู, บอร์เนียว ที่ Parque Internacional la Amistad ป่าเมฆเขตอบอุ่นบน La Palma, หมู่เกาะคะเนรี ป่าเมฆของ Monteverde, ประเทศคอสตาริกา ป่าเมฆบนเขาหลูซานทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หนึ่งในสะพานแขวนของ Sky walk ใน Santa Elena, Costa Rica หายไปในเมฆ มอสส์ในป่าเมฆเขตอบอุ่นที่ Budawang National Park, ประเทศออสเตรเลีย ป่าเมฆ (cloud forest) หรือ ป่าหมอก (fog forest) คือป่าไม้เขตร้อนในเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน เติบโตตามภูเขา ไม่ผลัดใบ มีโอกาสถูกปกคลุมด้วยเมฆระดับต่ำได้สูง ปกติมักอยู่ระดับยอดเขาและสันเขา ป่าเมฆจะอุดมไปด้วยมอสส์ไม่ว่าบนพื้นหรือบนต้นไม้จึงเรียกอีกอย่างว่า ป่ามอสส์ (mossy forest) ป่ามอสส์มักจะอยู่บนสันเขาที่ซึ่งได้รับความชื้นจากเมฆอย่างมีประสิท.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและป่าเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1955

นางงามจักรวาล 1955 (Miss Universe 1955) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 4 จัดในวันที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1955 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1956

นางงามจักรวาล 1956 (Miss Universe 1956) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 5 จัดในวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1956 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1963

นางงามจักรวาล 1963 (Miss Universe 1963) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 12 จัดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1963 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1964

นางงามจักรวาล 1964 (Miss Universe 1964) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 13 จัดเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1964 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1968

นางงามจักรวาล 1968 (Miss Universe 1968) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 17 จัดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1968 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1972

นางงามจักรวาล 1972 (Miss Universe 1972) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 21 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1972 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1973

นางงามจักรวาล 1973 (Miss Universe 1973) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 22 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1973 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1979

นางงามจักรวาล 1979 (Miss Universe 1979) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 28 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1979 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1991

นางงามจักรวาล 1991 (Miss Universe 1991) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 40 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1991 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1994

นางงามจักรวาล 1994 (Miss Universe 1994) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 43 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1994 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1995

นางงามจักรวาล 1995 (Miss Universe 1995) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 44 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1995 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1997

นางงามจักรวาล 1997 (Miss Universe 1997) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 46 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1997 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1998

นางงามจักรวาล 1998 (Miss Universe 1998) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 47 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 1998 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2001

นางงามจักรวาล 2001 (Miss Universe 2001) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 50 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนางงามจักรวาล 2001 · ดูเพิ่มเติม »

นิวสเปน

เขตอุปราชแห่งนิวสเปน (Virreinato de Nueva España) คืออาณาบริเวณที่อยู่ในการปกครองของจักรวรรดิสเปนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเป็นอาณาเขตของประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา เบลีซ ฮอนดูรัส นิการากัว คอสตาริกา ฟิลิปปินส์ ปาเลา ไมโครนีเซีย และบางส่วนของสหรัฐอเมริกาได้แก่ รัฐแคลิฟอร์เนีย นิวเม็กซิโก เนวาดา แอริโซนา เทกซัส โคโลราโด ฟลอริดา บางส่วนของรัฐยูทาห์ โอคลาโฮมา กวม หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา รวมทั้งหมู่เกาะเกือบทั้งหมดในทะเลแคริบเบียน โดยสเปนจะส่งอุปราชซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากส่วนกลางเข้ามาปกครองดินแดนและขึ้นตรงต่อกษัตริย์สเปน ศูนย์กลางการปกครองของนิวสเปนคือ เม็กซิโกซิตี ส่วนเมืองสำคัญได้แก่ ซันโตโดมิงโกบนเกาะฮิสปันโยลา และมะนิลาบนเกาะลูซอน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์โอเชียเนีย หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของสเปน หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและนิวสเปน · ดูเพิ่มเติม »

แมนเชสเตอร์

แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียง

แหล่งผลิตกาแฟของโลกr: แหล่งปลูก ''Coffea canephora'' m: แหล่งปลูก ''Coffea canephora'' และ ''Coffea arabica''. a: แหล่งปลูก ''Coffea arabica''.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและแหล่งปลูกกาแฟที่มีชื่อเสียง · ดูเพิ่มเติม »

แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย

แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น ที่วาดโดย ริสึโกะ คาวาอิ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น เรื่องราวเกี่ยวกับความน่ารักของเหล่าแฮมสเตอร์หลากหลายตัว โดยมีแฮมทาโร่เป็นตัวชูโรง ต่อมาได้สร้างเป็นอะนิเมะ ออกฉายในประเทศญี่ปุ่น และอีกกว่า 30 ประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและแฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559

แผ่นดินไหวใน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในอีกีเก พ.ศ. 2557

แผ่นดินไหวในอีกีเก หรือ แผ่นดินไหวในนอร์เตกรัน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและแผ่นดินไหวในอีกีเก พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในคอสตาริกา พ.ศ. 2555

แผ่นดินไหวในคอสตาริก..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและแผ่นดินไหวในคอสตาริกา พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

แคฝรั่ง

แคฝรั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gliricidia sepium (Jacq.) Kunth ex Walp. ชื่อสามัญ:Mata Raton) ในฮอนดูรัสเรียก Cacao de nance หรือ cacahnanance ในฟิลิปปินส์เรียก Kakawate ในกัวเตมาลาเรียก Madre Cacao หรือ Madre de Cacao ในนิคารากัวเรียก Madero negro เป็นพืชตระกูลถั่วที่มีเนื้อไม้ขนาดกลาง เป็นพืชที่ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ในประเทศไทย ดอกแคฝรั่งนี้เป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ดอกแคฝรั่งในติมอร์ตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย 150px.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและแคฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

โบลเดอร์

ลเดอร์ (Boulder) เป็นเมืองมหาวิทยาลัย มีประชากรราว 95,000 คน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเดนเวอร์ ในเคาน์ตี้โบลเดอร์ รัฐโคโลราโด เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยที่ได้ชื่อว่าสวยที่สุดแห่งหนึ่งของสหรัฐอเมริกา คือมหาวิทยาลัยแห่งโคโลราโดวิทยาเขตโบลเดอร์ (University of Colorado at Boulder) จากสภาพพื้นที่ตั้งอยู่ในจุดที่เทือกเขาร็อกกีมาจรดกับที่ราบภาคกลางของสหรัฐ จึงมีภาพฉากหลังเป็นเทือกเขาสวยงาม เมืองโบลเดอร์มีการวางผังที่น่าสนใจ ประกอบด้วยทางเดินเท้าหลัก (pedestrain) ใจกลางเมือง เรียกว่า ถนนเพิร์ลสตรีทมอลล์ (Pearl Street Mall) แวดล้อมด้วยร้านค้าขนาดเล็กแบบสถาปัตยกรรมยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและโบลเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเซนโด อัลบาเรซ

รเซนโด โฮเซ อัลบาเรซ เอร์นันเดซ (Rosendo José Álvarez Hernández) นักมวยสากลชาวนิการากัว เกิดเมื่อ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ที่กรุงมานากัว ประเทศนิการากัว สถิติการชก 42 ครั้ง ชนะ 37 (น็อก 24) เสมอ 2 แพ้ 3.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและโรเซนโด อัลบาเรซ · ดูเพิ่มเติม »

โอเล่ห์ดง ศักดิ์เสมอชัย

อเล่ห์ดง ศิษย์เสมอชัย มีชื่อจริงว่า กิตติพงษ์ ใจกระจ่าง เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 ที่ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฎา (ปัจจุบัน คือ อำเภอรัษฎา) จังหวัดตรัง นับว่าเป็นแชมป์โลกคนแรกด้วยที่เป็นชาวใต้ หลังจากมีนักมวยจากภาคใต้หลายคนได้ชิงแชมป์โลกแล้ว แต่ยังไม่เคยมีใครประสบความสำเร็จเล.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและโอเล่ห์ดง ศักดิ์เสมอชัย · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบยักษ์

มยราบยักษ์ (pricky wood weed, mimosa, giant sensitive plant, catclaw mimosa, black mimosa) เป็นพืชดอกมีลักษณะเป็นไม้พุ่มในวงศ์ถั่ว เป็นวัชพืชต่างถิ่นประเภทรุกรานที่มีความรุนแรง เนื่องจากสามารถเติบโตและแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีความทนต่อสภาพน้ำท่วมและแห้งแล้งได้ดี.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและไมยราบยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นี แซนเดอร์ส

อร์นาร์ด "เบอร์นี" แซนเดอร์ส (เกิด 8 ธันวาคม 1941) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันผู้ได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐด้อยอาวุโสจากรัฐเวอร์มอนต์ตั้งแต่ปี 2007 แซนเดอรส์เป็นสมาชิกสภาอิสระที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์รัฐสภาสหรัฐ นับแต่เขาได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรในปี 1991 เขาเข้าร่วมประชุมลับกับพรรคเดโมแครต ซึ่งได้มอบหมายภาระงานคณะกรรมาธิการของรัฐสภาแก่เขา และบางครั้งให้พรรคเดโมแครตได้รับฝ่ายข้างมาก แซนเดอร์สเป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคข้างน้อยในคณะกรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภาในเดือนมกราคม 2015 เขาเคยเป็นประธานคณะกรรมาธิการกิจการทหารผ่านศึกของวุฒิสภาเป็นเวลาสองปี การรณรงค์ของแซนเดอร์สสำหรับการเสนอชื่อชิงประธานาธิบดีสหรัฐในปี 2016 ของพรรคแข่งกับฮิลลารี คลินตันได้ระดมเงินจากผู้สมทบปัจเจกรายย่อยมากกว่าผู้อื่นในประวัติศาสตร์อเมริกา และทำให้เขาเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ เขาอธิบายตนว่าเป็นนักสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สนิยมแรงงานและเน้นการย้อนความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ นักวิชาการจำนวนมากถือมุมมองของเขาว่าเข้าได้กับแนวประชาธิปไตยสังคมและลัทธิก้าวหน้าอเมริกันสมัยข้อตกลงใหม่มากกว่าสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สเกิดและเติบโตในย่านบรุกลินของนครนิวยอร์ก และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยชิคาโกในปี 1964 ระหว่างเป็นนักศึกษาเขาเป็นผู้จัดระเบียบการประท้วงขบวนการสิทธิพลเมืองแอฟริกัน-อเมริกันผู้แข็งขันให้สภาความเสมอภาคทางเชื้อชาติ (Congress of Racial Equality) และคณะกรรมการประสานงานอหิงสาของนักศึกษา (Student Nonviolent Coordinating Committee) หลังตั้งถิ่นฐานในรัฐเวอร์มอนต์ในปี 1968 แซนเดอร์สรณรงค์เป็นผู้ว่าการและสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐพรรคที่สามในต้นถึงกลางคริสต์ทศวรรรษ 1970 แต่ไม่สำเร็จ เขาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเบอร์ลิงตัน นครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐเวอร์มอนต์ ในปี 1981 โดยสมัครเป็นนักการเมืองอิสระ ด้วยคะแนนเสียงเฉียดฉิว 10 เสียง ต่อมาเขาได้รับเลือกตั้งใหม่เป็นนายกเทศมนตรีอีกสามสมัย ในปี 1990 เขาได้รับเลือกตั้งให้เป็นผู้แทนของเขตรัฐสภาทั้งหมดของรัฐเวอร์มอนต์ในสภาผู้แทนราษฎร ที่ซึ่งเขาร่วมก่อตั้งการประชุมลับลัทธิก้าวหน้ารัฐสภา (Congressional Progressive Caucus) ในปี 1991 เขารับราชการเป็นสมาชิกวุฒิสภา 16 ปีก่อนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐในปี 2006 ในปี 2012 เขาได้รับเลือกตั้งอีกด้วยคะแนนเสียงของประชาชน 71% ผลสำรวจความเห็นบ่งว่าเขาเป็นสมาชิกวุฒิสภาลำดับต้น ๆ ที่ได้รับความนิยมสูงสุดกับเขตเลือกตั้งของเขา โดยอยู่อันดับสามในปี 2014 และอันดับหนึ่งทั้งในปี 2015 และ 2016 ในการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปปี 2016 แซนเดอร์สได้รับคะแนนเสียงของประชาชนรัฐเวอร์มอนต์เกือบ 6% เป็นผู้สมัครแบบหย่อนชื่อ (write-in candidate) แม้ว่าถอนตัวจากการแข่งและสนับสนุนคลินตันไปแล้วเมื่อหลายเดือนก่อน แซนเดอร์สมีชื่อเสียงระดับชาติหลังอภิปรายประวิงเวลาในปี 2010 ต่อรัฐบัญญัติการลดภาษีชนชั้นกลางปี 2010 ซึ่งขยายการลดภาษีบุชซึ่งเอื้อชาวอเมริกันผู้ร่ำรวย เขาสร้างชื่อเสียงเป็นเสียงนักลัทธิก้าวหน้าในประเด็นอย่างการปฏิรูปการจัดหาเงินทุนการรณรงค์ สวัสดิการบริษัท ภาวะโลกร้อน ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ สิทธิแอลจีบีที การลาเลี้ยงบุตร (parental leave) และการประกันสุขภาพถ้วนหน้า แซนเดอร์สวิจารณ์นโยบายต่างประเทศสหรัฐมาอย่างยาวนานและเป็นผู้คัดค้านคนแรก ๆ และเปิดเผยซึ่งสงครามอิรัก สงครามอ่าวเปอร์เซีย และการสนับสนุนคอนทราสในประเทศนิคารากัว เขายังเปิดเผยเรื่องเสรีภาพและสิทธิพลเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเลือกปฏิบัติต่อเชื้อชาติในระบบยุติธรรมอาญา ตลอดจนสนับสนุนสิทธิภาวะเฉพาะส่วนตัวต่อนโยบายสอดส่องดูแลสาธารณะอย่างรัฐบัญญัติความรักปิตุภูมิสหรัฐและโครงการสอดส่องดูแลของเอ็นเอสเอ แซนเดอร์สประกาศการรณรงค์เพื่อเสนอชื่อให้เลือกประธานาธิบดีพรรคเดโมแครตเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2016 แซนเดอร์สชนะการเลือกตั้งไพรมารีและการประชุมลับ 23 ครั้งและผู้แทนให้คำมั่นประมาณ 43% เทียบกับ 55% ของคลินตัน การรณรงค์ของเขาขึ้นชื่อเรื่องความกระตือรือร้นของผู้สนับสนุนเขา ตลอดจนการปฏิเสธการบริจาคครั้งใหญ่จากบริษัท อุตสาหกรรมการเงินและคณะกรรมการทำงานการเมืองที่เกี่ยงข้องใด ๆ วันที่ 12 กรกฎาคม 2016 แซนเดอร์สสนับสนุนคลินตันต่อคู่แข่งการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปจากพรรครีพับลิกัน ดอนัลด์ ทรัมป์ ขณะที่กระตุ้นให้ผู้สนับสนุนเขาสานต่อการรณรงค์ "การปฏิวัติการเมือง" ของเขาที่เริ่มต้นแล้ว เขาตั้งองค์การ 501(c) ชื่อ การปฏิวัติของเรา เพื่อระดมและสนับสนุนผู้สมัครสำหรับตำแหน่งระดับท้องถิ่น รัฐและชาต.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเบอร์นี แซนเดอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เฟอร์นันโด วาร์กัส

ฟอร์นันโด วาร์กัส (Fernando Vargas) อดีตนักมวยแชมป์โลก 2 สมัย ในรุ่นจูเนียร์มิดเดิลเวท เกิดเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1977 ที่เมืองออกนาร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นชาวอเมริกันเชื้อสายเม็กซิกัน มีสถิติการชกทั้งหมด 31 ครั้ง ชนะ 26 ครั้ง เป็นการน็อกทั้งหมด 22 ครั้ง แพ้ 5 ครั้ง โดยเป็นการแพ้น็อกทั้งหมด 4 ครั้ง วาร์กัสในวัยเด็กมีชีวิตที่เสเพล เพราะความยากจนของครอบครัว จึงเริ่มต้นชกมวยจากมวยสากลสมัครเล่น จนกระทั่งติดทีมชาติสหรัฐอเมริกาได้ไปแข่งในกีฬาโอลิมปิก 1996 ที่แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย ในรุ่นไลท์มิดเดิลเวท แต่ทว่าตกรอบที่สอง เมื่อเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ มาเรียน ซีเมียน นักมวยชาวโรมาเนียไป 8-10 หมัด หลังจากนั้น วาร์กัสก็ได้หันมาชกมวยสากลอาชีพ โดยมี ลู ดูว่า เทรนเนอร์ชื่อดังระดับโลกเป็นผู้ฝึกสอน และ แดน ดูว่า เป็นโปรโมเตอร์ ซึ่งวาร์กัสสามารถทำสถิติไม่แพ้และเสมอแก่ใครถึง 14 ไฟต์ และทั้งหมดเป็นการชนะน็อกทั้งหมด จึงได้ชิงแชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์มิดเดิลเวทของ IBF กับ โยรี่ บอย แคมปัส นักมวยที่ไม่เคยแพ้หรือเสมอแก่ใครเช่นกันชาวเม็กซิกัน ในปลายปี ค.ศ. 1998 ผลการชกปรากฏว่าวาร์กัสเป็นฝ่ายเอาชนะน็อกไปได้ในยกที่ 7 หลังจากนั้น เฟอร์นันโด วาร์กัส ก็เป็นที่จับตามองของวงการมวยระดับโลก ในฐานะดาวรุ่งดวงใหม่ ประกอบกับบุคคลิกที่ห้าว ไม่เกรงกลัวใคร อีกทั้งยังมีหน้าตาดี จึงทำให้ได้รับฉายาว่า "Ferocious" หรือ "El Feroz" ในภาษาสเปน ซึ่งวาร์กัสเมื่อให้สัมภาษณ์หรือพูดคุยกับสื่อมวลชนมักจะพาดพิงไปถึง ออสการ์ เดอ ลา โฮยา อยู่เสมอ ๆ ในลักษณะท้าทาย ซึ่งขณะนั้นเดอ ลา โฮยา ถือเป็นซูเปอร์สตาร์อันดับหนึ่งของวงการมวยโลกอยู่ จึงทำให้เป็นที่จับตามองของแฟนมวยทั่วโลกว่า ทั้งคู่อาจได้โคจรมาพบกัน เฟอร์นันโด วาร์กัส ป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกของ IBF ไว้ได้ทั้งหมด 5 ครั้ง ก่อนที่จะพบกับความพ่ายแพ้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 เมื่อทำการชกล้มแชมป์กับแชมป์โลกในรุ่นเดียวกันนี้ของ WBA คือ เฟลิกซ์ ทรินิแดด นักมวยชาวเปอร์โตริโก ที่เพิ่งเอาชนะคะแนน เดอ ลา โฮยา มาได้ โดยวาร์กัสเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 12 ซึ่งเป็นยกสุดท้าย ซึ่งตลอดการชกวาร์กัสแทบไม่อาจสู้กับทรินิแดดได้เลย หลังจากนั้น วาร์กัสก็ชกอุ่นเครื่องอยู่หนึ่งครั้ง ก่อนที่ขึ้นชิงแชมป์ในรุ่นเดียวกันนี้ของ WBA ที่ว่างลง เนื่องจากทรินิแดดสละตำแหน่ง วาร์กัสสามารถเอาชนะน็อก โฮเซ่ อัลเฟรโด ฟลอเรส นักมวยชาวเม็กซิกันไปในยกที่ 7 ก่อนที่ถัดมาจะทำการชกล้มแชมป์อีกครั้งกับแชมป์โลกของ WBC คือ ออสการ์ เดอ ลา โฮยา ที่เป็นเสมือนคู่กรณีกัน ปรากฏว่า วาร์กัสก็เป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 11 ในแบบที่แทบจะสู้ไม่ได้เหมือนเช่นที่พบกับทรินิแดด หลังจากนั้นแล้ววาร์กัสหันมาชกเคลื่อนไหวอยู่ 4 ครั้ง ก่อนที่จะพบกับ เชน มอสลีย์ ยอดนักมวยอีกคนชาวอเมริกัน ปรากฏว่าวาร์กัสตกเป็นฝ่ายแพ้ที.เค.โอ.ไปในยกที่ 10 เมื่อต้นปี ค.ศ. 2006 โดยที่ตาข้างซ้ายของวาร์กัสโดนหมัดของมอสลีย์จนปูดบวมไปหมด จากนั้นในกลางปีเดียวกัน วาร์กัสยังติดใจในผลการชก จึงทำการขอล้างตาอีกไฟต์กับมอสลีย์ ก็เป็นฝ่ายแพ้ที..โอ.ไปอีกเช่นกันในยกที่ 6 เฟอร์นันโด วาร์กัส ชกมวยเป็นครั้งสุดท้ายถัดจากไฟต์นี้ โดยขึ้นชิงแชมป์ทวีปอเมริกาเหนือที่ว่างในรุ่นซูเปอร์มิดเดิลเวทของ WBC กับ ริคาร์โด มาร์ยอกา นักมวยชาวนิคารากัว ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอย่างเอกฉันท์เมื่อครบ 12 ยก ซึ่งตลอดการชกวาร์กัสก็มิอาจสู้มาร์ยอกาได้เลย และในไฟต์นี้วาร์กัสปล่อยร่างกายให้อ้วนฉุเพราะต้องทำน้ำหนักเพิ่มขึ้นมา หลังจากนั้นแล้ว วาร์กัสก็มิได้ขึ้นชกมวยอีกเลย เสมือนกับได้แขวนนวมไปแล้วอย่างเป็นทางการ ปัจจุบัน เฟอร์นันโด วาร์กัส ได้กลายเป็นนักแสดงประกอบในซีรีส์ชุด Alpha Dog ซึ่งออกอากาศผ่านเคเบิลทีวี เอชบีโอ โดยรับบทเป็น ทิโค "ทีเคโอ" มาร์ติเนซ.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเฟอร์นันโด วาร์กัส · ดูเพิ่มเติม »

เลสเตอร์

ลสเตอร์ (Leicester;; สะกดย่อ: LES-tɚ) เป็นนครและเมืองหลวงของมลฑลเลสเตอร์เชอร์ในภาคการปกครองมิดแลนด์สตะวันออกของอังกฤษ เลสเตอร์มีการปกครองระดับรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียว ที่ตั้งของเลสเตอร์อยู่บนฝั่งแม่น้ำซอร์และริมป่าสงวน และมีเนื้อที่ 73.32 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจสำมะโนประชากร ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเลสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกา

หยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกา (American Kestrel) หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า Sparrow Hawk (เหยี่ยวนกกระจอก) เป็นเหยี่ยวปีกแหลมขนาดเล็ก และเป็นเหยี่ยวเคสเตรลชนิดเดียวที่พบในทวีปอเมริกา เป็นเหยี่ยวปีกแหลมที่พบมากในทวีปอเมริกาเหนือและพบในถิ่นอาศัยหลากหลายรูปแบบ ด้วยความยาว 19 - 21 เซนติเมตร มันจึงเป็นเหยี่ยวปีกแหลมขนาดเล็กที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกามีลักษณะต่างกันในสองเพศ ทั้งขนาดและชุดขน แม้ว่าทั้งสองเพศจะมีสีขนค่อนข้างแดงที่หลังที่เห็นได้ชัด นกวัยอ่อนมีชุดขนคล้ายนกโตเต็มวัย เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกาล่าเหยื่อโดยการบินร่อนกลางอากาศด้วยการกระพือปีกอย่างรวดเร็ว และสอดส่ายสายตาพบพื้นเพื่อหาเหยื่อ ปกติจะกินตั๊กแตน, กิ้งก่า, หนู, และนกขนาดเล็กเป็นอาหาร เหยี่ยวทำรังในโพรงบนต้นไม้ หน้าผา อาคาร และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ตัวเมียวางไข่ครั้งละสามถึงเจ็ดใบ พ่อและแม่ช่วยกันกกไข่ เหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกาเป็นนกที่ใช้ในกีฬาล่าเหยื่อด้วยนกตระกูลเหยี่ยว โดยเฉพาะผู้เริ่มต้น พิสัยการผสมพันธุ์วางไข่เริ่มจากตอนกลางและตะวันตกของรัฐอะแลสกาข้ามไปยังตอนเหนือของประเทศแคนาดาถึงรัฐโนวาสโกเชีย และลงไปทางใต้ตลอดทวีปอเมริกาเหนือ ในตอนกลางประเทศเม็กซิโกและแคริบเบียน มันเป็นนกประจำถิ่นในอเมริกากลางและตลอดทั่วทวีปอเมริกาใต้ นกส่วนมากที่ผสมพันธุ์วางไข่ในประเทศแคนาดาและตอนเหนือของสหรัฐอเมริกาจะอพยพลงใต้เมื่อฤดูหนาว พบนกอพยพหลงบางครั้งในทางตะวันตกของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเหยี่ยวเคสเตรลพันธุ์อเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

เอร์โมซาโซเบรานา

อร์โมซาโซเบรานา (Hermosa Soberana) เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐนิการากัว ระหว่าง พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2453 ชื่อของเพลงนี้อาจแปลความหมายได้ว่า "อธิปไตยอันงดงาม" บทเพลงดังกล่าวได้ประพันธ์ขึ้นเพื่ออุทิศแก่นายพลโคเซ ซานโตส เซลายา (José Santos Zelaya) และได้รับการยอมรับเป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเอร์โมซาโซเบรานา · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงโอตี

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งไอบีเรียและลาตินอเมริกา หรือเรียกโดยทั่วไปว่า เทศกาลเพลงโอตี คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก องค์การโทรทัศน์แห่งไอบีเรียและลาตินอเมริกา (Organización de Telecomunicaciones de Iberoamérica: OTI) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเทศกาลเพลงโอตี · ดูเพิ่มเติม »

เขตอุปราชแห่งนิวกรานาดา

เขตอุปราชแห่งนิวกรานาดา (Viceroyalty of New Granada) คือบริเวณที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิสเปน ปัจจุบันคือประเทศโคลอมเบีย ปานามา เวเนซุเอลา เอกวาดอร์ และตรินิแดดและโตเบโก รวมทั้งบางส่วนของนิการากัว เปรู กายอานา และบราซิล โดยสเปนจะส่งอุปราชเข้ามาปกครอง และขึ้นตรงต่อกษัตริย์สเปน เขตอุปราชแห่งนี้มีเมืองศูนย์กลางการปกครองคือ ซานตาเฟเดโบโกตา เมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ การ์ตาเคนาเดอินเดียส กีโต และการากัส หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปอเมริกาใต้ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของสเปน.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเขตอุปราชแห่งนิวกรานาดา · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เซร์รานียาแบงก์

ซร์รานียาแบงก์ (Serranilla Bank) เป็นเกาะของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน เซร์รานียาแบงก์เป็นเกาะที่มีข้อพิพาททางการปกครอง โดยที่นี่เป็นดินแดนที่โคลอมเบีย จาเมกา นิการากัว และสหรัฐอเมริกาต่างอ้างสิทธิ์ ที่นี่ตั้งอยู่ประมาณ 350 กิโลเมตร (220 ไมล์) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ ปุนตากอร์ดา นิการากัว และประมาณ 280 กิโลเมตร (170 ไมล์) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ จาเมกา เพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้ที่สุดคือ บาโฮนวยโวแบงก์ ตั้งอยู่ 110 กิโลเมตร (68 ไมล์) ทางตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเซร์รานียาแบงก์ · ดูเพิ่มเติม »

เซร์ฮีโอ กอนซาเลซ

ซร์ฮีโอ กอนซาเลซ (Sergio Gonzalez) นักมวยสากลชาวนิการากัว เกิดเมื่อ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเซร์ฮีโอ กอนซาเลซ · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา)

ซอร์ไวเวอร์ คือ รายการ เรียลลิตี้โชว์ ซึ่งถูกสร้างในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ในรายการเซอร์ไวเวอร์นี้ผู้เข้าแข่งขันจะถูกปล่อยเกาะกลางทะเลหรือป่าที่ห่างไกลผู้คน และจะต้องแข่งขันกันเพื่อเงินรางวัล เซอร์ไวเวอร์ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก รายการ Expedition Robinson ของสวีเดนซึ่งมีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน ประเด็นสำคัญมาจากเรื่องราวการเอาตัวรอดในสถานะการที่ยากลำบากท่ามกลางธรรมชาติของ โรบินสัน ครูโซ และทำให้เซอร์ไวเวอร์กลายเป็น "เรียลลิตี้โชว์ต้นแบบ" เนื่องจากได้รับความนิยมและทำให้รายการในรูปแบบนี้เริ่มผลิตออกมาเรื่อยๆ ในช่วงต่อม.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและเซอร์ไวเวอร์ (รายการโทรทัศน์อเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

CYP3A5

ซโทโครม P450 3A5 (Cytochrome P450 3A5; ชื่อย่อ: CYP3A5) เป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งในกลุ่มออกซิไดซิงเอนไซม์ตระกูลไซโตโครม P450 ที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกายมนุษย์ โดยโปรตีน CYP3A5 ในมนุษย์จะถูกเข้ารหัสโดยยีน CYP3A5 ซึ่งยีนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มยีน cytochrome P450 บน โครโมโซมคู่ที่ 7 โลคัส 7q22.1 CYP3A5 เป็นเอนไซม์ที่พบได้ในเนื้อเยืื่อหลายชนิดในร่างกาย ส่วนมากมักอยู่ที่เนื้อเยื่อของเซลล์ตับ ต่อมลูกหมาก ทางเดินอาหาร ไต ต่อมหมวกไต อย่างไรก็ตาม CYP3A5 ที่อยู่ในเนื้อเยื่ออื่นที่นอกเหนือจากเซลล์ตับจะสามารถแสดงออกได้โดดเด่นมากกว่า หน้าที่หลักของ CYP3A5 คือ การเมแทบอไลซ์ยาและสารประกอบไขมันต่างๆ ในร่างกาย เช่น เทสโทสเทอโรน โปรเจสเตอโรน และแอนโดรสตีนีไดโอน อย่างไรก็ตาม การทำงานของ CYP3A5 นั้นมีความแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ โดยชาติพันธ์ุที่มีอัลลีลของ CYP3A5 เป็น CYP3A5*1 จะมีการทำงานของเอนไซม์ที่เป็นปกติ แต่ในบางกลุ่มชาติพันธ์ุที่มีอัลลีลเป็น CYP3A5*3 อย่างประชากรในแถบยุโรป เอเชียตะวันตก และเอเชียกลาง จะมีการทำงานของเอนไซม์นี้ลดลง และในบางกลุ่มประชากรอาจเกิดการกลายพันธุ์จากอัลลีล CYP3A5*1 มาเป็น CYP3A5*3 ได้.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและCYP3A5 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

UTC−06:00

UTC -6: สีน้ำเงิน (เดือนมกราคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีส้ม (กรกฎาคม), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล UTC-06:00 ใช้ในเวล.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและUTC−06:00 · ดูเพิ่มเติม »

.ni

.ni เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศนิการากัว เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2532.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและ.ni · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนิการากัวและ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nicaraguaสาธารณรัฐนิการากัวประเทศนิคารากัวนิการากัวนิคารากัว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »