สารบัญ
139 ความสัมพันธ์: บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโยบาคคัส (คาราวัจโจ)บาคคัสไม่สบายชเตฟันสโดมฟรันส์ ฮัลส์ฟรันเชสโก มารีอา เดล มอนเตฟรันเชสโก โซลีเมนาพระคริสต์ทรงพระสิริพระคัมภีร์คนยากพระเยซูถูกเฆี่ยนพระเยซูในบ้านมาร์ธาและแมรีพระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (คาราวัจโจ)พักระหว่างหนีไปอียิปต์ (คาราวัจโจ)พันธนาการโพรมีเธียส (จอร์แดงส์)พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บพุตโตกรานาโด้ เอสปาด้าการสวมมงกุฎพระแม่มารี (เบลัซเกซ)การทิ้งระเบิดที่เดรสเดินในสงครามโลกครั้งที่สองการข่มขืนสตรีชาวซาบีนการดลใจนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)การนมัสการของคนเลี้ยงแกะ (การาวัจโจ)การเป็นมรณสักขีของนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)ภาพที่ระบุว่าเขียนโดยคาราวัจโจภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ)ภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8มหาวิหารวีกันมารธาและมารีย์ชาวมักดาลา (การาวัจโจ)มารีย์ชาวมักดาลาสำนึกผิด (การาวัจโจ)มารีโอ มินนีตีมาร์ก-อ็องตวน ชาร์ป็องตีเยยกกางเขน (รือเบินส์)ยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจรายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์รูบีทิวสเดย์ลากวีลาศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)ศิลปะดัตช์ศิลปะเชิง 3 มิติสกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) มาดริดสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) ลอนดอนสาวใส่ต่างหูมุกสีฝุ่นเทมเพอรา... ขยายดัชนี (89 มากกว่า) »
บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย
“เด็กขายผลไม้” (The Little Fruit Seller) - ค.ศ. 1670 บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย (Bartolomé Esteban Murillo) รับศีลล้างบาปเมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1618 ที่เซบิยา ประเทศสเปน และเสียชีวิตที่เซบิยาเช่นกันเมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ.
ดู บารอกและบาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย
บาคคัส (คาราวัจโจ)
ัส (ภาษาอังกฤษ: Bacchus) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “บาคคัส” เขียนราวปี ค.ศ.
บาคคัสไม่สบาย
ัคคัสไม่สบาย (ภาษาอังกฤษ: Young Sick Bacchus หรือ Self-portrait as Bacchus หรือ Bacchino Malato) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “บัคคัสไม่สบาย” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ.
ชเตฟันสโดม
การขยายอาสนวิหารนักบุญสเทเฟน: The '''หอโรมันและประตูยักษ์''' จากซากไหม้ของโบสถ์แรกใช้เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์'''โบสถ์ที่สอง''' สร้างแทนโบสถ์เดิม สี่สิบปีต่อมา ก็เริ่มก่อสร้าง '''Albertine Choir''' แบบกอธิค; ห้าสิบห้าปีหลังจากนั้นก็สร้าง '''ส่วนต่อเติมดยุกรูดอล์ฟที่ 4''' รอบบริเวณ '''โบสถ์ที่สอง''' ที่ต่อมาถูกรื้อทิ้ง เหลือโบสถ์ที่สามให้เป็นสิ่งก่อสร้างที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน อาสนวิหารนักบุญสเทเฟน หรือ ชเตฟันสโดม (Stephansdom, St.) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในอัครมุขมณฑลเวียนนา และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งเวียนนา ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ และ กอทิก ริเริ่มโดยรูดอล์ฟที่ 4 ดยุกแห่งออสเตรีย โบสถ์ปัจจุบันตั้งอยู่บนซากโบสถ์เดิมที่สร้างก่อนหน้านั้นสองโบสถ์ โบสถ์แรกเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชที่ได้รับการเสกในปี ค.ศ.
ฟรันส์ ฮัลส์
ฟรันส์ ฮัลส์ (Frans Hals; ราว ค.ศ. 1580 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1666) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ฮัลส์มีชื่อเสียงในการเขียนภาพเหมือนและการใช้ฝีแปรงที่อิสระและเป็นผู้นำวิธีการเขียนที่มีชีวิตชีวามาสู่ศิลปะดัตช์ และเป็นผู้มีบทบาทในการวิวัฒนาการการเขียนภาพเหมือนของกลุ่มคนในคริสต์ศตวรรษที่ 17.
ฟรันเชสโก มารีอา เดล มอนเต
ฟรันเชสโก มารีอา บอร์โบเน เดล มอนเต (Francesco Maria Borbone Del Monte; 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1549, เวนิส - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1627, โรม) เป็นนักบวชชาวอิตาลีที่มีตำแหน่งเป็นคาร์ดินัล เดล มอนเตเป็นนักการทูตและนักสะสมศิลปะคนสำคัญ ความสำคัญของเดล มอนเตอยู่ที่เป็นหนึ่งในผู้อุปถัมภ์การาวัจโจผู้เป็นจิตรกรยุคบาโรกคนสำคัญของอิตาลี และเป็นผู้สะสมศิลปะที่เป็นงานชิ้นสำคัญ ๆ ในยุคนั้น.
ดู บารอกและฟรันเชสโก มารีอา เดล มอนเต
ฟรันเชสโก โซลีเมนา
ฟรานเชสโค โซลิเมนา (Francesco Solimena) (4 ตุลาคม ค.ศ. 1657 - 3 เมษายน ค.ศ. 1747) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของสมัยบาโรกของคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โซลิเมนาเกิดที่คานาเลดิแซริโนไม่ไกลจากอเวลลิโน ได้รับการฝึกเบื้องต้นจากบิดาอันเจโล โซลิเมนา ที่โซลิเมนาร่วมเขียนงานชื่อ “สวรรค์” ด้วยกันที่มหาวิหารโนแซรา และ “มโนทัศน์ของเซนต์ซิริลแห่งอเล็กซานเดรีย” สำหรับวัดซานโดเมนนิโคที่โซโลฟรา โซลิเมนาไปตั้งหลักแหล่งอยู่ที่เนเปิลส์ในปี..
พระคริสต์ทรงพระสิริ
ระคริสต์ทรงพระสิริ (Christ in Glory) หรือ พระคริสต์ผู้ยิ่งใหญ่ (Christ in Majesty Majestas Domini), เป็นภาพพระเยซูประทับบนบัลลังก์ในฐานะประมุขของโลก ในการวางองค์ประกอบของงานศิลปะจะเป็นภาพที่จะมองจากด้านหน้าเสมอ และมักจะขนาบด้วยคนหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนไปแล้วแต่บริบท ลักษณะ ภาพ “พระคริสต์ทรงพระสิริ” เป็นภาพที่วิวัฒนาการมาตั้งแต่ศิลปะคริสเตียนยุคแรกที่นำมาโดยตรงจากภาพจักรพรรดิโรมันบนบัลลังก์ ในศิลปะไบแซนไทน์จะมีลักษณะที่ต่างออกไปเล็กน้อยเป็นภาพครึ่งพระองค์ “พระคริสต์ผู้ทรงสรรพานุภาพ” (Christ Pantocrator) และจะไม่มีสิ่งอื่นใดประกอบ และภาพ “เดอีซิส” (Deesis) ที่เป็นภาพทั้งพระองค์บนบัลลังก์ขนาบด้วยพระแม่มารีย์และนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญองค์อื่น ๆ ทางตะวันตกองค์ประกอบของภาพวิวัฒนาการมาโดยตลอดจนกระทั่งถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยังคงดำรงความสำคัญจนมาถึงปลายศิลปะบารอกที่เป็นภาพที่ลอยอยู่บนฟ้.
ดู บารอกและพระคริสต์ทรงพระสิริ
พระคัมภีร์คนยาก
หน้าต่าง “พระคัมภีร์คนยาก” ที่ มหาวิหารแคนเทอร์เบอรีจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่อาจจะสร้างจากชิ้นส่วนของบานหน้าต่างเดิมสองบาน รายละเอียดจากหน้าต่างสองหน้าต่างจากมหาวิหารแคนเทอร์เบอรีที่เป็นเรื่องสองเรื่องที่ต่างกัน แต่ตัวแบบสองตัวในภาพทางด้านซ้ายเป็นตัวเดียวกัน และเสา โต๊ะ เชิงเทียน และหนังสือ ภาพซ้ายสร้างในสมัยกลาง และภาพขวาในสมัยวิกตอเรีย พระคัมภีร์คนยาก (Poor Man's Bible) คำว่า “พระคัมภีร์คนยาก” ในปัจจุบันหมายถึงงานศิลปะภายในคริสต์ศาสนสถานที่อาจจะเป็นงานชิ้นเดียวหรืองานชุดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนสาระของคัมภีร์ไบเบิลต่อประชากรส่วนใหญ่ที่ไร้การศึกษา ศิลปะ “พระคัมภีร์คนยาก” อาจจะเป็นงานประติมากรรม งานแกะสลัก จิตรกรรม งานโมเสก หรือหน้าต่างประดับกระจกสี ในโบสถ์บางแห่งหน้าต่างบานเดียวก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “พระคัมภีร์คนยาก” ขณะที่ในโบสถ์อื่นทั้งโบสถ์อาจจะตกแต่งด้วยบทบรรยายพระคัมภีร์ไบเบิลอันซับซ้อนภายใต้หัวใจของเรื่องที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน.
พระเยซูถูกเฆี่ยน
งานกระจกสี “พระเยซูถูกเฆี่ยน” ราว ค.ศ. 1240 “พระเยซูที่เสา” ประติมากรรมอิตาลี ค.ศ. 1817 พระเยซูถูกเฆี่ยน (ภาษาอังกฤษ: Flagellation of Christ หรือ Christ at the Column) เป็นฉากหนึ่งจากทุกขกิริยาของพระเยซูซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระเยซู “พระเยซูถูกเฆี่ยน” เป็นหัวเรื่องของศิลปะคริสต์ศาสนาที่ศิลปินนิยมสร้างหรือเขียนที่แปลงมาจากทางสู่กางเขนแต่มิได้เป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดดั้งเดิม คอลัมน์ที่พระเยซูถูกมัด, แส้, หรือไม้เบิร์ชเป็นองค์ประกอบในอุปกรณ์การทรมานพระเยซู (Arma Christi)—สถาบันหลายแห่งอ้างว่าเป็นเจ้าของอุปกรณ์เหล่านี้รวมทั้งบาซิลิกา ดิ ซานตา พราสเซเด (Basilica di Santa Prassede) ในกรุงโรมที่อ้างว่าเป็นเจ้าของคอลัมน์ที่พระเยซูถูกมั.
พระเยซูในบ้านมาร์ธาและแมรี
ระเยซูในบ้านมาร์ธาและแมรี (Christ in the House of Martha and Mary) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติแห่งสกอตแลนด์, เอดินบะระห์ในสกอตแลน.
ดู บารอกและพระเยซูในบ้านมาร์ธาและแมรี
พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (คาราวัจโจ)
ระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (The Calling of St Matthew) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ภาพ “พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว” เขียนเสร็จระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและพระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (คาราวัจโจ)
พักระหว่างหนีไปอียิปต์ (คาราวัจโจ)
การวางท่าของไวซ์ “การตัดสินของเฮอร์คิวลีส” โดยอันนิบาเล คารัคชี ในปี ค.ศ. 1596 ดูเหมือนจะมีอิทธิพลโดยตรงแก่ท่าของเทวดาของคาราวัจโจ พักระหว่างหนีไปอียิปต์ (Rest on the Flight into Egypt) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แปมฟิลจ์ในกรุงโรมในประเทศอิตาลี เนื้อหาของภาพมิได้มีรากฐานมาจากพระคัมภีร์ไบเบิลโดยตรงแต่เป็นเรื่องที่มาขยายความและเพิ่มเติมรายละเอียดกันขึ้นจากพระคัมภีร์ไบเบิลในสมัยต้นยุคกลางที่มีรากฐานมาจากเรื่องการเดินทางของครอบครัวพระเยซูขณะที่เสด็จหนีไปอียิปต์เพื่อลี้ภัยเมื่อได้ข่าวว่าพระเจ้าแฮรอด อันทิพาส์ทรงสั่งให้ฆ่าเด็กเกิดใหม่ในกรุงเยรุซาเล็ม ตามตำนานเมื่อแล้วโจเซฟและพระแม่มารีหยุดพักที่หมู่ไม้ระหว่างการเดินทาง พระทารกก็ทรงสั่งให้กิ่งไม้โน้มลงมาเพื่อให้โจเซฟเก็บผลได้ จากนั้นก็ทรงสั่งให้น้ำพุไหลเป็นสายออกมาเพื่อให้พระบิดา/มารดาได้ดื่มแก้กระหาย รายละเอียดของตำนานก็เพิ่มเติมกันไปต่างๆ ในชั่วเวลาหลายร้อยปีที่แพร่หลาย คาราวัจโจแสดงภาพของพระแม่มารีบรรทมหลับพระศอพับกับพระทารกในพระกร ขณะที่โจเซฟถือโน้ตเพลงให้เทวดาเล่นไวโอลิน ส่วนลาที่เป็นการบอกล่วงหน้าถึงการที่พระเยซูจจะทรงขี่เข้ากรุงเยรุซาเล็มยืนมองอยู่ข้างหลังโจเซฟ ปีที่วาดยังไม่สามารถตกลงกันได้ ถ้าว่ากันตามจุยเลียโน มันชินิ (Giulio Mancini) ผู้ร่วมสมัยแล้วภาพเขียนนี้และภาพ “แมรี แม็กดาเลนเศร้า” กับภาพนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ก็เขียนเมื่อคาราวัจโจพักอยู่กับฟันติโน เปตริยานิไม่นานหลังจากออกจากห้องเขียนภาพของจุยเซปเป เซซาริ ราวเดือนมกราคม..
ดู บารอกและพักระหว่างหนีไปอียิปต์ (คาราวัจโจ)
พันธนาการโพรมีเธียส (จอร์แดงส์)
ันธนาการโพรมีเธียส (Prometheus Bound) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจาคอป จอร์แดงส์จิตรกรคนสำคัญชาวดัตช์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วอลล์ราฟ-ริชาร์ทซ์ที่เมืองโคโลญในประเทศเยอรมนี ภาพ “พันธนาการโพรมีเธียส” ที่เขียนโดยจาคอป จอร์แดงส์ ราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและพันธนาการโพรมีเธียส (จอร์แดงส์)
พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์
ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ.
พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ
ัณฑ์ศิลปะเว็บ (Web Gallery of Art) เป็นเว็บไซต์ที่แสดงภาพงานจิตรกรรมและประติมากรรมตะวันตกสมัยบาโรก กอธิค และ เรอเนซองส์ พิพิธภัณฑ์ศิลปะออนไลน์มีภาพงานศิลปะด้วยกันทั้งหมดกว่า 15,400 ภาพบางภาพมีคำอธิบายและคำวิจัยประกอบ นอกจากภาพเขียนแล้วพิพิธภัณฑ์ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับชีวประวัติของศิลปิน และ ที่จัดเป็นหัวข้อเช่น หรือ หน้าแสดงการเปรียบเทียบภาพเขียนชื่อ “จูดิธตัดหัวโฮโลเฟอร์เนส” (Giuditta che decapita Oloferne) ที่เขียนโดยคาราวัจโจและ อาร์เทมิเซีย เจ็นทิเลสชิ ผู้ใช้สามารถใช้ระบบการเรียกข้อมูลที่ต้องการได้จากฐานข้อมูล ข้อมูลอาจจะดึงได้จาก: เมื่อพบภาพที่ต้องการแล้วผู้ใช้ก็สามารถเลือกขนาดภาพที่จะชมและดนตรีประกอบได้ พิพิธภัณฑ์ศิลปะออนไลน์ก่อตั้งโดย อีมิล เคร็น และแดเนียล มาร์กซ ภาพงานศิลปะที่ปรากฏในพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บเป็นภาพที่ลิขสิทธิ์หมดอายุ แต่ลิขสิทธิ์ตามกฎหมายยังครอบคลุมในการ reproduce ภาพ พิพิธภัณฑ์ให้คำจำกัดความเรื่องลิขสิทธิ์ว่า “พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บจดทะเบียนลิขสิทธิ์ในฐานะที่เป็นฐานข้อมูล ภาพและเอกสารที่ผู้ใช้ดาวน์โหลดจากฐานข้อมูลนี้นำไปใช้ได้เฉพาะทางการศึกษาและทางส่วนบุคคล ห้ามใช้ในการแจกจ่ายไม่ว่าในรูปแบบใดโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของงานตามกฎหมาย” แต่โดยทั่วไปแล้วพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บมิได้ระบุข้อมูลใดๆ ที่เกี่ยวกับเจ้าของงานบนหน้าที่แสดงภาพ ในสหรัฐอเมริกากฎหมายลิขสิทธิ์มิได้ครอบคลุมการ reproduce ภาพที่เป็นสมบัติของสาธารณชนแล้วตามการตัดสินของศาลในคดีระหว่าง “ห้องสมุดศิลปะบริดจ์แมน และ บริษัทคอเรล” กรณีเช่นเดียวกันนี้ในบางท้องถิ่นหรือในบางประเทศอาจจะเป็นเช่นสหรัฐอเมริกาแต่ไม่ทั้งหม.
ดู บารอกและพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ
พุตโต
“พุตโต” ถือหอยสำหรับจ้วงน้ำที่ใช้ในพิธีบัพติศมาบนฉากประดับแท่นบูชานักบุญยอห์นแบปติสต์ที่อารามออทโทบอยเรินในเยอรมนี “พุตโตกับวีนัส” (ราว ค.ศ.
กรานาโด้ เอสปาด้า
กรานาโด้ เอสปาด้า หรือ Granado Espada พัฒนาโดย IMC Games Co.,Ltd ถูกนำมาเปิดให้บริการในประเทศไทยโดยบริษัท บริษัท เอเซียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ภายในเกมจะอิงศิลปะยุคบาโรก ที่เน้นความหรูหรา ตัวเกมได้รับรางวัล Best Graphics and Game of the Year ในปี 2006 จากประเทศเกาหลี เปิด Close Beta เวอร์ชัน 1.8.11 ในวันที่ 9 ตุลาคม 2549 เวลา 17.00 น.
การสวมมงกุฎพระแม่มารี (เบลัซเกซ)
การสวมมงกุฎพระแม่มารี (Coronation of the Virgin) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซ จิตรกรคนสำคัญชาวสเปนของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ปราโดในกรุงมาดริดในประเทศสเปน ภาพ “การสวมมงกุฎพระแม่มารี” ที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซ ราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและการสวมมงกุฎพระแม่มารี (เบลัซเกซ)
การทิ้งระเบิดที่เดรสเดินในสงครามโลกครั้งที่สอง
การทิ้งระเบิดเดรสเดนเป็นการทิ้งระเบิดตามยุทธศาสตร์ทางทหาร โดยกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF) แลกองทัพอากาศกองทัพสหรัฐ (USAAF) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ถึง 15 กุมภาพัน..
ดู บารอกและการทิ้งระเบิดที่เดรสเดินในสงครามโลกครั้งที่สอง
การข่มขืนสตรีชาวซาบีน
“การข่มขืนสตรีชาวซาบีน” โดยจามโบโลนยา ภาพแกะเดียวกับประติมากรรมที่ลอจเจียเดอิลันซิในฟลอเรนซ์ “การข่มขืนสตรีชาวซาบีน” โดยโยฮันน์ ไฮน์ริค เชินเฟลด์ (Johann Heinrich Schönfeld) การข่มขืนสตรีชาวซาบีน (The Rape of the Sabine Women) เป็นส่วนหนึ่งของตำนานประวัติศาสตร์โรมที่กล่าวว่าชาวโรมันรุ่นแรกไปเอาภรรยามาจากซาบีนที่อยู่ไม่ไกลนัก (ในบริบทนี้ “การข่มขืน” หมายถึง “การลักพา” หรือ “Rape” ที่มีรากมาจากคำว่า “raptio” ไม่ใช่ในความหมายของการข่มขืนที่เข้าใจกันในสมัยปัจจุบัน) จากคำบอกเล่าของนักประวัติศาสตร์โรมันไททัส ลิวิอัส และพลูทาร์ค (ในหนังสือ “Parallel Lives” II, 15 และ 19) หัวข้อนี้เป็นหัวข้อที่นิยมกันในการสร้างงานศิลปะในยุคเรอเนสซองซ์และต่อมา ซึ่งเป็นการใช้หัวเรื่องในการสื่อความหมายที่ส่งเสริมให้เกิดแรงบันดาลใจในทางความกล้าหาญของชาวโรมันโบราณและสำหรับศิลปินก็เป็นโอกาสที่จะสร้างภาพที่ประกอบด้วยคนหลายคนที่รวมทั้งร่างสตรีที่กำลังต่อสู้ดิ้นรน หัวเรื่องในทำนองเดียวกันจากสมัยโรมันโบราณก็ได้แก่ยุทธการระหว่างลาพิธและเซนทอร์ (Lapith) และหัวเรื่อง สงครามอะเมซอน (Amazonomachy) ซึ่งเป็นยุทธการระหว่างเธเซียสและนักรบอะเมซอน หรือเทียบได้กับตำนานคริสต์ศาสนาในหัวข้อการสังหารเด็กบริสุทธิ์ (Massacre of the Innocents).
ดู บารอกและการข่มขืนสตรีชาวซาบีน
การดลใจนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)
การดลใจนักบุญมัทธิว (The Inspiration of Saint Matthew) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ตั้งอยู่ภายในชาเปลคอนทราเรลลิในโบสถ์ซันลุยจีเดย์ฟรันเชซีในกรุงโรมในประเทศอิตาลี หลังจากเสียชีวิตไปแล้วคาร์ดินัลชาวฝรั่งเศสขื่อแม็ทธิว ควงแทรล (Matthieu Cointrel) หรือ “มัตเตโอ คอนทราเรลลิ” ในภาษาอิตาลีก็ทิ้งมรดกไว้โดยระบุว่าให้ใช้ในการตกแต่งชาเปลในหัวเรื่องของชื่อของท่าน (มัตเตโอ.
ดู บารอกและการดลใจนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)
การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)
นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน (Crucifixion of St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันอยู่ที่วัดซานตามาเรียเดลโปโปโลในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” เป็นภาพที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ.
ดู บารอกและการตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)
การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)
นายช่างโบฮีเมีย ราวปี ค.ศ. 1350 แสดงให้เห็นอิทธิพลของไบเซนไทน์แบบอิตาลีในราชสำนักของจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ การประสูติของพระเยซู (Nativity หรือ Nativity of Jesus) เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งในศิลปะศาสนาคริสต์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 องค์ประกอบของศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันคริสต์มาสตามข้อมูลในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกา และต่อมาก็มีการเพิ่มเรื่องราวจากข้อเขียนอื่น ๆ หรือเรื่องเล่าต่างๆ ศิลปะคริสต์ศาสนามักจะมีรูปเคารพของพระนางมารีย์พรหมจารีและพระกุมารเยซู งานศิลปะแบบนี้จะเรียกว่า “แม่พระและพระกุมาร” หรือ “พระนางพรหมจารีและพระกุมาร” แต่รูปนี้จะไม่รวมอยู่ในชุด “การประสูติของพระเยซู” ฉากการประสูติของพระเยซูจะมีคำบรรยายอย่างชัดเจนจากหลักฐานหลายแห่ง การกำเนิดของพระเยซูเป็นฉากที่ใช้ในการสร้างศิลปะหลายแบบทั้งทางจักษุศิลป์และประติมากรรม และศิลปะแบบอื่นๆ ในรูปของจักษุศิลป์ก็อาจจะเป็น ไอคอน, จิตรกรรมฝาผนัง, บานพับภาพ, ภาพเขียนสีน้ำมัน, หนังสือวิจิตร และ หน้าต่างประดับกระจกสี บางครั้งการแสดงภาพก็อาจจะผสมระหว่างจักษุศิลป์และประติมากรรม ที่ตั้งของภาพหรืองานศิลปะก็อาจจะเป็น ฉากประดับแท่นบูชา (Altarpiece) ศิลปะแบบอื่นๆ ก็อาจจะเป็นจุลจิตรกรรม งานแกะงาช้าง การแกะภาพบนโลงหิน การสลักบนหน้าบันเหนือประตูทางเข้าโบสถ์ หรือคานเหนือประตู หรืออาจจะเป็นรูปปั้นแบบลอยตัว รูปปั้นแบบลอยตัวของ “การประสูติของพระเยซู” มักจะทำเป็น “Creche” หรือ “Presepe” ซึ่งเรียกว่า “ฉากพระเยซูประสูติ” (Nativity scene) ซึ่งอาจจะใช้ตั้งตรงมุมใดมุมหนึ่งของโบสถ์ หน้าหรือในสถานที่สาธารณะ, บ้าน หรือกลางแจ้งเป็นการชั่วคราว ขนาดของกลุ่มรูปปั้นก็มีตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ไปจนขนาดเท่าคนจริง ที่มาของการสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” อาจจะมาจากการแสดงกลุ่มรูปปั้น ที่เรียกว่า “Tableau vivant” ที่กรุงโรม ซึ่งนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมีบทบาททำให้เป็นที่นิยมกันมากขึ้น การสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” ก็ยังเป็นที่นิยมกันถึงปัจจุบันนี้ โดยบางครั้งฉากเล็กอาจจะทำจากกระเบื้องพอร์ซิเลน (Porcelain), พลาสเตอร์, พลาสติก หรือ กระดาษ เพื่อใช้ตั้งภายในที่อยู่อาศั.
ดู บารอกและการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)
การนมัสการของคนเลี้ยงแกะ (การาวัจโจ)
การชื่นชมของคนเลี้ยงแกะ (Adoration of the Shepherds) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์รีจิโอนาเล, เมสสินาในประเทศอิตาลี ภาพ “การชื่นชมของคนเลี้ยงแกะ” เขียนเสร็จราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและการนมัสการของคนเลี้ยงแกะ (การาวัจโจ)
การเป็นมรณสักขีของนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)
การพลีชีพของนักบุญแม็ทธิว (The Martyrdom of Saint Matthew) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ตั้งอยู่ภายในชาเปลคอนทราเรลลิในวัดซานลุยจิเดอิฟรานเชซิในกรุงโรมในประเทศอิตาลี หลังจากเสียชีวิตไปแล้วคาร์ดินัลชาวฝรั่งเศสขื่อแม็ทธิว ควงแทรล (Matthieu Cointrel) หรือ “มัตเตโอ คอนทราเรลลิ” ในภาษาอิตาลีก็ทิ้งมรดกไว้โดยระบุว่าให้ใช้ในการตกแต่งชาเปลของตนเองในหัวเรื่องของนักบุญผู้ที่ท่านใช้เป็นชื่อ (มัตเตโอ.
ดู บารอกและการเป็นมรณสักขีของนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)
ภาพที่ระบุว่าเขียนโดยคาราวัจโจ
ที่ระบุว่าเขียนโดยคาราวัจโจ (ภาษาอังกฤษ: Paintings attributed to Caravaggio) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เคยได้รับการระบุว่าเขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลี ภาพเหล่านี้เขียนระหว่าง..
ดู บารอกและภาพที่ระบุว่าเขียนโดยคาราวัจโจ
ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ)
หมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (Portrait of Maffeo Barberini) (Portrait of Maffeo Barberini) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมส่วนบุคคลที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี “ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ” เป็นภาพที่เขียนราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ)
ภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8
ที่สูญหายไปในเพลิงไหม้ ภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 (Portrait of Henry VIII) เป็นภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (ค.ศ.
ดู บารอกและภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8
มหาวิหารวีกัน
มหาวิหารวีกัน มหาวิหารวีกัน (Vigan Cathedral) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อาสนวิหารนักบุญเปาโล (St.Paul Metropolitan Cathedral) เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลโรมันคาทอลิกนวยวาเซโกเวีย ตั้งอยู่ที่นครวีกัน เมืองมรดกโลกบนเกาะลูซอน ตอนเหนือของประเทศฟิลิปปินส์ สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ.
มารธาและมารีย์ชาวมักดาลา (การาวัจโจ)
มารธาและมารีย์ชาวมักดาลา (Martha and Mary Magdalene) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่สถาบันศิลปะดีทรอยต์ในสหรัฐอเมริกา ภาพ “มารธาและมารีย์ชาวมักดาลา” เป็นภาพที่เขียนราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและมารธาและมารีย์ชาวมักดาลา (การาวัจโจ)
มารีย์ชาวมักดาลาสำนึกผิด (การาวัจโจ)
มารีย์มักดาลาละอายใจ (Penitent Magdalene) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์ Doria Pamphilj ในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “มารีย์มักดาลาละอายใจ” เขียนราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและมารีย์ชาวมักดาลาสำนึกผิด (การาวัจโจ)
มารีโอ มินนีตี
มาริโอ มินนิติ (ภาษาอังกฤษ: Mario Minniti) (ธันวาคม ค.ศ. 1577 - 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1640) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลีที่ทำงานในซิซิลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน มินนิติเกิดเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ.
มาร์ก-อ็องตวน ชาร์ป็องตีเย
แกะสลักเมื่อ ค.ศ. 1682 จากหนังสือ ''Almanach Royal'' ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นรูปของชาร์ป็องตีเยFor this representation, see François Filiatrault, "Un menuet de Charpentier sur un almanach royal," and Patricia M.
ดู บารอกและมาร์ก-อ็องตวน ชาร์ป็องตีเย
ยกกางเขน (รือเบินส์)
"ยกกางเขน" กลางบานพับภาพ ยกกางเขน (Kruisoprichting; The Elevation of the Cross) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เป็นส่วนหนึ่งของบานพับภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรสมัยบาโรกชาวดัตช์ ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในมหาวิหารแอนต์เวิร์ป ในเมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม รือเบินส์เขียนภาพ "ยกกางเขน" ราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและยกกางเขน (รือเบินส์)
ยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)
“นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์” โดย คาราวัจโจ นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ หรือ นักบุญจอห์นเร่ร่อน (John the Baptist หรือ John in the Wilderness) เป็นหัวข้อที่เขียนอย่างน้อยแปดครั้งโดยคาราวัจโจ ผู้เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ระหว่างปี..
ดู บารอกและยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)
รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ
รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ เป็นรายการภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจ ผู้เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญของประเทศอิตาลีในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17.
ดู บารอกและรายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ
รายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์
รายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ เป็นรายชื่อจิตรกรรมที่เขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ จิตรกรคนสำคัญของเนเธอร์แลนด์ในสมัยบาโรก คริสต์ศตวรรษที่ 17.
ดู บารอกและรายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์
รูบีทิวสเดย์
รูบีทิวสเดย์ (Ruby Tuesday) เป็นเพลงของเดอะโรลลิงสโตนส์ บันทึกเสียงในปี..
ลากวีลา
ลากวีลา (L'Aquila มีความหมายว่า "นกอินทรี") เป็นเมืองทางภาคกลางของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักทั้งของแคว้นอาบรุซโซและจังหวัดลากวีลา มีจำนวนประชากร 72,913 คน แต่ในช่วงกลางวันจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 100,000 คนเนื่องจากมีผู้เข้ามาเรียน ค้าขาย ทำงาน และท่องเที่ยว เมืองนี้ตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลางบนเนินเขาลูกหนึ่งในหุบเขาอันกว้างขวางของแม่น้ำอาแตร์โน-เปสการา ล้อมรอบด้วยเทือกเขาแอเพนไนน์ โดยมียอดเขากรันซัสโซดีตาเลียซึ่งเป็นภูเขาสูงและมีหิมะปกคลุมตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมือง ลากวีลาเป็นเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลาง ถนนแคบ ๆ ในตัวเมืองตัดกันจนเหมือนเป็นเขาวงกต มีโบสถ์อาคารสมัยบารอกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตั้งอยู่เรียงราย จนกระทั่งมุ่งไปสู่จัตุรัสที่สง่างาม เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยลากวีลา เมืองนี้จึงเป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่มีชีวิตชีวาแห่งหนึ่งและมีสถาบันทางวัฒนธรรมมากมาย ได้แก่ โรงละคร วงดุริยางค์ซิมโฟนี สถาบันวิจิตรศิลป์ เรือนเพาะชำของรัฐ และสถาบันภาพยนตร.
ศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)
ลปะของการเขียนภาพ หรือ อุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพ หรือ จิตรกรในห้องเขียนภาพ (The Art of Painting หรือ The Allegory of Painting หรือ Painter in his Studio) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรสมัยบาโรกชาวเนเธอร์แลนด์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในกรุงเวียนนาในประเทศออสเตรีย เวร์เมร์เขียนภาพ “ศิลปะของการเขียนภาพ” เสร็จในปี ค.ศ.
ดู บารอกและศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)
ศิลปะดัตช์
ลปะดัตช์ (Dutch art) เป็นการบรรยายประวัติศาสตร์ทัศนศิลป์ของเนเธอร์แลนด์หลังจากสหพันธ์จังหวัดแยกจากฟลานเดอส์มาเป็นสาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์ที่รวมทั้งงานเขียนของสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก, ยุคทองของเนเธอร์แลนด์, จิตรกรรมยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น และจิตรกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20.
ศิลปะเชิง 3 มิติ
“หลบหนีการวิจารณ์” โดย เปเร บอร์เรลล์ เดล คาโซ ค.ศ. 1874 ศิลปะเชิง 3 มิติ หรือ ศิลปะลวงตาทรอมพลุยล์ หรือ ทรอมพลุยล์ (Trompe-l'œil, ออกเสียง: tʁɔ̃p lœj) มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า “ลวงตา” เป็นเทคนิคการสร้างศิลปะแบบหนึ่งที่ทำให้ผลที่ออกมาดูเหมือนมีความเป็นภาพ 3 มิติแม้ว่าจะเป็นจิตรกรรมสองมิติ ซึ่งทำโดยการเขียนให้ลวงต.
สกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์
รโคโคเวสโซบรุนที่แอบบีชูสเซ็นรีด (Schussenried Abbey) งานของโดมินิคุส ซิมเมอร์มันน์ที่ วัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ปูนปั้นสมัยปลายบาโรกที่มีลักษณะโรโคโคที่วัดคร็อยซแฮรน (Kreuzherrnkirche) ที่เม็มมิงเก็น (Memmingen) โรโคโคเวสโซบรุน (ภาษาอังกฤษ: Wessobrunner School) หมายถึงกลุ่มนักปั้นปูนที่เริ่มก่อตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่แอบบีเบ็นนาดิคตินเวสโซบรุน (Wessobrunn Abbey) กลุ่มช่างนี้มีด้วยกันทั้งหมด 600 คนเท่าที่ทราบกัน กลุ่มโรโคโคเวสโซบรุนเป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปะปูนปั้นทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 โรโคโคเวสโซบรุน เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ศิลปะกุสตาฟ ฟอน เบโซลด์ (Gustav von Bezold) และ จอร์จ แฮคเคอร์ (Georg Hacker) ใช้เรียกศิลปินหรือช่างกลุ่มนี้มาตั้งแต่ปี..
ดู บารอกและสกุลศิลปะเวสโซบรุนเนอร์
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ
มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ (ภาษาอังกฤษ: Northern Renaissance) เป็นวลีที่หมายถึงยุคเรอเนสซองซ์ในทวีปยุโรปเหนือ หรือทั่วๆ ไปคือทวีปยุโรปนอกอิตาลี ก่อน ค.ศ.
ดู บารอกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ
สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..
ดู บารอกและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ
สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) มาดริด
ลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (Salome with the Head of John the Baptist) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พระราชวังมาดริด ในประเทศสเปน นักชีวประวัติโจวันนี ปีเอโตร เบลโลรี (Giovanni Bellori) กล่าวถึงภาพเขียน “สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์” ในปี..
ดู บารอกและสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) มาดริด
สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) ลอนดอน
ลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (Salome with the Head of John the Baptist) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ ลอนดอนในอังกฤษ การาวัจโจวาด “สะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์” ราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและสะโลเมกับศีรษะของยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ) ลอนดอน
สาวใส่ต่างหูมุก
วใส่ต่างหูมุก (Het Meisje met de Parel; Girl with a Pearl Earring) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ จิตรกรชาวดัตช์ในสมัยบาโรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานศิลปะเมาริตส์เฮยส์ (Mauritshuis) ในเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เฟอร์เมร์เขียนภาพ "สาวใส่ต่างหูมุก" เสร็จในปี ค.ศ.
สีฝุ่นเทมเพอรา
ระแม่มารีและพระบุตรโดยดุชโช, เทมเพอราและทองบนไม้, ค.ศ. 1284, เซียนา นิคโคโล เซมิเทโคโล ค.ศ. 1367 สีฝุ่นเทมเพอรา (tempera, egg tempera) เป็นสิ่งที่ใช้ในการเขียนภาพที่แห้งง่ายและถาวรที่ประกอบด้วยรงควัตถุผสมกับของเหลวที่เป็นตัวเชื่อม (มักจะใช้สารกลูเตน (Gluten)) เช่นไข่แดงหรือสารที่เป็นตัวเชื่อม (Sizing) อื่นๆ นอกจากนั้นเทมเพอราก็ยังหมายถึงจิตรกรรมที่เขียนด้วยสารผสมดังกล่าวด้วย การเขียนด้วยวิธีนี้เป็นวิธีที่ทำให้ภาพที่เขียนมีอายุยืนนานเช่นภาพที่เขียนในคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งก็ยังมีอยู่ให้เห็น เทมเพอราที่ผสมด้วยไข่เป็นวิธีที่ใช้ในการเขียนภาพโดยทั่วไปมาจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อมาแทนที่ด้วยการเขียนด้วยสีน้ำมัน เทมเพอราอีกประเภทหนึ่งที่ผสมระหว่างรงควัตถุกับสารที่เป็นกาวที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและมักจะเรียกโดยผู้ผลิตในสหรัฐอเมริกาว่าสีโปสเตอร.
สถาปัตยกรรมบาโรก
วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..
สถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์
แบบอิตาลี” เข้าไปบ้าง คฤหาสน์วอลลาทันฮอลล์ที่สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1588 สถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ หรือบางครั้งก็เรียกสั้นๆ ว่า ฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ หรือ เรอแนซ็องส์ใหม่ (Renaissance Revival architecture หรือ Neo-Renaissance) คือลักษณะสถาปัตยกรรมที่รวมลักษณะต่างๆ ของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่ไม่เชิงกรีก (ดูบทความ สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีก) หรือ กอธิค (ดูบทความ สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค) แต่เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิกอิตาลีต่างๆ ตามความหมายอย่างกว้างๆ ของสถาปนิกและนักวิพากษ์ “สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์” ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มิได้ใช้แต่เพียงสถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์ที่เริ่มขึ้นในฟลอเรนซ์และตอนกลางของอิตาลีของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่เป็นเครื่องมือในการแสดงออกของลัทธิมนุษยนิยม แต่ยังรวมไปถึงลักษณะสถาปัตยกรรมที่มารู้จักกันว่าแมนเนอริสม์ และ บาโรก นอกจากนั้นลักษณะของตนเองก็ยังปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในคริสต์ศตวรรษที่ 19: “เรอแนซ็องส์ใหม่” ตามความหมายของผู้ร่วมสมัยจึงหมายถึงสิ่งก่อสร้างที่เป็น “แบบอิตาลี” (Italianate) หรือสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะบาโรกฝรั่งเศสเข้าไปผสม (สถาปัตยกรรมจักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง) ลักษณะอันเป็นที่ต่างกันของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ในบริเวณต่างๆ ของยุโรป โดยเฉพาะในฝรั่งเศสและอิตาลีเป็นการเพิ่มอุปสรรคในการบ่งลักษณะของสถาปัตยกรรมที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ยิ่งขึ้นไปอีก ที่จะเห็นได้จากคฤหาสน์วอลลาทันฮอลล์ในอังกฤษ วังพิตติในอิตาลี, พระราชวังชองบอร์ดในฝรั่งเศส และ วังฟาเซต์ในรัสเซีย — ซี่งต่างก็จัดอยู่ในกลุ่ม “สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์” — ที่ต่างก็มีลักษณะภายนอกที่แตกต่างกันออกไปแม้ว่าจะจัดว่าเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันก็ตาม.
ดู บารอกและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์
สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก
อาสนวิหารโคโลญ, ประเทศเยอรมนี มีหอสูงที่สุดในโลก อาสนวิหารซอลสบรี (1220-1380) จากมุมตะวันออก มีหอสูงที่สุดในอังกฤษ อาสนวิหารเบอร์มิงแฮม (Birmingham Cathedral) อังกฤษ อาสนวิหารเกิร์ค (Gurk Dom) ออสเตรีย สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก เป็นบทความที่บรรยายถึงลักษณะสิ่งก่อสร้างของอาสนวิหารทางคริสต์ศาสนา ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก อาสนวิหาร คือโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลมุขนายกตามที่กำหนดไว้ อาสนวิหารเป็นที่เป็นที่ตั้งของ “คาเทดรา” (bishop's cathedra) และเป็นสถานที่ทางคริสต์ศาสนาที่ใช้ในการนมัสการ (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ หรือแองกลิคัน) ขนาดของสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาสนวิหารไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตเสมอไป อาจจะมีขนาดเล็กอย่างเช่นอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด หรือ อาสนวิหารเชอร์ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วอาสนวิหารมักจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดและเด่นที่สุดในท้องถิ่นที่ตั้งอยู.
ดู บารอกและสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก
สตรีสาวอ่านหนังสือ (ฟราโกนาร์ด)
ตรีสาวอ่านหนังสือ (A Young Girl Reading) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฌอง-โอโนเร ฟราโกนาร์ดจิตรกรคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของสมัยบาโรก บุตรีของแอนดรู ดับเบิลยู เมลลอนอุทิศภาพเขียนให้แก่หอศิลป์แห่งชาติ (วอชิงตัน ดี.ซี.)ในสหรัฐอเมริกาหลังจากการเสียชีวิตของบิดา ฌอง-โอโนเร ฟราโกนาร์ดเขียนภาพ “สตรีสาวอ่านหนังสือ” ราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและสตรีสาวอ่านหนังสือ (ฟราโกนาร์ด)
สตรีหลับ (เฟอร์เมร์)
ตรีหลับ หรือ สตรีหลับที่โต๊ะLiedtke, Walter, with Michael C. Plomp and Axel Rüger, Vermeer and the Delft School, pp 369-371; New York: The Metropolitan Museum of Art and New Haven and London: Yale University Press, 2001 (catalogue of an exhibition of the same name New York, March 8-May 27, 2001 and at the National Gallery, London, June 20-September 16, 2001 (A Girl Asleep หรือ A Woman Asleep at Table) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันที่นครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา ภาพ “สตรีหลับ” ที่เขียนในปี ค.ศ.
ดู บารอกและสตรีหลับ (เฟอร์เมร์)
สตรีใส่เสื้อสีน้ำเงินยืนอ่านจดหมาย
ตรีใส่เสื้อสีน้ำเงินยืนอ่านจดหมาย (Woman in Blue Reading a Letter) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัมในเมืองอัมสเตอร์ดัมในประเทศเนเธอร์แลนด์ ภาพ “สตรีใส่เสื้อสีน้ำเงินยืนอ่านจดหมาย” ที่เขียนระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและสตรีใส่เสื้อสีน้ำเงินยืนอ่านจดหมาย
หมอดู (คาราวัจโจ)
หมอดู (The Fortune Teller) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่มีด้วยกันสองฉบับที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ฉบับแรกเขียนในปี..
ห้องทำงานรูปไข่
ห้องทำงานรูปไข่ มองจากด้านบน ภายนอกของห้องทำงานรูปไข่ ห้องทำงานรูปไข่ (Oval Office) เป็นห้องทำงานอย่างเป็นทางการของประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นในปี ค.ศ.
อันนีบาเล การ์รัชชี
อันนิบาเล คารัคชี (ภาษาอังกฤษ: Annibale Carracci) (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1560 - ค.ศ. 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1609) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.
ดู บารอกและอันนีบาเล การ์รัชชี
อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ
อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Beaulieu-sur-Dordogne Abbey) หรือชื่อเต็มคือ อารามแซ็ง-ปีแยร์เดอโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Abbaye Saint-Pierre de Beaulieu-sur-Dordogne) เป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่เมืองโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ กอแรซ แคว้นลีมูแซ็ง ประเทศฝรั่ง.
ดู บารอกและอารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ
อารามเชินทัล
้านหน้าอารามเชินทัล อารามเชินทัล (Schöntal Abbey, Kloster Schöntal/ Reichskloster Schöntal) เดิมเป็นแอบบีย์ของนักพรตคณะซิสเตอร์เชียนที่ตั้งอยู่ที่เมืองเชินทาล ในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก (Baden-Württemberg) ทางใต้ของประเทศเยอรมนี ความสำคัญของอารามนี้คือศิลปะบารอกที่สวยงามมาก ในปัจจุบันแอบบีย์ใช้เป็นสถานที่สำหรับการฝึกอบรมและเข้าเงียบ แอบบีย์นี้เริ่มสร้างในปี..
อารามเมลค์
แอบบีเมลค์ (Stift Melk, Melk Abbey) เป็นสำนักสงฆ์ของลัทธิเบ็นนาดิคตินของนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่บนเนินเขาเหนือแม่น้ำดานูบเหนือเมืองเมลค์ในประเทศออสเตรีย แอบบีเมลค์เป็นที่ตั้งของสังฆมณฑลเมลค์ แอบบีเมลค์ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.
อารามเอททัล
้านหน้าวัด อารามเอททัล (Kloster Ettal) เป็นแอบบีย์คณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านชื่อเดียวกันใกล้กับเมืองโอเบรัมเมอร์เกา (Oberammergau) และเมือง การ์มิช-พาร์เทนเคิร์ทเช็น (Garmisch-Partenkirchen) ในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี.
อาหารกลางวัน (เบลัซเกซ)
อาหารกลางวัน (ภาษาอังกฤษ: The Lunch) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซจิตรกรสมัยบาโรกชาวสเปน ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในสหพันธรัฐรัสเซีย ดิเอโก เบลัซเกซเขียนภาพ “อาหารกลางวัน” เสร็จราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและอาหารกลางวัน (เบลัซเกซ)
อิงเว มาล์มสทีน
อิงเว โยฮาน มาล์มสทีน (Yngwie Johann Malmsteen) มีชื่อจริงคือ ลาร์ส โยฮาน อิงเว แลนเนอร์บาก (Lars Johan Yngve Lannerbäck) เกิดวันที่ 30 มิถุนายน..
ฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์
“นักบุญแมรี แม็กดาเลน” โดยฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์ ฌอร์ฌ เดอ ลา ตูร์ (Georges de La Tour; 13 มีนาคม พ.ศ. 2136 - 30 มกราคม พ.ศ. 2195) จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยการเน้นการใช้ "ค่าต่างแสง" (Chiaroscuro) หรือการใช้ความตัดกันอย่างชัดเจนของแสงและเง.
ฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์
็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์ (Jean-Honoré Fragonard; 5 เมษายน ค.ศ. 1732 (birth/baptism certificate) - 22 สิงหาคม ค.ศ. 1806) เป็นจิตรกรรมสมัยบาโรกชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีลักษณะงานที่มีชีวิตชีวา และออกไปในเชิงสุขารมณ์นิยม (hedonism) ฟรากอนาร์เป็นจิตรกรที่มีความสามารถดีเด่นของปลาย สมัยอ็องเซียงเรฌีม ผู้มีผลงานกว่า 550 ภาพที่ไม่รวมงานวาดเส้นและงานแกะพิมพ์ แต่เพียงห้าชิ้นเท่านั้นที่ระบุเวลาเขียนที่แน่นอน ในบรรดาภาพเขียน ภาพชีวิตประจำวันเป็นประเภทการเขียนที่มีชื่อเสียงที่สุด ที่ฟรากอนาร์สื่อบรรยากาศของความใกล้ชิดและเชิงความดึงดูดทางเพศ (eroticism).
ดู บารอกและฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์
จริตนิยม
ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..
จอน ลอร์ด
นาทาน ดักลาส "จอน" ลอร์ด (Jonathan Douglas "Jon" Lord) นักแต่งเพลง นักเปียโนและออร์แกน มีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีผู้บุกเบิกดนตรีแนวผสมผสานระหว่างร็อก คลาสสิก บาโรก เป็นผู้นำดนตรีเฮฟวีเมทัลและฮาร์ดร็อก โดยเป็นอดีตหัวหน้าวงและผู้ก่อตั้งดีพ เพอร์เพิลมาตั้งแต่ปี..
จัมบัตติสตา ปิตโตนี
ัมบัตติสตา ปิตโตนี (Giambattista Pittoni) หรือ โจวันนี บัตติสตา ปิตโตนี (Giovanni Battista Pittoni; 6 มิถุนายน ค.ศ. 1687 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1767) เป็นจิตรกรยุคบาโรกตอนปลายและโรโกโกชาวเวนิสในคริสต์ศตวรรษที่ 18 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน.
ดู บารอกและจัมบัตติสตา ปิตโตนี
จิตรกรรมบาโรก
“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.
จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช
"ยกร่างพระเยซู" โดยปีเตอร์ พอล รูเบนส์ ราว ค.ศ. 1610–1611 จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช (Flemish Baroque painting) เป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในบริเวณเนเธอร์แลนด์ใต้ ระหว่างราว..
ดู บารอกและจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช
จิตรกรรมตะวันตก
“สาวใส่ต่างหูมุก” (ค.ศ. 1665 - 1667) โดย โยฮันส์ เวร์เมร์ หรือรู้จักกันในชื่อ “โมนาลิซาเหนือ” จิตรกรรมตะวันตก (Western painting) ประวัติของจิตรกรรมตะวันตกเป็นประวัติที่ต่อเนื่องกันมาจากการเขียนภาพตั้งแต่ก่อนยุคกลางหรือศิลปะของกรีกและโรมัน เริ่มแรกการเขียนภาพเป็นแบบศิลปะแสดงลักษณ์ (Representational art) และลวดลายแบบกรีกและโรมันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงวิวัฒนาการมาเป็นศิลปะนามธรรม (Abstract art) และศิลป์มโนทัศน์ (Conceptual art) การวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันตกคล้ายคลึงกับการวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันออกโดยทั่วไปในสองสามร้อยปีหลัง ศิลปะแอฟริกา, ศิลปะอิสลาม, ศิลปะอินเดีย, ศิลปะจีน, และศิลปะญี่ปุ่น แต่ละอย่างที่กล่าวมาต่างก็มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปก และในที่สุดศิลปะก็กลับไปมีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันออก จิตรกรรมตะวันตกเริ่มด้วยการเขียนภาพสำหรับสถาบันศาสนา ต่อมาผู้อุปถัมภ์ก็ขยายออกมารวมถึงเจ้านายและชนชั้นกลาง ตั้งแต่ยุคกลาง มาจนถึง ยุคเรเนสซองส์ จิตรกรสร้างงานให้กับสถาบันศาสนาและลูกค้าผู้มั่งคั่ง พอมาถึงสมัยสมัยบาโรกจิตรกรก็รับงานจากผู้มีการศึกษาดีขึ้นและจากชนชั้นกลางผู้มีฐานะดี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จิตรกรก็เป็นอิสระจากความต้องการของผู้อุปถัมภ์หรือลูกค้าในการวาดแต่เพียงภาพที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนา ตำนานเทพ ภาพเหมือน หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ปรัชญาที่ว่า “ศิลปะเพื่อศิลปะ” (art for art's sake) ก็เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นโดยการแสดงออกทางผลงานเช่นงานเขียนของฟรานซิสโก โกยา, จอห์น คอนสเตเบิล (John Constable) และ เจย์ เอ็ม ดับเบิลยู เทอร์เนอร์ (J.M.W.
จูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต (การาวัจโจ)
ูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต (Jupiter, Neptune and Pluto) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยการาวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันยังคงอยู่ที่วิลลาลูโดวีซีในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ "จูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต" เขียนราว ค.ศ.
ดู บารอกและจูปิเตอร์, เนปจูน และพลูโต (การาวัจโจ)
ทิเชียน
“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ.
คริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์
วัดเซ็นต์นิโคลัส (ปราก) คริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมนี: Christoph Dientzenhofer; ภาษาเช็ก: Kryštof Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู บารอกและคริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์
ความกังขาของนักบุญทอมัส (คาราวัจโจ)
วามกังขาของนักบุญทอมัส (The Incredulity of Saint Thomas) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พระราชวังซองส์ซูซิ, พอทสดัมในประเทศเยอรมนี ภาพ “ความกังขาของนักบุญทอมัส” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและความกังขาของนักบุญทอมัส (คาราวัจโจ)
ความตายของโพรคริส (โคสิโม)
วามตายของโพรคริส หรือ ซาไทร์โศรกเศร้ากับความตายของโพรคริส (The Death of Procris หรือ A Satyr mourning over a Nymph) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่มิได้ลงชื่อลงวันที่ที่ระบุว่าเขียนได้อย่างแน่นอนว่าโดยเปียโร ดิ โคสิโม ผู้เป็นจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนในสหราชอาณาจักร ภาพ “ความตายของโพรคริส” ที่เขียนโดยเปียโร ดิ โคสิโม ราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและความตายของโพรคริส (โคสิโม)
คอสมาส ดาเมียน อาซาม
ในวัดอาซาม หน้าต่างเหนือแท่นบูชา ชัยชนะของอพอลโลบนเพดานปราสาทใกล้เรเก็นสเบิร์ก (ค.ศ. 1730) ภาพเขียนบนเพดาน ชัยชนะของนักบุญเบ็นเนดิคแห่งเนอร์เซียที่สำนักสงฆ์ไวน์การ์เต็น คอสมาส ดาเมียน อาซาม (ภาษาเยอรมนี: Cosmas Damian Asam) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..
ดู บารอกและคอสมาส ดาเมียน อาซาม
คาร์ลสกรูนา
ร์ลสกรูนา (Karlskrona) เป็นเมืองในประเทศสวีเดน เมืองหลักของเทศมณฑลเบลียกิงเงอ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ มีประชากร 35,212 คนในปี..
คิลเลียน อิกนาซ ดินเซนฮอฟเฟอร์
วัดเซ็นต์นิโคลัส (ปราก) คิลเลียน อิกนาซ ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมัน: Kilian Ignaz Dientzenhofer; ภาษาเช็ก: Kilián Ignác Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.
ดู บารอกและคิลเลียน อิกนาซ ดินเซนฮอฟเฟอร์
คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา
ณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนาในเครื่องแบบ "ชุดเดินทาง" ในงานคอนเสิร์ตปี พ.ศ. 2546 ที่ห้องโถง Wiener Musikverein ในนครเวียนนา ซิมโฟนีของคนนับพัน'' ของกุสตาฟ มาห์เลอร์ ร่วมกับคณะประสานเสียง Wiener Singverein แห่งเวียนนา, วงศ์ดุริยางค์ Slovenský filharmonický zbor และ Staatskapelle Berlin, มีผู้ควบคุม คือ Pierre Boulez ในเดือนเมษายน พ.ศ.
ดู บารอกและคณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา
คนกินถั่ว (คารัคชี)
นกินถั่ว (Mangiafagioli, The Beaneater) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอันนิบาเล คารัคชีจิตรกรยุคบาโรกชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์โคโลนาที่กรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “คนกินถั่ว” อาจจะเขียนระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและคนกินถั่ว (คารัคชี)
คนโกงไพ่ (คาราวัจโจ)
นโกงไพ่ (ภาษาอังกฤษ: Cardsharps) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะคิมเบลล์, ฟอร์ทเวิร์ธในสหรัฐอเมริกา ภาพ “คนโกงไพ่” เขียนราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและคนโกงไพ่ (คาราวัจโจ)
คนเล่นลูท (คาราวัจโจ)
นเล่นลูท (The Lute Player) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่มีด้วยกันสามฉบับ โดยในแต่ละฉบับมีอบู่ด้วยกันแต่ละที่ ดังนี้ ชิ้นที่หนึ่งเป็นของงานสะสมวิลเด็นชไตน์ ชิ้นที่สองเป็นของพิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจถูกเก็บรักษาในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ชิ้นที่สามอยู่ที่คฤหาสน์แบ็ดมินตันที่กลอสเตอร์เชอร์โดยเพิ่งมีการค้นพบในปี..
ดู บารอกและคนเล่นลูท (คาราวัจโจ)
งานกระจกสี
หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.
ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต
ในประเทศสัญลักษณ์ของสหภาพสาธารณรัฐก่อนและหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐ (Гербы республик СССР, Emblems of the Soviet Republics) ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยค้อนและเคียวและดาวสีแดงที่เป็นสัญลักษณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์เช่นเดียวกับพระอาทิตย์ขึ้น (แต่ในกรณีสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย ตั้งแต่ทะเลบอลติกทางตะวันตก ลัตเวียก็อาจจะตีความว่าเป็นพระอาทิตย์ตก) ล้อมรอบด้วยพวงข้าวสาลี (ยกเว้น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช เป็นพวงข้าวไร) มีคำขวัญของสหภาพโซเวียต" ชนกรรมาชีพทั่วโลกจงสามัคคีกัน!.", ทั้งในภาษาของสาธารณรัฐรัสเซียและภาษาประจำแต่ละรัฐ นอกเหนือไปจากนี้เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงลักษณะของภูมิทัศน์ท้องถิ่นเศรษฐกิจหรือวัฒนธรรมในแต่ละรั.
ดู บารอกและตราแผ่นดินของสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต
ตราแผ่นดินของเปรู
ตราแผ่นดินของเปรู (Escudo del Perú) แบ่งได้เป็น 4 ประเภทดังนี้ ตราแผ่นดิน (Escudo de Armas) ตรามหาจลัญจกร (Escudo Nacional) ตราสำหรับรัฐบาล (Gran Sello del Estado) และ ตราราชการกองทัพเรือ (Escudo de la Marina de Guerra)เริ่มใช้เมื่อวันที่ 25 กุมภาพัน..
ตินโตเรตโต
“ทินโทเร็ตโต” (ค.ศ. 1588) โดย ทินโทเร็ตโต ทินโทเรตโต หรือ จาโคโป ทินโทเรตโต (Tintoretto หรือ Jacopo Comin หรือ Jacopo Tintoretto; 29 กันยายน ค.ศ.
ซวิงเงอร์
ซวิงเงอร์ (Zwinger) เป็นพระราชวังในเมืองเดรสเดิน ประเทศเยอรมนี สร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมบารอก พระราชวังแห่งนี้สร้างขึ้นหลังจากที่ พระเจ้าออกัสตัสที่ 2 แห่งโปแลนด์ ซึ่งทรงมีพระยศในเยอรมันเป็นเจ้าผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน ได้เสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงนั้นเป็นช่วงที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ทรงย้ายราชสำนักฝรั่งเศสไปยังพระราชวังแวร์ซาย พระเจ้าออกัสตัสทรงประทับใจในพระราชวังแวร์ซายมาก และทรงนึกปรารถนาจะมีวังที่โอ่อ่าอย่างเดียวกัน พระองค์จึงทรงบัญชาให้สร้างวังแห่งนี้ขึ้นในเดรสเดิน การก่อสร้างเริ่มขึ้นในปี..
ซัลวาดอร์ (แก้ความกำกวม)
ซัลวาดอร์ สามารถหมายถึง.
ดู บารอกและซัลวาดอร์ (แก้ความกำกวม)
ซัลวาตอร์ โรซา
ซาลวาทอร์ โรซา (Salvator Rosa) (ค.ศ. 1615 - 15 มีนาคม ค.ศ. 1673) เป็นprintmaker, กวี และ จิตรกรของสมัยบารอกคนสำคัญชาวอิตาลีของในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ทำงานส่วนใหญ่ในเนเปิลส์, โรม และ ฟลอเรนซ์ ซาลวาทอร์ โรซามีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ฟุ้งเฟ้อและไม่เหมือนผู้ใด และเป็น “นักต่อต้านตลอดกาล”Wittkower, p.
ซันตามาเรียเดลโปโปโล
ซันตามาเรียเดลโปโปโล (Santa Maria del Popolo) เป็นโบสถ์ออกัสติเนียนที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในกรุงโรม ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของปีอัซซาเดลโปโปโล ซึ่งเป็นจัตุรัสที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงโรม อยู่ระหว่าง Porta Flaminia (หนึ่งในประตูของกำแพง Aurelian และเป็นจุดเริ่มต้นของ Via Flaminia ซึ่งเป็นเส้นทางสู่ Ariminum และเป็นเส้นทางสู่ทิศเหนือที่สำคัญที่สุดของโรมยุคโบราณ) และสวน Pincio ในปี พ.ศ.
ดู บารอกและซันตามาเรียเดลโปโปโล
ประตูบรันเดินบวร์ค
ประตูบรันเดินบวร์ค ประตูบรันเดินบวร์ค (Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนอีบัทสทราสเซ่ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของ อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค ประตูแห่งนี้เป็นอนุสรณ์ของทางเข้าสู่ถนนอุนเทอร์ เดน ลินเดน ซึ่งเป็นถนนหลวงที่มีชื่อเสียงมาจากต้นลินเดน (บางที่เรียกต้นทิเลีย หรือต้นไลม์) ซึ่งเป็นถนนที่ตรงไปสู่พระราชวังเมือง (Stadtschloss/Berlin City Palace) ของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย (Prussia) พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซียทรงมีรับสั่งให้สร้างประตูบรันเดินบวร์คเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ใช้เวลาสร้างตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2331 ถึงปี 2334 โดยนายคาร์ล ก็อทท์ฮาร์ด แลงฮานส์ แล้วได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาประตูบรันเดินบวร์คก็ได้รับการบูรณะจนเสร็จสิ้นในช่วงปีพุทธศักราช 2543 ถึง 2545 โดยมูลนิธิอนุรักษ์อนุสาวรีย์เบอร์ลิน (Stiftung Denkmalschutz Berlin) ในช่วงหลังสงครามที่ได้แบ่งประเทศเยอรมนีออกเป็นสองส่วน ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ในเยอรมนีตะวันออก และได้แยกออกจากเยอรมนีตะวันตก ซึ่งมีกำแพงเบอร์ลินกั้นไว้ บริเวณโดยรอบประตูถือว่าเป็นจุดเด่นที่เด่นชัดที่สุดในการคุ้มครองสื่อในการเผยแพร่การเปิดผนังกำแพงในปีพุทธศักราช 2532 ตั้งแต่มีการสร้างประตู บ่อยครั้งเกิดเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของเยอรมนีในบริเวณประตูบรันเดินบวร์ค และวันนี้ก็ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของความปั่นป่วนในประวัติศาสตร์ยุโรป แต่ก็เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นเอกภาพและสันติภาพของยุโรปด้ว.
ประเทศเปรู
ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ.
ปิแอร์ ฟรานเชสโค มัซซุคเคลลี
ปิแอร์ ฟรานเชสโค มัซซุคเคลลี หรือ อิลโมรัซโซเน (Pier Francesco Mazzucchelli(), หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า il Morazzone) (ค.ศ. 1573 - ค.ศ. 1626) เป็นจิตรกรและประติมากรชาวอิตาลีของยุคบาโรกตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการสร้างศิลปะคริสต์ศาสน.
ดู บารอกและปิแอร์ ฟรานเชสโค มัซซุคเคลลี
ปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เช
ปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เช (Peter Carl Fabergé) ปี.ศ 1846 - 1928 หนึ่งในสุดยอดช่างทอง ช่างอัญมณีที่มีชื่อเสียงในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 และยังเป็นผู้ออกแบบงานที่มีชื่อเสียงอย่างมาก งานของเขามีชื่อเสียงขจรขจายไปยังทั่วยุโรปและโลก รวมทั้งยังเป็นที่ต้องการแม้กระทั่งเหล่าบรรดาราชวงศ์ต่างๆในยุโรปในเวลานั้นด้ว.
ดู บารอกและปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เช
นักบุญฟรังซิสอธิษฐาน (การาวัจโจ)
นักบุญฟรังซิสอธิษฐาน (Saint Francis in Prayer) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์โบราณแห่งชาติ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญฟรังซิสอธิษฐาน” เป็นภาพที่เขียนระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและนักบุญฟรังซิสอธิษฐาน (การาวัจโจ)
นักบุญฟรานซิสรำพึงธรรม (การาวัจโจ)
นักบุญฟรังซิสรำพึงธรรม (Saint Francis in Meditation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เทศบาลเมืองเกรโมนาในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญฟรังซิสรำพึงธรรม” เป็นภาพที่เขียนราวระหว่าง..
ดู บารอกและนักบุญฟรานซิสรำพึงธรรม (การาวัจโจ)
นักบุญฟรานซิสเกิดปีติสานติ์ (การาวัจโจ)
นักบุญฟรานซิสปลื้ม หรือ ความปิติของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซี (Saint Francis of Assisi in Ecstasy หรือ The Ecstasy of Saint Francis of Assisi) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แวดส์เวิร์ธแอนธีเนียม, ฮาร์ทฟอร์ด, คอนเนตทิคัตในสหรัฐอเมริกา ภาพ “นักบุญฟรานซิสปลื้ม” เขียนราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและนักบุญฟรานซิสเกิดปีติสานติ์ (การาวัจโจ)
นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ (กอลลี)
นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ (St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจิโอวานนี บัตติสตา กอลลีจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์ของเทศบาลเมืองแมนเชสเตอร์ที่เมืองแมนเชสเตอร์ในสหราชอาณาจักร ภาพ “นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์” ที่เขียนโดยจิโอวานนี บัตติสตา กอลลี ราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ (กอลลี)
นักบุญแพร็กซิดิส (เฟอร์เมร์)
นักบุญแพร็กซิดิส (Saint Praxidis) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่สันนิษฐานว่าอาจจะเขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก หรือโดยเฟลิชี ฟิเชอเรลลิ (Felice Ficherelli) ถ้าเป็นงานเขียนของโยฮันส์ เวร์เมร์ก็สันนิษฐานว่าเป็นงานเขียนในช่วงแรก แต่ก็มีผู้แย้งอย่างแข็งขัน ภาพ “นักบุญแพร็กซิดิส” เป็นภาพของนักบุญแพร็กซิดิส (Praxedes) ผู้เป็นนักบุญโรมันที่กล่าวกันว่าเป็นลูกสาวของนักบุญพูเดินส์ (Saint Pudens) และเป็นน้องสาวของนักบุญพูเดินเชียนา (Saint Pudentiana) ภาพ “นักบุญแพร็กซิดิส” เป็นงานสะสมส่วนบุคคล.
ดู บารอกและนักบุญแพร็กซิดิส (เฟอร์เมร์)
นักบุญเยโรมรำพึงธรรม (การาวัจโจ)
นักบุญเจอโรมภาวนา (Saint Jerome in Meditation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สำนักสงฆ์ซานตามาเรีย, มอนเซอร์รัตในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญเจอโรมภาวนา” เขียนราว ค.ศ.
ดู บารอกและนักบุญเยโรมรำพึงธรรม (การาวัจโจ)
นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ)
นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ หรือ นักบุญเจอโรมแปลพระคัมภีร์ (Saint Jerome Writing) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและนักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ)
นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ-วาเล็ตตา)
นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ หรือ นักบุญเจอโรมแปลพระคัมภีร์ (Saint Jerome Writing (Valletta)) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในโอราทอรีภายในมหาวิหารร่วมเซนต์จอห์น, วาเล็ตตาในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและนักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ-วาเล็ตตา)
นักดนตรี (คาราวัจโจ)
นักดนตรี (The Musicians) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, นครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา ภาพ “นักดนตรี” เขียนราวเสร็จในปี ค.ศ.
ดู บารอกและนักดนตรี (คาราวัจโจ)
แม่พระแห่งลูกประคำ (การาวัจโจ)
แม่พระแห่งลูกประคำ (Madonna of the Rosary) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนขึ้นโดยการาวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลป์ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ภาพ “แม่พระแห่งลูกประคำ” ที่เขียนเสร็จราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและแม่พระแห่งลูกประคำ (การาวัจโจ)
แดนซิงเฮาส์
แดนซิงเฮาส์ (The Dancing House, Tančící dům) หรือเดิม "เฟรดและจินเกอร์" (Fred and Ginger) เป็นอาคารของบริษัทประกันภัยเนชันเนล-เนเดอร์ลันเดน (Nationale-Nederlanden) จากประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ Rašínovo nábřeží ณ กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก แดนซิงเฮาสืได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกชาวโครเอเซีย-เช็ก วลาโด มิลูนิก (Vlado Milunić) ร่วมกับสถาปนิกรางวัลพริตซ์เกอร์สัญชาติแคนาดา-อเมริกา แฟรงก์ เกห์รี อาคารได้รับการออกแบบในปี 1992 และสร้างเสร็จในปี 1996 แดนซิงเฮาส์จัดได้ว่าเป็นงานชิ้นเอกชิ้นหนึ่งที่มีความสำคัญต่อลัทธิดีคอนสตรักชันเป็นอย่างมาก อาคารได้ถูกสร้างขึ้นบริเวณพื้นที่มีความสำคัญทางสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นสถานที่เดิมเป็นบ้านที่ถูกทำลายลงภายหลังการทิ้งระเบิดกรุงปรากของเครื่องบินทิ้งระเบิดของสหรัฐอเมริกา ในปี 1945 เกห์รีและมิลูนิกได้เสนอไอเดียอันลึกซึ้งที่ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ การหยุดนิ่งและการเคลื่อนไหว (หยินและหยาง) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการเปลี่ยนผ่านจากระบอบคอมมิวนิสต์ภายใต้การควบคุมของเชโกสโลวาเกียสู่การแยกการออกเป็นสาธารณรัฐเช็กในระบอบประชาธิปไตย โดยใช้ลัทธิคตินิยมเปลี่ยนแนว (Deconstructivism) มาเป็นสื่อกลางในการสื่อ ก่อนที่แดนซิงเฮาส์จะได้ถูกสร้างขึ้น ก็ได้ถูกโจมตีเรื่องความไม่เหมาะสมของสถานที่ รวมถึงความคิดเห็นของผู้คนบางส่วนที่ไม่เห็นพ้องกับสถาปัตยกรรมสไตล์ใหม่นี้ เพราะภายในรอบบริเวณเมืองปรากเต็มไปด้วยอาคารสไตล์ดั้งเดิมทั้งบารอก กอธิก และพวกอาร์ตนูโว ซึ่งเป็นสไตล์อาคารที่สวยงามในรูปแบบของลวดลายคลาสสิกที่สร้างชื่อเสียงให้กับกรุงปรากเป็นอย่างมาก จนในเวลาต่อมาประธานาธิบดีเช็ก วาเครฟ ฮาเวล (Václav Havel) ได้ให้การสนับสนุนโครงการก่อสร้างนี้ ด้วยความหวังที่จะให้แดนซิงเฮาส์เป็นศูนย์กลางทางกิจกรรมวัฒนธรรม เกห์รี ได้สรรค์สร้างอาคารด้วยไอเดียมาจากการเต้นรำของนักเต้นรำหญิงชาย ซึ่งเดิมได้ตั้งชื่อไว้ว่าเฟรดและจินเกอร์ ที่ย่อมาจากชื่อจริงของนักเต้นรำชาวอเมริกันเฟรด แอสแตร์และจินเกอร์ โรเจอรส์ แต่ชื่อนี้ปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว จนกระทั่งเกห์รีต่อมาเคยกล่าวไว้ว่า "กลัวที่จะส่งศิลปที่ไร้ค่าจากแดนมะกันฮอลลีวูดสู่กรุงปราก" จากรูปลักษณ์ภายนอกอันโดดเด่น ทำให้ธนาคารแห่งประเทศเช็ก ได้นำมาตราในเหรียญเงินมูลค่า 2,000 โครูนาเช็ก ซึ่งเป็นแบบสุดท้ายในชุดซีรีส์ "10 ศตวรรษแห่งสถาปัตยกรรม" (Ten Centuries of Architecture).
แควาเลียร์ผู้หัวเราะ
''แควาเลียร์ผู้หัวเราะ'' ค.ศ. 1624 แควาเลียร์ผู้หัวเราะ คือภาพวาดเหมือนในปี..
ดู บารอกและแควาเลียร์ผู้หัวเราะ
โบสถ์พระคูหาศักดิ์สิทธิ์
ระคูหาศักดิ์สิทธิ์ (Church of the Holy Sepulchre; Ecclesia Sancti Sepulchri; كنيسة القيامة, Kanīsat al-Qiyāmah; כנסיית הקבר, Knesiyat ha-Kever) หรือที่คริสตชนออร์ทอดอกซ์เรียกว่า โบสถ์การคืนพระชนม์ หรือ โบสถ์แห่งอะนาสตาซิส (Ναός της Αναστάσεως Naos tes Anastaseos) เป็นโบสถ์ในย่านชุมชนคริสเตียนของเมืองเยรูซาเลมเก่า ตัวโบสถ์ถูกสร้างขึ้นนบสถานที่สองแห่งที่ชาวคริสเตียนถือว่าศักดิสิทธิ์มากที่สุด คือ สถานที่ทำการตรึงพระเยซูที่กางเขน ซึ่งมีชื่อเรียกว่า โกละโกธา (ภาษากรีกในพระคัมภีร์: Γολγοθᾶ) และพระคูหาว่างเปล่าที่พระองค์ถูกฝัง และฟื้นคืนพระชนม.
ดู บารอกและโบสถ์พระคูหาศักดิ์สิทธิ์
โยฮันน์ บาลทาซาร์ น็อยมัน
ันน์ บาลทาซาร์ น็อยมัน ภายในมหาวิหารเฟียร์เซ็นไฮลิเก็น โยฮันน์ บาลทาซาร์ น็อยมัน (Johann Balthasar Neumann; 27 มกราคม ค.ศ. 1687 - 19 สิงหาคม ค.ศ.
ดู บารอกและโยฮันน์ บาลทาซาร์ น็อยมัน
โยฮันน์ มิเคล ฟ็อยค์เมเยอร์ (ผู้ลูก)
ในสำนักสงฆ์อ็อตโตบิวเรน แสดงให้เห็นงานปูนปั้นที่ออกแบบโดยฟ็อยค์เมเยอร์ โยฮันน์ มิเคล ฟ็อยค์เมเยอร์ (ผู้ลูก) (ภาษาเยอรมนี: Johann Michael Feuchtmayer (the Younger) หรือบางครั้งสะกด Johann Michael Feuchtmayr) เกิดเมื่อ..
ดู บารอกและโยฮันน์ มิเคล ฟ็อยค์เมเยอร์ (ผู้ลูก)
โยฮันเนิส เฟอร์เมร์
''สาวใส่ต่างหูมุก'' โยฮันเนิส ไรเนียส์โซน เฟอร์เมร์ (Johannes Reynierszoon Vermeer) หรือ โยฮัน เฟอร์เมร์ (Johan Vermeer; 31 ตุลาคม พ.ศ. 2175 - 15 ธันวาคม พ.ศ.
ดู บารอกและโยฮันเนิส เฟอร์เมร์
โยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์
"Honigschlecker" putto ภายในวัดเบอร์เนา (Birnau) ที่อือเบอร์ลิงเก็น (Überlingen) ประเทศเยอรมนี เซ็นต์แอนนา (ค.ศ. 1750) ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์ ที่อือเบอร์ลิงเก็น แท่นบูชาภายในวัดฟรานซิสกัน (Franziskanerkirche) ที่อือเบอร์ลิงเก็น โจเซฟ อันทวน ฟ็อยค์เมเยอร์ (ภาษาเยอรมนี: Joseph Anton Feuchtmayer) ทำพิธีศีลจุ่มเมื่อวันที่ 6 มีนาคม..
ดู บารอกและโยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์
โรม
ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ.
ดู บารอกและโรม
โรโกโก
้านเหนือของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo - ลานราชรถ: เป็นลวดลายปูนปั้นปิดทองมาจนสมัยพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ทรงสั่งให้ติดช่อมะกอกแทน ท้องพระโรงของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo ศิลปะโรโกโก (Rococo) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า "ศิลปะแบบหลุยส์ที่ 14" (Louis XIV Style) ศิลปะโรโกโกเริ่มพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 ห้องที่ออกแบบแบบโรโกโกจะเป็น เอกภาพ คือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เครื่องเรือน หรือเครื่องประดับ จะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกัน คือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมา ภายในห้องจะมีเครื่องเรือนที่หรูหราและอลังการ รูปปั้นเล็ก ๆ แบบประดิดประดอย ภาพเขียนหรือกระจกก็จะเป็นกรอบลวดลาย และพรมแขวนผนัง ที่ถ้าแยกอะไรออกมาก็จะทำให้ห้องนั้นไม่สมบูรณ์แบบ ศิลปะโรโกโกมาแทนด้วยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก คำว่าโรโกโกมาจากคำสองคำผสมกัน คำว่า rocaille จากภาษาฝรั่งเศส ซึ่งหมายถึงศิลปะการตกแต่งที่ใช้ลวดลายคล้ายหอยหรือใบไม้ และคำว่า barocco จากภาษาอิตาลี หรือที่เรียกว่า ศิลปะบาโรก ศิลปินโรโกโกจะนิยมเล่นเส้นโค้งตัวซีและตัวเอส (S และ C curves) แบบเปลือกหอย หรือการม้วนตัวของใบไม้เป็นหลัก และจะเน้นการตกแต่งประดิดประดอย จนทำให้นักวิจารณ์ศิลปะค่อนว่าเป็นศิลปะของความฟุ้งเฟ้อและเป็นเพียงศิลปะสมัยนิยมเท่านั้น คำว่าโรโกโกเมื่อเริ่มใช้เป็นครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษเมื่อประมาณปี..
โอราซีโอ เจนตีเลสกี
อราซิโอ เจ็นทิเลสชิ (ภาษาอังกฤษ: Orazio Lomi Gentileschi หรือ Orazio Gentileschi) (ค.ศ. 1563 - ค.ศ. 1639) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลีคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนศิลปะคริสต์ศาสนา โอราซิโอเป็นบิดาของอาร์เทมิเซีย เจ็นทิเลสชิ โอราซิโอ เจ็นทิเลสชิเกิดเมื่อ ค.ศ.
ดู บารอกและโอราซีโอ เจนตีเลสกี
โจวันนี บัตติสตา ตีเอโปโล
อวานนิ บัตติสตา ติเอโปโล (Giovanni Battista Tiepolo หรือ Giambattista Tiepolo หรือ Gianbattista) (5 มีนาคม ค.ศ. 1696 - 27 มีนาคม ค.ศ. 1770) เป็นจิตรกรยุคบาโรกชาวเวนิสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และ จิตรกรรมสีน้ำมัน ติเอโปโลไม่แต่ทำงานในอิตาลีแต่ยังทำงานในเยอรมนีและสเปนด้ว.
ดู บารอกและโจวันนี บัตติสตา ตีเอโปโล
โจวันนี บาลยีโอเน
อวานนิ บากลิโอเน (ภาษาอิตาลี: Giovanni Baglione หรือ Il Sordo del Barozzo) (ค.ศ. 1566 - 30 ธันวาคม ค.ศ. 1643) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกสมัยต้นและนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.
โจวันนี ปีเอโตร เบลโลรี
อวานนิ เปียโตร เบลโลริ หรือ จาน เปียโตร เบลโลริ (ภาษาอังกฤษ: Giovanni Pietro Bellori หรือ Gian Pietro Bellori) (ค.ศ. 1613 - ค.ศ. 1696) เบลโลริเป็นนักเขียนชีวประวัติของศิลปินชาวอิตาลียุคบาโรกคนสำคัญของอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จิโอวานนิ เบลโลริอาจจะเป็นหลานของนักสะสมของโบราณและนักเขียนฟรานเชสโค อันเจโลนิ (Francesco Angeloni) จิโอวานนิพำนักอยูที่บ้านของอันเจโลนิในกรุงโรม นอกจากนั้นก็ยังได้รับการศึกษาด้านศิลปะจากโดเม็นนิโค แซมปิเอริ (Domenico Zampieri) เมื่อยังหนุ่มเบลโลเข้าเป็นสมาชิกของสถาบันศิลปะเซนต์ลูคแต่ศึกษาและเขียนเกี่ยวกับศิลปะคลาสสิกและศิลปะร่วมสมัย ในปี..
ดู บารอกและโจวันนี ปีเอโตร เบลโลรี
โดเมนีกีโน
ม็นนิโค แซมเปียริ หรือ โดเม็นนิชิโน (Domenico Zampieri หรือ Domenichino) (21 ตุลาคม ค.ศ. 1581 - 16 เมษายน ค.ศ. 1641) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลีของตระกูลการเขียนภาพแบบโบโลนยาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและภาพเขียนสีน้ำมัน.
ไฮเดิลแบร์ค
ลแบร์ค (Heidelberg) เป็นเมืองในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่บนแม่น้ำเน็คคาร์ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ เมืองไฮเดิลแบร์คตั้งอยู่ทางทิศใต้ของนครแฟรงก์เฟิร์ตไปราว 78 กิโลเมตร ไฮเดิลแบร์คเป็นเมืองใหญ่อันดับห้าในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์คซึ่งสถาปนาขึ้นในปี..
เบราน์ชไวค์
ราน์ชไวค์ (Braunschweig; อังกฤษ, ฝรั่งเศส: Brunswick) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐนีเดอร์ซัคเซิน ประเทศเยอรมนี มีฐานะเป็นเมืองอิสระ (kreisfreie Stadt) ตามการบริหารเขตปกครองของเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐ ปัจจุบันมีประชากรราว 247,000 คน ถือเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของรัฐนีเดอร์ซัคเซินรองจากฮันโนเวอร์ เมื่อรวมเขตปริมณฑลของเมืองเข้าด้วยจะมีประชากรราว 1 ล้านคน เบราน์ชไวค์เป็นเมืองศูนย์กลางด้านการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของประเทศและสหภาพยุโรป, Ec.europa.eu, 2014.
เมลคิออเร คาฟา
มลคิออเร คาฟา (ภาษาอังกฤษ: Melchiorre Cafà หรือ Caffà, Gafa, Gafà, Gaffar และ Gafar) (ค.ศ. 1636 - 4 กันยายน ค.ศ. 1667) เป็นประติมากรสมัยบาโรกจากมาลตาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 คาฟาเกิดเมื่อปี ค.ศ.
เมดูซา (การาวัจโจ)
มดูซา (Medusa) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ภาพ “เมดูซา” เขียนราวเสร็จในปี ค.ศ.
เลินฮาร์ด ดินเซนฮอฟเฟอร์
้านหน้าอารามเซ็นต์ไมเคิล (Monastery Church St. Michael) (แบมเบิร์ก) เลินฮาร์ด ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมนี: Leonhard Dientzenhofer หรือ Johann Leonhard Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ปี ค.ศ.
ดู บารอกและเลินฮาร์ด ดินเซนฮอฟเฟอร์
เลดี้เจน
ลดี้เจน (Lady Jane) เป็นเพลงของเดอะโรลลิงสโตนส์ แต่งโดยมิก แจ็กเกอร์ และคีธ ริชาร์ด อยู่ในอัลบัม Aftermath ในปี..
เจ้าสาวชาวยิว
้าสาวชาวยิว (Het Joodse bruidje; The Jewish Bride) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยแร็มบรันต์ จิตรกรสมัยบาโรกชาวดัตช์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อัมสเตอร์ดัม (Rijksmuseum) ในกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ แร็มบรันต์เขียน "เจ้าสาวชาวยิว" เสร็จราวปี ค.ศ.
เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู
้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู (Infanta Margarita Teresa in a Pink Dress) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซจิตรกรคนสำคัญชาวสเปนของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ปราโดในมาดริดในประเทศสเปน ภาพ “เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู” ที่เชื่อกันว่าเขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซในปี ค.ศ.
ดู บารอกและเจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู
เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน
้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน (Infanta Margarita Teresa in a Blue Dress) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซจิตรกรคนสำคัญชาวสเปนของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในเวียนนาในประเทศออสเตรีย ภาพ “เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน” ที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซในปี ค.ศ.
ดู บารอกและเจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน
เดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)
วิดกับหัวโกไลแอธ (David with the Head of Goliath) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “เดวิดกับหัวโกไลแอธ” ฉบับเวียนนาเขียนราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและเดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)
เดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-เวียนนา)
วิดกับหัวโกไลแอธ (David with the Head of Goliath) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในกรุงเวียนนาในประเทศออสเตรีย ภาพ “เดวิดกับหัวโกไลแอธ” เขียนราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและเดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-เวียนนา)
เด็กชายกับตะกร้าผลไม้ (การาวัจโจ)
็กชายกับตะกร้าผลไม้ (Boy with a Basket of Fruit) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซ, โรมในประเทศอิตาลี ภาพ “เด็กชายกับตะกร้าผลไม้” เขียนเสร็จราวปี ค.ศ.
ดู บารอกและเด็กชายกับตะกร้าผลไม้ (การาวัจโจ)
เด็กชายปอกผลไม้ (คาราวัจโจ)
็กชายปอกผลไม้ (ภาษาอังกฤษ: Boy Peeling Fruit) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่มูลนิธิโรเบอร์โต ลอนกีห์, โรมในประเทศอิตาลี ภาพ “เด็กชายปอกผลไม้” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและเด็กชายปอกผลไม้ (คาราวัจโจ)
เด็กสาวอ่านจดหมายริมหน้าต่าง (เฟอร์เมร์)
็กสาวอ่านจดหมายริมหน้าต่าง (Girl reading a Letter at an Open Window) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรสมัยบาโรกชาวเนเธอร์แลนด์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดนในประเทศเยอรมนี เวร์เมร์เขียนภาพ “เด็กสาวอ่านจดหมายริมหน้าต่าง” เสร็จในปี ค.ศ.
ดู บารอกและเด็กสาวอ่านจดหมายริมหน้าต่าง (เฟอร์เมร์)
เด็กหญิงกำพร้าในสุสาน
็กหญิงกำพร้าในสุสาน (Orphan Girl at the Cemetery หรือ Young Orphan Girl in the Cemetery, Musée du Louvre, Louvre.fr, "c. 1824" according to this source.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเออแฌน เดอลาครัวซ์จิตรกรคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส แม้ว่าจะเชื่อกันว่าเป็นงานร่างสีน้ำมันสำหรับงาน “การสังหารหมู่ที่คิออส” แต่ “เด็กหญิงกำพร้าในสุสาน” เองก็ยังถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอก บรรยากาศในภาพเป็นบรรยากาศที่แสดงถึงความกลัวที่กำจายออกมาจากภาพ ดวงตาของสตรีอันในภาพหล่อด้วยน้ำตาขณะที่แหงนมองขึ้นไปอย่างประหวั่น ฉากหลังของภาพของบรรยากาศของความเศร้าหมอง ขณะที่ท้องฟ้าเป็นท้องฟ้ายามค่ำและลานที่ปราศจากผู้คน ภาษาร่างกายและเสื้อผ้าของเด็กสาวก่อให้ความรู้สึกของความโศรกเศร้า และความหวั่นไหว ที่รวมทั้งเสื้อที่ตกลงมาจากไหล่, มือขวาวางอย่างปล่อยๆ บนตัก เงาเหนือต้นคอ, ทางด้านขวาของร่างที่มืด และเสื้อที่มีสีเย็นและอ่อน สิ่งต่างๆ เหล่านี้รวมกันเข้าแล้วเน้นความรู้สึกสูญเสีย, ของความหวังอันไม่มีวันที่จะเป็นจริงขึ้นมาได้, ความโดดเดี่ยว และ การขาดความช่วยเหลือ ขณะที่สตรีสาวมองไปยังบุคคลที่เราไม่ทราบว่าเป็นใครทางขวาของภาพ สำหรับเดอลาครัวซ์แล้ว สีเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับการเขียนภาพ เพราะรสนิยมทางศิลปะและความเชื่อดังกล่าวเดอลาครัวซ์จึงไม่มีความอดทนที่จะสร้างรูปจำลองของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เดอลาครัวซ์มีความนับถือและชื่นชมปีเตอร์ พอล รูเบนส์ และ ศิลปินเวนิส เดอลาครัวซ์ใช้สีอันมีสีสันและหัวเรื่องที่เขียนที่แปลก (exotic themes) ในการเขียนภาพ ที่มีแรงบันดาลใจมาจากสถานที่ต่างๆ ที่มีผลในงานเขียนที่วาววามและเต็มไปด้วยพลัง.
ดู บารอกและเด็กหญิงกำพร้าในสุสาน
เด็กถูกจิ้งเหลนกัด (คาราวัจโจ)
็กถูกจิ้งเหลนกัด (Boy Bitten by a Lizard) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)ในอังกฤษ ภาพ “เด็กถูกจิ้งเหลนกัด” มีด้วยกันสองฉบับและทั้งสองฉบับเชื่อว่าเขียนโดยคาราวัจโจ ฉบับหนึ่งอยู่ที่มูลนิธิโรเบอร์โต ลอนกีห์ ในฟลอเรนซ์ ภาพที่สองอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน) ทั้งสองภาพเขียนราวระหว่างปี ค.ศ.
ดู บารอกและเด็กถูกจิ้งเหลนกัด (คาราวัจโจ)
เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์
ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.
ดู บารอกและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์
เนเปิลส์
นเปิลส์ (Naples), นาโปลี (Napoli) หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: Napule) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์ เนเปิลส์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800-900 ปีก่อนคริสตกาล ในฐานะอาณานิคมกรีก จึงจัดว่าเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แรกเริ่มนั้นมีชื่อว่า Παρθενόπη Parthenope ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Νεάπολις Neápolis (เมืองใหม่) จัดเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในพื้นที่ Magna Graecia โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมกรีกไปสู่สังคมโรมัน ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางหลักทางวัฒนธรรมของสาธารณรัฐโรมัน โดยเวอร์จิล กวีภาษาละตินที่มีชื่อเสียง ก็ได้เคยศึกษาวิชาที่เนเปิลส์และต่อมาก็ได้อาศัยอยู่ที่บริเวณชานเมือง ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ เนเปิลส์ได้รับสืบทอดอิทธิพลทางศิลปะและสถาปัตยกรรมจากอารยธรรมต่าง ๆ มากมาย รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดที่สุดที่ยังคงพบได้ในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากยุคกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และสมัยบาโรก ใจกลางเนเปิลส์เป็นศูนย์กลางเมืองทางประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป (1,700 เฮกตาร์ หรือ 17 ตารางกิโลเมตร) และได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมือง เนเปิลส์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของ Duchy และอาณาจักรต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งเคยเป็นเมืองหลวงของ Crown of Aragon และยังเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญ (โดยเฉพาะในสมัยของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ และตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ถึง 19) อิทธิพลของเมืองได้แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนในยุโรปไปจนถึงนอกทวีป และรอบเมืองก็เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญต่าง ๆ (เช่น พระราชวังกาแซร์ตา ปอมเปอี และเฮอร์คิวเลเนียม) ซึ่งล้วนแต่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดต่อเนเปิลส์ในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรม เนเปิลส์เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Baroqueศิลปะยุคบาโรกศิลปะบาร็อคศิลปะบาโรกสมัยบาโรกบาร็อค