เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

บริติชแอร์เวย์

ดัชนี บริติชแอร์เวย์

Waterside บริติช แอร์เวย์ (อังกฤษ: British Airways) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของสหราชอาณาจักร และเป็นลำดับที่สามของทวีปยุโรป (ตามหลัง แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และ ลุฟต์ฮันซา) และมีเที่ยวบินจากยุโรปข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมากกว่าสายการบินอื่นๆ ท่าอากาศยานหลักของบริติชแอร์เวย์ คือ ลอนดอนฮีทโธรว์ และ ลอนดอนแกตว.

สารบัญ

  1. 83 ความสัมพันธ์: บริติชแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 5390บางกอกแอร์เวย์บีเอซิตีฟลายเออร์บีเอ็มไอ (สายการบิน)พันธมิตรสายการบินพีพา มิดเดิลตันการทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมาเลเซียแอร์ไลน์รหัสเที่ยวบินรายชื่อเครื่องบินของการบินไทยลักเมวันเวิลด์สายการบินสายการบินประจำชาติสตาร์อัลไลแอนซ์อากาศยานลำตัวกว้างอากาศยานลำตัวแคบจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานลอนดอนซิตีท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิกท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดาท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอนท่าอากาศยานฮัมบวร์คท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัลท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟท่าอากาศยานซือริชท่าอากาศยานนานาชาติบัลติมอร์/วอชิงตัน เธอร์กู้ด มาร์แชลท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรนท่าอากาศยานนานาชาติฟิลาเดลเฟียท่าอากาศยานนานาชาติฟีนิกซ์สกายฮาร์เบอร์ท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอีท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัสท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิสท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลสท่าอากาศยานนานาชาติออร์แลนโดท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบีท่าอากาศยานนานาชาติฮาราเรท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตาท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีท่าอากาศยานนานาชาติดัลลาส-ฟอร์ตเวิร์ธท่าอากาศยานนานาชาติดูไบท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ... ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »

บริติชแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 5390

ริติชแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 5390 (BA 5390) เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศในเส้นทางเบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษสู่มาลากา ประเทศสเปน เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2533 พร้อมผู้โดยสาร 81 คนและลูกเรือ 6 คน แต่หลังจากบินได้เพียง 15 นาที กระจกหน้าของเครื่องบินเกิดหลุดออกกลางอากาศ ทำให้กัปตันถูกดูดออกไปติดด้านนอกของตัวเครืองนานกว่า 20 นาที จนนักบินผู้ช่วยตัดสินใจนำเครื่องลงจอดที่ท่าอากาศยานเซาท์แธมตัน จากเหตุการณ์ครั้งนี้ผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมด 87 คนรอดชีวิต โดยมีกัปตันได้รับบาดเจ็บสาหัสและลูกเรืออีก 1 คนบาดเจ็บขณะที่ช่วยชีวิตกัปตัน.

ดู บริติชแอร์เวย์และบริติชแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 5390

บางกอกแอร์เวย์

การบินบางกอกแอร์เวย์ เป็นสายการบินเชิงพาณิชย์ ดำเนินงานโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินงานกิจการด้านการบินเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และบางกอกแอร์เวย์

บีเอซิตีฟลายเออร์

ีเอ ซิตีฟลายเออร์ (BA CityFlyer) เป็นสายการบินลูกของบริติช แอร์เวย์ ให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ และภาคพื้นทวีปยุโรป โดยมีท่าอากาศยานลอนดอนซิตีเป็นท่าอากาศยานหลัก.

ดู บริติชแอร์เวย์และบีเอซิตีฟลายเออร์

บีเอ็มไอ (สายการบิน)

ีเอ็มไอ (BMI British Midland Airways) คือสายการบินที่มีฐานอยู่ในสหราชอาณาจักร มีสำนักงานใหญ่อยู่ในโดนิงตัน ฮอลล์ ใกล้กับท่าอากาศยานอีสต์มิดแลนด์ มีจุดหมายปลายทางอยู่ในยุโรป สหรัฐอเมริกา แถบหมู่เกาะแคริบเบียน และประเทศซาอุดีอารเบีย ฐานปฏิบัติการของสายการบินอยู่ที่ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์และท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ ซึ่งเป็นที่ที่มีการจราจรทางอากาศของสายการบินนี้เข้า-ออกคิดเป็น 11%ของเที่ยวบินทั้งหมดของท่าอากาศยานแห่งนี้โดยมากกว่า 2000 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อบริติช มิดแลนด์ ในเดือนมกราคม 2550 บีเอ็มไอได้ซื้อสายการบินบริติช เมดิเตอร์เรเนียน แอร์ไลน์ ทำให้บีเอ็มไอสามารถที่ให้บริการในแถบแอฟริกาและแถบอาหรับได้ บีเอ็มไอ เป็นสมาชิกในองค์การการบินแห่งสหราชอาณาจักรในใบอนุญาตประเภท A อนุญาตให้รับ-ส่งผู้โดยสาร สินค้าและจดหมายบนเครื่องบินมากกว่า 20 ที่นั่ง.

ดู บริติชแอร์เวย์และบีเอ็มไอ (สายการบิน)

พันธมิตรสายการบิน

ันธมิตรสายการบิน คือ การรวมกลุ่มกันระหว่างสายการบินสองสายหรือมากกว่าขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ความร่วมมือกันในด้านต่างๆ เช่น ข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน (หรือบางครั้งอาจไม่ได้ใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน แต่สามารถเชื่อมต่อเที่ยวบินกันระหว่างเที่ยวบินในพันธมิตรฯ สองเที่ยวบินหรือมากกว่า), จัดตั้งรายการสะสมแต้มการบินร่วมกัน, การประชาสัมพันธ์ร่วมกันในนามพันธมิตรสายการบิน เป็นต้น พันธมิตรสายการบินที่สำคัญๆ มีอยู่สามกลุ่มได้แก่ สตาร์อัลไลแอนซ์, วันเวิลด์และสกายทีม นอกจากนี้ยังมีพันธมิตรสายการบินกลุ่มอื่นอีก เช่น วานิลลาอัลไลแอนซ์ ที่เป็นการรวมกลุ่มกันของสายการบินในประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย, ยู-ฟลายอัลไลแอนซ์ และ แวลูอัลไลแอนซ์ ที่เป็นการรวมกลุ่มกันของสายการบินต้นทุนต่ำ รวมถึงพันธมิตรสายการบินขนส่งสินค้า ได้แก่ สกายทีมคาร์โก (SkyTeam Cargo) และวาวคาร์โกอัลไลแอนซ์ (WOW Cargo Alliance) สำหรับกลุ่มของสายการบินที่เป็นเครือเดียวกันทั้งหมดหรือใช้ชื่อยี่ห้อเดียวกันอยู่แล้วทั้งหมดตั้งแต่ต้น เช่น กลุ่มแอร์เอเชีย หรือกลุ่มไลอ้อนแอร์ นั้นไม่ถือว่าเป็นพันธมิตรสายการบิน.

ดู บริติชแอร์เวย์และพันธมิตรสายการบิน

พีพา มิดเดิลตัน

ฟิลิปปา ชาร์ลอตต์ "พีพา" มิดเดิลตัน (Philippa Charlotte "Pippa" Middleton; 6 กันยายน พ.ศ. 2526) เป็นสุภาพสตรีชาวสหราชอาณาจักรผู้มีชื่อเสียงทางสังคม ด้วยเป็นพระขนิษฐาของแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ ซึ่งเธอเป็นเพื่อนเจ้าสาวในพระราชพิธีเสกสมรสของพี่สาวกับเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ พีพาจึงได้รับความสนใจจากเหล่าสื่อมวลชนจำนวนมากทั้งด้านแฟชันและชีวิตส่วนตัวของเธอ.

ดู บริติชแอร์เวย์และพีพา มิดเดิลตัน

การทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นับตั้งแต่เริ่มต้นโครงการก่อสร้างเป็นต้นมา ก็ได้มีข้อกล่าวหาการทุจริตในโครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยตลอด โดยข้อกล่าวหาการทุจริตเริ่มขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1970 ภายหลังการจัดซื้อที่ดินของรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร ซึ่งกินเวลามาจนถึงรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งมีความคืบหน้าของการก่อสร้างท่าอากาศยานมากที่สุด จนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีองค์การใดที่สามารถพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการทุจริตในโครงการก่อสร้างได้เลย ในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และการทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

มาเลเซียแอร์ไลน์

Malaysia Airlines head office มาเลเซียแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของมาเลเซีย ให้บริการเดินทางทั้งในและนอกทวีป เคยเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับโดยสกายแทรกซ์ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาว มาเลเซียแอร์ไลน์เคยเป็นหนึ่งในสายการบินที่มีผู้คนยอมรับมากที่สุดในโลกตะวันออก จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของเที่ยวบินที่ 370 สูญหายระหว่างทำการบินในเดือนมีนาคม..

ดู บริติชแอร์เวย์และมาเลเซียแอร์ไลน์

รหัสเที่ยวบิน

รหัสเที่ยวบินบน ป้ายแสดงผลแบบพับ ภายในสนามบินแฟรงเฟิร์ต รหัสเที่ยวบิน (อังกฤษ: flight number) ประกอบไปด้วยรหัสของสายการบินและเลขเที่ยวบิน เพื่อที่จะแสดงถึงเที่ยวบินนั้นโดยเฉพาะ รหัสเที่ยวบินไม่ควรที่จะเกี่ยวข้องกับ รหัสประจำเครื่องบินใช้เป็นสัญญาณเรียกขานในการบิน ในรหัสเที่ยวบินหนึ่งอาจบินหลายเที่ยวบินในหนึ่งวัน และรหัสเที่ยวบินหนึ่งอาจใช้กับเครื่องบินหลายลำ.

ดู บริติชแอร์เวย์และรหัสเที่ยวบิน

รายชื่อเครื่องบินของการบินไทย

ลโก้ของการบินไทย ณ วันที่ 5 พฤษภาคม..

ดู บริติชแอร์เวย์และรายชื่อเครื่องบินของการบินไทย

ลักเม

ปสเตอร์การแสดงรอบปฐมทัศน์ มารี แวน แซนด์ รับบท ลักเม ลักเม (Lakmé) เป็นอุปรากรภาษาฝรั่งเศสความยาว 3 องก์ โดยลีโอ ดีลิบีส แต่งบทร้องโดย Edmond Gondinet และ Philippe Gille ดัดแปลงจากเรื่อง Rarahu ou Le Mariage de Loti (1880) นวนิยายอัตชีวประวัติของปีแอร์ โลตี (1850 - 1923) เรื่องราวความรักและชู้สาวของนายทหารเรือฝรั่งเศสชื่อ Julien Viaud (เป็นชื่อจริงของผู้เขียน) กับหญิงสาวพื้นเมืองตาฮิติชื่อ ราราฮู ต่อมาผู้เขียนได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็นภาษาพอลินีเซียว่า โลตี ลีโอ ดีลิบีสได้เปลี่ยนชื่อตัวละคร และสถานที่จากในนวนิยาย ตัวพระเอกเป็นนายทหารอังกฤษในบริติชราชของอินเดีย ชื่อ เจอรัลด์ ตัวนางเอกชื่อ ลักเม เป็นลูกสาวของนักบวชพราหมณ์ชื่อ นิลขันธ์ (Nilakantha) ดีลิบีสแต่งอุปรากรเรื่องนี้ในช่วงปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และลักเม

วันเวิลด์

ตราสัญลักษณ์ของ วันเวิลด์ วันเวิลด์ (Oneworld) เป็นเครือข่ายพันธมิตรสายการบินลำดับ 3 ของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และวันเวิลด์

สายการบิน

FedEx Express ถือเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในแง่ของจำนวนเครื่องบินและน้ำหนักขนส่งhttp://www.iata.org/ps/publications/wats-freight-km.htm Scheduled Freight Tonne - Kilometres สายการบิน คือที่ให้บริการขนส่งทางอากาศสำหรับผู้โดยสารที่เดินทางและการขนส่งสินค้า สายการบินเช่าหรือเจ้าของเครื่องบินของพวกเขาด้วยซึ่งในการจัดหาบริการเหล่านี้และอาจเป็นหุ้นส่วนหรือเป็นพันธมิตรกับสายการบินอื่นเพื่อประโยชน์ร่วมกัน โดยทั่วไป บริษัท สายการบินได้รับการยอมรับที่มีใบรับรองการดำเนินงานอากาศหรือใบอนุญาตที่ออกโดยร่างกายการบินของรัฐ สายการบินที่แตกต่างจากผู้ที่มีจดหมายเดียวแบกอากาศยานหรือเรือบรรทุกสินค้าผ่านทางหลายร้อยปฏิบัติการบริการเต็มรูปแบบระหว่างประเทศสายการบินของเครื่องบิน บริการสายการบินสามารถแบ่งเป็นทวีปภายในทวีปประเทศภูมิภาคหรือต่างประเทศและอาจจะมีการดำเนินการให้บริการที่กำหนดหรือการเช่าเหมาลำ สายการบินมีความหลากหลาย ตั้งแต่เป็นเครื่องบินเดี่ยวที่ขนส่งจดหมายหรือสินค้า ไปจนถึงการบริการเต็มรูปแบบในระดับนานาชาติ ที่มีเครื่องบินนับร้อย การบริการของสายการบินอาจบินระหว่างทวีป ภายในทวีป หรือภายในประเทศเอง ซึ่งประเภทของสายการบินใหญ่ๆ มี 2 ประเภท คือ สายการบินโดยสาร(PassengerAirlines) และ สายการบินขนส่งสินค้า (Cargo Airlines).

ดู บริติชแอร์เวย์และสายการบิน

สายการบินประจำชาติ

การบินแห่งชาติ เป็นสายการบินรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นสายการบินตัวแทนของประเทศหรือดินแดนนั้น ๆ สายการบินแห่งชาติส่วนใหญ่จะมีรูปธงชาติประดับไว้บนตัวหรือหางของเครื่องบิน เกือบทุกประเทศมีสายการบินประจำชาติ ยกเว้นสหรัฐอเมริก.

ดู บริติชแอร์เวย์และสายการบินประจำชาติ

สตาร์อัลไลแอนซ์

350px สตาร์อัลไลแอนซ์ (Star Alliance) เป็น เครือข่ายพันธมิตรสายการบินขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ก่อตั้งเมื่อ14 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 โดยมีสายการบินก่อตั้ง 5 สายการบินคือ แอร์แคนาดา ลุฟต์ฮันซา ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม และการบินไทย ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมจำนวน 28 สายการบิน มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองฟรังค์ฟูร์ทอัมไมน์ ประเทศเยอรมนี โดยสายการบินทั้งหมดที่ร่วมด้วยจะมีความร่วมมือกันดังนี้.

ดู บริติชแอร์เวย์และสตาร์อัลไลแอนซ์

อากาศยานลำตัวกว้าง

รื่องบินแอร์บัส เอ 380 เป็นเครื่องบินพาณิชย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน โบอิง 777-300ER ของแอร์แคนาดา (ลำตัวกว้าง) อากาศยานลำตัวกว้าง (Wide-body aircraft) คือ อากาศยานที่มีขนาดลำตัว (fuselage) กว้างเพียงพอสำหรับบรรทุกผู้โดยสารได้ถึงสองช่องทางเดิน (aisles) โดยถูกเรียกว่าเป็น อากาศยานที่มีสองช่องทางเดิน ซึ่งประกอบไปด้วยที่นั่งอย่างน้อยเจ็ดที่นั่งต่อหนึ่งแถว ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโดยทั่วไปของลำตัวเครื่องบินนั้นมีขนาดประมาณ 5 ถึง 6 เมตร (16 ถึง 20 ฟุต) ซึ่งทำให้จุผู้โดยสารได้ตั้งแต่ 200 จนถึง 850 คนในหนึ่งเที่ยวบิน อากาศยานที่มีขนาดลำตัวกว้างที่สุดนั้นมีขนาดความกว้างกว่า 6 เมตร (20 ฟุต) และสามารถจุผู้โดยสารได้ถึง 11 ที่นั่งต่อหนึ่งแถวในการจัดผังที่นั่งที่แบบใช้พื้นที่สูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกันกับอากาศยานลำตัวแคบ (Narrow-body aircraft) ซึ่งจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 3 ถึง 4 เมตร (10 ถึง 13 ฟุต) และมีช่องทางเดินเดียว และจำนวนที่นั่งตั้งแต่ 2 จนถึง 6 ที่นั่งต่อหนึ่งแถว แต่แรกนั้น อากาศยานลำตัวกว้างนั้นถูกออกแบบเพื่อจุดประสงค์ในด้านประสิทธิภาพ และความสะดวกสบายของผู้โดยสาร รวมทั้งการเพิ่มขนาดของห้องสัมภาระ อย่างไรก็ตาม สายการบินต่างๆ หันมาให้ความสนใจในด้านความสามารถในการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดพื้นที่สำหรับผู้โดยสารเพื่อแลกกับความสามารถในการทำรายได้และกำไรสูงสุด อากาศยานลำตัวกว้างที่มีขนาดกว้างที่สุดมักจะถูกเรียกว่า จัมโบ้เจ็ต ซึ่งได้แก่ โบอิง 747 ("จัมโบ้เจ็ต") แอร์บัส เอ 380 ("ซุปเปอร์จัมโบ้เจ็ต") และรุ่นที่กำลังจะตามมา คือ โบอิง 777 เอ็กซ์ ("มินิจัมโบ้เจ็ต") คำว่า "จัมโบ้เจ็ต" นั้นมาจากชื่อ "จัมโบ้" ของช้างที่โด่งดังจากละครสัตว์ในช่วงศตวรรษที่ 19.

ดู บริติชแอร์เวย์และอากาศยานลำตัวกว้าง

อากาศยานลำตัวแคบ

อิง 777-300ER ของแอร์แคนาดา (ลำตัวกว้าง) อากาศยานลำตัวแคบ (Narrow-body aircraft) หรือเรียกได้อีกอย่างว่า "อากาศยานแบบมีช่องทางเดินเดียว" (Single aisle aircraft) คืออากาศยานที่มีความกว้างของลำตัว (fuselage) ตั้งแต่ 3-4 เมตร (10-13 ฟุต) และมีการจัดวางที่นั่งแถวละตั้งแต่ 2-6 ที่นั่ง โดยอากาศยานที่มีข้อจำกัดด้านพิสัยการบินซึ่งไม่สามารถเดินทางข้ามทวีปหรือข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกได้ถูกเรียกว่า "อากาศยานภูมิภาค" (Regional airliner) ตรงข้ามกับ อากาศยานลำตัวกว้าง ซึ่งเป็นอากาศยานที่มีขนาดใหญ่กว่า และมักจะมีหลายชั้นโดยสาร โดยมีขนาดลำตัวตั้งแต่ 5-7 เมตร (16-20 ฟุต) และมีสองช่องทางเดิน โดยสามารถจุผู้โดยสารได้ตั้งแต่ 7-10 คนต่อหนึ่งแถว อากาศยานลำตัวกว้างสามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ตั้งแต่ 200 ถึง 600 คน ในขณะที่ความจุสูงสุดของอากาศยานลำตัวแคบที่ใหญ่ที่สุด (ได้แก่ โบอิง 757-300 สามารถบรรทุกได้เพียง 289 คน นักวิเคราะห์ด้านการบินคาดว่าจะมีอากาศยานใหม่กว่า 41,000 ลำ ในระหว่างปี 2015-2035 ซึ่งรวมกันมีมูลค่าสูงถึง 2.83 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ โดยมูลค่านั้นแบ่งเป็นอากาศยานลำตัวแคบครึ่งหนึ่ง และอากาศยานลำตัวกว้างอีกครึ่งหนึ่ง หนึ่งในสามของอากาศยานลำตัวแคบนั้นคาดว่าจะเป็นแอร์บัส เอ 320 และอีกหนึ่งในสามคือ โบอิง 737.

ดู บริติชแอร์เวย์และอากาศยานลำตัวแคบ

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ดู บริติชแอร์เวย์และจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์

ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์ (Aéroport de Marseille Provence) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานมาร์แซย์-มารีญาน (Marseille-Marignane Airport) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ห่างจากเมืองมาร์แซย์ในแคว้นพรอว็องซาลโกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร เปิดให้บริการเมื่อ..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี

ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี (London City Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองนิวแฮม ในอีสลอนดอน ประเทศอังกฤษ รองรับพื้นที่ศูนย์กลางการเงินของลอนดอน และเนื่องจากทางวิ่งของท่าอากาศยานแห่งนี้มีระยะสั้น จึงมีข้อจำกัดด้านขนาดเครื่องบินที่มาใช้บริการ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานลอนดอนซิตี

ท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิก

ท่าอากาศยานลอนแกตวิก (London Gatwick Airport) เป็นท่าอากาศยานขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของลอนดอน และเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นเป็นอันดับสองของของสหราชอาณาจักร เป็นรองจากฮีทโธรว์ และยังได้ชื่อว่าเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุดที่มีทางวิ่งให้บริการเพียงเส้นเดียว เป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอับดับ 22 (เป็นอับดับที่ 7 ในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ) ของโลกในกรณีจำนวนผู้โดยสารต่อปี ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ ครอว์เลย์ เวสต์ ซัสเซ็ก ห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือประมาณ 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) ห่างจากกรุงลอนดอนไปทางใต้ประมาณ 46 กิโลเมตร (28 ไมล์) และทางเหนือของบริงตันประมาณ 40 กิโลเมตร ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิก

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ ในปี พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาลันดา (Stockholm-Arlanda Airport) ตั้งอยู่ที่เขตซิกทูนา มณฑลสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ห่างจากกรุงสตอกโฮล์มไปทางเหนือประมาณ 42 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสวีเดน และเป็นท่าอากาศยานหลักสู่ประเทศสวีเดน เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของสแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ ซิสเต็ม ใหญ่เป็นอันดับสามในประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีผู้ใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศหนาแน่นเป็นอันดับสองในภูมิภาค รองรับผู้โดยสารกว่า 19 ล้านคนต่อปี ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา

ท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน

ท่าอากาศยานออสโล, การ์เดอร์มอน (Oslo lufthavn, Gardermoen) ตั้งอยู่ที่การ์เดอร์มอน ในเขตยูลเลนแซเกอร์ ประเทศนอร์เวย์ ห่างจากตัวเมืองกรุงออสโลไปทางเหนือประมาณ 48 กิโลเมตร เริ่มเปิดใช้ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน

ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค

ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Flughafen Hamburg-Fuhlsbüttel) ตั้งอยู่ที่เมืองฮัมบวร์ค ประเทศเยอรมนี ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 8.5 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 5 ของเยอรมนี.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานฮัมบวร์ค

ท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัล

ท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัล (George Bush Intercontinental Airport) ตั้งอยู่ที่ฮิวส์ตัน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา ห่างออกไปทางเหนือของตัวประมาณ 37 กิโลเมตร (23 ไมล์) บุชอินเตอร์คอนติเนนตัลเป็นท่าอากาศยานที่มีความสำคัญเป็นอันดับ 2 รองจากท่าอากาศยานนานาชาติดัลลาส-ฟอร์ทเวิร์ธ และยังเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของสายการบินคอนติเนนตัล แอร์ไลน์ บุชอินเตอร์คอนติเนนตัล เดิมคือ ท่าอากาศยานฮิวส์ตันอินเตอร์คอนติเนนตัล โดยเปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบัน เมื่อปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัล

ท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ

ท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ (Flughafen Düsseldorf) ตั้งอยู่ที่เมืองดึสเซิลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 3 ของเยอรมนี เป็นรองจากมิวนิกและแฟรงก์เฟิร์ต และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอลทียูและลุฟต์ฮันซ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ

ท่าอากาศยานซือริช

ท่าอากาศยานซือริช (Zurich Airport) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานโคลเทิน (Kloten Airport) ตั้งอยู่ในเมืองโคลเทิน, รัฐซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารโดย Unique Airport เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในสวิตเซอร์แลนด์ และเป็นศูนย์กลางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ มี Skyguide รับผิดชอบการควบคุมการจราจรทางอากาศทั้งหมดในท่าอากาศยาน ใน พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานซือริช

ท่าอากาศยานนานาชาติบัลติมอร์/วอชิงตัน เธอร์กู้ด มาร์แชล

ท่าอากาศยานนานาชาติบัลติมอร์/วอชิงตัน เธอร์กู้ด มาร์แชล (Baltimore/Washington International Thurgood Marshall Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองลินธิคัม ในแอนน์อรันเดิลเคาน์ตี รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา หรือเรียกกันทั่วไปว่า BWI ตามชื่อรหัสสนามบิน รองรับการจราจรภายในเขตนครหลวงบัลติมอร์-วอชิงตัน ห่างจากใจกลางเมืองบัลติมอร์ประมาณ 16 กิโลเมตร และจากใจกลางเมืองวอชิงตันประมาณ 55 กิโลเมตร ยังเป็นท่าอากาศยานสำคัญของสายการบินเซาท์เวสต์แอร์ไลน์ ตั้งแต่สายการบินเซาท์เวสต์มาลงให้บริการที่ท่าอากาศยาน BWI ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติบัลติมอร์/วอชิงตัน เธอร์กู้ด มาร์แชล

ท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน

ท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน (อาหรับ: مطار البحرين الدولي) ตั้งอยู่ที่เกาะอัล มูฮาร์รัก ทางตอนเหนือสุดของมานามา ประเทศบาห์เรน เป็นท่าอากาศยานหลักของกัลฟ์แอร.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน

ท่าอากาศยานนานาชาติฟิลาเดลเฟีย

ท่าอากาศยานนานาชาติฟิลาเดลเฟีย (Philadelphia International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูเอสแอร์เว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติฟิลาเดลเฟีย

ท่าอากาศยานนานาชาติฟีนิกซ์สกายฮาร์เบอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติฟินิกซ์ สกาย ฮาร์เบอร์ (Phoenix Sky Harbor International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองฟินิกซ์ ในมาริโคปา เคาน์ตี รัฐแอริโซนา สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกประมาณ 4.8 กิโลเมตร (3 ไมล์) โดยเป็นท่าอากาศยานที่สำคัญของภูมิภาคอเมริกาตะวันตกเฉียงใต้ และมีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 8 ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ฟินิกซ์ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของยูเอสแอร์เวย์ และเซาต์เวสต์แอร์ไลน.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติฟีนิกซ์สกายฮาร์เบอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์

ท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์ (Glasgow International Airport) ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองเพรสลีย์ และเรนฟริว ในเรนฟริวไชร์ รองรับการจราจรทางอากาศของเมืองกลาสโกว์ โดยอยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกประมาณ 13 กิโลเมตร (8 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสก็อตแลนด์ และเป็นท่าอากาศยานหลักของโลแกนแอร.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี

ท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei International) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในเมืองปิซา อิตาลี เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของแคว้นทัสกานี โดยอีกแห่งหนึ่งคือท่าอากาศยานเปเรโตลาในฟลอเรนซ์ ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตามกาลิเลโอ กาลิเลอี นักวิทยาศาสตร์ชาวเมืองปิซาที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ในย่านซานจุสโต ห่างจากสถานีรถไฟกลางไม่ถึง 2 กิโลเมตร ค่อนข้างใกล้กับศูนย์กลางของเมือง ท่าอากาศยานแห่งนี้เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟกลางด้วยรถไฟและรถประจำทาง และยังเชื่อมต่อไปถึงสถานีรถไฟซานตามาเรียโนเวลลา ในฟลอเรนซ์อีกด้วย นอกจากจะใช้ในกิจการพลเรือนแล้ว ท่าอากาศยานแห่งนี้ยังถูกใช้เป็นฐานจอดเครื่องบิน C-130 Hercules และ C-27J Spartan ของกองทัพอากาศอิตาลี.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี

ท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัส

ท่าอากาศยานอาดอลโฟ ซัวเรซ มาดริด-บาราคัส (Aeropuerto Adolfo Suárez Madrid-Barajas) ตั้งอยู่ที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน เปิดให้บริการมาตั้งแต่ปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัส

ท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

Lufthansa Regional Embraer E195 ท่าอากาศยานมิวนิก (Munich International Airport) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ท่าอากาศยานมิวนิก ฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ (Flughafen München Franz Josef Strauß) เพื่อเป็นเกียรติต่อฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ อดีตผู้ว่าการรัฐบาวาเรีย ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่มิวนิก เยอรมนี ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 28 กิโลเมตร (17.5 ไมล์) มิวนิกเป็นท่าอากาศที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเยอรมนี รองจากท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงค์เฟิร์ต และเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส (Los Angeles International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ชาวแคลิฟอร์เนียจะเรียกท่าอากาศยานแห่งนี้อย่างย่อว่า แอลเอเอกซ์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของลอสแอนเจลิส ห่างจากตัวเมืองไปประมาณ 24 กิโลเมตร แอลเอเอกซ์เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ และอลาสกาแอร์ไลน์ เนื่องจากท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเล ทำให้ต้องเจอกับปัญหาเรื่องหมอก จนบางครั้งจะต้องให้เครื่องบินเปลี่ยนไปลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติแอลเอ/ออนแทริโอ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออก 76 กิโลเมตร.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตัน ดัลเลส (Washington Dulles International Airport) ตั้งอยู่ระหว่างเมืองชานทิลลีในแฟร์แฟกเคาน์ตี และดัลเลสในลูดอนเคาน์ตี รัฐเวอร์จิเนีย ห่างจากวอชิงตัน ดี.ซี.ไปทางตะวันตกประมาณ 41.8 กิโลเมตร (26 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานสำคัญของเจ็ตบลูแอร์เวย์ วอชิงตัน ดัลเลส ตั้งชื่อตามจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส

ท่าอากาศยานนานาชาติออร์แลนโด

ท่าอากาศยานนานาชาติออร์แลนโด (Orlando International Airport) ตั้งอยู่ที่ออเรนจ์เคาน์ตี ในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองออร์แลนโดไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 10 กิโลเมตร (6 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดของฟลอริดา และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของโชโตกัวแอร์ไลน์ และฟรีดอมแอร์ไลน์ ซึ่งให้บริการสำหรับเดลต้าคอนเนคชั่น นอกจากนี้ออร์แลนโดยังเป็นท่าอากาศยานสำคัญของเจ็ตบลูแอร์เวย์, เดลต้า แอร์ไลน์, เซาท์เวสต์แอร์ไลน์ และแอร์ทรานแอร์เวย์ มหานครออร์แลนโดยังมีท่าอากาศยานอื่นๆ ที่รองรับการจราจรทางอากาศยาน นั่นคือ ท่าอากาศยานนานาชาติออร์แลนโดซานฟอร์ด, ท่าอากาศยานนานาชาติเดย์โทนา และท่าอากาศยานนานาชาติเมลเบิร์น.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติออร์แลนโด

ท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบี

Terminal thumb ท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบี (مطار أبو ظبي الدولي.) ตั้งอยู่กรุงอาบูดาบี, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอติฮัดแอร์เว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบี

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาราเร

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาราเร (Harare International Airport) ตั้งอยู่ที่กรุงฮาราเร ประเทศซิมบับเว เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ซิมบับเว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติฮาราเร

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ตสฟีลด์-แจ็กสัน แอตแลนตา (Hartsfield-Jackson Atlanta International Airport) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานแอตแลนตา, ท่าอากาศยานฮาร์ตสฟีลด์ หรือเรียกอย่างย่อว่า ฮาร์ตสฟีลด์ ตั้งอยู่บริเวณชานเมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา เป็นท่าอากาศยานที่ความหนาแน่นมากที่สุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารและเที่ยวบินขึ้น-ลง มาตั้งแต่ปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติดัลลาส-ฟอร์ตเวิร์ธ

ท่าอากาศยานนานาชาติดัลลาส-ฟอร์ตเวิร์ธ (Dallas-Fort Worth International Airport) ตั้งอยู่ระหว่างเมืองดัลลาส และฟอร์ตเวิร์ธ ในรัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ และอเมริกันอีเกิล และยังเคยเป็นท่าอกาศยานหลักของเดลต้า แอร์ไลน์ จนกระทั่งปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติดัลลาส-ฟอร์ตเวิร์ธ

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ (อาหรับ: مطار دبي الدولي) ตั้งอยู่ที่ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอมิเรตส์แอร์ไลน.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ

ท่าอากาศยานนานาชาติซิดนีย์ คิงส์ฟอร์ด สมิธ (Sydney Kingsford Smith International Airport) หรือท่าอากาศยานซิดนีย์ ตั้งอยู่ที่เมืองซิดนีย์ ในรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ติดกับอ่าวโบตานี รองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของออสเตรเลีย และสายการบินควอนตัส ท่าอากาศยานซิดนีย์นับเป็นท่าอากาศยานที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกที่ยังเปิดให้บริการมาอย่างอย่างต่อเนื่อง และได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อปัจจุบันเมื่อปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ

ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต

ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต ตั้งอยู่ที่เมืองฟาร์วานิยา ประเทศคูเวต ห่างจากตัวเมืองไปทางใต้ของคูเวตซิตีประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินคูเวตแอร์เวย์ และเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการสูงสุด ของกองทัพอากาศคูเวต รวมถึงพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศคูเวต.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต

ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก

ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก (San Francisco International Airport) ตั้งอยู่ริมอ่าวซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตอนใต้ประมาณ 21 กิโลเมตร (13 ไมล์) มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของแคลิฟอร์เนีย เป็นรองจากลอสแอนเจลิส ซานฟรานซิสโกยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และหากเป็นไปตามแผนที่จัดเตรียมไว้ ก็จะเป็นท่าอากาศยานหลักของเวอร์จิ้น อเมริกา ด้ว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์ (Vancouver International Airport) ตั้งอยู่ที่ริชมอนด์, บริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ห่างจากตัวเมืองแวนคูเวอร์ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานหลักของแอร์แคนาดา และเป็นท่าอากาศยานรองของเวสต์เจ็ต แวนคูเวอร์ ยังเป็น 1 ใน 8 ของท่าอากาศยานในแคนาดา ที่เป็นที่ตั้งของด่านตรวจลงตราล่วงหน้าของสหรัฐอเมริก.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติแทมปา

ท่าอากาศยานนานาชาติแทมปา (Tampa International Airport) ตั้งอยู่ที่ ฮิลส์โบโรเคาน์ตี ในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ห่างจาตัวเมืองแทมปาไปทางตะวันตกประมาณ 10 กิโลเมตร (6 ไมล์) เดิมคือท่าอากาศยานดรูว์ฟิล.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติแทมปา

ท่าอากาศยานนานาชาติโลแกน

ท่าอากาศยานนานาชาติเจเนอรัล เอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์ โลแกน (General Edward Lawrence Logan International Airport) อยู่ที่เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา รองรับการเดินทางภายในสหรัฐอเมริกา และไปยังแคนาดา, ยุโรป และลาตินอเมริกา และเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจ็ตบลูแอร์เวย์, เดลต้า แอร์ไลน์, ยูเอสแอร์เวย์ และอเมริกันแอร์ไลน์ รวมถึงคอนติเนนตัลคอนเนคชั่นที่ให้บริการเส้นทางท้องถิ่นจากที่โลแกนนี้ด้ว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติโลแกน

ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ

ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ (OR Tambo International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดในแอฟริกาใต้ และทวีปแอฟริกา รวมถึงเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาแอฟริกันแอร์เวย์ เดิมท่าอากาศยานแห่งนี้ชื่อว่า ท่าอากาศยานนานาชาติแจน สมัตส์ ตั้งชื่อตามรัฐบุรุษของแอฟริกาใต้ จนกระทั่งได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ

ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์

ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกโอแฮร์ (Chicago O'Hare International Airport) ตั้งอยู่ที่ ชิคาโก, รัฐอิลลินอยส์, สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองชิคาโกไปทางตัวะนตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร (17 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ บริหารงานโดยกรมขนส่งทางอากาศเมืองชิคาโก (City of Chicago Department of Aviation) ก่อนหน้าปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์

ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา

ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา (مطار الدوحة الدولى) เป็นท่าอากาศยานแห่งเดียวในประเทศกาตาร์ ตั้งอยู่ที่กรุงโดฮา และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของกาตาร์แอร์เวย์ ท่าอากาศยานแห่งนี้ถูกแทนที่ด้วยท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา

ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว

อาคาร 1 อาคาร 2 อาคารระหว่างประเทศ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานฮะเนะดะ ตั้งอยู่ที่เมืองโอตะ กรุงโตเกียว ญี่ปุ่น รองรับการบริการกรุงโตเกียว ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว

ท่าอากาศยานนานาชาติไมแอมี

ท่าอากาศยานนานาชาติไมอามี (Miami International Airport) ตั้งอยู่ที่ไมอามี-เดด เคาน์ตี รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 13 กิโลเมตร (8 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์, อเมริกันอีเกิล และเอ็กเซ็กคูทีฟแอร์ รวมทั้งสายการบินขนส่งสินค้าเฟ็ดเอ็กซ์, ไฟน์แอร์, ยูพีเอส และแอร์โรแอร์ และสายการบินเช่าเหมาลำไมอามีแอร.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติไมแอมี

ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา

ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา, หรือที่รู้จักกันในชื่อ ท่าอากาศยานกวงแทร็ง เป็นท่าอากาศยานที่ให้บริการแก่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 4 กิโลเมตร และเชื่อมต่อโดยตรงกับทางด่วน เส้นทางเดินรถประจำทางและรถไฟ (SBB-CFF-FFS) และมีพื้นที่ติดกับพรมแดนระหว่างสวิตเซอร์แลนด์กับฝรั่งเศส และยังสามารถเข้าสู่ท่าอากาศยานได้จากทั้งสองประเทศ ผู้โดยสารบนเที่ยวบินที่มาจากหรือจะไปฝรั่งเศสไม่ต้องผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองและศุลกากรของสวิตเซอร์แลนด์ หากยังคงอยู่ในพื้นที่ฝรั่งเศสของท่าอากาศยาน การขนส่งสินค้าสามารถกระทำได้จากทั้งสองประเทศ ทำให้เจนีวากลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการขนส่งสินค้าของสหภาพยุโรป แม้ว่าสวิสเซอร์แลนด์จะได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรปก็ตาม บางส่วนของท่าอากาศยานอยู่ในเขตเมย์แร็ง และอีกส่วนอยู่ในเขตกรองด์-แซเกอเน็กซ์"." Meyrin.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา

ท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์ (Denver International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองเดนเวอร์ ในรัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกา เป็นท่าอากาศยานที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา และใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติคิงฟาฮัด และท่าอากาศยานนานาชาติมอมทรีอัล-มิราเบล ในปี..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์

ท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์ (Cape Town International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของแอฟริกาใต้ เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาต์แอฟริกันแอร์เว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ (Manchester Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของ แมนเชสเตอร์ อังกฤษ เปิดให้บริการเมื่อเดือนมิถุนายน..

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์

ท่าอากาศยานเบอร์ลินเทมเพิลฮอฟ

ท่าอากาศยานเบอร์ลินเทมเพิลฮอฟ (Berlin Tempelhof Airport; Flughafen Berlin-Tempelhof) เป็นท่าอากาศยานแห่งหนึ่งในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ในบุรีเทมเพิลฮอฟ-เชอเนเบิร์ก (Tempelhof-Schöneberg) ทางใต้กลางของกรุงเบอร์ลิน ท่าอากาศยานฯ ยุติการปฏิบัติการในปี 2008 ท่ามกลางข้อพิาพท ทำให้เทเกิลและเชอเนเฟลด์เป็นท่าอากาศยานหลักสองแห่งในนคร กระทรวงคมนาคมกำหนดเทมเพิลฮอฟเป็นท่าอากาศยานเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 1923 อาคารผู้โดยสารเก่าเดิมสร้างขึ้นในปี 1927 รัฐบาลนาซีเริ่มการบูรณะขนานใหญ่กลางคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อรองรับการจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้น เทมเพิลฮอฟเป็นท่าอากาศยานก่อนสงครามโลกครั้งที่สองสัญรูปหนึ่งในสามแห่งของทวีปยุโรป อีกสองแห่งได้แก่ ท่าอากาศยานครอยดอนในกรุงลอนดอนและท่าอากาศยานปารี–เลอบูร์เก (Paris–Le Bourget Airport) แห่งเก่าซึ่งปัจจุบันทั้งสองเลิกใช้แล้ว ท่าอากาศยานนี้ได้รับสถานภาพสัญรูปเพิ่มอีกในฐานะศูนย์กลางการลำเลียงเบอร์ลิน (Berlin Airlift) ในปี 1948–49 ลักษณะโดดเด่นที่สุดอย่างหนึ่งของท่าอากาศยานนี้คือหลังคาแบบเปิดประทุนขนาดใหญ่ที่ยื่นออกไปเหนือลาดเชิงเขา สามารถรองรับสายการบินร่วมสมัยส่วนใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 1950 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 ได้ อาคารหลักของท่าอากาศยานเทมเพิลฮอฟเคยติดอันดับอาคารใหญ่ที่สุดในโลก 20 อันดับแรกAirports International June 1975 (industry magazine) ท่าอากาศยานเทมเพิลฮอฟยุติปฏิบัติการทั้งหมดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2008 ต่อมามีการใช้เป็นพื้นที่นันทนาการเรียก "เทมเพิลฮอเฟอร์เฟลด์" ในเดือนกันยายน 2015 มีประกาศว่าจะใช้เทมเพิลฮอฟเป็นค่ายผู้ลี้ภัยฉุกเฉินด้ว.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานเบอร์ลินเทมเพิลฮอฟ

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน (Aeroporto Leonardo da Vinci di Fiumicino) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ท่าอากาศยานฟีอูมีชีโน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 35,226,351 คนใน พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ท่าอากาศยานเอดินบะระ

ท่าอากาศยานเอดินบะระ (Edinburgh Airport) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า เทิร์นเฮาส์ (Turnhouse) ตั้งอยู่ที่เมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกประมาณ 13 กิโลเมตร (8 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของสหราชอาณาจักร.

ดู บริติชแอร์เวย์และท่าอากาศยานเอดินบะระ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีน

alt.

ดู บริติชแอร์เวย์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีน

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

คอมแอร์ (แอฟริกาใต้)

อมแอร์ เป็นสายการบินที่ซื้อแฟรนไชส์มาจากบริติชแอร์เวย์ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศแอฟริกาใต้ ให้บริการหลักจากท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทม.

ดู บริติชแอร์เวย์และคอมแอร์ (แอฟริกาใต้)

คองคอร์ด

รื่องบินคองคอร์ด 2 มีนาคม ค.ศ. 1969 เครื่องบินคองคอร์ด (Concorde) เป็นเครื่องบินขนส่งชนิดมีความเร็วเหนือเสียง เป็นหนึ่งในสองแบบของเครื่องบินเร็วเหนือเสียงที่ใช้เป็นเครื่องบินโดยสาร และนำมาให้บริการในเชิงพาณิชย์ โดยใช้เวลาศึกษาวิจัยเป็นเวลา 7 ปี เครื่องคองคอร์ดต้นแบบเครื่องแรกบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และคองคอร์ด

ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน

ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน ในวัฒนธรรมจีน มีความเชื่อว่าตัวเลขบางตัวเป็นตัวเลขแห่งความโชคดีหรือเป็นเลขมงคล (auspicious; 吉利) และมีบางตัวเลขเป็นเลขแห่งความโชคร้ายหรือเป็นเลขอวมงคล (inauspicious; 不利) ตามคำในภาษาจีนที่ตัวเลขนั้นมีการออกเสียงคล้ายคลึง โดยเชื่อว่าเลข 0, 6, 8 และ 9 ล้วนเป็นเลขมงคลเนื่องจากเป็นคำพ้องเสียงกับคำที่มีความหมายในเชิงบวก.

ดู บริติชแอร์เวย์และตัวเลขในวัฒนธรรมจีน

แอร์บัส เอ310

แอร์บัส เอ 310 (Airbus A310) เป็นเครื่องบินเครื่องบินพาณิชย์ลำตัวกว้างที่มีพิสัยการบินปานกลางถึงไกล ซึ่งออกแบบและพัฒนาโดยแอร์บัส โดยเปิดตัวเป็นครั้งแรกในปีค.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และแอร์บัส เอ310

แอร์บัส เอ318

แอร์บัส เอ 318 (Airbus A318) เป็นอากาศยานในกลุ่มของแอร์บัส เอ 320 ที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยเป็นอากาศยานไอพ่นลำตัวแคบที่มีพิสัยการบินระยะสั้นถึงปานกลาง สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ถึง 132 ที่นั่ง และมีพิสัยการบินสูงสุดที.

ดู บริติชแอร์เวย์และแอร์บัส เอ318

แอร์บัส เอ380

รื่องบิน แอร์บัส A380 เป็นเครื่องบินห้องโดยสารสองชั้นขนาดใหญ่ ผลิตโดยแอร์บัสแอสอาแอส เครื่องบินสี่เครื่องยนต์ลำนี้สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 800 คน หรือ 500 คนถ้าวางที่นั่งแบบ 3 ชั้นผู้โดยสารตามเครื่องบินพาณิชย์ปกติ เครื่องบินรุ่นนี้ได้ผ่านกำหนดการทดสอบการบินเที่ยวแรกในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และแอร์บัส เอ380

โบอิง 777

อิง 777 เป็นอากาศยานแบบลำตัวกว้าง ใช้เครื่องยนต์ 2 ตัว มีพิสัยบินระยะไกล ผลิตโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องบินเชิงพาณิชย์ลำแรกที่มีการออกแบบและพัฒนาบนคอมพิวเตอร์ทุกขั้นตอน โดยโปรแกรมเขียนภาพสามมิติ CATIA และมีสายการบินขนาดใหญ่อย่างยูไนเต็ดแอร์ไลน์, อเมริกันแอร์ไลน์, เดลต้า แอร์ไลน์, ออลนิปปอนแอร์เวย์, บริติช แอร์เวย์, เจแปนแอร์ไลน์, แควนตัส และคาเธย์แปซิฟิก มีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องบินรุ่นนี้ ทำให้ 777 เป็นเครื่องบินที่ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด ทั้งนี้นับจนถึงพฤษภาคม..

ดู บริติชแอร์เวย์และโบอิง 777

โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์

ออลนิปปอนแอร์เวย์ โบอิ้ง 787-8 โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์ เป็นเครื่องบินโดยสารเจ็ตขนาดกลางลำตัวกว้างพิสัยไกล แบบใช้เครื่องยนต์คู่ ออกแบบโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง รองรับผู้โดยสารได้ลำละ 210 ถึง 290 คน ขึ้นอยู่กับรุ่น โบอิ้งแถลงว่า เครื่องบินดังกล่าวเป็นเครื่องบินโดยสารที่ประหยัดเชื้อเพลิงที่สุดของบริษัท และเป็นเครื่องบินโดยสารสำคัญแบบแรกของโลกที่ใช้วัสดุผสมในการก่อสร้างเป็นส่วนใหญ่ โบอิง 787 บริโภคเชื้อเพลิงน้อยกว่าโบอิง 767 ที่มีขนาดเท่ากันถึง 20% ลักษณะที่แตกต่างที่สุดมีทั้งที่กันลมสี่แผง เชฟรอนลดเสียงบนส่วนแยกเครื่องยนต์ (engine nacelle) และเส้นระดับเสียง (nose contour) ที่เรียบขึ้น ชื่อเดิมของเครื่องบินที่กำหนดคือ 7E7 ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นอย่างในปัจจุบันในเดือนมกราคม..

ดู บริติชแอร์เวย์และโบอิง 787 ดรีมไลเนอร์

เดินอากาศไทย

ริษัท เดินอากาศไทย จำกัด (Thai Airways Company Limited ชื่อย่อ: บดท.; TAC) เป็นอดีตสายการบินแห่งชาติภายในประเทศไทย โดยทำการบินหลักที่ท่าอากาศยานดอนเมือง และมีคำขวัญว่า เพียงงีบหนึ่ง ก็ถึงแล้ว (Just a nap, you'll be there) ปัจจุบันโอนกิจการไปรวมกับการบินไทย เมื่อปี พ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และเดินอากาศไทย

เครื่องบินพาณิชย์โบอิง

ฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง (Boeing Commercial Airplanes) เป็นแผนกของบริษัทโบอิง ซึ่งรวมถึงหน่วยผลิตที่ ซีแอตเทิล ฐานการผลิตเดิมของ บริษัทเครื่องบินโบอิง (Boeing Airplane Company) (ฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์) และลองบีช ฐานการผลิตเครื่องบินดักลาส (ฝ่ายการผลิตของแมคดอนเนลล์ ดักลาส และในปีพ.ศ.

ดู บริติชแอร์เวย์และเครื่องบินพาณิชย์โบอิง

หรือที่รู้จักกันในชื่อ British Airwaysบริติช แอร์เวย์บริติชแอร์เวย์เวิลด์คาร์โก

ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวตท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโกท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์ท่าอากาศยานนานาชาติแทมปาท่าอากาศยานนานาชาติโลแกนท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮาท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวท่าอากาศยานนานาชาติไมแอมีท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวาท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์ท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ท่าอากาศยานเบอร์ลินเทมเพิลฮอฟท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโนท่าอากาศยานเอดินบะระความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีนความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคอมแอร์ (แอฟริกาใต้)คองคอร์ดตัวเลขในวัฒนธรรมจีนแอร์บัส เอ310แอร์บัส เอ318แอร์บัส เอ380โบอิง 777โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์เดินอากาศไทยเครื่องบินพาณิชย์โบอิง