โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นีกีตา ครุชชอฟ

ดัชนี นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

56 ความสัมพันธ์: ชาร์ล เดอ โกลบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ฟีเดล กัสโตรพ.ศ. 2437พ.ศ. 2514พรรคคอมมิวนิสต์ยูเครน (สหภาพโซเวียต)การยึดครองโรมาเนียของโซเวียตการจับกุมคามินสกีและเบนเนตการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956มรดกของเลโอนิด เบรจเนฟมีคาอิล ตูคาเชฟสกียุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)ริชาร์ด นิกสันรูดอล์ฟ นูเรเยฟลัฟเรนตีย์ เบรียาวยาเชสลาฟ โมโลตอฟวอลโกกราดวันนักบินอวกาศวาซีลี บลูย์เคียร์วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมันสหภาพโซเวียตสายตรงมอสโก–วอชิงตันสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนียสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2สงครามเวียดนามสตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)อะเลคเซย์ โคซีกินอันเดรย์ เกรชโคอุบัติการณ์ยู-2 พ.ศ. 2503อเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร)ผู้นำสหภาพโซเวียตดมีตรี อุสตีนอฟคลีเมนต์ โวโรชีลอฟความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียตความแตกแยกระหว่างตีโต้-สตาลินคิม อิล-ซ็องซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดีประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์แอลเบเนียประเทศรัสเซียนายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียตนีโคไล บุลกานินแวนการ์ด 1โจเซฟ สตาลินโครงการอวกาศโซเวียตเกออร์กี มาเลนคอฟเกออร์กี จูคอฟ...เราจะฝังพวกคุณเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเลโอนิด เบรจเนฟเสือกระดาษ11 กันยายน27 มีนาคม ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ถึงปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของลัทธินิยมโกล และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อม.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีเดล กัสโตร

ฟีเดล อาเลคันโดร กัสโตร รุซ (Fidel Alejandro Castro Ruz (audio); 13 สิงหาคม ค.ศ. 1926 — 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016) เป็นนักปฏิวัติและนักการเมืองคิวบา ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคิวบาตั้งแต..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและฟีเดล กัสโตร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2437

ทธศักราช 2437 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1894 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและพ.ศ. 2437 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์ยูเครน (สหภาพโซเวียต)

รรคคอมมิวนิสต์ยูเครน (Комуністична Партія України Komunistychna Partiya Ukrayiny, КПУ, KPU; Коммунистическая партия Украины) หรือเป็นที่รู้จักถึงปี 1952 ในชื่อ พรรคบอลเชวิกยูเครนเป็นพรรคลูกของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและพรรคคอมมิวนิสต์ยูเครน (สหภาพโซเวียต) · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองโรมาเนียของโซเวียต

ปรษณียากร"การปลดปล่อยโรมาเนียโดยกองทัพโซเวียตที่รุ่งโรจน์" ของสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย ในปี 1948 การยึดครองโรมาเนียของโซเวียต หมายถึง ช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและการยึดครองโรมาเนียของโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การจับกุมคามินสกีและเบนเนต

มาร์ก แอล คามินสกี และ ฮาร์วี เบนเนต เป็นนักท่องเที่ยวชาวอเมริกันสองคนที่ถูกคุมขังในสหภาพโซเวียตในปีึ..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและการจับกุมคามินสกีและเบนเนต · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956

การปฏิวัติฮังการี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

มรดกของเลโอนิด เบรจเนฟ

วามเข้าใจอย่างเต็มรูปแบบเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสหภาพโซเวียตและสหพันธรัฐรัสเซีย อิทธิพลของเลโอนิด เบรจเนฟเป็นหนึ่งในสิ่งสำคัญในประวัติศาสตร์ เขาเป็นทั้งเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ (CPSU) และประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียต เลโอนิด เบรจเนฟ เป็นเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและมรดกของเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

มีคาอิล ตูคาเชฟสกี

มีคาอิล นีโคลาเยวิช ตูคาเชฟสกี (Михаи́л Никола́евич Тухаче́вский, Mikhail Nikolayevich Tukhachevsky; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1893 – 12 มิถุนายน ค.ศ. 1937) เป็นผู้นำทหารและนักทฤษฎีชาวโซเวียตระหว่าง..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและมีคาอิล ตูคาเชฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและยุทธการที่สตาลินกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)

ทธการเคียฟครั้งที่หนึ่ง เป็นยุทธการที่เป็นการปิดล้อมทหารโซเวียตขนาดใหญ่โดยเยอรมันในแถบรอบเมืองเคียฟในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งการล้อมนี้ถือว่ายาวที่สุดในประวัติศาสตร์การรบ (จากจำนวนทหาร) ปฏิบัติการเริ่มต้นตั้งแต่ 7 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941) · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ นูเรเยฟ

รูดอล์ฟ คาเมโทวิช นูเรเยฟ (Rudolf Xämät ulı Nuriev, Рудо́льф Хаме́тович Нуре́ев, Rudolf Khametovich Nureyev) นักเต้นบัลเลต์ชาวรัสเซียเชื้อสายตาตาร์ เป็นนักเต้นชายที่มีชื่อเสียงของคณะคิรอฟบัลเล่ต์ของสหภาพโซเวียต เป็นผู้ริเริ่มการนำเสนอบทบาทเด่นให้กับนักเต้นบัลเลต์ชาย จากแบบแผนเดิมที่เป็นเพียงนักเต้นสนับสนุนนักเต้นหญิง นูเรเยฟมีชื่อเสียงจากการหลบหนีจากสหภาพโซเวียตเข้าสู่โลกตะวันตกผ่านทางท่าอากาศยานนานาชาติปารีส ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและรูดอล์ฟ นูเรเยฟ · ดูเพิ่มเติม »

ลัฟเรนตีย์ เบรียา

ลัฟเรนตีย์ ปัฟโลวิช เบรียา (Лавре́нтий Па́влович Бе́рия; ლავრენტი პავლეს ძე ბერია; 29 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองโซเวียตเชื้อชาติจอร์เจีย จอมพลสหภาพโซเวียตและหัวหน้าคณะกรรมาธิการประชาชนด้านกิจการภายในประเทศ (NKVD) ภายใต้โจเซฟ สตาลินในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและลัฟเรนตีย์ เบรียา · ดูเพิ่มเติม »

วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ

วยาเชสลาฟ มีฮาอิลโลวิช โมโลตอฟ (Вячесла́в Миха́йлович Мо́лотов; 9 มีนาคม 1890 – 8 พฤษจิกายน 1986) เป็นนักการเมืองและนักการทูตโซเวียตในสมัยของโจเซฟ สตาลิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในช่วงสงครามโลกครั่งที่สองและในช่วงปี 1957 ก็ถูกไล่ออกจากประธานคณะกรรมาธิการกลางด้วยนีกีตา ครุชชอฟ และไม่เล่นการเมืองอีกเลยจนเขาเสียชีวิตลง.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและวยาเชสลาฟ โมโลตอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วอลโกกราด

มืองวอลโกกราด วอลโกกราด (Волгоград; Volgograd) เป็นเมืองอุตสาหกรรมสำคัญและเมืองหลวงของมณฑลวอลโกกราด ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศรัสเซีย ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำวอลกา เป็นเมืองท่าที่สำคัญบนฝั่งแม่น้ำ ผลิตเคมีภัณฑ์ วัสดุก่อสร้าง ผลิตภัณฑ์อาหาร และเป็นสถานีไฟฟ้าพลังน้ำที่สำคัญ เมืองมีประชากร 1,021,244 คน (ค.ศ. 2010) เดิมเป็นป้อมของชาวรัสเซียที่สร้างขึ้นใน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและวอลโกกราด · ดูเพิ่มเติม »

วันนักบินอวกาศ

วันนักบินอวกาศ (Cosmonautics Day, День Космона́втики) เป็นวันหยุดในรัสเซียและบางประเทศอดีตสหภาพโซเวียตอื่น ตรงกับวันที่ 12 เมษายนของทุกปี เพื่อเฉลิมฉลองการบินอวกาศครั้งแรกของมนุษย์ในวันที่ 12 เมษายน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและวันนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

วาซีลี บลูย์เคียร์

วาซีลี คอนสตันตีโนวิช บลูย์เคียร์ (Васи́лий Константи́нович Блю́хер​; Vasily Konstantinovich Blyukher) เป็นหนึ่งในห้าจอมพลแรก ๆ ของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและวาซีลี บลูย์เคียร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา

ประธานาธิบดีเคนเนดี พบปะกับเอกอัครราชทูตโซเวียต อังเดร โกรมิโก ที่ทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ก่อนเกิดการเผชิญหน้า แผนที่แสดงรัศมีของการใช้ขีปนาวุธที่คิวบา วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา (Cuban Missle Crisis) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาอีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่สงครามเย็นอยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็นสงครามปรมาณู ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่าวิกฤตการณ์แคริบเบียน ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่าวิกฤตการณ์เดือนตุลาคม เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจากการปิดล้อมเบอร์ลิน การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1962 เมื่อภาพถ่ายจากเครื่องบินสังเกตการณ์ ยู-2 ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐานปล่อยขีปนาวุธ กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของฟีเดล กัสโตร เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของตุรกีและสหภาพโซเวียต ทางสหรัฐอเมริกาได้กำหนดมาตรการกักกัน ส่งเรือรบเข้าปิดล้อมคิวบา ห้ามเรือบรรทุกสินค้าทุกลำผ่านเข้ามาในน่านน้ำทะเลแคริบเบียน เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน

"ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน" (On the Cult of Personality and Its Consequences; О культе личности и его последствиях) เป็นรายงานโดย นิกิตา ครุสชอฟ ที่จัดทำต่อการประชุมครั้งที่ 20 ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2499 สุนทรพจน์ของครุสชอฟวิจารณ์การปกครองของโจเซฟ สตาลิน เลขาธิการและนายกรัฐมนตรีผู้ล่วงลับอย่างแหลมคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกวาดล้างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 ครุสชอฟกล่าวหาสตาลินว่าสนับสนุนการเติบโตของลัทธิบูชาบุคคลของผู้นำแม้ภายนอกแสดงว่ายังสนับสนุนอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ สุนทรพจน์นี้เป็นหลักสำคัญใน "การผ่อนคลายความตึงเครียดครุสชอฟ" (Khrushchev Thaw) โดยผิวเผิน สุนทรพจน์ดังกล่าวเป็นความพยายามดึงพรรคคอมมิวนิสต์โซเวียตให้เข้าใกล้ลัทธิเลนินมากขึ้น ทว่า แรงจูงใจลับของครุสชอฟ คือ สร้างความชอบธรรมและช่วยรวบการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์และรัฐบาลของเขา อำนาจซึ่งได้มาในการแย่งชิงทางการเมืองกับผู้ภักดีต่อสตาลิน วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และเกออร์กี มาเลนคอฟ รายงานของครุสชอฟถูกเรียกว่า "สุนทรพจน์ลับ" เพราะมีการกล่าวในสมัยประชุมปิดของผู้แทนพรรคอมมิวนิสต์ที่ไม่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ โดยห้ามแขกและสื่อมวลชน ข้อความของรายงานครุสชอฟมีการอภิปรายกว้างขวางในวงพรรคแล้วในต้นเดือนมีนาคม ซึ่งมักมีผู้ที่มิใช่สมาชิกพรรคร่วมด้วย ทว่า ข้อความภาษารัสเซียอย่างเป็นทางการนั้นมีการจัดพิมพ์อย่างเปิดเผยก็ในปี 2532 ระหว่างการรณรงค์กลัสนอสต์ของมีฮาอิล กอร์บาชอฟ ผู้นำโซเวียต ในเดือนเมษายน 2550 หนังสือพิมพ์ เดอะการ์เดียน ของบริเตน รวมสุนทรพจน์นี้อยู่ในชุด "สุนทรพจน์ยิ่งใหญ่แห่งคริสต์ศตวรษที่ 20".

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สายตรงมอสโก–วอชิงตัน

ทรศัพท์สีแดงในสมัยของประธานาธิบดี จิมมี คาร์เตอร์ สายตรงมอสโก–วอชิงตัน คือระบบที่ใช้สำหรับติดต่อโดยตรงระหว่างผู้นำของสหรัฐอเมริกากับรัสเซียโดยอาจรู้จักกันในอีกชื่อคือ โทรศัพท์สีแดง สายตรงนี้เชื่อมต่อระหว่างทำเนียบขาวผ่านทางศูนย์บัญชาการทหารแห่งชาติ (National Military Command Center) กับเครมลิน สายตรงเกิดขึ้นครั้งแรกในช่วงของสงครามเย็น ปัจจุบันไม่มีการใช้โทรศัพท์สีแดงดังกล่าวแล้ว แต่ช่องทางสายตรงนี้ยังคงมีอยู่เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์กลางการลดความเสี่ยงจากนิวเคลียร์ (Nuclear Risk Reduction Center) ที่ตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1988 โดยประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและสายตรงมอสโก–วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย

รณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย (People's Socialist Republic of Albania (PSRA); Republika Popullore Socialiste e Shqipërisë) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ ค.ศ. 1944 ถึง ค.ศ. 1992.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2

รณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 (The Second East Turkestan Republic หรือ East Turkestan Republic; ETR) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์อายุสั้นของชาวเติร์กที่สหภาพโซเวียต ให้การสนับสนุน ระหว่าง 12 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและสงครามเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

สตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)

ตาลินกราด (Сталинград) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียต 2 ภาค มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่สตาลินกราด เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต-เยอรมันตะวันออก-เชโกสโลวาเกีย-สหรัฐ กำกับโดย ยูรี โอเซรอฟ ภาพยนตร์ออกฉายในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและสตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533) · ดูเพิ่มเติม »

อะเลคเซย์ โคซีกิน

อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช โคซีกิน (Алексе́й Никола́евич Косы́гин; Alexei Nikolayevich Kosygin; 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 - 18 ธันวาคม พ.ศ. 2523) เป็นประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ดำรงตำแหน่งคู่กับเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต เลโอนิด เบรจเนฟ จึงเรียกยุคนี้ว่าสมัยผู้นำร่วมเบรจเนฟ-โคชิกิน.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและอะเลคเซย์ โคซีกิน · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรย์ เกรชโค

อันเดรย์ อันโตโนวิช เกรชโค (17 ตุลาคม [O.S. 4 ตุลาคม] 1903 – 26 เมษายน 1976) เป็นผู้บัญญาการโซเวียต, จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโซเวียต.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและอันเดรย์ เกรชโค · ดูเพิ่มเติม »

อุบัติการณ์ยู-2 พ.ศ. 2503

อุบัติการณ์ยู-2 เกิดขึ้นระหว่างสงครามเย็นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2503 ในสมัยประธานาธิบดีดไวต์ ไอเซนฮาวร์แห่งสหรัฐอเมริกา และนิกิตา ครุสชอฟแห่งโซเวียต เมื่อเครื่องบินสายลับยู-2 ของสหรัฐถูกยิงตกเหนือน่านฟ้าของสหภาพโซเวียต ทีแรก รัฐบาลสหรัฐปฏิเสธจุดประสงค์และภารกิจของเครื่องบินดังกล่าว แต่หลังจากนั้นถูกบังคับให้ยอมรับบทบาทของมันเป็นอากาศยานเฝ้าตรวจลับเมื่อรัฐบาลโซเวียตนำเสนอซากสมบูรณ์ของเครื่อง และนักบินผู้รอดชีวิต ฟรานซิส แกรี พาวเวอส์ เช่นเดียวกับภาพถ่ายของฐานทัพในรัสเซียที่พาวเวอส์ถ่าย อุบัติการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นราวสองสัปดาห์ก่อนการประชุมสุดยอดตะวันออก-ตะวันตกที่มีกำหนดในอีกสองสัปดาห์ในกรุงปารีส และอุบัติการณ์นี้นำมาซึ่งความอับอายใหญ่หลวงของสหรัฐอเมริกา และทำให้ความสัมพันธ์กับสหภาพโซเวียตเสื่อมลง พาวเวอร์สถูกพิพากษาลงโทษฐานจารกรรมและถูกตัดสินจำคุกสามปีและใช้งานหนักอีกเจ็ดปี แต่เขาได้รับปล่อยตัวเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2505 ระหว่างการแลกเปลี่ยนนักโทษกับนายทหารรัสเซีย รูดอล์ฟ อเบล.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและอุบัติการณ์ยู-2 พ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร)

อเล็กซานเดอร์ อิลลิช เยโกรอฟ หรือ อีโกรอฟ (Алекса́ндр Ильи́ч Его́ров, Alexander Ilyich Yegorov, 25 ตุลาคม พ.ศ. 2426 พ.ศ. 2436 -23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นหนึ่งในแม่ทัพในสงครามกลางเมืองรัสเซียเป็นผู้กองทัพแดงแนวรบทางตอนใต้และด้านหน้าในยูเครน และมีส่วนสำคัญในการเอาชนะกองทัพฝ่ายขาวในยูเครน ในปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและอเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร) · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำสหภาพโซเวียต

ใต้รัฐธรรมนูญปี 1977 ของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (สหภาพโซเวียต) ประธานสภารัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล และประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดเป็นประมุขแห่งรัฐ ซึ่งประธานสภารัฐมนตรีนั้นเทียบเท่ากับนายกรัฐมนตรีในโลกที่หนึ่ง ในขณะที่ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดเทียบเท่าประธานาธิบดี ในประวัติศาสตร์เจ็ดสิบปีของสหภาพโซเวียตไม่มีผู้นำอย่างเป็นทางการในรัฐบาลสหภาพโซเวียต แต่ผู้นำโซเวียตมักจะนำประเทศผ่านตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรีหรือเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (CPSU) ในอุดมการณ์ของวลาดิมีร์ เลนินประมุขแห่งรัฐโซเวียตเป็นแกนหลักของพรรคคอมมิวนิสต์ ในยุคสตาลินในปี1920 ได้มีการจัดตั้งตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งมวลสหภาพซึ่งมีอำนาจเหมือนกับตำแหน่งผู้นำของสหภาพโซเวียต เพราะตำแหน่งนั้นได้ควบคุมทั้ง CPSU และรัฐบาลของสหภาพโซเวียต ตำแหน่งเลขาธิการถูกยกเลิกภายในปี1952 และต่อมาได้จัดตั้งขึ้นใหม่โดยนิกิตา ครุสชอฟ ภายใต้ชื่อเลขานุการลำดับที่หนึ่งคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต; ในปี 1966 เลโอนิด เบรจเนฟ ได้ใช้ชื่อตำแหน่งใหม่ว่า เลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต เลขาธิการเหมือนกับตำแหน่งผู้นำของสหภาพโซเวียตจนกระทั่ง1990ตำแหน่งเลขาธิการขาดแนวทางที่ชัดเจนของความสำเร็จดังนั้นหลังจากการตายหรือถูกกำจัดของผู้นำโซเวียตคนก่อนมักจะทายาทมักจะต้องการการสนับสนุนของโปลิตบูโร คณะกรรมการกลาง อีกทั้งต้องใช้เวลาและการมีอำนาจในพรรค ในมีนาคม 1990 ก็ถูกแทนที่ด้วยตำแหน่งประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต หลังการแต่งตั้งประธานาธิบดี ผู้แทนของสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนได้ลงมติให้ลบมาตรา 6 จากรัฐธรรมนูญของสหภาพโซเวียตที่ระบุว่าสหภาพโซเวียตเป็นรัฐหนึ่งของบุคคลที่ควบคุมโดยพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งในการเปิดให้ประชาชนมีบทบาทนำในสังคม มากขึ้นทำอำนาจพรรคคอมมิวนิสต์อ่อนแอลงและประชาชนเริ่มมีอำนาจมากขึ้น เมื่อประธานาธิบดีหรือรองประธานาธิบดีตาย,ลาออกหรือถอดถอนออกจากของสหภาพโซเวียตจะถือว่ายังมีอำนาจอยู่จนถึงการแต่งตั้งหรือตั้งเลือก แต่ก็ไม่ได้มีทดสอบเพราะสหภาพโซเวียตได้ล่มสลายก่อน หลังจากล้มเหลวในการรัฐประหารสิงหาคม รองประธานาธิบดีก็ถูกแทนที่ด้วยการเลือกตั้งจากสมาชิกสภาของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและผู้นำสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ดมีตรี อุสตีนอฟ

มีตรี เฟโอโดโรวิช อุสตีนอฟ (Дми́трий Фёдорович Усти́нов; Dmitriy Feodorovich Ustinov; 30 ตุลาคม พ.ศ. 2451 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2527) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสหภาพโซเวียต..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและดมีตรี อุสตีนอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ

ลีเมนต์ เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Климе́нт Ефре́мович Вороши́лов​; Kliment Yefremovich Voroshilov) หรือเรียกขานกันในรัสเชียว่าคลิม เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Клим Вороши́лов; Klim Voroshilov) (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2424 – 2 ธันวาคม พ.ศ. 2512) เป็นจอมพลและนักการเมืองในยุคสตาลิน เขาเป็นหนึ่งในห้าจอมพลดั่งเดิมของสหภาพโซเวียต (ทหารยศสูงสุดของสหภาพโซเวียต) พร้อมกับเสนาธิการกองทัพแดงอเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟกับผู้บัญชาการอาวุโสสามคน วาซีลี บลูย์เคียร์ เซมิออน บูดิออนนืยและ มีคาอิล ตูคาเชฟสกี.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต

เหมา เจ๋อ ตุงและนิกิตา ครุสชอฟในจีน 1958 ความแตกแยกระหว่างจีน-โซเวียต (Sino-Soviet split, Советско-китайский раскол) (1960-1989) เป็นความเสื่อมของความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน (P.R.C.) และสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (U.S.S.R.) ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากความแตกต่างจากการตีความแตกต่างกันของลัทธิมากซ์-เลนินซึ่งเป็นอิทธิพลในการปกครองของจีนและโซเวียตChambers Dictionary of World History, B.P. Lenman, T. Anderson editors, Chambers: Edinburgh:2000.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ความแตกแยกระหว่างตีโต้-สตาลิน

วามแตกแยกระหว่างตีโต้-สตาลิน (Tito–Stalin Split, Тито-Сталин Сплит, เซอร์เบีย-โครเอเชีย:Raskol Tita i Staljina) หรือ ความแตกแยกระหว่าง ยูโกสลาเวีย-โซเวียต เป็นความขัดแย้งระหว่างผู้นำของ ยูโกสลาเวีย และ สหภาพโซเวียต ซึ่งนำไปสู่การขับไล่ของยูโกสลาเวียออกจากองค์การโคมินฟอร์ม (Cominform) ในปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและความแตกแยกระหว่างตีโต้-สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

คิม อิล-ซ็อง

อนุสาวรีย์คิม อิล-ซ็อง คิม อิล-ซ็อง (15 เมษายน พ.ศ. 2455 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นผู้นำคนแรกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ก่อตั้งประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและคิม อิล-ซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี (Sibghatullah Mojaddedi; صبغت الله مجددی; เกิดประมาณ ค.ศ. 1926) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์แอลเบเนีย

ตราแผ่นดินแอลเบเนีย แอลเบเนียเป็นประเทศในยุโรปที่มีวัฒนธรรมแบบมุสลิม ประวัติศาสตร์ของประเทศเริ่มจากเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันและจักรวรรดิไบแซนไทน์จากนั้นจึงถูกยึดครองโดยจักรวรรดิออตโตมัน เมื่อจักรวรรดิออตโตมันเสื่อมลงจึงแยกเป็นประเทศเอกราช แต่ก็ประสบความวุ่นวายและไร้เสถียรภาพทางการเมืองจนกลายเป็นประเทศคอมมิวนิสต์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ปัจจุบันได้มีการปฏิรูปการเมืองเพื่อเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยและระบบเศรษฐกิจเสรี.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและประวัติศาสตร์แอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียต

ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียต (Глава Правительства СССР) เป็นหัวหน้ารัฐบาลของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตตำแหน่งนี้มีสองที่ได้รับการแต่งตั่ง (วลาดิมีร์ เลนิน,โจเซฟ สตาลิน) สามคนที่ได้รับเลือกตั่ง (อะเลคเซย์ โคซีกิน, นีโคไล ตีโฮนอฟและ อีวาน ซีลาเยฟ) สถาคอมมิสซาร์ประชาชนก่อตั่งเป็นครั่งแรกหลังการปฏิวัติเดีอนตุลาคมในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียตามทีมาตราที่ 38 ของรัฐธรรมมูญสหภาพโซเวียต 1924 ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็นประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียตในปี 1946 ในปี 1964 นีกีตา ครุชชอฟ ถูกยึดอำนาจโดยคณะกรรมาธิการกลาง ในสมัยที่โคซีกินดำรงตำแหน่ง ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต โคซีกินได้เริ่มการปฏิรูปเศรษฐกิจโซเวียต 1965และรัฐธรรมมูญสหภาพโซเวียต 1977 ประธานสภารัฐมนตรีจึงเป็นหัวหน้ารัฐบาลไปโดยปริยาย จนหลังจากที่ นีโคไล รึจคอฟ ออกจากตำแหน่งและแทนที่โดย วาเลนติน ปัฟลอฟ ตำแหน่งนี้จึงถูกเปลี่ยนชี่ออิกครังเป็น นายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียตจนเมื่อรัฐประหารล้มเหลวตำแหน่งจึงถูกเปลี่ยนเป็น Chairman of the Interstate Economic Committee – Prime Minister of the Economic Commonwealth ในช่วง 126 วันสุดท้ายของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและนายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล บุลกานิน

นีโคไล อะเลคซันโดรวิช บุลกานิน (Никола́й Алекса́ндрович Булга́нин; Nikolai Alexandrovich Bulganin; 11 มิถุนายน 2438 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นนักการเมืองโซเวียต เป็น ผู้บัญชาการประชากลาโหม แห่งสหภาพโซเวียตภายใต้รัฐบาลโจเซฟ สตาลิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2496–พ.ศ. 2498) และประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต (1955-1958) ภายใต้รัฐบาล นีกีตา ครุชชอฟ.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและนีโคไล บุลกานิน · ดูเพิ่มเติม »

แวนการ์ด 1

แวนการ์ด 1 (ID: 1958-Beta 2) เป็นดาวเทียมในวงโคจรของโลกดวงที่สี่ที่ปล่อย (หลังสปุตนิก 1, สปุตนิก 2 และเอ็กซ์พลอเรอร์ 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์, accessed September 24, 2007 แม้ว่าเสียการสื่อสารกับดาวเทียมนี้ในปี 2507 แต่ยังเป็นดาวเทียมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังอยู่ในวงโคจร ดาวเทียมนี้ได้รับออกแบบเพื่อทดสอบสมรรถนะการปล่อยของยานปล่อยสามขั้นโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแวนการ์ด และผลของสิ่งแวดล้อมต่อดาวเทียมและระบบดาวเทียมในวงโคจรโลก นอกจากนี้ยังใช้เพื่อเก็บการวัด ภูมิมาตรศาสตร์ผ่านการวิเคราะห์วงโคจร นิกิตา ครุสชอฟ นายกรัฐมนตรีโซเวียตจณะนั้น อธิบายแวนการ์ด 1 ว่า "ดาวเทียมเกรปฟรูต".

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและแวนการ์ด 1 · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โครงการอวกาศโซเวียต

รวดอาร์-7 โครงการอวกาศโซเวียต ประกอบด้วยการพัฒนา จรวด และ การสำรวจอวกาศเป็นโครงการที่จัดทำโดยอดีต สหภาพโซเวียตจากช่วงทศวรรษที่ 1930 จนถึงการ สลายตัว ในปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและโครงการอวกาศโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี มาเลนคอฟ

กออร์กี มักซีมีลีอะโนวิช มาเลนคอฟ (Гео́ргий Максимилиа́нович Маленко́в; Georgy Maximilianovich Malenkov; 8 มกราคม พ.ศ. 2445 - 14 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นนักการเมืองโซเวียตและผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ ครอบครัวของเขาความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับวลาดิมีร์ เลนินทำให้ช่วยส่งเสริมเขาในการเข้าพรรคและในปี..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและเกออร์กี มาเลนคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและเกออร์กี จูคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เราจะฝังพวกคุณ

นิกิตา ครุสชอฟ, พ.ศ. 2504 "เราจะฝังพวกคุณ!" ("Мы вас похороним!") เป็นวลีที่ถูกใช้โดยผู้นำโซเวียตนิกิตา ครุสชอฟพูดกับทูตจากตะวันตกในแผนกต้อนรับของสถานทูตโปแลนด์ในกรุงมอสโกเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและเราจะฝังพวกคุณ · ดูเพิ่มเติม »

เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต

ลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (Генеральный секретарь ЦК КПСС) เป็นตำแหน่งที่มอบให้แก่ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต ด้วยข้อยกเว้นบางประการ ตำแหน่งนี้เทียบได้กับผู้นำสหภาพโซเวียต ที่ผ่านมาตำแหน่งนี้มีชื่ออื่นอีกสี่ชื่อ ได้แก่ เลขาธิการผู้เชี่ยวชาญ (ค.ศ. 1917-1918), ประธานสำนักเลขานุการ (ค.ศ. 1918-1919), เลขานุการผู้รับผิดชอบ (ค.ศ. 1919-1922) และเลขานุการลำดับที่หนึ่ง (ค.ศ. 1953-1966) ต่อมาภายหลังการเสียชีวิตของเลนิน โจเซฟ สตาลินยกระดับตำแหน่งนี้ให้บังคับบัญชาพรรคคอมมิวนิสต์ทั้งหมด และสหภาพโซเวียตทั้งหมดโดยนิยามด้วย ตำแหน่งนี้ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

เสือกระดาษ

ือกระดาษ เป็นคำแปลจากวลีภาษาจีน 紙老虎 (จี่เหลาหู่) คำนี้หมายถึง สิ่งที่ดูน่าเกรงขามแต่ไร้อำนาจและไม่อาจทนการต่อต้านได้ คำนี้เป็นที่รู้จักกันดีในโลกตะวันตกว่าเป็นคำขวัญที่รัฐคอมมิวนิสต์จีนของเหมา เจ๋อตุงใช้กับศัตรู โดยเฉพาะรัฐบาลสหรัฐ ในการให้สัมภาษณ์แก่แอนนา หลุยส์ สตรอง นักหนังสือพิมพ์ชาวอเมริกันในปี 2489 เหมา เจ๋อตุงใช้วลี "เสือกระดาษ" อธิบายจักรวรรดินิยมอเมริกา เขากล่าวว่า "โดยลักษณะภายนอกแล้วทรงพลัง แต่ที่จริงแล้วไม่มีอะไรต้องกลัว มันเป็นเสือกระดาษ ภายนอกเป็นเสือ แต่ทำจากกระดาษ ไม่สามารถทนลมฝน ผมเชื่อว่ามันหาใช่อื่นใดนอกจากเสือกระดาษ" ในมุมมองของเหมา พวกปฏิกิริยาทั้งหมดเป็นเสือกระดาษ ดูผิวเผินแล้วทรงพลังแต่มีแนวโน้มเหยียดเกินซึ่งนำไปสู่การล่มสลายฉับพลัน เมื่อเหมาวิจารณ์การจำยอมสละของโซเวียตต่อสหรัฐระหว่างการแตกจีน-โซเวียต มีรายงานว่านายกรัฐมนตรีโซเวียต นิกิตา ครุสชอฟ กล่าวว่า "เสือกระดาษมีฟันนิวเคลียร์".

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและเสือกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

11 กันยายน

วันที่ 11 กันยายน เป็นวันที่ 254 ของปี (วันที่ 255 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 111 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและ11 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นีกีตา ครุชชอฟและ27 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nikita Khrushchevนิกิตา ครุสชอฟนิกิต้า ครุสชอฟ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »