สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: บูคาเรสต์พ.ศ. 2532พรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนียพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุการตรวจพิจารณาการปฏิวัติโรมาเนียกีออร์เก กีออร์กีอู-เดจกติกาสัญญาวอร์ซอสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรอสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟทฤษฎีความผูกพันแฮร์ทา มึลเลอร์
บูคาเรสต์
ูคาเรสต์ (Bucharest; București บูคูเรชติ) เป็นเมืองหลวง เมืองอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศโรมาเนีย เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของโรมาเนีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศที่ และตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแดมโบวิตา เมืองบูคาเรสต์มีระบุไว้ในเอกสารมาตั้งแต่ปี 1459 จากนั้นก็หายไปอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง จนกลางเป็นเมืองหลวงของโรมาเนียในปี 1862 เป็นเมืองมีจุดแข็งในเรื่องเป็นศูนย์กลางของสื่อมวลชนโรมาเนีย วัฒนธรรมและศิลปะ มีสถาปัตยกรรมหลายรูปแบบ ที่รวม สถาปัตยกรรมประวัติศาสตร์ (นีโอคลาสสิก), สถาปัตยกรรมหลังสงคราม (เบาเฮาส์และอาร์ตเดโค), ยุคคอมมิวนิสต์และยุคใหม่ ในช่วงระหว่าง 2 สงครามโลก ความงามด้านสถาปัตยกรรมของเมืองทำให้เมืองมีชื่อเล่นว่า "ปารีสน้อยแห่งตะวันออก" (Micul Paris) และถึงแม้อาคารหลายหลังและเขตในศูนย์กลางประวัติศาสตร์จะถูกทำลายในช่วงสงครามหรือแผ่นดินไหว รวมถึงโครงการปรับปรุงโครงสร้างเมืองของนิโคไล เชาเชสกู แต่ก็มีอาคารสวยงามหลงเหลืออยู่ ในปีหลัง ๆ เมืองมีความรุ่งเรืองด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม จากข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม..
ดู นิโคไล เชาเชสกูและบูคาเรสต์
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู นิโคไล เชาเชสกูและพ.ศ. 2532
พรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย
พรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย (โรมาเนีย: Partidul Comunist Român, PCR)หรือชือเดิมคือพรรคกรรมกรโรมาเนียเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ของสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนียก่อตั่งในปี 1921 แต่มามีอำนาจในปี 1947 พรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนียทำให้โรมาเนียเป็นคอมมิวนิสต์สายเสรีในยุค 1960 จนถึงปี 1980 โรมาเนียเรื่มการปกครองโดยความเข้มงวดและ นิโคไล เชาเชสกู ได้นำลัทธิบูชาบุคคลมาใช้จนพรรคถูกยุบในปี 1989 ในการปฏิวัติโรมาเนีย หมวดหมู่:พรรคคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:พรรคการเมืองโรมาเนีย หมวดหมู่:พรรคในระบบพรรคการเมืองเดียว.
ดู นิโคไล เชาเชสกูและพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555) พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู นิโคไล เชาเชสกูและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
การตรวจพิจารณา
การตรวจพิจารณา (censorship) คือ การระงับหรือทำลายซึ่งถ้อยคำหรือวัตถุแห่งการติดต่อสื่อสารอันได้รับการพิจารณาโดยผู้ตรวจแล้วว่า ผิดศีลธรรม ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่พึงประสงค์ เป็นอันตรายต่อความมั่นคง เป็นหัวข้ออ่อนไหว หรือสร้างความลำบากให้แก่รัฐบาลหรือองค์การสื่อสาร.
ดู นิโคไล เชาเชสกูและการตรวจพิจารณา
การปฏิวัติโรมาเนีย
การปฏิวัติโรมาเนีย (โรมาเนีย: Revoluția Română) เป็นเหตุการณ์การก่อจลาจลและการประท้วงในโรมาเนีย เดือนธันวาคม..
ดู นิโคไล เชาเชสกูและการปฏิวัติโรมาเนีย
กีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ
กีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ (Gheorghe Gheorghiu-Dej; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1901 - 19 มีนาคม ค.ศ. 1965) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย ระหว่าง..
ดู นิโคไล เชาเชสกูและกีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ
กติกาสัญญาวอร์ซอ
กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..
ดู นิโคไล เชาเชสกูและกติกาสัญญาวอร์ซอ
สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย
มเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (โรมาเนีย: Mihai I al României, Michael I al României) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโรมาเนียระหว่าง..
ดู นิโคไล เชาเชสกูและสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย
สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย
มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู นิโคไล เชาเชสกูและสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู นิโคไล เชาเชสกูและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
อสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟ
วันที่ 10 พฤศจิกายน..
ดู นิโคไล เชาเชสกูและอสัญกรรมและรัฐพิธีศพของเลโอนิด เบรจเนฟ
ทฤษฎีความผูกพัน
ำหรับทั้งทารกและเด็กหัดเดิน "เป้าหมาย" ของระบบความผูกพันโดยพฤติกรรมก็เพื่ออยู่ใกล้ ๆ กับคนที่ผูกพัน ปกติเป็นพ่อแม่ ทฤษฎีความผูกพัน (Attachment theory) หรือ ทฤษฎีความผูกพันทางอารมณ์ เป็นแบบจำลองทางจิตวิทยาเพื่อกำหนดพลศาสตร์ของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ทั้งในระยะยาวระยะสั้น แต่ว่า "ทฤษฎีความผูกพันไม่ได้ตั้งเป็นทฤษฎีทั่วไปของความสัมพันธ์ (แต่) ใช้กล่าวถึงด้าน ๆ หนึ่งเพียงเท่านั้น" คือ การตอบสนองของมนุษย์ภายในสัมพันธภาพเมื่อเจ็บ ถูกพรากจากคนรัก หรือว่ารู้สึกอันตราย โดยพื้นฐานแล้ว ทารกอาจผูกพันกับคนเลี้ยงคนไหนก็ได้ แต่ว่า คุณลักษณะของความสัมพันธ์กับ/ของแต่ละคนจะแตกต่างกัน ในทารก ความผูกพันโดยเป็นส่วนของระบบแรงจูงใจและพฤติกรรมจะสั่งการให้เด็กเข้าไปอยู่ใกล้ชิดกับคนดูแลที่คุ้นเคยเมื่อตกใจ โดยคาดหวังว่าจะได้การคุ้มครองและการปลอบใจ บิดาของทฤษฎีผู้เป็นนักจิตวิทยาทรงอิทธิพลชาวอังกฤษจอห์น โบลบี้ เชื่อว่า ความโน้มเอียงของทารกวานร (รวมทั้งมนุษย์) ที่จะผูกพันกับคนเลี้ยงที่คุ้นเคย เป็นผลของความกดดันทางวิวัฒนาการ เพราะว่าพฤติกรรมผูกพันอำนวยให้รอดชีวิตเมื่อเผชิญกับอันตรายเช่นการถูกล่าหรือต้องเผชิญกับสิ่งแวดล้อม หลักสำคัญที่สุดของทฤษฎีก็คือว่า ทารกจำเป็นต้องสร้างความสัมพันธ์กับคนเลี้ยงหลักอย่างน้อยหนึ่งคนเพื่อให้เกิดพัฒนาการทางสังคมและทางอารมณ์ได้อย่างสำเร็จ โดยเฉพาะการเรียนรู้เพื่อควบคุมอารมณ์ตนเองอย่างมีประสิทธิผล พ่อหรือคนอื่น ๆ มีโอกาสกลายเป็นผู้ผูกพันหลักถ้าให้การดูแลเด็กและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่สมควรโดยมากที่สุด เมื่อมีคนดูแลที่ไวความรู้สึกและตอบสนองต่อเด็ก ทารกจะอาศัยคนดูแลเป็น "เสาหลัก" เมื่อสำรวจสิ่งแวดล้อม ควรจะเข้าใจว่า "แม้คนดูแลที่ไวความรู้สึกจะรู้ใจถูกก็ประมาณแค่ 50% เพราะการสื่อสารอาจจะไม่ลงรอยกัน ไม่สมกัน บางครั้งพ่อแม่ก็อาจรู้สึกเหนื่อยหรือสนใจเรื่องอื่นอยู่ มีโทรศัพท์ที่ต้องรับหรืออาหารเช้าที่จะต้องทำ กล่าวอีกอย่างก็คือ ปฏิสัมพันธ์ที่เข้ากันอย่างดีอาจเสียไปได้อย่างบ่อยครั้ง แต่ลักษณะของคนดูแลที่ไวความรู้สึกคนแท้ก็คือ ความเสียหายนั้นจะได้การบริหารหรือซ่อมแซม" ความผูกพันระหว่างทารกกับผู้ดูแลเกิดขึ้นแม้เมื่อคนดูแลไม่ไวความรู้สึกและไม่ตอบสนองต่อเด็ก ซึ่งทำให้มีผลตามมาหลายอย่าง คือ ทารกจะไม่สามารถออกจากความสัมพันธ์กับคนดูแลที่ไว้ใจไม่ได้หรือไม่ไวความรู้สึก ทารกจะต้องบริหารเองเท่าที่ทำได้ภายในความสัมพันธ์เช่นนี้ โดยอาศัยเกณฑ์วิธีสถานการณ์แปลก (Strange situation) งานวิจัยของนักจิตวิทยาพัฒนาการชาวอังกฤษ ดร.
ดู นิโคไล เชาเชสกูและทฤษฎีความผูกพัน
แฮร์ทา มึลเลอร์
แฮร์ทา มึลเลอร์ (Herta Müller) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1953 - ปัจจุบัน) แฮร์ทา มึลเลอร์เป็นนักเขียน กวี และนักเขียนบทความคนสำคัญชาวเยอรมันที่เกิดในประเทศโรมาเนีย แฮร์ทา มึลเลอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ.