สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: ชาลส์ โบลเดนพ.ศ. 2550พ.ศ. 2558พลูโทเนียมระบบสุริยะสติกซ์ (ดาวบริวาร)หน่วยดาราศาสตร์อันดับของขนาด (ความเร็ว)ดวงจันทร์ของกาลิเลโอดาวบริวารของดาวพลูโตดาวพลูโตคริสต์ศตวรรษที่ 21คริสต์ทศวรรษ 2010นาซา ทีวีนิกซ์ (ดาวบริวาร)แอมัลเธีย (ดาวบริวาร)แถบดาวเคราะห์น้อยแถบไคเปอร์ไฮดรา (ดาวบริวาร)เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ
ชาลส์ โบลเดน
ลส์ แฟรงก์ โบลเดน จูเนียร์ ชาลส์ แฟรงก์ โบลเดน จูเนียร์ (Charles Frank Bolden, Jr.; 19 สิงหาคม ค.ศ. 1946 —) เป็นอดีตผู้บริหารของนาซา ซึ่งเป็นพลตรีเกษียณจากนาวิกโยธินสหรัฐ และเป็นอดีตนักบินอวกาศของนาซา ในปี..
ดู นิวฮอไรซันส์และชาลส์ โบลเดน
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2558
ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.
พลูโทเนียม
ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ.
สติกซ์ (ดาวบริวาร)
ติกซ์ (Styx) เดิมชื่อ S/2012 (134340) 1 หรือ P5 เป็นดาวบริวารขนาดเล็กของดาวพลูโต ประกาศการค้นพบเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 นับเป็นดวงจันทร์ดวงที่ 5 ของดาวพลูโตเท่าที่มีการค้นพบจนถึงปัจจุบัน ถัดจากการค้นพบดวงจันทร์ดวงที่สี่ของดาวพลูโต (ชื่อว่า เคอร์เบอรอส) ประมาณหนึ่งปี โดยดวงจันทร์ดวงนี้ถูกตรวจพบจากชุดภาพถ่ายจำนวน 9 ชุดจากกล้องถ่ายภาพสนามกว้าง 3 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ภาพทั้ง 9 ชุดดังกล่าว ถ่ายในเดือนมิถุนายน วันที่ 26 27 29 และเดือนกรกฎาคม วันที่ 7 และ 9..
ดู นิวฮอไรซันส์และสติกซ์ (ดาวบริวาร)
หน่วยดาราศาสตร์
หน่วยดาราศาสตร์ (Astronomical Unit; ย่อในภาษาอังกฤษว่า AU หรือ au หรือ a.u. หรือ ua) คือ หน่วยของระยะทาง มีค่า (โดยประมาณ) เท่ากับระยะห่างเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ค่าที่ยอมรับในปัจจุบัน เท่ากับ 149,597,870,691±30 เมตร (ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 93 ล้านไมล์) สัญลักษณ์ "ua" ได้รับการเสนอจากสำนัก Bureau International des Poids et Mesures แห่งฝรั่งเศส แต่ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษจะใช้อักษรตัวใหญ่มากกว่า ส่วนสหภาพดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) เสนอให้ใช้ "au" ส่วนมาตรฐานนานาชาติ ISO 31-1 นั้นใช้ "AU".
ดู นิวฮอไรซันส์และหน่วยดาราศาสตร์
อันดับของขนาด (ความเร็ว)
หมวดหมู่:ปริมาณทางกายภาพ หมวดหมู่:อันดับของขน.
ดู นิวฮอไรซันส์และอันดับของขนาด (ความเร็ว)
ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ
แกนิมีด คัลลิสโต ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean moons) คือดวงจันทร์บริวารทั้ง 4 ดวงของดาวพฤหัสบดีซึ่งถูกค้นพบโดยกาลิเลโอ กาลิเลอีช่วงเดือนมกราคม..
ดู นิวฮอไรซันส์และดวงจันทร์ของกาลิเลโอ
ดาวบริวารของดาวพลูโต
วบริวารของดาวพลูโตมีทั้งหมด 5 ดวง ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 1 กิโลเมตร ได้แก่ แครอน สติกซ์ นิกซ์ เคอร์เบอรอส และไฮดรา โดย แครอนเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุด โคจรไปพร้อมกับการหมุนรอบตัวเองของดาวพลูโต และมีมวลมากพอที่จะทำให้ระบบดาวพลูโต–แครอน เป็นดาวเคราะห์แคระคู.
ดู นิวฮอไรซันส์และดาวบริวารของดาวพลูโต
ดาวพลูโต
วพลูโต (Pluto; ดัชนีดาวเคราะห์น้อย: 134340 พลูโต) เป็นดาวเคราะห์แคระในแถบไคเปอร์ วงแหวนของวัตถุพ้นดาวเนปจูน โดยเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ มันมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมวลมากที่สุดเป็นอันดับสองในบรรดาดาวเคราะห์แคระที่รู้จักในระบบสุริยะ และยังเป็นวัตถุที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 9 และมวลมากเป็นอันดับที่ 10 ในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ที่ใหญ่ที่สุดโดยปริมาตร แต่มีมวลน้อยกว่าอีริส ซึ่งเป็นวัตถุในแถบหินกระจาย ดาวพลูโตมีลักษณะเหมือนกับวัตถุอื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ ประกอบไปด้วยหินและน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ มีมวลและปริมาตรประมาณ 1 ใน 6 และ 1 ใน 3 ของดวงจันทร์ตามลำดับ วงโคจรของดาวพลูโตมีความเยื้องศูนย์กลางมาก อยู่ที่ 30 ถึง 49 หน่วยดาราศาสตร์ (4.4 – 7.4 พันล้านกิโลเมตร) จากดวงอาทิตย์ หมายความว่าเมื่อดาวพลูโตอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มันจะอยู่ใกล้กว่าวงโคจรของดาวเนปจูนเสียอีก แต่เนื่องด้วยการสั่นพ้องของวงโคจร ทำให้ดาวเคราะห์ทั้งสองดวงไม่สามารถโคจรมาชนกันได้ ในปี..
คริสต์ศตวรรษที่ 21
ริสต์ศตวรรษที่ 21 คือคริสต์ศตวรรษแรกของคริสต์สหัสวรรษที่ 3 และเป็นคริสต์ศตวรรษปัจจุบัน เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม..
ดู นิวฮอไรซันส์และคริสต์ศตวรรษที่ 21
คริสต์ทศวรรษ 2010
ริสต์ทศวรรษ 2010 (2010s) คือคริสต์ทศวรรษปัจจุบันตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..
ดู นิวฮอไรซันส์และคริสต์ทศวรรษ 2010
นาซา ทีวี
นาซา ทีวี (NASA TV) เป็นบริการโทรทัศน์ของหน่วยงานนาซา (องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ) แห่งรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกา ที่ออกอากาศโดยใช้โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแบบการออกอากาศคู่ขนานผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิลท้องถิ่นทั่วสหรัฐอเมริกา และเครือข่ายโทรทัศน์มือสมัครเล่นขาประจำอาจดำเนินรายการนาซา ทีวี ตามดุลพินิจของตัวเอง ในฐานะที่นาซาได้สร้างเนื้อหาที่ได้รับการพิจารณาว่าเป็นผลงานของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกาและเป็นสาธารณสมบัติ เครือข่ายนี้ได้รับการสร้างขึ้นอย่างเป็นทางการในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เพื่อให้รับข้อมูลจากผู้บริหารและวิศวกรของนาซา กับวิดีโอภารกิจแบบเรียลไทม์ นาซาได้ดำเนินการให้บริการโทรทัศน์ตั้งแต่การเริ่มต้นโครงการอวกาศสำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดเก็บสื่อถาวร และจัดทำสื่อภาพวิดีโอ.
นิกซ์ (ดาวบริวาร)
นิกซ์ เป็นดาวบริวารของดาวพลูโต ถูกค้นพบร่วมกับไฮดรา เมื่อเดือนมิถุนายน..
ดู นิวฮอไรซันส์และนิกซ์ (ดาวบริวาร)
แอมัลเธีย (ดาวบริวาร)
แอมัลเธีย (Amalthea, Αμάλθεια) บ้างเรียก เป็นดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี มีระยะทางห่างจากดาวแม่เป็นอันดับที่ 3 ค้นพบเมื่อวันที่ 9 กันยายน..
ดู นิวฮอไรซันส์และแอมัลเธีย (ดาวบริวาร)
แถบดาวเคราะห์น้อย
กราฟิกแสดงอาณาเขตของแถบดาวเคราะห์น้อย แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์ มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตรKrasinsky, G.
ดู นิวฮอไรซันส์และแถบดาวเคราะห์น้อย
แถบไคเปอร์
กราฟิกแสดงแถบไคเปอร์ และเมฆออร์ต ภาพแสดงวัตถุพ้นดาวเนปจูนขนาดใหญ่ ที่เป็นที่รู้จักแล้วในปัจจุบัน ยานนิวฮอไรซันส์ ที่ใช้ในการสำรวจแถบไคเปอร์ และดาวพลูโต แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) หมายถึง บริเวณที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ที่ด้านนอกระบบสุริยะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้านไมล์ มีก้อนวัตถุแข็ง เป็นน้ำแข็งขนาดเล็กจำนวนมากโคจรรอบดวงอาทิตย์ ลักษณะคล้ายกับแถบดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า วัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object - KBO) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า วัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง เชื่อกันว่าก้อนน้ำแข็งเหล่านี้ เป็นแหล่งกำเนิดของดาวหางคาบสั้น โดยชื่อแถบไคเปอร์นี้ ได้ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เจอราร์ด ไคเปอร์ ผู้ค้นพบ เดิมทีวัตถุที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ถูกค้นพบในแถบไคเปอร์ คือ ดาวพลูโต ซึ่งถูกค้นพบเมื่อ..
ไฮดรา (ดาวบริวาร)
รา (Ύδρα) เป็นดาวบริวารที่ไกลที่สุดเป็นอันดับสองของดาวพลูโต ถูกค้นพบร่วมกับนิกซ์ เมื่อเดือนมิถุนายน..
ดู นิวฮอไรซันส์และไฮดรา (ดาวบริวาร)
เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ
นี่คือ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เรียงตามวันปล่อยยานอวก.
ดู นิวฮอไรซันส์และเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ New Horizonsยานนิวฮอไรซันส์