โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นิติศาสตร์

ดัชนี นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม.

116 ความสัมพันธ์: ชัก ฟีนีย์ฟร็องซัว เดอ ซาลพ.ศ. 2508พยาธิกายวิภาคพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)พงศ์พัฒน์ ฉายาพันธุ์กฎหมายเอกชนการร่วมประเวณีกับญาติสนิทการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรสการอุทธรณ์โดยผลการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมการดื้อแพ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550ภักดี โพธิศิริภาวะสมองตายมหาวิทยาลัยกลาสโกว์มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญมหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยราชธานีมหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานีมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมหาวิทยาลัยฮกไกโดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยติรานามหาวิทยาลัยซินซินแนติมหาวิทยาลัยปาร์มามหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมหาวิทยาลัยโอคลาโฮมามหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมหาวิทยาลัยไอโอวามหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียมหาวิทยาลัยเอดินบะระมหาวิทยาลัยเดอโปลมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟมักซ์ พลังค์มุน แจ-อินยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ตรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่อคณะนิติศาสตร์ในประเทศไทย...รายการสาขาวิชาลอเรนโซ วัลลาวลาดอ บุชกอฟสกีวลาดีมีร์ ปูตินวัยอลวนวัดคุ้งตะเภาวิสุทธิ์ วานิชบุตรวิสุทธ์ บุษยกุลวิทิต มันตาภรณ์วิโรจน์ เลาหะพันธุ์วีระกานต์ มุสิกพงศ์ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียงสมัคร สุนทรเวชสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสังคมศาสตร์สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสีขาวสถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์อัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรีอัสสมาจารย์นิยมอาชญาวิทยาอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์อำเภอป่าพะยอมอนุสรณ์ ธรรมใจจอห์น รอเบิตส์จิรนิติ หะวานนท์จิตติ ติงศภัทิย์ธรรมศาสตร์ถวิล จันทร์ประสงค์ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์ที่สุดในประเทศไทยดนัย อุดมโชคคมสัน โพธิ์คงความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)ความสามารถของบุคคลความจริงความเกี่ยวดองคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505ซัดดัม ฮุสเซนประชาธิปไตยเสรีนิยมประติภา ปาฏีลประเทศอิหร่านปรัชญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตนาลันทานิติพิษวิทยาน้ำหนักแอมโบรสแห่งมิลานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรแบร์ แลงกาต์เกษม ศิริสัมพันธ์เลมีเซราบล์เจตนาเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เขมรแดงเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขยายดัชนี (66 มากกว่า) »

ชัก ฟีนีย์

ลส์ ฟรานซิส "ชัก" ฟีนีย์ (เกิด 23 เมษายน 2474) เป็นนักธุรกิจและนักการกุศลชาวไอร์แลนด์-อเมริกัน และผู้จัดตั้งมูลนิธิการกุศล The Atlantic Philanthropies ซึ่งเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลกมูลนิธิหนึ่ง เขากลายเป็นมหาเศรษฐีโดยเป็นผู้ร่วมจัดตั้งบริษัท Duty Free Shoppers Group (ปัจจุบัน DFS) แนวคิดเกี่ยวกับการขายสินค้าปลอดภาษีชั้นดีกับคนเดินทางเป็นเรื่องที่ยังไม่นิยมเมื่อนายฟีนีย์พร้อมกับเพื่อนได้จัดตั้ง DFS ในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2503 DFS เริ่มกิจการในฮ่องกง (ซึ่งก็ยังมีสำนักงานใหญ่ในที่นั้น) แล้วภายหลังจึงขยายไปยังยุโรปและทวีปอื่น ๆ ความก้าวหน้าสำคัญครั้งแรกสุดของบริษัทเกิดขึ้นในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 เมื่อบริษัทได้สัมปทานแบบผูกขาดในการขายสินค้าปลอดภาษีในรัฐฮาวาย ทำให้สามารถขายสินค้าต่อผู้เดินทางชาวญี่ปุ่น บริษัทในที่สุดก็ขยายเป็นร้านสินค้าปลอดภาษีนอกสนามบินและร้านสรรพสินค้าในเมือง (Galleria) ขนาดใหญ่ จนกลายเป็นห้างขายของสำหรับคนเดินทางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในปี 2539 บริษัทสินค้าฟุ่มเฟือยฝรั่งเศสหลุยส์ วิตตอง ได้ซื้อหุ้นของนายฟีนีย์ในราคา 1,630 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 41,335 ล้านบาทปีนั้น หรือ 86,877 ล้านบาทกลางปี 2559) ในเดือนมีนาคม 2554 นิตยสาร Irish America ได้เพิ่มรายชื่อเขาในทำเนียบผู้มีชื่อเสียงของนิตยสาร (Irish America magazine's Hall of Fame) ในปี 2540 นิตยสารไทม์ บันทึกไว้ว่า "คุณความดีของนายฟีนีย์สามารถจัดเป็นอันดับยอด ๆ ของคนอเมริกันที่ยังมีชีวิตอยู่".

ใหม่!!: นิติศาสตร์และชัก ฟีนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว เดอ ซาล

นักบุญฟร็องซัว เดอ ซาล (Saint François de Sales; 21 สิงหาคม ค.ศ. 1567 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1622) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ได้รับแต่งตั้งให้เป็นบิชอปแห่งเจนีวา ผลงานที่สำคัญของท่านคือการดึงชาวเมืองชาเบลส์ซึ่งไปนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ลัทธิคาลวินให้หันกลับมานับถือนิกายโรมันคาทอลิกได้สำเร็จ นอกจากนี้ท่านยังได้สร้างสรรค์วรรณกรรมไว้มากมายซึ่งมีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างความศรัทธาในคริสต์ศาสนานิกายคาทอลิก จนต่อมาท่านได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร และเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ และนักเขียน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และฟร็องซัว เดอ ซาล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พยาธิกายวิภาค

วิทยากายวิภาค (Anatomical Pathology) เป็นวิชาว่าด้วยการเรียนรู้ร่างกายของมนุษย์โดยละเอียด เพื่อใช้วิเคราะห์สาเหตุแห่งความตายว่าเกิดจากโรคภัยไข้เจ็บทั่วไป อาวุธประเภทใด ภาวะความผิดปกติของร่างกายหรือบาดแผลตามร่างกายอาจใช้บ่งบอกความผิดปกติที่เกิดขึ้นก่อนหรือหลังความตาย สิ่งที่ทำให้เกิดความตาย เช่น ตายก่อนจมน้ำ หรือ จมน้ำตาย โดนวางยาหรือฆ่าตัวตายเอง เป็นต้น ลักษณะทางกายภาพของศพจะช่วยบอกเริ่มต้นว่าเป็นการตายธรรมดาหรือฆาตกรรม อันนำไปสู่การพิสูจน์ค้นหาผู้กระทำความผิดและนำไปลงโทษโดยตำรวจ นักนิติพยาธิวิทยากายวิภาค (FORENSIC PATHOLOGY) จึงต้องมีความเชี่ยวชาญด้านกายภาพ พยาธิสภาพ ลักษณะโรคและบาดแผลที่ทำให้เกิดบาดเจ็บหรือตาย เพราะความเห็นของพวกเขาจะเป็นประโยชน์ต่อตำรวจในการแยกแยะคดีอย่างเหมาะสม ส่วนใหญ่มักจะเป็นพยาธิแพทย์ด้านนิติเวชศาสตร์ซึ่งกฎหมายกำหนดหน้าที่ในการให้ความเห็นสาเหตุและพฤติการณ์ของการตายของเหยื่อไว้ ปัจจุบันแพทย์ด้านนี้จึงถือเป็นจุดเริ่มต้นของการระบุสาเหตุและพฤติการณ์การตาย จากนั้นจึงนำไปสู่การพิสูจน์ยืนยันความเห็นนั้นด้วยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สาขาอื่นได้ นอกจากนั้นศาสตร์ด้านพยาธิวิทยากายวิภาคยังเน้นความรู้ด้านการบ่งชี้ความปกติหรือไม่ปกติของศพ เพศ เนื่องจากบางครั้งศพอาจอยู่ในสภาพเน่าเปื่อย มีแค่โครงกระดูก ยากจะบอกเบื้องต้นได้ว่าคนตายเป็นเพศใด อายุเท่าไร สาเหตุการตายจากโรค สารเคมี บาดแผลในหรือนอกร่างกาย นักพยาธิวิทยากายวิภาคจะเป็นผู้ชี้ชัดได้ว่า ศพเป็นเพศชายหรือหญิง ผ่านการผ่าตัดแปลงเพศหรือไม่ มีการเสริมแต่งส่วนใดในร่างกายที่มิใช่ธรรมชาติ โครงกระดูกบอกได้ว่าเป็นเพศชายหรือหญิง โดยอาจดูจากโหนกคิ้ว กระดูกเชิงกราน ก็ได้ ล้วนเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้พนักงานสอบสวนนำไปใช้สืบหาสาเหตุการตายและพยานหลักฐานต่อไปเพื่อนำผู้กระทำความผิดไปลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และพยาธิกายวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)

ระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) รองเจ้าอาวาส และพระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดปากน้ำ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และพระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์พัฒน์ ฉายาพันธุ์

งศ์พัฒน์ ฉายาพันธุ์ (เกิด 22 เมษายน พ.ศ. 2499) อดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (ผบช.ก.) ฉายา "นายพลช็อกโลก" ขณะรับราชการมีผลงานการจับกุมในคดีสำคัญหลายคดีทั้งคดียาเสพติดและอาชญากรรมข้ามชาติ ตลอดจนเป็นอาจารย์บรรยายพิเศษในมหาวิทยาลัยและมีผลงานการเขียนหนังสือแนววิชาการเกี่ยวกับตำรวจหลายเล่ม นายพงศ์พัฒน์ เคยครองยศพลตำรวจโท และดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง แต่ต่อมาได้ถูกจับกุมและดำเนินคดีในข้อหาเกี่ยวกับความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย, ความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานเรียกรับสินบนโดยแอบอ้างสถาบันเบื้องสูง, ความผิดเกี่ยวกับการฟอกเงิน และความผิดฐานรับของโจร จนศาลอาญาได้ตัดสินจำคุกรวม 36 ปี 3 เดือน และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ถอดออกจากยศตำรวจและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกชั้นตร.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และพงศ์พัฒน์ ฉายาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายเอกชน

กฎหมายเอกชน (Private law) คือกฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน หรือเอกชนกับนิติบุคคล ทั้งนี้กฎหมายเอกชนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลกับบุคคล เช่น กฎหมายมรดก กฎหมายครอบครัว กฎหมายเกี่ยวกับสัญญา เป็นต้น หมวดหมู่:กฎหมายเอกชน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และกฎหมายเอกชน · ดูเพิ่มเติม »

การร่วมประเวณีกับญาติสนิท

การร่วมประเวณีกับญาติสนิท"การร่วมประเวณีกับญาติสนิท" เป็นศัพท์ทางนิติศาสตร์ ส่วน "การสมสู่ร่วมสายโลหิต" เป็นศัพท์ทางแพทยศาสตร์ หรือ การสมสู่ร่วมสายโลหิต (Incest) หมายถึง การมีความสัมพันธ์ทางเพศในทุกรูปแบบกับผู้ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดในครอบครัวเดียวกัน ซึ่งอาจหมายถึงคนในครอบครัว หรือญาติพี่น้อง ซึ่งถือว่าเป็นการผิดกฎหมายและจารีตทางสังคม ในบางสังคม การล่วงละเมิดหมายอาจมีแค่ผู้ที่อยู่ร่วมเคหะสถานเดียวกัน หรือผู้ที่เป็นสมาชิกของเผ่าหรือมีผู้สืบสันดานเดียวกัน; ในบางสังคมมีความหมายรวมไปถึงคนที่สัมพันธ์กันทางสายเลือด; และในสังคมอื่น ๆ รวมไปถึงบุตรบุญธรรมหรือการแต่งงาน ในการศึกษาบางอย่างได้ระบุว่ารูปแบบของการล่วงละเมิดที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ ระหว่างพ่อกับลูกสาว อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาอื่น ๆ เสนอว่าการร่วมประเวณีระหว่างพี่น้องเกิดขึ้นบ่อยเทียบเท่าหรือบ่อยครั้งกว่าการร่วมประเวณีกับญาติสนิทรูปแบบอื่น ๆ การล่วงละเมิดทางเพศเด็กโดยผู้ใหญ่ถูกพิจารณาว่าเป็นรูปแบบของการข่มขืนต่อเด็กรูปแบบหนึ่ง นักวิจัยได้ประมาณการว่าประชากรทั่วไปราว 10-15% เคยมีประสบการณ์การล่วงละเมิดทางเพศแบบดังกล่าวมากกว่าหนึ่งครั้ง ในขณะที่อีกประมาณ 2% เกี่ยวข้องกับการร่วมประเวณีหรือพยายามกระทำร่วมประเวณี ส่วนในผู้หญิง นักวิจัยได้ประมาณการตัวเลขไว้ที่ 20% ในสังคมส่วนใหญ่มักจะมีการหลีกเลี่ยงการล่วงละเมิดทางเพศของคนในครอบครัวเดียวกันในบางรูปแบบ ข้อห้ามการล่วงละเมิดของคนในครอบครัวเดียวกันถือว่าเป็นหนึ่งในข้อห้ามทางวัฒนธรรมในบางสังคม แต่ในทางกฎหมายการร่วมประเวณีกับญาติสนิทมีระดับการยอมรับที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ บางประเทศถือว่าเป็นการผิดกฎหมายและถือว่าเป็นอาชญากรรมที่มีบทลงโทษ บางประเทศยอมรับการเกิดขึ้นได้โดยไม่ถือว่าเป็นอาชญากรรมแต่จะไม่อนุญาตให้มีการแต่งงาน บางประเทศยอมรับด้วยเงื่อนไขที่ผ่อนปรนเช่นยอมให้พี่น้องแต่งงานกันได้แต่ห้ามการแต่งงานระหว่างบุพการีกับบุตร บางประเทศห้ามเฉพาะผู้ใหญ่กับญาติที่ยังเป็นผู้เยาว์เท่านั้น จนถึงบางประเทศที่กฎหมายเปิดเสรี.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการร่วมประเวณีกับญาติสนิท · ดูเพิ่มเติม »

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยโดยการใช้ท่อนจันทน์เป็นอุปกรณ์ วิธีการดังกล่าวไม่มีการปฏิบัติอีกต่อมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้เลิกเสียอย่างเป็นทางการตั้งแต่มีการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส

การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส (concubinage) หมายถึง ภาวะที่หญิงมีความสัมพันธ์เชิงสมรสกับอีกบุคคลหนึ่ง ซึ่งฝ่ายหนึ่งมักมีสถานะทางสังคมสูงกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ความสัมพันธ์เชิงสมรสหมายความว่าไม่ได้สมรสกันจริง ๆ แต่อยู่กินกันอย่างคู่สมรส ซึ่งหากเป็นการจดทะเบียนสมรสซ้อนจะกลายเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายไทย แต่หากไม่จดทะเบียนสมรสก็จะไม่มีสิทธิตามกฎหมาย ข้อนี้นับเป็นข้อเสียของการเป็นเมียหรือผัวที่ผิดกฎหมายของผู้อื่น ในกรณีปรกติแล้วมักเป็นเรื่องระหว่างหญิงกับชาย โดยชายนั้นมักมีภริยาอย่างเป็นทางการหรือ "เมียหลวง" อยู่แล้ว และก็อาจมีภริยาลับอยู่อีกหลายคนด้วย ซึ่งภริยาลับนี้ก็มักมีสถานะทางสังคมต่ำต้อยกว่าภริยาหลวง กับทั้งตัวภริยาลับและบุตรที่เกิดแต่นางภริยาลับนี้ฝ่ายชายจะให้การสนับสนุนอย่างออกนอกหน้าก็มิได้ เพราะผิดทั้งจริยธรรม จารีตประเพณีในบางท้องถิ่น และกฎหมายของบางท้องถิ่นด้วย เช่น กฎหมายไทยมิได้ให้สิทธิภริยาลับเสมอภริยาหลวง แต่ในความเป็นจริงแล้ว ใครเป็นภริยาลับของใครสังคมก็มักรู้กันอยู่แก่ใจและบางทีก็เอาไปซุบซิบนินทากันอย่างสนุกปากอีกด้วย คำว่า "ภริยาลับ" (concubine) เป็นศัพท์ทางนิติศาสตร์ แต่ในภาษาอังกฤษคำว่า "concubine" นั้นใช้ได้กับทั้งหญิงทั้งชายที่ไปเป็นภริยาลับหรือสามีลับของบุคคลอื่น นอกจากนี้ ในภาษาไทยยังมีคำเรียก "ภริยาลับ" อีกหลาย ๆ คำ เช่น อนุภริยา, อนุภรรยา, เมียน้อย หรือ เมียเก็.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรส · ดูเพิ่มเติม »

การอุทธรณ์โดยผล

การอุทธรณ์โดยผล"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ appeal ว่า "การอุทธรณ์" (Appeal to consequences, argumentum ad consequentiam, คำละตินแปลว่า การให้เหตุผลโดยผลที่จะเกิดขึ้น) เป็นการให้เหตุผลที่สรุปว่าสมมติฐาน (โดยทั่ว ๆ ไปเป็นความเชื่อ) เป็นจริงหรือไม่จริง อาศัยเพียงว่าประเด็นที่ตั้งขึ้นจะนำไปสู่ผลที่น่าพึงใจหรือไม่น่าพึงใจ การให้เหตุผลเช่นนี้อาศัย การอุทธรณ์โดยอารมณ์ (appeal to emotion) และเป็นเหตุผลวิบัติชนิดหนึ่ง เพราะว่า ความน่าพึงใจของผลไม่ได้ทำให้เหตุผลนั้นเป็นจริง นอกจากนั้นแล้ว เพราะมีการจำแนกว่า ผลนั้นน่าพึงใจหรือไม่น่าพึงใจ การให้เหตุผลเช่นนี้จะมีมุมมองที่เป็นอัตวิสัยโดยธรรมชาติ คือเป็นจริงสำหรับบางบุคคลเท่านั้น (เทียบกับเหตุผลที่ควรจะเป็นปรวิสัย คือเป็นความจริงกับทุก ๆ คน).

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการอุทธรณ์โดยผล · ดูเพิ่มเติม »

การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม

pmc.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

การดื้อแพ่ง

การดื้อแพ่ง หรือ การขัดขืนอย่างสงบ (civil disobedience) หรือ "อารยะขัดขืน" เป็นรูปแบบการต่อต้านทางการเมืองอย่างสงบเพื่อกดดันให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางการเมืองที่เป็นอยู่ ในอดีต มีการใช้แนวทางดื้อแพ่งในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอังกฤษในประเทศอินเดีย ในการต่อสู้กับการแบ่งแยกสีผิวในแอฟริกาใต้ ในการเคลื่อนไหวด้านสิทธิพลเมืองของอเมริกา และในยุโรป รวมถึงประเทศแถบสแกนดิเนเวียในการต่อต้านการยึดครองของนาซี แนวคิดนี้ริเริ่มโดยเฮนรี เดวิด ธอโร นักเขียนชาวอเมริกันในบทความชื่อดื้อแพ่ง ในชื่อเดิมว่า การต่อต้านรัฐบาลพลเมือง ซึ่งแนวคิดที่ผลักดันบทความนี้ก็คือการพึ่งตนเอง และการที่บุคคลจะมีจุดยืนที่ถูกต้องเมื่อพวกเขา "ลงจากหลังของคนอื่น" นั่นคือ การต่อสู้กับรัฐบาลนั้นประชาชนไม่จำเป็นต้องต่อสู้ทางกายภาพ แต่ประชาชนจะต้องไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาลหรือให้รัฐบาลสนับสนุนตน (ถ้าไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล) บทความนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้ที่ยึดแนวทางดื้อแพ่งนี้ ในบทความนี้ทอโรอธิบายเหตุผลที่เขาไม่ยอมจ่ายภาษีเพื่อเป็นการประท้วงระบบทาสและสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน เพื่อที่จะแสดงออกถึงดื้อแพ่ง ผู้ขัดขืนอาจเลือกที่จะฝ่าฝืนกฎหมายใดเป็นการเฉพาะ เช่น กีดขวางทางสัญจรอย่างสงบ หรือเข้ายึดครองสถานที่อย่างผิดกฎหมาย ผู้ประท้วงกระทำการจลาจลอย่างสันติเหล่านี้ โดยคาดหวังว่าพวกตนจะถูกจับกุม หรือกระทั่งถูกทำร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการดื้อแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (genocide) คือ การกระทำอย่างเป็นระบบและไตร่ตรองไว้ก่อนเพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่ ถึงแม้จะมีผู้ให้นิยามของ "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" ไว้มากมายและบางทีก็แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่ทางนิติศาสตร์นั้น สหประชาชาติได้กำหนดนิยามของพฤติการณ์นี้ในข้อ 2 แห่งอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (United Nations Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide) ว่า ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หมายถึง "การกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศาสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่ เป็นต้นว่า ฆ่าสมาชิกของกลุ่ม กระทำให้สมาชิกของกลุ่มถึงแก่พิกลพิการอย่างหนักทางกายภาพหรือจิตภาวะ กระทำโดยไตร่ตรองหรือโดยคาดการณ์ไว้แล้วเพื่อให้เกิดแก่หรือนำพามาสู่สมาชิกของกลุ่มซึ่งทุกขเวทนาในสภาพความเป็นอยู่ กระทำโดยมาตรการใด ๆ เพื่อกันมิให้มีการถือกำเนิดของทารกภายในกลุ่ม หรือใช้กำลังนำพาผู้เยาว์ในกลุ่มไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง"Office of the High Commissioner for Human Rights.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ ปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ภักดี โพธิศิริ

ัชกร ศาสตราจารย์(พิเศษ) ดร.ภักดี โพธิศิริ (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2490) เป็น กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์อดีตกรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอดีตเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และภักดี โพธิศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะสมองตาย

มองของมนุษย์ ภาวะสมองตาย (อังกฤษ: brain death) เป็นบทนิยามที่ทางนิติศาสตร์และทางแพทยศาสตร์ใช้หมายเอาการตายของบุคคล ซึ่งได้ริเริ่มขึ้นในช่วง พ.ศ. 2503 ทั้งนี้ โดยทั่วไปมักหมายเอาภาวะที่ไม่สามารถฟื้นฟูระบบการทำงานของสมองของบุคคลได้อีกแล้ว อันเป็นผลมาจากการตายหมดแล้วทุกส่วนของเซลล์ประสาทในสมอง (อังกฤษ: total necrosis of cerebral neurons) เพราะเหตุที่ได้ขาดเลือดและออกซิเจนหล่อเลี้ยง ทั้งนี้ พึงไม่สับสนภาวะสมองตายกับสภาพร่างกายทำงานนอกบังคับจิตใจเป็นการเรื้อรัง หรือสภาพผักเรื้อรังของผู้ป่วย (อังกฤษ: persistent vegetative state).

ใหม่!!: นิติศาสตร์และภาวะสมองตาย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ (อังกฤษ: The University of Glasgow; ละติน: Universitatis Glasguensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1451 เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในสามมหาวิทยาลัยในเมืองกลาสโกว์ สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงในด้านการสอนและการวิจัย และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสก็อตแลนด์ และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ถูกก่อตั้งขึ้นอาณัติจากพระสันตปาปานิโคลัสที่ห้าโดยพระประสงค์ของพระเจ้าเจมส์ที่สอง เพื่อให้สก็อตแลนด์มีมหาวิทยาลัยสองแห่งเช่นเดียวกันกับอังกฤษที่มีอ็อกซฟอร์ดและเคมบริดจ์ ซึ่งทำให้กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดอันดับสี่ในสหราชอาณาจักร และยังเป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากเป็นอันดับสี่ในบริเทนรองจากอ็อกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และเอดินเบอระ อีกด้วย มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นมีสัดส่วนนักเรียนต่างชาติค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ โดยประมาณครึ่งหนึ่งเป็นคนในกลาสโกว์เอง อีก 40% เป็นนักเรียนจากเมืองต่างๆภายใน UK มีเพียงประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ที่มาจากต่างชาติ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของ UK มาหลายศตวรรษ เช่นเดียวกับเอดินเบอระและเซนต์แอนดรูส์ กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกใน UK ที่ก่อตั้งภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยนอกเขตลอนดอนที่มีคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เมืองกลาสโกว์นั้นมีอัตราส่วนวิศวกรต่อประชากรสูงมากเป็นอันดับสามของโลก มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ได้ให้กำเนิดนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกเป็นจำนวนมาก อาทิ ลอร์ดเคลวิน – หนึ่งในผู้พัฒนากฎข้อสองของเทอร์โมไดนามิคส์ และภายหลังได้รับเกียรติให้นำชื่อไปให้เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิเคลวิน เจมส์ วัตต์ – ผู้พัฒนากลจักรไอน้ำจนก่อให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักร จอห์น โลกี แบรด – ผู้ประดิษฐ์โทรทัศน์ โจเซฟ ลิสเตอร์ – หนึ่งในผู้ริเริ่มการผ่าตัดแบบสมัยใหม่ และ โจเซฟ แบลค – นักเคมีที่มีผลงานมากมายรวมไปถึงการค้นพบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ยังมีชื่อเสียงทางด้านสังคมศาสตร์ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าด้านวิศวกรรมศาสตร์เลยแม้แต่น้อย กลาสโกว์นั้นถือได้ว่าเป็นจุดกำเนิดของยุคแสงสว่างอย่างแท้จริง ศาสตราจารย์ฟรานซิส ฮัทชิสัน แห่งมหาวิทยาลัยกลาสโกว์เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utilitarian principle) ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฎีพื้นฐานภายใต้เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Economics) อดัม สมิธ ศิษย์เก่าที่โด่งดังที่สุดของมหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้ผสมผสานทฤษฎีนี้ผนวกกับแนวคิดของเดวิด ฮูม (นักปรัชญาชาวเอดินเบอระ) ก่อให้เกิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ เศรษฐศาสตร์การเมือง และทฤษฎีการค้าเสรี ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอย่างมหาศาลมาจนถึงยุคปัจจุบัน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ

ทางเข้ามหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ 2 มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ (សាកលវិទ្យាល័យភូមិន្ទភ្នំពេញ สากลวิทฺยาลัยภูมินฺทภฺนํเพญ; Royal University of Phnom Penh หรือ RUPP) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุด มหาวิทยาลัยมีจำนวนนักศึกษา ซึ่งมีอยู่ประมาณ 12,000 คน ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา และยังเป็นสมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน นอกจากหลักสูตรระดับปริญญาที่ครอบคลุมในสาขาต่างๆ อาทิ เช่น วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แล้วมหาวิทยาลัยยังมีหลักสูตรวิชาชีพ เปิดสอนในสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ จิตวิทยา และการท่องเที่ยว นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ ยังมีหลักสูตรทางภาษาต่างประเทศที่มีชื่อเสียง เปิดสอนในสถาบันภาษาต่างประเทศ ของมหาวิทยาลัยอีกด้วย มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ มีเจ้าหน้าที่เต็มเวลาอยู่ 420 คน คณาจารย์ 294 คน ซึ่งมีวุฒิระดับปริญญาเอก 15 คน ปริญญาโท 132 คน เจ้าหน้าที่ทางด้านธุรการและซ่อมบำรุง 140 คน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นจุดเชือมต่อกันระหว่างบุคลากรจากองค์การพัฒนาเอกชน (NGOs) ทั้งในและต่างประเทศ, ระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆ และ กระทรวงต่างๆ จึงทำให้ทางมหาวิทยาลัยมีบุคลากรแบบไม่เต็มเวลาจากองค์กรเหล่านี้อีกเป็นจำนวนมาก มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญมีค่าเล่าเรียนแต่ละหลักสูตรระดับปริญญาตรีอยู่ที 250 ถึง 450 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี แล้วแต่หลักสูตร.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ (សាកលវិទ្យាល័យភូមិន្ទនីតិសាស្រ្ត និងវិទ្យាសាស្រ្តសេដ្ឋកិច្ច สากลวิทฺยาลัยภูมินฺทนีติสาสฺตฺรนิงวิทฺยาสาสฺตรเสฏฺฐกิจฺจ, Royal University of Law and Economics; RULE) เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของกัมพูชา ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชธานี

มหาวิทยาลัยราชธานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ตั้งอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวิทยาเขต 1 แห่ง ที่จังหวัดอุดรธานี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมีชื่อว่า "วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานี" และได้เปลี่ยนสถานะเป็น "มหาวิทยาลัยราชธานี" เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2546.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี

มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี  (อังกฤษ: Ratchathani University, UdonThani Campus) เป็นวิทยาเขต ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชธานี ซึ่งตั้งอยู่ที่ จังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิ

มหาวิทยาลัยรารามคำแหง สาขาวิทยบริการฯ จังหวัดชัยภูมิ (Ramkhamheangh Univrsity Chaiyaphum Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท) เพื่อเป็นการขยายโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาในส่วนภูมิภาค ปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ ตำบลโคกเริงรมย์ อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) หรือนิยมเรียก มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองแมดิสัน ในรัฐวิสคอนซิน มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848) ในปัจจุบัน (ปี 2548 เทอมฤดูใบไม้ร่วง) มีนึกศึกษาทั้งหมด 41,480 คน ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน มีนักศึกษามากเป็นอันดับ 10 ของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน มีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ในตัวเมืองโดยด้านหลังมหาวิทยาลัยเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ และด้านหน้ามหาวิทยาลัยเป็นถนนชื่อสเตต เป็นแหล่งชอปปิงชื่อดังของเมืองแมดิสัน ภาพในมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ด้านหลังเป็นตึกแคปิตอลของรัฐวิสคอนซิน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) จัดอยู่ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล มี 2 วิทยาเขตหลัก วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และ 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การศึกษา ACC Campus มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮกไกโด

Main Gate of the Sapporo Campus (Feb. 2005) มหาวิทยาลัยฮกไกโด (หรือเรียกสั้นๆในภาษาญี่ปุ่นว่า ฮกกุได) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยฮกไกโด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยติรานา

มหาวิทยาลัยได้ก่อตั้งขึ้นในปี 1957 ในขณะที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐของติรานา (University of Shtetëror i Tiranes) ผ่านการรวมกันของห้าสถาบันที่มีอยู่ของการศึกษาขั้นสูงที่สำคัญที่สุดของติรานา ซึ่งเป็นสถาบันวิทยาศาสตร์การก่อตั้งขึ้นในปี 1947 ระหว่าง 13 เมษายน 1985 และ 1992 (ในช่วงระบอบคอมมิวนิสต์), มหาวิทยาลัยถูกเรียกว่า Enver Hoxha หลังจากนั้นเมื่อระบอบเผด็จการแอลเบเนีย Enver Hoxha ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 เมษายน 1985 มหาวิทยาลัยจึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น มหาวิทยาลัยติรานา (University of Tiranes) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยติรานาเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐบาล มีอาจารย์ประมาณ 600 คน มีนักศึกษาประมาณ 14000 กว่าคน มีสีประจำมหาวิทยลัยคือ สีแดงและสีดำ ซึ้งเป็นสีในธงชาติของแอลเบเนียด้วย มีวิทยาเขตมากมาย เช่น urban, decentralized.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยติรานา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยซินซินแนติ

มหาวิทยาลัยซินซินแนติ (University of Cincinnati) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง ซินซินแนติ ในรัฐโอไฮโอ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2362 (ค.ศ. 1819) ภายใต้ชื่อ วิทยาลัยซินซินแนติ และ วิทยาลัยแพทยศาสตร์โอไฮโอ ต่อมาได้ถูกรวมเข้าเป็นมหาวิทยาลัยซินซินแนติ ในปี พ.ศ. 2413 (ค.ศ. 1870) เหมือนในปัจจุบัน นักศึกษาในมหาวิทยาลัยมีประมาณ 35,000 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2548) มหาวิทยาลัยซินซินแนติ มีชื่อเสียงในด้านในหลายคณะรวมถึง สถาปัตยกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในอันดับสูงสุดสหรัฐอเมริกา โดยนิตยสารดีไซน์อินเทลลิเจนซ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงทางด้าน ดนตรี นิติศาสตร์ และ แพทยศาสตร์ ซึ่งวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ได้ถูกคิดค้นขึ้นในคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยซินซินแนติ แม็คมิคเกนฮอลล์ มหาวิทยาลัยซินซินแนต.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยซินซินแนติ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปาร์มา

มหาวิทยาลัยปาร์มา (Università degli Studi di Parma; University of Parma) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตั้งอยู่ที่เมืองปาร์มา ประเทศอิตาลี ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 30,000 คน มหาวิทยาลัยปาร์มา ประกอบด้วย 12 คณะ ได้แก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น

มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น (Northwestern University หรือเรียกโดยย่อว่า NU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองเอแวนสตัน และเมืองชิคาโก ในรัฐอิลลินอยส์ มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษาประมาณ 15,000 คน เป็นนักศึกษาในระดับปริญญาตรีประมาณ 8,000 คน แคมปัสหลักที่อยู่ที่เมืองอีแวนสตัน มีพื้นที่กว่า 970,000 ตร.ม. (240 เอเคอร์) ตั้งอยู่บริเวณ ทะเลสาบมิชิแกน สีประจำมหาวิทยาลัยคือ สีม่วง ซุ้มประตูบริเวณแคมปัสที่เมืองอีแวนสตัน มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น มีชื่อเสียงในหลายด้าน ซึ่งรวมถึง บริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ นิเทศศาสตร์ เคมี เศรษฐศาสตร์ ครุศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ วารสารศาสตร์ และดนตรี.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโอคลาโฮมา

กย์ลอร์ดฮอลล์ มหาวิทยาลัยโอคลาโฮมา (University of Oklahoma ย่อว่า OU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐตั้งอยู่ที่เมืองนอร์มัน ในรัฐโอคลาโฮมา สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2433 (ค.ศ. 1890) โดยมีนักศึกษาประมาณ 30,000 คน (พ.ศ. 2548) มีคณาจารย์และนักวิจัย 2,000 คน นอกจากวิทยาเขตหลักในนอร์มัน มหาวิทยาลัยมีวิทยาเขตอยู่ในเมือง โอคลาโฮมาซิตี และ ทัลซา มหาวิทยาลัยโอคลาโฮมาประกอบด้วย 15 คณะ และมีชื่อเสียงในด้าน อุตุนิยม ธรณีวิทยา วิศวกรรมศาสตร์ปิโตรเลียม สถาปัตยกรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเปิดสอนในระดับปริญญาตรี 153 ภาควิชา ในระดับปริญญาโท 152 ภาควิชา และ 75 ภาควิชาในระดับปริญญาเอก นอกจากนี้ยังมีเปิดสอนในด้านอื่นสำหรับปริญญาประกาศนียบัตร นอกจากทางการสอนและการวิจัย มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในด้านอย่างมากในด้านกีฬา โดยกีฬายิมนาสติกชนะระดับประเทศหลายครั้ง นอกจากนี้ทีมอเมริกันฟุตบอล เป็นทีมหนึ่งที่ประสบความสำเร็จสูง ทีมกีฬามหาวิทยาลัยใช้ชื่อว่า ซูนเนอร์ (Sooners).

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยโอคลาโฮมา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไอโอวา

ตึกเรียนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยไอโอวา มหาวิทยาลัยไอโอวา (University of Iowa) เป็นมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ที่เมือง ไอโอวาซิตี ในรัฐไอโอวา ก่อตั้งเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2390 ในปัจจุบัน (2548) มหาวิทยาลัยไอโอวามีนักศึกษาประมาณ 34,000 คน มหาวิทยาลัยไอโอวา มีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยไอโอวา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย

นจามิน แฟรงคลิน ผู้สถาปนามหาวิทยาลัย รูปปั้นเบนจามิน แฟรงคลิน หน้า College Hall มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย (University of Pennsylvania) (โดยทั่วไปเรียกว่า เพน (Penn) หรือ ยูเพน (UPenn)) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง ฟิลาเดลเฟีย ในรัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2283 (ค.ศ. 1740) โดยนายเบนจามิน แฟรงคลิน ซึ่งนับว่าเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับ 4 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในสมาชิกไอวีลีก มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้รับการยอมรับให้เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของสหรัฐอเมริกาและของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีชื่อเสียงในด้าน การแพทย์ พาณิชยศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียนับว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เข้ายากและมีการแข่งขันสูงมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับที่ 4 ของประเทศ โดยนิตยสารยูเอสนิว (US News & World Report 2010) นอกจากนี้ วิทยาลัยและคณะต่างๆในระดับปริญญาโทและเอกส่วนใหญ่ก็ถูกจัดอยู่ใน Top 10 เกือบทั้งสิ้น ในปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2552) มีนักศึกษาประมาณ 24,599 คน และคณาจารกว่า 4,127 คน ในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเอดินบะระ

ตึกโอลด์คอลเลจ ที่ตั้งของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ (The University of Edinburgh; Universitas Academica Edinburgensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1583 เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับ 4 ของสกอตแลนด์ ถัดจาก มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูวส์ (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1410) มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1451) และ มหาวิทยาลัยอเบอร์ดีน (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1495) มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้านการสอนและการวิจัย ตั้งอยู่ที่เมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร เอดินบะระเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในสหราชอาณาจักร เอดินบะระเป็นสมาชิกของกลุ่มรัสเซล (Russell Group) ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเดียวของสกอตแลนด์ (และมหาวิทยาลัยเดียวในสหราชอาณาจักร นอกเหนือจาก เคมบริดจ์ และอ๊อกซฟอร์ด) ที่เป็นสมาชิกของ Coimbra Group และ LERU สองกลุ่มมหาวิทยาลัยชั้นนำของยุโรป และยังเป็นสมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัย Universitas 21 อีกด้วย ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 มหาวิทยาลัยเอดินบะระได้กลายเป็นศูนย์กลางของยุครู้แจ้งของยุโรป (European Enlightenment) และกลายเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่สำคัญที่สุดของทวีปยุโรป.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเดอโปล

มหาวิทยาลัยเดอโปล ('''DePaul University'''.) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองลินคอน ปาร์ค และเมืองชิคาโก ในรัฐอิลลินอยส์ มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยเดอโปล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Case Western Reserve University หรือ CASE หรือ CWRU หรือ CASE WESTERN) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เน้นทางด้านการวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 จากการรวมกันของสองสถาบันการศึกษาอันได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีเคส (Case Institute of Technology) ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2423 โดยนาย ลีโอนาร์ท เคส จูเนียร์ (Leonard Case Jr) กับ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Western Reserve University) ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2369 มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีนักศึกษาประมาณ 10,000 คน แบ่งเป็น นักศึกษาปริญญาบัณฑิต 4,386 คน นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 5,640 คน และอาจารย์ประจำ 3,055 คน และเจ้าหน้าที่ 3,402 คน สำหรับปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของมหาวิทยาลัยประจำปีคือ 968 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ได้รับเงินบริจาคประจำปีคือ 138.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นทางด้านการวิจัยเป็นอย่างมาก โดยตามรายงานประจำปี.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ พลังค์

มักซ์ คาร์ล แอนสท์ ลุดวิจ พลังค์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม อันเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ แม้ในชีวิตตอนแรกของเขาจะดูราบรื่น โดยเขามีความสามารถทั้งทางดนตรีและฟิสิกส์ แต่เขากลับเดินไปในเส้นทางแห่งนักฟิสิกส์ทฤษฎี จนเขาได้ตั้งทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญต่อฟิสิกส์สมัยใหม่ นั่นคือ กฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับว่าขาดไม่ได้เลยสำหรับการศึกษากลศาสตร์ควอนตัม ทว่าบั้นปลายกลับเต็มไปด้วยความสิ้นหวังจากภัยสงคราม เขาต้องสูญเสียภรรยาคนแรก และบุตรที่เกิดกับภรรยาคนแรกไปทั้งหมด จนเหลือเพียงตัวเขา ภรรยาคนที่สอง และบุตรชายที่เกิดกับภรรยาคนที่สองเพียงคนเดียว ถึงกระนั้น พลังค์ก็ยังไม่ออกจากประเทศเยอรมนีอันเป็นบ้านเกิดของเขาไปยังดินแดนอื่น พลังค์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมักซ์ พลังค์ · ดูเพิ่มเติม »

มุน แจ-อิน

มุน แจ-อิน (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2496) เป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้ เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน พรรคมินจู ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และมุน แจ-อิน · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต

ัญลักษณ์ของยูเอสนิวส์ ภาพประตูหน้าของสำนักงานใหญ่ในวอชิงตัน ดี.ซี. ยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต เป็นนิตยสารรายสัปดาห์ มีสำนักงานอยู่ที่ วอชิงตัน ดี.ซี. เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2476 ในชื่อ ยูเอสนิวส์ และได้รวมเข้ากับบริษัท "เวิลด์รีพอร์ต" ในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหม.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี้คือรางวัลทางการศึกษานานาชาติของ ดร.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะนิติศาสตร์ในประเทศไทย

ันอุดมศึกษา ที่เปิดการเรียนการสอนคณะ, ภาควิชา, สาขาวิชา, สำนักวิชานิติศาสตร์ในประเทศไทย ได้แก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และรายชื่อคณะนิติศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2440) โดยได้เพิ่มวิชาภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่คลาสสิก วรรณคดี และวิชาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์เสริมเข้าไปในหลักสูตรแบบประเพณีโบราณ ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2475) ได้มีการเพิ่มสาขาวิชาใหม่ๆ เช่น การศึกษา สังคมวิทยา และจิตวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่างๆ และในช่วงประมาณ พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2523) ได้เกิดปรากฏการณ์ "การระเบิด" ของสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เน้นเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เช่น สื่อศึกษา สตรีศึกษา และชนผิวดำศึกษา สาขาใหม่ๆ เหล่านี้จัดขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอาชีพและวิชาชีพต่างๆ เช่น การพยาบาล การจัดการโรงพยาบาล การราชทัณฑ์ และหลังสุดก็ได้เห็นสาขาวิชาที่เป็นลักษณะ "สหสาขาวิชา" เช่น ชีวเคมี และ ธรณีฟิสิกส์เกิดเพิ่มขึ้นและได้รับการยอมรับว่าสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวางขึ้น เครื่องหมายดอกจัน * แสดงเป็นหมายเหตุว่าสาขาวิชานั้นยังเป็นที่ถกเถียงถึงสถานภาพว่าควรนับไว้ในสายวิชาใด เช่น วิชามานุษยวิทยา และวิชาภาษาศาสตร์ควรจัดไว้ในกลุ่มสังคมศาสตร์ หรือ มนุษยศาสตร์ เป็นที่สังเกตได้ว่าบางท่าน โดยเฉพาะนักทฤษฎีวิจารณ์มักให้ความสำคัญในการบ่งชี้การจัดกลุ่มที่เข้มงวดในทุกสายวิชา รวมทั้งความชัดเจนของโครงสร้างของแนวคิดโดยรวมของแต่ละวิชาซึ่งยังเป็นถกเถียงได้มากสำหรับบางคน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และรายการสาขาวิชา · ดูเพิ่มเติม »

ลอเรนโซ วัลลา

ลอเรนโซ วัลลา ลอเรนโซ วัลลา (Lorenso; Laurentius Valla ค.ศ. 1406-1457) เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวเมืองเนเปิลส์ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) ก่อนการปฏิรูปศาสนาของมาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther ค.ศ. 1483-1546) ซึ่งการเขียนประวัติศาสตร์ในยุคนี้จะมีลักษณะวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น วัลลามีผลงานด้านประวัติศาสตร์หลายชิ้น ที่โดดเด่นและได่รับการกล่าวถึงมากที่สุดคือเรื่อง Discourse on the Forgery of the Alleged Danation of Constantine ซึ่งเขียนขึ้นใน ค.ศ. 1440.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และลอเรนโซ วัลลา · ดูเพิ่มเติม »

วลาดอ บุชกอฟสกี

วลาดอ บุชกอฟสกี (Владо Бучковски) (เกิด 2 ธันวาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐมาซิโดเนียซึ่งได้รับเลือกจากรัฐสภาเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ก่อนหน้านี้เขาเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของมาซิโดเนียตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2544 ถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2544 และตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2551 วลาดอ บุชกอฟสกีถูกตัดสินว่ามีความผิดในการใช้อำนาจในทางที่ผิดในขณะที่ทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมระหว่างการสู้รบในปีพ.ศ. 2544 และถูกตัดสินจำคุกสามปีครึ่งในคุก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวลาดอ บุชกอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ วลาดีมีโรวิช ปูติน (Владимир Владимирович Путин; Vladimir Vladimirovich Putinr) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซียผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีรัสเซียคนที่สี่และคนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประธานพรรคยูไนเต็ดรัสเซียและประธานสภารัฐมนตรีสหภาพรัสเซียและเบลารุส เขารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวลาดีมีร์ ปูติน · ดูเพิ่มเติม »

วัยอลวน

วัยอลวน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวัยอลวน · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งตะเภา

วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย และเป็น 1 ใน 9 วัดศักดิ์สิทธิ์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 (ถนนสายเอเชีย) วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับสถาปนาขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี และประทับชำระคณะสงฆ์ จัดการหัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งวัดคุ้งตะเภา เป็นเพียงวัดแห่งเดียวในปริมณฑลเมืองพิชัยและสวางคบุรี ที่ปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในปีนั้น ตำนานวัดเล่าสืบกันมานับร้อยปีว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนย้ายกลับมาตั้งครัวเรือน สร้างวัดและศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ณ ริมคุ้งสำเภา พร้อมทั้งตรัสเรียกชื่อวัดที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า "วัดคุ้งตะเภา" ปัจจุบันทางราชการได้นำชื่อคุ้งตะเภาไปใช้ตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและชื่อตำบลคุ้งตะเภาสืบมาจนปัจจุบัน วัดแห่งนี้เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เคยเป็นวัดที่สถิตย์ของพระครูสวางคมุนี เจ้าคณะใหญ่เมืองฝางมาตั้งแต่โบราณ โดยเป็นวัดที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และสองพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งพระพุทธรูปทั้งสององค์นั้นจัดได้ว่าเป็น 2 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ คือ พระพุทธสุวรรณเภตรา และ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภาเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3 (สำนักปฏิบัติธรรมภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม)หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ และเป็นวัดประจำตำบลที่มีสถิติพระภิกษุสามเณรจำพรรษามากที่สุดในตำบลคุ้งตะเภา เป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนศึกษาของคณะสงฆ์และคฤหัสถ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาโดยพฤตินัย โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่มูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สำนักเลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์ สำนักศาสนศึกษาประจำตำบล และหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลคุ้งตะเภา (อปต.) ซึ่งเป็นหน่วยอบรมฯ ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) เป็นเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (จร.).

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวัดคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธิ์ วานิชบุตร

ล.ต.ต.วิสุทธิ์ วานิชบุตร วิสุทธิ์ วานิชบุตร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ผู้การวิสุทธิ์ เป็นอดีตข้าราชการตำรวจชาวไทย โดยเป็นรองผ.สำนักงานกฎหมายและคดี อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9 และอดีตผู้บังคับการตำรวจภูธร จังหวัดอ่างทอง เกิดเมื่อวันที่ 5 มกราคม..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวิสุทธิ์ วานิชบุตร · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธ์ บุษยกุล

ตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล ศาสตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล (เกิด: 8 พฤศจิกายน 2462, จังหวัดอุดรธานี; อนิจกรรม: 21 มกราคม 2554, กรุงเทพมหานคร) บิดาเป็นชาวจังหวัดอุดรธานี มารดาเป็นชาวสมุทรสงคราม เนื่องจากบิดารับราชการในแผนกคลังจังหวัด เด็กชายวิสุทธิ์จึงต้องติดตามบิดาไปอยู่จังหวัดนครพนมตั้แต่อายุประมาณ 2-3ขวบ และได้เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้ย้ายไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวิสุทธ์ บุษยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิทิต มันตาภรณ์

ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวิทิต มันตาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ เลาหะพันธุ์

.วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ ศาสตราจารย์พิเศษ วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพากร อดีตอธิบดีกรมศุลกากร อดีตนายกสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2528-2532) ปัจจุบันเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการบัญชีภาษีอากร ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ คตส. ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวิโรจน์ เลาหะพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10

สุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10 (Sri sultan Hamengkubuwono X) ทรงเป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 แห่งยอกยาการ์ตา และผู้ว่าราชการจังหวัดคนที่ 3 ของเมืองยกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ประสูติเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพระราชโอรสในสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 9กับ เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อ7 มีนาคม พ.ศ. 2532 ต่อจากพระราชบิดา ทรงสำเร็จการศึกษาจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกัจจา มาดา ทรงอภิเษกสมรสกับกุสตี กันเจง ราตู มีพระธิดา 5 พระองค์ ปัจจุบันประทับที่พระราชวังเมืองยกยาการ์ตา หมวดหมู่:บุคคลจากยกยาการ์ตา.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และศรีสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง

ในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Carolingian Renaissance) เกิดขึ้นเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยมีจุดที่รุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญและจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาพระราชโอรส ระหว่างช่วงเวลานี้ก็มีการศึกษาวรรณคดี, การเขียน, ศิลปะ, สถาปัตยกรรม, นิติศาสตร์, และหนังสือทางเทววิทยาศาสนาคริสต์กันอย่างแพร่หลาย นอกจากนั้นก็ยังเป็นสมัยของการวิวัฒนาการภาษาละตินสมัยกลาง และอักษรกาโรแล็งเฌียงกันขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างภาษาและวิธีการเขียนที่เป็นสามัญที่สามารถนำมาใช้ในการสื่อสารไปได้เกือบทั่วทั้งยุโรป การใช้คำว่า “renaissance” หรือ “สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา” ในการบรรยายช่วงเวลานี้ก็เป็นประเด็นที่โต้แย้งกัน เพราะการเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่จำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มนักบวชเท่านั้น และขาดการเคลื่อนไหวโยกย้ายอย่างกว้างขวางเช่นที่เกิดขึ้นในอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อมาScott pg 30 แทนที่จะเป็นการรื้อฟื้นของขบวนการทางวัฒนธรรมใหม่ ยุคนี้เป็นเพียงการพยายามที่จะเลียนแบบวัฒนธรรมของจักรวรรดิโรมันก่อนหน้านั้น.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในจักรวรรดิการอแล็งเฌียง · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท (Letsie III of Lesotho) เป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬาเทนนิส และทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการเกษตร พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท เสด็จลี้ภัยทางการเมือง.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงยูเลียนาเมื่อทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงยูเลียนาและพระราชมารดา เจ้าหญิงยูเลียนา พ.ศ. 2480 สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ หรือพระนามเต็ม ยูเลียนา เอ็มมา หลุยส์ มารี วิลเฮลมินา ฟาน ออรันเย-นัสเซา (Queen Juliana of the Netherlands,; 30 เมษายน พ.ศ. 2452 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่การสละราชสมบัติของพระราชชนนีในปี พ.ศ. 2491 จนถึงการสละราชสมบัติของพระองค์เองในปี พ.ศ. 2523 และทรงเป็นสมเด็จพระราชชนนีตั้งแต่ พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2547 พระอิสริยยศเดิมก่อนเสวยราชสมบัติคือ เจ้าฟ้าหญิงยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ (HRH Princess Juliana of the Netherlands).

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสังคมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

วิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2523 โดยสาขาวิชานิติศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เปิดทำการเรียนการสอนในสาขานิติศาสตร์เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย (รองจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยรามคำแหง) และเป็นสถาบันอุดมศึกษาอันดับที่ 6 ของประเทศไทยที่เปิดสอนในสาขาวิชานิติศาสตร์ (รองจาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์) ปัจจุบันสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรทางกฎหมาย จนถึงหลักสูตรปริญญาทางนิติศาสตร์ ปัจจุบัน ปริญญาทางนิติศาสตร์ จากสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้รับการรับรองจากเนติบัณฑิตยสภา ผู้ได้รับปริญญาทางนิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สามารถสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ของสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาและสามารถสอบไล่เพื่อเป็นเนติบัณฑิตไทยได้ (น.บ.ท.) และผู้ได้รับปริญญาทางนิติศาสตร์ จากสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สามารถสมัครเป็นวิสามัญสมาชิกเนติบัณฑิตยสภาได้ ซึ่งทำให้ผู้ได้รับปริญญาทางนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมีสิทธิสวมเสื้อครุยเนติบัณฑิตได้ และหากได้ผ่านการอบรมวิชาว่าความจากสภาทนายความแล้ว สามารถขอขึ้นทะเบียนเป็นทนายความได้โดยไม่ต้องสอบไล่ได้เนติบัณฑิตไทยก่อน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์

ตึกแม็คคอร์มิคก์ทริบิวน์แคมปัสเซนเตอร์ โดยมีรูปของ ลุดวิก มีส แวน เดอร์ โรห์ สถาปนิกผู้ออกแบบตึกในมหาวิทยาลัย เซอร์วิสอพาร์ตเมนต์ ส่วนขยายในสถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ (IIT) ภายในอาคารแคมปัสเซ็นเตอร์อีกหลังหนึ่งในบริเวณแม็คคอร์มิค ออกแบบโดยสถาปนิกเร็ม คูลฮาส สถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ (Illinois Institute of Technology, IIT) หรือรู้จักในชื่อ ไอไอที เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนตั้งอยู่ในเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา มีชื่อเสียงในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ นิติศาสตร์ และบริหารธุรกิจ ไอไอทีก่อตั้งในปี พ.ศ. 2483 โดยการรวมสองสถาบันจาก สถาบันเทคโนโลยีอาร์เมอร์ (ก่อตั้ง พ.ศ. 2436) และสถาบันเทคโนโลยีลูวิส (ก่อตั้ง พ.ศ. 2438) ปัจจุบันไอไอทีมีนักศึกษาประมาณ 6,500 คน และอาจารย์ 580 คน (ข้อมูล พ.ศ. 2549) ไอไอทีมีหลายวิทยาเขต โดยสาขาวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์จะเรียนในบริเวณวิทยาเขตหลัก ส่วนสาขาบริหารธุรกิจและนิติศาสตร์จะเรียนในตัวเมืองชิคาโก จุดโดดเด่นภายในสถาบันคือ ตึกภายในถูกออกแบบสถาปนิกชื่อดังของโลก เช่นในยุคแรกๆได้แก่ ลุดวิก มีส แวน เดอร์ โรห์ และยุคต่อมา (ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา) ได้แก่ เร็ม คูลฮาส, เฮลมุต ยาห์น ในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และสถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี

นักบุญอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี (Sant'Alfonso Maria de' Liguori) เป็นมุขนายกโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้ก่อตั้งคณะพระมหาไถ่ และมีผลงานเขียนสำคัญเกี่ยวกับเทววิทยาศีลธรรม หลังจากมรณกรรมได้รับการประกาศเป็นนักบุญและนักปราชญ์แห่งคริสตจักร.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี · ดูเพิ่มเติม »

อัสสมาจารย์นิยม

การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อัสสมาจารย์นิยม (Scholasticism) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการในมหาวิทยาลัยในยุโรปสมัยกลาง (ค.ศ. 1,100-1,700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนในอารามคริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ และเทววิทยาde Ridder-Symoens 1992, pp.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และอัสสมาจารย์นิยม · ดูเพิ่มเติม »

อาชญาวิทยา

อาชญาวิทยา (อังกฤษ: criminology) เป็นสาขาวิชาที่มุ่งศึกษาถึงการอธิบายสาเหตุของการกระทำความผิดของอาชญากร (ผู้กระทำผิด) ซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น 3 สาเหตุหลักๆ คือ การกระทำความผิดที่เกิดจากปัจจัยทางชีวภาพ, การกระทำความผิดที่เกิดจากปัจจัยทางจิต และการกระทำความผิดที่เกิดจากปัจจัยทางสังคม อาชญาวิทยาเป็นสาขาสหวิทยาการของพฤติกรรมศาสตร์ที่ดึงเอางานวิจัยจากสังคมวิทยา จิตวิทยา จิตเวชศาสตร์ มานุษยวิทยาสังคม และนิติศาสตร.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และอาชญาวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์

นายกองตรี อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน กลุ่ม 8 สังกัดพรรคมาตุภูมิ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคมาตุภูม.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าพะยอม

อำเภอป่าพะยอม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และอำเภอป่าพะยอม · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ ธรรมใจ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อนุสรณ์ ธรรมใจ รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริการในคณะกรรมการสภาการศึกษ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และอนุสรณ์ ธรรมใจ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รอเบิตส์

อห์น กลอเวอร์ รอเบิตส์ จูเนียร์ (John Glover Roberts Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และจอห์น รอเบิตส์ · ดูเพิ่มเติม »

จิรนิติ หะวานนท์

ตราจารย์พิเศษ ดร.จิรนิติ หะวานนท์ ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล อดีตอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง จบการศึกษานิติศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนติบัณฑิต สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล แผนกธรรมศาสตร์ ไปศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกทางกฎหมาย ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา สำเร็จการศึกษาปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ปริญญาโทและปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยจอร์จ วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเป็นอาจารย์ผู้บรรยายวิชา กฎหมายปกครองที่สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา และเป็นอาจารย์ผู้บรรยายวิชาอาชญาวิทยาชั้นสูง หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.จิรนิติ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และจิรนิติ หะวานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ ติงศภัทิย์

ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และจิตติ ติงศภัทิย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมศาสตร์

รรมศาสตร์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล จันทร์ประสงค์

วิล จันทร์ประสงค์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 – 18 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และถวิล จันทร์ประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์

ในทฤษฎีความน่าจะเป็น สถิติ การอนุมาน และ ปัญญาประดิษฐ์ บางครั้งจะพบคำว่า แบบเบย์ (Bayesian) มาขยายชื่อทฤษฎีหรือโมเดลต่างๆ โดยทุกครั้งที่พบคำขยายนี้หมายความว่าได้มีการนำปรัชญาหรือหลักการของ ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์ (บางท่านเรียก การอนุมานแบบเบย์ หรือ สถิติแบบเบย์) มาใช้กับสาขาความรู้นั้นๆ ถ้าจะกล่าวอย่างไม่เป็นทางการ, ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์แปลความหมายของคำว่า ความน่าจะเป็น เป็น ความเชื่อมั่นส่วนบุคคลในเหตุการณ์หนึ่ง ๆ ซึ่งต่างจากทฤษฎีความน่าจะเป็นของคอลโมโกรอฟ (ที่มักถูกเรียกว่าทฤษฎีความน่าจะเป็นเชิงความถี่) ที่มักแปลความหมายของความน่าจะเป็น (โดยต้องแปลควบคู่ไปกับการทดลองเสมอ) ดังนี้ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ A คือ อัตราส่วนของจำนวนครั้งของเหตุการณ์ A ที่ทดลองสำเร็จเทียบกับจำนวนครั้งที่ทดลองทั้งหมด จุดแตกต่างสำคัญระหว่างทฤษฎีทั้งสองประเภทมีดังนี้.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย อุดมโชค

นัย อุดมโชค เป็นนักเทนนิสชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2524 ที่กรุงเทพมหานคร อันดับโลกสูงสุดของดนัย อยู่ที่อันดับ 77 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2550 หลังจากทำผลงานได้ดีในเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน ประจำปี 2007 เอาชนะฮวน คาร์ลอส เฟอร์เรโร อดีตมืออันดับ 1 ของโลก 7-6, 7-5, 4-6, 6-1 ผ่านเข้ารอบสามของรายการ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และดนัย อุดมโชค · ดูเพิ่มเติม »

คมสัน โพธิ์คง

มสัน โพธิ์คง เป็นนักนิติศาสตร์ชาวไทย อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เขามีชื่อเสียงจากการเป็นสมาชิกนักวิชาการกลุ่มสยามประชาภิวัฒน์ อันเป็นกลุ่มนักวิชาการที่รวมตัวกันเฉพาะกิจขนาดเล็กที่มีการพบปะพูดคุยเพื่อออกแถลงการณ์ในเรื่องที่กลุ่มเห็นว่าฝ่ายผู้มีอำนาจนั้นกระทำการไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือตามนโยบายที่ไม่สมเหตุสมผล อนึ่ง เขาเป็นคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และคมสัน โพธิ์คง · ดูเพิ่มเติม »

ความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)

ในรัฐศาสตร์ ความชอบธรรม (legitimacy) คือ การที่อำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎหมายซึ่งใช้บังคับ หรือระบอบการปกครองนั้น ได้รับการยอมรับจากสาธารณชน ความชอบธรรมทางการเมืองถือเป็นเงื่อนไขพื้นฐานในการปกครอง ถ้าไร้ซึ่งความชอบธรรมแล้ว รัฐบาลจะ "เข้าตาจนในการบัญญัติกฎหมาย" (legislative deadlock) และอาจล่มสลายได้ในที่สุด แต่ในระบบการเมืองซึ่งมิได้ให้ความสำคัญแก่ความชอบธรรมนั้น ระบอบการปกครองที่มิใช่ของประชาชนสามารถดำรงอยู่ได้เพราะได้รับการอุ้มชูจากอภิชนกลุ่มเล็ก ๆ ที่มีอิทธิพลมาก ในปรัชญารัฐศาสตร์จีน นับแต่สมัยราชวงศ์โจวเป็นต้นมา รัฐบาลและผู้ปกครองจะมีความชอบธรรมต่อเมื่อได้รับอาณัติแห่งสวรรค์ (Mandate of Heaven) เมื่อใดที่ผู้ปกครองขาดอาณัติแห่งสวรรค์ เมื่อนั้นก็จะขาดความชอบธรรมและสิทธิที่จะปกบ้านครองเมือง ในจริยปรัชญา คำว่า "ความชอบธรรม" มักได้รับการตีความอย่างเด็ดขาดว่า เป็นบรรทัดฐานที่ผู้อยู่ใต้ปกครองได้ประทานให้แก่ผู้ปกครองและการกระทำต่าง ๆ ของผู้ปกครอง โดยเชื่อว่า คณะผู้ปกครองที่ได้รับการจัดตั้งตามกฎหมายจะกระทำการทั้งหลายด้วยอำนาจที่ใช้อย่างเหมาะสม ส่วนในนิติศาสตร์นั้น "ความชอบธรรม" (legitimacy) ต่างจาก "ความชอบด้วยกฎหมาย" (legality) เพราะการกระทำของผู้ปกครองอาจชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่ชอบธรรมก็ได้ เช่น มติอ่าวตังเกี๋ยที่ให้รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเปิดสงครามต่อเวียดนามได้โดยไม่ต้องประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ ตรงกันข้าม การกระทำของผู้ปกครองอาจชอบธรรม แต่ไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ได้ เช่น กรณีรัฐบาลทหารชิลีเมื่อ ค.ศ. 1973 ตัวอย่างของเรื่องราวเหล่านี้ยังเห็นได้ในคราววิกฤติรัฐธรรมนูญ ในยุคเรืองปัญญา จอห์น ล็อก (John Locke) นักทฤษฎีสังคมชาวอังกฤษ เสนอว่า ความชอบธรรมทางการเมืองย่อมมาจากการที่ประชาชนยินยอมให้ปกครองไม่ว่าโดยแจ้งชัดหรือโดยปริยาย เขาว่า "ขอโต้แย้งศาสตรนิพนธ์ ว่า รัฐบาลย่อมขาดความชอบธรรม เว้นแต่จะดำเนินการเมื่อได้รับความยินยอมของผู้ใต้ปกครอง" ขณะที่ดอล์ฟ สเติร์นเบอร์เกอร์ (Dolf Sternberger) ปรัชญาเมธีรัฐศาสตร์เยอรมัน ว่า "ความชอบธรรมเป็นรากฐานของอำนาจในการปกครองที่พึงใช้เมื่อฝ่ายผู้ปกครองตระหนักว่า ตนมีสิทธิจะปกครอง และเมื่อผู้ใต้ปกครองยอมรับสิทธินั้นพอสมควร" ส่วนซีมอร์ มาติน ลิปเซ็ต (Seymour Martin Lipset) ว่า ความชอบธรรมยัง "ประกอบด้วย การที่ระบบการเมืองสามารถสร้างและรักษาความเชื่อที่ว่า สถาบันทางการเมืองที่มีอยู่นั้นเป็นสถาบันที่เหมาะสมและถูกต้องที่สุดสำหรับสังคมแล้ว" ด้วย และรอเบิร์ต เอ. ดาห์ล (Robert A. Dahl) ปรัชญาเมธีรัฐศาสตร์ชาวอเมริกัน อธิบายว่า "ความชอบธรรมนั้นเป็นดังฝาย ตราบที่สายชลปริ่มอย่างได้ระดับ เสถียรภาพทางเมืองก็ดำรงอยู่ แต่หากน้ำต่ำกว่าระดับที่พึงมี ความชอบธรรมทางการเมืองก็นับว่าล่อแหลม".

ใหม่!!: นิติศาสตร์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ความสามารถของบุคคล

วามสามารถของบุคคล (competence of person) ในทางนิติศาสตร์นั้นได้แก่ความสามารถสองประการ คือ ความสามารถที่บุคคลจะมีสิทธิ และความสามารถที่บุคคลจะใช้สิทธิ บุคคลจะใช้สิทธิกระทำการใด กฎหมายบัญญัติให้ต้องมีความสามารถจะกระทำการนั้นก่อน เพื่อป้องกันความเสียหายอันจะเกิดแก่บุคคลนั้นเองและบุคคลอื่น บุคคลประเภทที่กฎหมายสันนิษฐานว่าไม่อยู่ในภาวะที่จะบริหารความสามารถของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ผู้เยาว์ (minor), คนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) และคนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person) ซึ่งความสามารถตามกฎหมายของบุคคลเหล่านี้จะถูกจำกัดมากน้อยแล้วแต่กรณี นิติกรรมที่บุคคลเหล่านี้จะกระทำ กฎหมายจึงกำหนดเงื่อนไขไว้ต่าง ๆ เพื่อพิทักษ์ประโยชน์ของเขาเหล่านั้นโดยเฉพาะ อย่างไรก็ดี นิติบุคคล (juristic person) ซึ่งมิใช่บุคคลแท้ ๆ ก็อาจมีความสามารถตามกฎหมายเช่นบุคคลธรรมดา (natural person) ได้ เว้นแต่เป็นเรื่องที่ตามสภาพแล้วไม่สามารถกระทำได้เองจริง ๆ เช่น การมีครอบครัว หรือเข้าสมรส เป็นต้น.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และความสามารถของบุคคล · ดูเพิ่มเติม »

ความจริง

วามจริง ถูกใช้อย่างสอดคล้องบ่อยครั้งกับข้อเท็จจริงและความเป็นจริงMerriam-Webster's Online Dictionary,, 2005 หรือความเที่ยงตรง ของต้นแบบ, มาตรฐาน หรือความคิด หลักปรัชญาตรงข้ามของความจริงคือความผิด ซึ่งสามารถใช้ในทางความหมายเชิงตรรกะ, รูปธรรม หรือจริยธรรมได้อย่างพ้องกัน แนวคิดของความจริงคืออภิปรายและถกเถียงในอรรถาธิบายหลากหลายประเด็น รวมถึงในเรื่องปรัชญาและศาสนา โดยกิจกรรมหลายอย่างของมนุษย์ใช้ความจริง เช่น วิทยาศาสตร์, นิติศาสตร์ และชีวิตประจำวัน หลากหลายทฤษฎีและมุมมองของความจริงยังคงถูกถกเถียงในหมู่นักปรัชญาและนักวิชาการ ภาษาและคำพูดคือสิ่งที่มนุษย์ใช้สื่อสารระหว่างกันและกัน และแนวคิดดังกล่าวเคยมองความจริงว่าเป็นเกณฑ์ของความจริง (criterion of truth) นอกจากนี้ยังมีคำถามมากมาย เช่น สิ่งใดถือเป็นความจริง, ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ว่าสิ่งใดจริงสิ่งใดไม่จริง และความจริงเป็นอัตวิสัยหรือรูปธรรม เป็นความสัมพันธ์หรือความสัมบูรณ์ หลายศาสนาพิจารณาการรอบรู้ความจริงทั้งหมดของสิ่งทั้งมวล (สัพพัญญู) ว่าเป็นลักษณะของเทวดาหรือความเหนือธรรมชาต.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และความจริง · ดูเพิ่มเติม »

ความเกี่ยวดอง

ในทางนิติศาสตร์และมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ความเกี่ยวดอง หรือ สัมพรรคภาพ หมายถึงความเป็นญาติที่เกิดจากการสมรส ซึ่งแยกแยะออกจากการร่วมสายโลหิต เป็นความสัมพันธ์ที่ทำให้ญาติของคู่สมรสทั้งสองฝ่าย "เกี่ยวดองกัน" คือเป็นเครือญาติซึ่งกันและกัน ในภาษาไทย ญาติฝ่ายชายจะเรียกคู่สมรสฝ่ายหญิงว่า สะใภ้ เช่น ลูกสะใภ้ พี่สะใภ้ ป้าสะใภ้ ฯลฯ และญาติฝ่ายหญิงจะเรียกคู่สมรสฝ่ายชายว่า เขย เช่น ลูกเขย น้องเขย น้าเขย ฯลฯ ส่วนในภาษาอังกฤษจะเติมคำว่า -in-law ต่อท้ายระดับความเป็นญาติเช่น daughter-in-law หมายถึงลูกสะใภ้ เป็นต้น.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และความเกี่ยวดอง · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2507 พร้อมกับการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ จัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ ก่อตั้งและเสนอขอเปิดการเรียนการสอนในสาขานิติศาสตร์ในปี พ.ศ. 2532 และเริ่มเปิดการเรียนการสอนเป็นครั้งแรกในปีการศึกษา 2533 นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคเหนือที่เปิดการเรียนการสอนเป็นหลักสูตรนิติศาสตร์ ปัจจุบันมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สัญลักข์ ปัญวัฒนลิขิต ดำรงตำแหน่ง คณบดี ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอน 2 หลักสูตร ได้แก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กระทรวงศึกษาธิการ มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ และมีความรู้พื้นฐานในการศึกษาต่อ รวมทั้งมีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ มุ่งมั่นในการสร้างสรรค์ความเจริญให้แก่องค์กร สังคม และประเทศชาติ ปัจจุบัน คณะนิติศาสตร์ เปิดสอนทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505

แผนที่ฝรั่งเศส ฉบับที่กัมพูชาส่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศใช้พิจารณา คดีปราสาทพระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดนไทยด้านอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิดจากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้ำของเทือกเขาพนมดงรักคนละฉบับ ทำให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลกได้ตัดสินให้ตัวปราสาทพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม อย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประติภา ปาฏีล

ประติภา เทวีสิงห์ ปาฏีล (प्रतिभा देवीसिंह पाटिल ปฺรติภา เทวีสิงฺห ปาฏิล; Pratibha Devisingh Patil; เกิด 19 ธันวาคม พ.ศ. 2477) เป็นประธานาธิบดีอินเดียคนที่ 12 นับเป็นชาวมหาราษฎระคนแรกและเป็นสตรีคนแรกในประวัติศาสตร์ของอินเดียที่ได้เข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และประติภา ปาฏีล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแมคกิลล์สวมชุดครุยระดับปริญญาเอก กลุ่มบัณฑิตที่ได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกับอาจารย์ของพวกเขา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Philosophiae doctor, Doctor of Philosophy, อักษรย่อ ปร.ด., PhD, Ph.D. หรือ DPhil) คือปริญญาทางวิชาการสูงสุดที่ได้รับจากมหาวิทยาลัยในหลายประเทศ การได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมาจากหลักสูตรที่มีความกว้างขวางของสาขาทางวิชาการ การได้มาซึ่งปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมักจะเป็นที่ต้องการสำหรับอาชีพอาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิจัย หรือนักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ บุคคลที่ได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตอาจใช้คำนำหน้าว่าดอกเตอร์ (Doctor) หรือนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "ดร." ("Dr") ในทางกฎหมายได้ หรือในประเทศที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษอาจใช้คำที่แตกต่างกันเช่น "Dr.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

นาลันทา

250px โบราณสถานในนาลันทา ด้านหน้า โบราณสถานในนาลันทา ด้านหลัง นาลันทา เป็นชื่อเมือง ๆ หนึ่งในแคว้นมคธ อยู่ห่างจากพระนครราชคฤห์ประมาณ 1 โยชน์ (ประมาณ 16 กิโลเมตร) ณ เมืองนี้มีสวนมะม่วง ชื่อ ปาวาริกัมพวัน (สวนมะม่วงของปาวาริกเศรษฐี) ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับแรมหลายครั้งคัมภีร์ฝ่ายมหายานกล่าวว่า พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นอัครสาวก เกิดที่เมืองนาลันทา แต่คัมภีร์ฝ่ายบาลีเรียกถิ่นเกิดของ พระสารีบุตรว่า หมู่บ้านนาลกะหรือนาลันทคาม "นาลันทามหาวิชชาลัยของพุทธศาสนานิกายมหายาน".

ใหม่!!: นิติศาสตร์และนาลันทา · ดูเพิ่มเติม »

นิติพิษวิทยา

นิติพิษวิทยา (Forensic Toxicology) เป็นการเรียนรู้องค์ประกอบสารเคมีที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือพิษต่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย เมื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานด้านนิติศาสตร์เพื่อหาสาเหตุการตายหรือความเชื่อมโยงกับความตาย จึงเรียกชื่อว่า นิติพิษวิทยาความตายของมนุษย์อาจมาจากสาเหตุตามธรรมชาติ หรือฆาตกรรมซึ่งแยกออกเป็นการตายด้วยอาวุธ ด้วยสารเคมี เป็นต้น เมื่อมีเหตุน่าสงสัยเกี่ยวข้องกับความตายของบุคคลซึ่งอาจเชื่อมโยงกับสารพิษ จะต้องมีการเก็บของเหลวหรือชิ้นส่วนอวัยวะที่อาจเปื้อนสารพิษไปให้นักพิษวิทยาค้นหา สารเคมีที่ไม่ควรมีอยู่ในร่างกายหรือมีเกินกว่ามาตรฐาน จนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายถึงชีวิต เช่น สารดีดีที สารหนู และอื่นๆ การใช้ยาบางชนิดเกินขนาดมาตรฐานอาจฆ่าคนได้ไม่ว่าด้วยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ตัวอย่างเช่น ยาพ่นจมูกของคนเป็นหอบหืด ถ้ามีการใช้ผิดคน ผิดโอกาส ระดับการใช้และสภาพแวดล้อมของคนตาย นักพิษวิทยาสามารถบอกได้ว่า สารพิษดังกล่าวเข้าไปอยู่ในร่างกายโดยเจตนาหรือไม่ จากการวิเคราะห์สารเคมี ระดับของสารนั้น เป็นต้น วิชาพิษวิทยามีการแยกประเภทของสารพิษหลากหลายที่ส่งผลเสียต่อร่างกายมนุษย์หนักเบาแตกต่างกัน จึงต้องอาศัยความเชี่ยวชาญของนักพิษวิทยาในการสืบสวนคดีของตำรวจอย่างมากในโลกยุคใหม่ ความตายของบางคนถ้าดูภายนอก ไม่อาจบ่งบอกได้ว่าสาเหตุการตายคืออะไร หากตรวจสารพิษในร่างกายอาจพบสาเหตุได้จากเคมีในร่างกายเท่านั้น ดังนั้น การเก็บของเหลว เนื้อเยื่อ จากศพเพื่อตรวจสารพิษอย่างมีมาตรฐาน จะช่วยคลี่คลายคดีได้มากขึ้น หมวดหมู่:พิษวิทยา หมวดหมู่:นิติเวชศาสตร์.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และนิติพิษวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำหนัก

เครื่องชั่งสปริงเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้วัดขนาดของน้ำหนัก ในทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ น้ำหนัก หมายถึงแรงบนวัตถุอันเนื่องมาจากความโน้มถ่วง ขนาดของน้ำหนักในปริมาณสเกลาร์ มักเขียนแทนด้วย W แบบตัวเอน คือผลคูณของมวลของวัตถุ m กับขนาดของความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง g นั่นคือ ถ้าหากพิจารณาน้ำหนักว่าเป็นเวกเตอร์ จะเขียนแทนด้วย W แบบตัวหนา หน่วยวัดของน้ำหนักใช้อย่างเดียวกันกับหน่วยวัดของแรง ซึ่งหน่วยเอสไอก็คือนิวตัน ยกตัวอย่าง วัตถุหนึ่งมีมวลเท่ากับ 1 กิโลกรัม มีน้ำหนักประมาณ 9.8 นิวตันบนพื้นผิวโลก มีน้ำหนักประมาณหนึ่งในหกเท่าบนพื้นผิวดวงจันทร์ และมีน้ำหนักที่เกือบจะเป็นศูนย์ในห้วงอวกาศที่ไกลออกไปจากเทหวัตถุอันจะส่งผลให้เกิดความโน้มถ่วง ในทางนิติศาสตร์และการพาณิชย์ น้ำหนัก มีความหมายเดียวกันกับมวล The National Standard of Canada, CAN/CSA-Z234.1-89 Canadian Metric Practice Guide, January 1989.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และน้ำหนัก · ดูเพิ่มเติม »

แอมโบรสแห่งมิลาน

นักบุญแอมโบรสแห่งมิลาน (Ambrose of Milan; Ambrosius; Ambrogio) (ราว ค.ศ. 337 ถึง ค.ศ. 340-344 เมษายน ค.ศ. 397) เป็นบาทหลวงชาวโรมันดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งมิลาน ซึ่งมีบทบาทสำคัญในคริสตจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 4 นักบุญแอมโบรสเป็นหนึ่งในสี่คนแรกของนักปราชญ์แห่งคริสตจักร.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และแอมโบรสแห่งมิลาน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ แลงกาต์

รแบร์ แลงกาต์ (Robert Lingat รอแบร์ แล็งกา) หรือ ร. แลงกาต์ (เกิด:พ.ศ. 2435; ตาย: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) เป็นศาสตราจารย์ทางนิติศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส โด่งดังจากการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายในภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อวงการกฎหมายไทยในอดีตอย่างยิ่ง โรแบร์ แลงการ์ต ถือกำเนิดเมื่อ พ.ศ. 2435 ณ เมืองชาร์เลอวีล-เมซีแยร์ แคว้นอาร์แดน ประเทศฝรั่งเศส ชีวิตส่วนตัวของเขาไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ในด้านการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2462 เขาได้ศึกษาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต จนได้รับประกาศนียบัตรจากสถาบันภาษาตะวันออกแห่งกรุงปารีส ต่อมาได้ศึกษากฎหมายเอกชนจนได้รับปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตในกรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2474 มีผลงานเป็นวิทยานิพนธ์เรื่อง "เลสกลาวาชปรีเวดองเลอวีเยอดรัวซียามัว" (L'esclavage privé dans le vieux droit siamois, "ระบบทาสเอกชนในกฎหมายเก่าของสยาม") ในด้านการทำงาน ระหว่าง พ.ศ. 2461 ถึง พ.ศ. 2462 เขาเป็นล่ามให้กองทัพไทยในฝรั่งเศส ครั้น พ.ศ. 2467 ถึง พ.ศ. 2483 จึงย้ายมาประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครโดยเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และอาจารย์วิชานิติศาสตร์ของหลายมหาวิทยาลัยในเอเชีย รวมถึงระดับปริญญาตรีและปริญญาโทของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขาดำเนินการสอนเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยมีล่ามถ่ายทอดเป็นภาษาไทยอีกที ณ ที่นั้น เขายังได้เป็นที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรม และได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายอินเดียที่กำลังเจริญเติบโต เขาปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยกระทั่ง พ.ศ. 2498 จึงสิ้นสุดงานการสอนของเขาและจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศกัมพูชากลับไปบ้านเกิดเมืองนอนของเขา ก่อนเขาจะถึงแก่กรรม เขาได้ทำการสอนที่ศูนย์อินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยปารีส กระทั่งจากโลกไปเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 หนึ่งปีก่อนที่ผลงานของเขาจะได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษและนำชื่อของเขาเข้าสู่โลกระดับสากล โรแบร์ แลงกาต์ มีชีวิตอยู่ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และโรแบร์ แลงกาต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เลมีเซราบล์

ลมีเซราบล์ หรือ เหยื่ออธรรม (Les Misérables;;; แปลตรงตัวว่า ผู้น่าอนาถ หรือ ผู้น่าสังเวช) เป็นนิยายประพันธ์ใน พ.ศ. 2404 โดยวิกตอร์ อูโก นักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส และเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในนิยายประพันธ์ที่ดีที่สุดในศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และเลมีเซราบล์ · ดูเพิ่มเติม »

เจตนา

ตนา /เจดตะนา/ หมายถึง ความตั้งใจ ความจงใจ หรือความมุ่งหมาย หรือหมายถึงกิริยาเช่นนั้นก็ได้ ในทางวิชาการมีรายละเอียดตามแต่สาขา โปรดดูตามนั้น.

ใหม่!!: นิติศาสตร์และเจตนา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์

right เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปภัมภ์ เป็นองค์การอิสระ ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิต..

ใหม่!!: นิติศาสตร์และเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Jurisprudenceคณะนิติศาสตร์นิติศาสตร์บัณฑิต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »