สารบัญ
265 ความสัมพันธ์: ชยาภา วงศ์สวัสดิ์บรรหาร ศิลปอาชาชวรัตน์ ชาญวีรกูลชวลิต ยงใจยุทธชวน หลีกภัยบัณฑิต ศิริพันธุ์ชาติชาย ชุณหะวัณชิดชัย วรรณสถิตย์บุรีรัตน์ รัตนวานิชช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านพิษณุโลกบ้านผีสิงพ.ศ. 2475พ.ศ. 2481พ.ศ. 2530พ.ศ. 2552พ.ศ. 2557พรรคประชาธิปัตย์พรวุฒิ สารสินพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560พระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษาพระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)พฤณท์ สุวรรณทัตพะจุณณ์ ตามประทีปพะเนียง กานตรัตน์พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพิรุณ แผ้วพลสงพินิจ จารุสมบัติพจน์ สารสินกรมประชาสัมพันธ์กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)กรณีมายาเกซกลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยาการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทยการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตรการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็กการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกการเมืองไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476... ขยายดัชนี (215 มากกว่า) »
ชยาภา วงศ์สวัสดิ์
วงศ์สวัสดิ์ (ชื่อเล่น: เชอรี่) อดีตข้าราชการอัยการชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นนักร้อง ในสังกัดเมกเกอร์เฮด เครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและชยาภา วงศ์สวัสดิ์
บรรหาร ศิลปอาชา
รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและบรรหาร ศิลปอาชา
ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและชวรัตน์ ชาญวีรกูล
ชวลิต ยงใจยุทธ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและชวลิต ยงใจยุทธ
ชวน หลีกภัย
วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและชวน หลีกภัย
บัณฑิต ศิริพันธุ์
นายบัณฑิต ศิริพันธุ์ ทนายความและนักกฎหมายที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2484 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา, โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร, นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาธรรมศาสตร์ (ร่วมรุ่นเดียวกับ นายชวน หลีกภัย และ นายสมัคร สุนทรเวช), เนติบัณฑิตไทย จากสำนักงานอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LL.M) จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ทำงานครั้งแรกด้วยการเป็นทนายความฝึกหัดของสำนักงานกฎหมายเสนีย์ ปราโมช ของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษา จึงใกล้ชิดและสนิทสนมกับ ม.ร.ว.เสนีย์ และบุคคลในพรรคประชาธิปัตย์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและบัณฑิต ศิริพันธุ์
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและชาติชาย ชุณหะวัณ
ชิดชัย วรรณสถิตย์
ลตำรวจเอก นายกองใหญ่ ดร.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดอุบลราชธานี) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี (คนที่ 1) สมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร พ้นจากตำแหน่งเนื่องจาก รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและชิดชัย วรรณสถิตย์
บุรีรัตน์ รัตนวานิช
ลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2491 เป็นน้องชายคนสุดท้องของในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 6 คน ของ พล.อ.เลิศรัตน์ รัตนวานิช สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) แบบสรรหา จบการศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 7 (ตท.7-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.สพรั่ง กัลยาณมิตร, พล.อ.ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์, พล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน), โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 14, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ 41, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 27, วิทยาลัยการทัพอากาศรุ่นที่ 28, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 42 รับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ ๆ อาทิ ผู้บังคับบัญชากองบิน 2 ลพบุรี (1 ตุลาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและบุรีรัตน์ รัตนวานิช
ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
บ้านพิษณุโลก
้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489 บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและบ้านพิษณุโลก
บ้านผีสิง
้านวินเชสเตอร์มีสตรี เชื่อว่าเป็นบ้านผีสิง บ้านผีสิง หมายถึงบ้านหรือที่อยู่อาศัยที่เชื่อว่าเป็นที่ที่มีสิ่งลึกลับเกิดขึ้นหรือปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติเกิดขึ้น ซึ่งอาจหมายถึง ผี วิญญาณ หรือ สิ่งชั่วร้ายอย่างปีศาจ บ้านผีสิงมักจะเป็นที่อยู่อาศัยของวิญญาณคนตายที่อาจเคยอาศัยอยู่เดิมหรือคุ้นเคยกับสถานที่ เรื่องราวในบ้านที่เกิดขึ้นอาจจะพูดได้ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์รุนแรงหรือโศกนาฏกรรม ภายในอาคารในอดีตที่ผ่านมาอย่างเช่น ฆาตกรรม การเสียชีวิตโดยอุบัติเหตุ หรือการฆ่าตัวตาย ทั้งในเรื่องไม่นานไปจนถึงในอดีตอันยาวนาน ในความเชื่อหลายวัฒนธรรมและศาสนา เชื่อว่าหลังความตายยังคงมีวิญญาณล่องลอยอยู่ ในบ้านผีสิงอาจจะมีเสียงลึกลับหรือการปรากฏตัวของผี หรือแม้กระทั่งการทำให้วัตถุ สิ่งของเคลื่อนที่ หลายตำนานเกี่ยวกับบ้านผีสิง มีปรากฏในวรรณกรรม ที่แสดงในเนื้อเรื่องของนิยายสยองขวัญหรือนิยายแนวกอธิก หรือนิยายปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติ นักเขียนในยุคโรมันอย่าง เพลาตุส พลินิผู้ลูก และ ลูเซียน เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับบ้านผีสิงไว้ เช่นเดียวกับวรรณกรรม อาหรับราตรี และนักเขียนรุ่นใหม่ตั้งแต่ เฮนรี เจมส์ ไปจนถึง สตีเฟน คิง ก็มีเรื่องราวที่เขียนเช่นนี้เช่นกัน ส่วนเรื่องเขียนเกี่ยวกับปราสาทและคฤหาสน์ผีสิง มีทั่วไปในวรรณกรรมกอธิก เช่นเรื่อง แดร็กคูลา โครงสร้างของนิยายแนวบ้านผีสิง เป็นได้ตั้งแต่ปราสาทผีสิงเก่า ๆ ไปจนถึงบ้านนอกเมืองแบบชาวไร่ โดยบ้านเก่า ๆ มักจะใช้ในการแต่งเป็นบ้านผีสิง ส่วนบ้านผีสิงในฉบับอเมริกันที่ใช้บ้านในสไตล์วิกตอเรียน (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แบบเซคันด์เอมไพร์) มีที่มาจากเหตุการณ์วิกฤตการณ์ ค.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและบ้านผีสิง
พ.ศ. 2475
ทธศักราช 2475 ตรงกั.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพ.ศ. 2475
พ.ศ. 2481
ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพ.ศ. 2481
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพ.ศ. 2530
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพ.ศ. 2552
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพ.ศ. 2557
พรรคประชาธิปัตย์
รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพรรคประชาธิปัตย์
พรวุฒิ สารสิน
รวุฒิ สารสิน เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง และนักแสดงชาวไทย ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการ บริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด ซึ่งในประวัติการทำงานส่วนนี้ทำให้ได้รับฉายาว่า "เจ้าพ่อน้ำดำ".
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพรวุฒิ สารสิน
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)
ันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ สมาชิกคณะราษฎรผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ ทหารบกชั้นผู้ใหญ่ เป็นระดับผู้บังคับบัญชาและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนา, พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ พระยาฤทธิอัคเนย์ มีชื่อเดิมว่า สละ เอมะศิริ เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
ระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560
ระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560
พระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549
ระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม เป็นส่วนหนึ่ง ใน พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549
พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา
ระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา พุทธศักราช 2520 จัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489 เป็นเวลาหมื่นวันเศษ ใน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา
พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)
ลตรี พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น) เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ นายทหารบกชั้นผู้ใหญ่ ระดับเสนาธิการและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนา, พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ โดยพระประศาสน์พิทยายุทธ ถือเป็นทหารเสือที่อาวุโสน้อยที่สุด ด้วยวัยวุฒิ, ยศ และบรรดาศักดิ์ พระประศาสน์พิทยายุทธ มีชื่อเดิมว่า วัน ชูถิ่น เกิดเมื่อปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)
พฤณท์ สุวรรณทัต
ลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชุดที่ 3 อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพฤณท์ สุวรรณทัต
พะจุณณ์ ตามประทีป
ลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป (ชื่อเล่น: ตุ้ม) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบและสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตหัวหน้าสำนักงานมูลนิธิรัฐบุรุษและนายทหารคนสนิท พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรีและประธานองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพะจุณณ์ ตามประทีป
พะเนียง กานตรัตน์
ลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2464 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนการบินประเทศอังกฤษ, Air Command and Staff College และ Tactical Air Command ประเทศสหรัฐอเมริกา, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ, โรงเรียนวิทยาลัยกองทัพบก, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพะเนียง กานตรัตน์
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
พิรุณ แผ้วพลสง
ลเอก พิรุณ แผ้วพลสง อดีตประธานกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน กรรมการ เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพิรุณ แผ้วพลสง
พินิจ จารุสมบัติ
นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพินิจ จารุสมบัติ
พจน์ สารสิน
น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและพจน์ สารสิน
กรมประชาสัมพันธ์
กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกรมประชาสัมพันธ์
กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
กรณีมายาเกซ
กรณีมายาเกซ (Mayaguez incident) เป็นปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐอเมริกาที่รวดเร็ว และเกิดขึ้นเพียง 3 วัน ระหว่างวันที่ 13-15 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกรณีมายาเกซ
กลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
การชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อหลากสี ที่ลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่ เมื่อวันที่ 21 เมษายน กลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หรือ เครือข่ายพลเมืองอาสาปกป้องแผ่นดิน หรือที่นิยมเรียกกันว่า กลุ่มคนเสื้อหลากสี เป็นการรวมตัวของประชาชนเพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยกับการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา
ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา
การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553
กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553
การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย
การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย คือ การทำให้ความเป็นสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยสิ้นสุดลง โดยนายกรัฐมนตรีเสนอให้พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นผลให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งปวงพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ทั้งนี้ เพื่อจัดการเลือกตั้งใหม่ การยุบสภาเป็นมาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ทำให้มีการคานอำนาจกันระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร อาจนำมาใช้แก้ปัญหาทางตันทางการเมือง นอกจากทางอื่น เช่น รัฐบาลลาออก อนึ่ง เหตุผลในการยุบสภานั้น หาได้มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดบัญญัติไว้ไม่ ดังนี้ จึงเป็นไปตามประเพณีการปกครองตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศในขณะนั้น อาทิ เกิดความขัดแย้งรุนแรงในรัฐสภาหรือระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล การใช้เป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง เช่น ขณะที่ตนมีคะแนนนิยมสูงมาก การที่สภาวการณ์ต่าง ๆ สุกงอมพอสมควรที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งก่อนครบอายุสภา เช่น ดำเนินการตามรัฐธรรมนูญได้เสร็จสิ้นแล้ว.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาต.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย
การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544–2549 ระหว่างดำรงตำแหน่ง ทักษิณริเริ่มหลายนโยบายซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สาธารณสุข การศึกษา พลังงาน ยาเสพติดและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาชนะการเลือกตั้งถล่มทลายถึงสองสมัยProtesters Jam Bangkok, but Rural Thais Love the Leader.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร
การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก
การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Commercial sexual exploitation of children ตัวย่อ CSEC) เป็นธุรกรรมทางการค้าที่อาศัยการฉวยประโยชน์ทางเพศ (sexual exploitation) จากเด็ก เช่นการค้าประเวณี และสื่อลามกอนาจาร อาจจะมีการบีบบังคับและการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก เท่ากับเป็นแรงงานบังคับและเป็นรูปแบบความเป็นทาสยุคปัจจุบัน รวมทั้งการให้บริการทางเพศของเด็กเพื่อผลประโยชน์แลกเปลี่ยน จะเป็นเงินทองหรืออะไรอย่างอื่นก็ดี ปฏิญญาของงานประชุมโลกใหญ่ต้านการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Declaration of the First World Congress against Commercial Sexual Exploitation of Children) ที่ประชุมในเมืองสตอกโฮล์มปี 2539 นิยาม CSEC ว่า CSEC ยังหมายถึงเซ็กซ์ทัวร์ และธุรกรรมทางเพศแบบอื่น ๆ ที่เด็กร่วมกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิต เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย หรือการศึกษา รวมทั้งรูปแบบที่สมาชิกในบ้านไม่ห้ามหรือแจ้งตำรวจเกี่ยวกับทารุณกรรมต่อเด็ก เนื่องจากได้ผลประโยชน์จากผู้กระทำผิด และอาจรวมการแต่งงานแบบคลุมถุงชนสำหรับเด็กที่ยังไม่ถึงอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ ที่เด็กไม่ได้ยินยอมและถูกทารุณทางเพศ ศูนย์เพื่อเด็กหายและถูกฉวยผลประโยชน์แห่งชาติ (National Center for Missing and Exploited Children) ซึ่งเป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน (แต่เบื้องต้นจัดตั้งโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา) กล่าวว่า เด็กหญิง 1 ใน 5 และเด็กชาย 1 ใน 10 จะถูกฉวยประโยชน์หรือทารุณกรรมทางเพศก่อนจะโตเป็นผู้หใญ่ ส่วนกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) กล่าวว่า การฉวยประโยชน์ทางเพศจากเด็กเป็น "การล่วงละเมิดสิทธิที่รุนแรงที่สุดที่เด็กคนหนึ่งอาจจะต้องอดทนอดกลั้น".
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit ย่อว่า EAS) เป็นการประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จำนวน 16 ประเทศ โดยมีกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นศูนย์กลาง.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
การเมืองไทย
การเมืองไทยปัจจุบันอยู่ในระบอบเผด็จการทหารในพฤตินัย ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นผู้ใช้อำนาจบริหารและเป็นนายกรัฐมนตรี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเมืองไทย
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547
การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งถัดไป
ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งถัดไป
การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
กำธร พุ่มหิรัญ
ลเรือเอก กำธร พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ติ๊ด) เกิดเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นบุตรของนายอรุณ พุ่มหิรัญ อดีตรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับนางนันทนา พุ่มหิรัญ จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10) โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 67 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือรุ่นที่ 45 วิทยาลัยการทัพเรือรุ่นที่ 29 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 และหลักสูตรจากต่างประเทศอีก 4 หลักสูตร.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกำธร พุ่มหิรัญ
กิตติ สีหนนทน์
นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกิตติ สีหนนทน์
กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ
ลเอกกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ นักการเมืองชาวไทย ประธานที่ปรึกษา พรรคไทยศรีวิไลย์ อดีตผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายชวน หลีกภัย) เคยเป็นอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม่ และประธานที่ปรึกษาพรรคประชาสันติ และพรรคต้นตระกูลไทย รวมถึงอดีตกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24
การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24 เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระดับประเทศของประเทศไทย การแข่งขันครั้งนี้จัดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 29
การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 29 เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระดับประเทศของประเทศไทย การแข่งขันครั้งนี้จัดที่จังหวัดตรัง ระหว่างวันที่ 19 – 26 ธันวาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 29
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 30
การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 30 เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระดับประเทศของประเทศไทย การแข่งขันครั้งนี้จัดที่จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ 8 – 15 ธันวาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 30
กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016
กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016 การแข่งขันกีฬาโรงเรียนอาเซียนครั้งที่ 8 จัดขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21 - 29 กรกฎาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและกีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016
ฝ่ายอักษะ
ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและฝ่ายอักษะ
ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา
ลตำรวจเอก ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง)รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง อดีตที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตว่าที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค5 อดีตกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา
มหาวิทยาลัยศิลปากร
มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและมหาวิทยาลัยศิลปากร
มีชัย ฤชุพันธุ์
มีชัย ฤชุพันธุ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติคนเดียวที่เป็นพลเรือน (ไม่ได้เป็นทหารหรือตำรวจ) รักษาการนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ อดีตประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา และ รองนายกรัฐมนตรี ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายมีชัย ฤชุพันธุ์ สมรสกับคุณหญิงอัมพร (เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) ฤชุพันธุ์ (ถึงแก่อนิจกรรม) มีบุตรี 2 คน คือ นางมยุระ ช่วงโชติ และ นางมธุรส โลจายะ หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พลเอกสุจินดา คราประยูร ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น ได้รับการคัดเลือกจากคณะรัฐมนตรีให้เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรี จึงทำให้ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งประมุขของทั้งฝ่ายบริหาร (รักษาการนายกรัฐมนตรี) และฝ่ายนิติบัญญัติ (ประธานรัฐสภา).
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและมีชัย ฤชุพันธุ์
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที
นายกรัฐมนตรีในรายการเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ ยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที (ชื่อเล่น: หมี) เกิดเมื่อปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย
รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย
รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ชื่อเดิม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร).
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 ประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และได้รับการยกเลิกอย่าง “สันติ” เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2489 เนื่องจากการประกาศและบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 13 ปี 5 เดือน มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2482 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีพลตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้ชื่อของรัฐธรรมนูญต้องเปลี่ยนเป็น “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” ไปด้วย ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2483 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล ซึ่งเสนอโดยขุนบุรัสการกิตติคดี (เหมือน บุรัสการ) ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี โดยการสนับสนุนของรัฐบาล ซึ่งมีนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี อันมีผลให้บทเฉพาะกาลซึ่งควรจะต้องสิ้นสุดในวันที่ 10 ธันวาคม 2485 เป็นอย่างช้า ยืดเวลาออกไปอีก 10 ปี แก่นแท้ของการเสนอยึดบทเฉพาะกาลก็คือ การคงอยู่ต่อไปอีกของสมาชิกประเภทที่ 2 อันมาจากการแต่งตั้ง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2485 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้สามารถขยายเวลาอยู่ในตำแหน่งผู้แทนราษฎรออกไปอีกคราวละ 2 ปี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519
รัฐประหาร 6 ตุลาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519
รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2489
นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆในปี พ.ศ. 2489.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2489
รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554
นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011).
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554
รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2555
นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012).
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2555
รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559
นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2559.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559
รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560
นี่คือ รายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2560.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560
รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561
นี่คือ รายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2561.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561
รายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิตยสภา
้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิต.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิตยสภา
รายการธงในประเทศไทย
งชาติไทย หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายการธงในประเทศไทย
รายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง
รายนามสตรีซึ่งได้รับการการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในแต่ละประเทศ โดยรายนามนี้ไม่รวมรายนามประมุขแห่งรัฐที่เป็นสตรีและไม่นับรวมหัวหน้าของระบบประธานาธิบดีที่อำนาจอยู่กับฝ่ายบริหาร.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง
รายนามนายกรัฐมนตรีไทย
้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
รายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย
ลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ระดับ 11 (ประเภทบริหาร ระดับสูง) สังกัดสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทำหน้าที่ปฏิบัติงานในส่วนของการประชุม และให้บริการคณะรัฐมนตรีทั้งคณะ การนำมติคณะรัฐมนตรีที่ไม่อยู่ภายใต้กระทรวงใดไปปฏิบัติ เช่น การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การเปิดและปิดสมัยประชุมสภา เป็นต้น ตำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนี้มักสับสนกับตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ซึ่งปฏิบัติงานเฉพาะในส่วนของนายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรีเท่านั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและรายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย
ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วขบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร
ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร
ลีลาวดี วัชโรบล
ร.ลีลาวดี วัชโรบล (ชื่อเล่น: ลี) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองนางสาวไทยและอดีตนักแสดง.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและลีลาวดี วัชโรบล
วรวีร์ มะกูดี
วรวีร์ มะกูดี (ชื่อเล่น: ยี; เกิด 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 16จาก ไทยรัฐ ที่เป็นชาวไทยมุสลิมคนแรก โดยดำรงตำแหน่งต่อเนื่องเป็นวาระที่ 4 และกรรมการบริหารพรรคเพื่อไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวรวีร์ มะกูดี
วัดพระแท่นศิลาอาสน์
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ เดิมชื่อ วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ที่บนเนินเขาเต่า บ้านพระแท่น ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ติดกับวัดพระยืนพุทธบาทยุคล ซึ่งตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก บนเนินเขาลูกเดียวกันแต่คนละยอด วัดพระแท่นศิลาอาสน์เป็นวัดโบราณ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ใดสร้าง และสร้างแต่เมื่อใด ในศิลาจารึกครั้งกรุงสุโขทัยไม่ปรากฏข้อความกล่าวถึงพระแท่นศิลาอาสน์ แต่เพิ่งมีปรากฏในหนังสือพระราชพงศาวดาร ในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์ได้เสด็จนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ เมื่อปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวัดพระแท่นศิลาอาสน์
วันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)
วันเด็กแห่งชาติ ในไทย ตรงกับวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมของทุกปี เป็นวันหยุดราชการที่ไม่ได้ชดเชยในวันทำงานถัดไป มีการให้คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)
วิชญาณี เปียกลิ่น
วิชญาณี เปียกลิ่น หรือที่รู้จักในนาม แก้ม เดอะสตาร์ หรือ แก้ม วิชญาณี เป็นนักร้อง นักแสดง พิธีกรชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ผู้ชนะรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4 และเป็น "เดอะสตาร์หญิงคนแรกของเมืองไทย" แก้มได้ชื่อว่าเป็น "ศิลปินหญิงพลังเสียงคุณภาพ" หรือ "ดีวาสาวเสียงทรงพลัง" จากสื่อมวลชนหลายสำนัก และได้รับการกล่าวถึงในด้านเทคนิคการใช้เสียงและการถ่ายทอดอารมณ์เพลง แก้มได้รับรางวัลหลายประเภท อาทิ เยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ลูกกตัญญู นักร้องหญิงยอดนิยมสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2008 ครั้งที่ 7 ผู้ขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทยเพชรในเพลง 2556 รวมทั้งเป็น "นักร้องเพลงไทยสากลหญิงที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุด" อันดับ 2 ของประเทศ จากผลสำรวจของสวนดุสิตโพลในปี 2560 เธอสามารถร้องเพลงได้หลายแนวและหลายภาษา ทั้งไทย อังกฤษ และเกาหลี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวิชญาณี เปียกลิ่น
วิกรม กรมดิษฐ์
วิกรม กรมดิษฐ์ เป็นนักธุรกิจและนักเขียนชาวไทย ผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหาร (CEO) บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน เจ้าของโครงการนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่งในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นนักเขียนและใช้ชีวิตอย่างสงบที่ดงกุฎาคาร เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีม.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวิกรม กรมดิษฐ์
วิลาศ จันทร์พิทักษ์
ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวิลาศ จันทร์พิทักษ์
วิลาศ โอสถานนท์
ันตรี วิลาศ โอสถานนท์ หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 อดีตประธานพฤฒสภาและประธานรั.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวิลาศ โอสถานนท์
วิสุทธิ์ วานิชบุตร
ล.ต.ต.วิสุทธิ์ วานิชบุตร วิสุทธิ์ วานิชบุตร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ผู้การวิสุทธิ์ เป็นอดีตข้าราชการตำรวจชาวไทย โดยเป็นรองผ.สำนักงานกฎหมายและคดี อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9 และอดีตผู้บังคับการตำรวจภูธร จังหวัดอ่างทอง เกิดเมื่อวันที่ 5 มกราคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวิสุทธิ์ วานิชบุตร
วิจิตรา ธนะรัชต์
ท่านผู้หญิงวิจิตรา ธนะรัชต์ (สกุลเดิม ชลทรัพย์; พ.ศ. 2464–2545) เป็นธิดาของนาวาโท พระศรการวิจิตร (ช้อย ชลทรัพย์) กับคุณหญิงประเทียบ ชลทรัพย์ (สกุลเดิม พุ่มพวงเพชร) มีน้องสาวร่วมมารดาคือจงกลณี จันทรสาขา และเป็นภริยาของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ อดีตนายกรัฐมนตรีไทย ท่านผู้หญิงวิจิตราได้สมรสกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ อดีตนายกรัฐมนตรีไทย ตั้งแต่ปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวิจิตรา ธนะรัชต์
วินัย ทองสอง
ลตำรวจเอก วินัย ทองสอง รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติและนายตำรวจราชสำนัก อดีตรองจเรตำรวจแห่งชาติ (สบ9) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวินัย ทองสอง
วนิช ปานะนนท์
นายวนิช ปานะนนท์ (แถวที่ 2 ด้านขวา) และคณะรัฐมนตรีจากประเทศไทย ขณะเยือนประเทศญี่ปุ่น และเข้าพบ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้า คนกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและวนิช ปานะนนท์
ศาสนาในประเทศไทย
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมให้ทางราชการรับรองศาสนาในประเทศไทยไว้ 5 ศาสนา ดังนี้ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและศาสนาในประเทศไทย
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Southern Border Provinces Administration Centre) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอ.บต. (SBPAC) เป็นองค์กรพิเศษที่รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
สกุลชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี สกุลชินวัตร เป็นสกุลที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและธุรกิจมากมายในปัจจุบัน โดยมีเส็ง แซ่คูเป็นต้นตระกูล ซึ่งอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มายังจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ต่อมาได้ย้ายไปตั้งรกรากที่จังหวัดเชียงใหม่ ในพ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสกุลชินวัตร
สภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมยศ เชื้อไทย
รองศาสตราจารย์ สมยศ เชื้อไทย (เกิด พ.ศ. 2493) เป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเครื่องหมายการค้ากระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย) ประธานกรรมการมูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ และนักวิชาการชาวไทย โดยเป็นรองศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ ภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอดีตคณบดีคณะดังกล่าว.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสมยศ เชื้อไทย
สมัคร สุนทรเวช
มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสมัคร สุนทรเวช
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สมาน ภุมมะกาญจนะ
มาน ภุมมะกาญจนะ (1 มกราคม พ.ศ. 2479 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสมาน ภุมมะกาญจนะ
สมเพียร เอกสมญา
ลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 จาก คมชัดลึก สืบค้นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 — 12 มีนาคม พ.ศ. 2553) เป็นอดีตผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรบันนังสตา จังหวัดยะลา รับราชการตำรวจตั้งแต่เป็น พลตำรวจ จนถึงยศ พันตำรวจเอก และได้รับพระราชทานยศพลตำรวจเอกเป็นกรณีพิเศษ ได้ฉายาว่า จ่าเพียร นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด และ จ่าเพียร ขาเหล็ก จากการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเวลากว่า 40 ปี กระทั่งเคยได้รับการโปรดเกล้าฯ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เหรียญรามมาลาเข็มกล้ากลางสมร ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง และกระทำพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา ณ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อ..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสมเพียร เอกสมญา
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
สฤษดิ์ ธนะรัชต์
อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์
สะพานติณสูลานนท์
นติณสูลานนท์ สะพานติณสูลานนท์ เป็นสะพานคอนกรีตที่ยาวที่สุดในประเทศไทย อยู่ในอำเภอเมืองสงขลา และอำเภอสิงหนคร โดยเชื่อมเกาะยอ 2 ด้าน ระหว่างฝั่งบ้านน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา และบ้านเขาเขียว อำเภอสิงหนคร ความยาวของสะพาน 2 ช่วงแรก 940 เมตร และ 1,700 เมตร ตามลำดับ รวมเป็น 2,640 เมตร ก่อสร้างขึ้นในสมัย ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จุดประสงค์ของการสร้างสะพานแห่งนี้ คือ การรองรับการคมนาคมทางรถยนต์ โดยไม่ต้องรอข้ามแพขนานยนต์ซึ่งมีไม่เพียงพอกับปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้การเดินทางต้องใช้เวลานาน ทั้งเมื่อข้ามฝั่งมาแล้วก็ยังทำให้การจราจรติดขัดในตัวเมืองอีกด้วย ดังนั้น ในปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสะพานติณสูลานนท์
สัญญา ธรรมศักดิ์
ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสัญญา ธรรมศักดิ์
สำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี
ำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี (Prime Minister Delivery Unit, ชื่อย่อ: PMDU) หน่วยงานของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การมหาชนใน สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (National Office of Buddhism) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานที่ไม่สังกัดกระทรวง ทบวงใด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) เดิมคือ สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (Electronic Government Agency (Public Organisation)) เป็นองค์การมหาชนของประเทศไทย เป็นหน่วยงานกลางของระบบรัฐบาลดิจิทัล ทำหน้าที่ให้บริการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นเกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (ชื่อย่อ: สสส.) เป็นองค์การมหาชน อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นโดย พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
ำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ เป็นหน่วยงานประเภทองค์การมหาชนอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สม.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
ำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ หรือชื่อเดิม สำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (Office of the National Water Resources, ชื่อย่อ: ONWR, สนทช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อ นายกรัฐมนตรี สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือ สำนักงาน กปร.เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นเป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (Office of Pubilc Sector Anti-Corruption Commission; ตัวย่อ PACC, สำนักงาน ป.ป.ท.) เดิมเป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ชื่อย่อ: สกพอ.) หน่วยงานของรัฐที่เป็นนิติบุคคลภายใต้การบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกให้เป็นระบบและโดยสอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
สิทธิ จิรโรจน์
ลเอก สิทธิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย พล.อ.สิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2463 ที่ตำบลบางหว้า อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรชายของนายทองดีและนางสร้อย จิรโรจน์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดรางบัวและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ โรงเรียนเทคนิคทหารบก (รุ่นเดียวกับ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี 4 สมัยและประธานองคมนตรีในรัชกาลปัจจุบัน) โดยเรียนดีเคยสอบได้ที่ 1 โรงเรียนเสนาธิการทหารบกรุ่นที่ 21 และวิทยาลัยการทัพบกรุ่นที่ 5 ชีวิตราชการทหารบกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสิทธิ จิรโรจน์
สิทธิ เศวตศิลา
ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสิทธิ เศวตศิลา
สุกำพล สุวรรณทัต
ลอากาศเอก สุกำพล สุวรรณทัต (ชื่อเล่น: โอ๋) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตที่ปรึกษาพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และอดีตเสนาธิการทหารอาก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสุกำพล สุวรรณทัต
สุรบถ หลีกภัย
รบถ หลีกภัย เกิดวันที่ 8 ธันวาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสุรบถ หลีกภัย
สุรยุทธ์ จุลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์
สุรินทร์ มาศดิตถ์
นายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นบิดาของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช และคุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสุรินทร์ มาศดิตถ์
สุจินดา คราประยูร
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสุจินดา คราประยูร
สุขุม นวลสกุล
รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสุขุม นวลสกุล
สุนทร คงสมพงษ์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสุนทร คงสมพงษ์
สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
สถานการณ์ฉุกเฉิน
นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสถานการณ์ฉุกเฉิน
สถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)
นีวงเวียนใหญ่ (Wongwian Yai Station รหัสสถานี S8) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสีลม ส่วนต่อขยายตากสิน-บางหว้า ช่วงที่ 1 (สะพานตากสิน-แยกตากสิน) ยกระดับเหนือถนนกรุงธนบุรี ใกล้แยกตากสิน ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)
สงัด ชลออยู่
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสงัด ชลออยู่
สตรีในประเทศไทย
ทบาทของสตรีในประเทศไทยนั้นได้เพิ่มขึ้นกว่าในอดีตอย่างมากและพบว่า ผู้หญิงได้รับการยอมรับในสังคมมากขึ้น โดยประเทศไทยเป็นประเทศแรก ๆ ในทวีปเอเชียที่เปิดโอกาสให้ผู้หญิงมีสิทธิเลือกตั้งในปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสตรีในประเทศไทย
สนธิ บุญยรัตกลิน
ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและสนธิ บุญยรัตกลิน
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
หาญ ลีนานนท์
ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและหาญ ลีนานนท์
ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)
ริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด เป็นหน่วยงานตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)
อภิรัชต์ คงสมพงษ์
ลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์ (เกิด 23 มีนาคม พ.ศ. 2503) เป็นนายทหารชาวไทย ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ สังกัด กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ, นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ สังกัดกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 1, อดีตแม่ทัพน้อยที่ 1, อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 15, อดีตผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 11 จังหวัดฉะเชิงเทรา, อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ (ผบ.ร.11 รอ.) ประธานกรรมการสลากกินแบ่งรัฐบาล สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล หรือประธานบอร์ดกองสลาก, กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาต.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอภิรัชต์ คงสมพงษ์
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อาณาจักรน่านเจ้า
อาณาจักรต่างๆสมัยก่อนมองโกล น่านเจ้าอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน อาณาจักรน่านเจ้า หรือเจ้าทางใต้ (南詔) หรือจีนเรียกว่า สานสานโกวะ ตั้งขึ้นประมาณ พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอาณาจักรน่านเจ้า
อานันท์ ปันยารชุน
อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอานันท์ ปันยารชุน
อำเภอสันกำแพง
ันกำแพง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาทุก ๆ ด้าน เป็นอำเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย ที่ขึ้นชื่อได้แก่ บ้านบ่อสร้าง เป็นแหล่งรวมหัตถกรรมการทำร่มกระดาษสา ป่าดงปงไหว ตลอดเส้นทางจากตัวอำเภอเมืองไปยังอำเภอสันกำแพงจะรายล้อมไปด้วยต้นไม้ใหญ่ 2 ข้างทาง นอกจากจะเป็นอำเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายแล้ว อำเภอสันกำแพงยังเป็นบ้านเกิดของอดีตนายกรัฐมนตรีไทย คือ นายทักษิณ ชินวัตร และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอำเภอสันกำแพง
อิสระพงศ์ หนุนภักดี
ลเอก พลตำรวจเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กตุ๋ย (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560) อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอิสระพงศ์ หนุนภักดี
อินทรีแดง (ภาพยนตร์)
อินทรีแดง เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ของค่ายไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ร่วมด้วยบริษัทกันตนา ภายใต้การดูแลของบริษัทโลคอล คัลเลอร์ มีทุนสร้าง 150 ล้านบาท กำกับโดย วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง โดยมีนักแสดงนำคือ อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม รับบท อินทรีแดง, ญารินดา บุนนาค รับบทเป็น วาสนา เทียนประดับ ด็อกเตอร์สาวผู้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ร่วมด้วยวรรณสิงห์ ประเสริฐกุล รับบทเป็น หมวดชาติ คู่ปรับของอินทรีแดง โดยเรื่องราวในผลงาน อินทรีแดง ชิ้นนี้มีเรื่องราวและภาพลักษณ์ที่ทันสมัยกว่าในเวอร์ชันก่อน ๆ โดยเป็นเรื่องในอนาคตอีก 4-5 ปีข้างหน้.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอินทรีแดง (ภาพยนตร์)
อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538
หตุการณ์ครั้งนี้ อุทกภัยในประเทศไท..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย
ผิน ชุณหะวัณ
อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและผิน ชุณหะวัณ
จักรทิพย์ ชัยจินดา
ลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา (ชื่อเล่น: แป๊ะ, เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายตำรวจราชสำนักเวร, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน, กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก, กรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์, กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางพระพุทธศาสนา, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และการทำประมงผิดกฎหมาย, ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ, กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว, กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559, กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง และ กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการการบริหารการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธาน บริษัท พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์ จำกัด ประธานสโมสร โปลิศ เทโร กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และ อดีตกรรมการอิสระ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและจักรทิพย์ ชัยจินดา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดตรัง
ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและจังหวัดตรัง
จังหวัดนครศรีธรรมราช
นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและจังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนนทบุรี
ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและจังหวัดนนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและธานินทร์ กรัยวิเชียร
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
ถวิล จันทร์ประสงค์
วิล จันทร์ประสงค์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 – 18 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและถวิล จันทร์ประสงค์
ถนอม กิตติขจร
อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและถนอม กิตติขจร
ถนนพหลโยธิน
นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและถนนพหลโยธิน
ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี
นนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี หรือ ถนนวงแหวนรอบกลาง หรือ ทางหลวงชนบท ชม.3029 เป็นทางหลวงสายหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ มีเส้นทางอ้อมรอบตัวเมืองเชียงใหม่จึงเป็นเสมือนถนนวงแหวนรอบที่ 2 ของเมือง ซึ่งรอบที่ 1 คือ ถนนมหิดล (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1141) และถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำปาง–เชียงใหม่ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11) ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี เป็นถนนคอนกรีตขนาดหกช่องจราจร ความยาวทั้งสิ้น 26.1 กิโลเมตร โดยถนนสายนี้มีการออกแบบให้เป็นทางลอดและทางแยกต่างระดับทั้งหมดเมื่อตัดกับถนนหลักสายอื่นๆ ซึ่งมีจำนวนทางลอดทั้งสิ้น 7 แห่ง และทางแยกต่างระดับ 1 แห่ง โดยมีกรมทางหลวงชนบทเป็นผู้ดูแล.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี
ทวี บุณยเกตุ
นายทวี บุณยเกตุ (10 พฤศจิกายน 2447 - 3 พฤศจิกายน 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 (รัฐบาลที่ 12) หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและทวี บุณยเกตุ
ทหารม้า
ทหารม้าโปแลนด์ (Polish cavalry) ในปี 1938 ทหารม้าบนรถถัง ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ เครื่องหมายเหล่าเป็นรูปกระบี่ไขว้ประกอบกับเกือกม้าและรถถัง นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน.
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและทักษิณ ชินวัตร
ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก
"ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" เป็นชื่อคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในสมัยของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ แต่งตั้งขึ้นตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 84/2531 และเนื่องจากได้ใช้ "บ้านพิษณุโลก" ที่ปกติเป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย มาปรับเปลี่ยนเป็นสำนักงานของคณะที่ปรึกษา โดยคณะทำงานส่วนใหญ่ ใช้ห้องชั้นล่างด้านซ้ายเป็นห้องทำงาน และใช้พื้นที่ด้านขวาเป็นห้องรับแขก และประชุมร่วมกับ พล.อ.ชาติชาย ส่วนชั้นบนของบ้านใช้เป็นห้องทำงานของ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ทำให้เป็นที่มาของชื่อ "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" หรือเรียกย่อๆ ว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษฯ".
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก
ท่าอากาศยานดอนเมือง
แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและท่าอากาศยานดอนเมือง
ขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า
นด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า ขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า หรือที่นิยมเรียกว่า ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า หรือ ศาลเจ้าพ่อเสือ ภาษีเจริญ เป็นศาลเจ้าจีนตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า แห่งนี้ก่อสร้างขึ้นในยุคที่มีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นยุคที่มีการตัดถนนและเส้นทางคมนาคมต่าง ๆ มากมาย เดิมที ศาลแห่งนี้เป็นเพียงศาลเพียงตาเล็ก ๆ ริมถนน ต่อมาได้มีการขยายถนนให้ใหญ่ขึ้น ศาลเพียงตาจึงถูกดินที่ขุดขึ้นมาฝังกลบจนมิด ต่อมาได้มีผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น คือนายประเสริฐ ธรรมมา อดีตผู้ก่อตั้งศาลฝันเห็นมีนักรบโบราณ บอกให้นำศาลที่ฝังดินนั้นขึ้นมา เมื่อตื่นขึ้นจึงได้ขุดศาลขึ้นมาและบูรณะจนกลายมาเป็นศาลเจ้าเช่นในปัจจุบัน ในอดีตเป็นที่เล่าลือกันว่า มีผู้พบเห็นเสือโคร่งตัวใหญ่วนเวียนอยู่บริเวณนั้น จึงเป็นที่มาของศาล ส่วนองค์ประธานในศาล คือ "ตั่วเหล่าเอี๊ย" หรือ เจ้าพ่อเสือ เช่นเดียวกับศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร ในเขตพระนคร และเจ้าพ่อขุนด่าน ที่เชื่อว่าคือ นักรบโบราณผู้นั้น เป็นเจ้าเมืองหน้าด่านกรุงธนบุรี หนึ่งในทหารเสือในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยุคธนบุรี ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่จากผู้มีจิตศัทธรา ขึ้นชื่ออย่างมากในเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในปัจจุบันด้านข้างของศาล มีลานสำหรับฉายภาพยนตร์แก้บนอย่างถาวร สำหรับผู้ที่มาบนบานต่าง ๆ แล้วได้ตามที่บนบานไว้ มีการฉายทุกวัน วันละ 3 เรื่อง เริ่มตั้งแต่พระอาทิตย์ตกดิน และผู้ที่ขับขี่พาหนะผ่านไปมา มักจะแสดงความเคารพด้วยการยกมือไหว้หรือกดแตรเสียงดัง และในงานเทศกาลต่าง ๆ เช่น ตรุษจีน, สารทจีน ทางกรรมการศาลเจ้าจะมีการอัญเชิญเทวรูปองค์เจ้าพ่อมาให้สักการะบริเวณด้านหน้าศาลอีกด้วย ส่วนงานประจำปีของศาลจะอยู่ในช่วงต้นเดือนมีนาคมของทุกปี.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า
ณรงค์ กิตติขจร
ันเอก ณรงค์ กิตติขจร (21 ตุลาคม พ.ศ. 2476 —) เป็นบุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 จอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของ จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นหนึ่งใน 3 บุคคลของฝ่ายรัฐบาลที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด ในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 77 ราย ส่งผลให้.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพล ถนอม กิตติขจร และ จอมพลประภาส ต้องออกจากประเทศ ภายหลังเหตุการณ์สงบลง.อ.ณรงค์ กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับประเทศไทย และได้ลงเล่นการเมือง โดยก่อตั้งพรรคขึ้นมาใหม่ ชื่อว่า "พรรคเสรีนิยม".อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้รับเลือกเป็น..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและณรงค์ กิตติขจร
ดุสิตธานี
มืองดุสิตธานี ดุสิตธานี เป็นเมืองจำลองรูปแบบระบอบประชาธิปไตย ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและดุสิตธานี
ควง อภัยวงศ์
รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและควง อภัยวงศ์
คณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
ณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ หรือ กบว. เป็นหน่วยงานของไทย ที่ตั้งขึ้นตามระเบียบวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและคณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)
ณะกรรมการกฤษฎีกา (Council of State) เป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาแห่งประเทศไทย ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจพิจารณาร่างกฎหมายและยกร่างกฎหมาย กับทั้งให้ความเห็นทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการกฤษฎีกามีสำนักงานเลขานุการคือ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)
คณะรัฐมนตรีไทย
ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59
ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61
คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)
ณะรัฐมนตรีเงา เริ่มมีการจัดตั้งในประเทศไทย เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน ได้ประกาศติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ ในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย และได้มีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงาเป็นคณะที่ 2 ในช่วงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)
คนไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพล
นไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพล (Traffic) เป็นภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด นำแสดงโดย ไมเคิล ดักลาส, เบนิซิโอ เดล โทโร่, แคเธอรีน ซีตา-โจนส์, ดอน ชีเดิล, เดนนิส เควด กำกับการแสดงโดย สตีเว่น โซเดอเบิร์ก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและคนไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพล
ฉลอง เรี่ยวแรง
นายฉลอง เรี่ยวแรง (เกิด 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและฉลอง เรี่ยวแรง
ซีเกมส์ 2007
กีฬาซีเกมส์ 2007 เป็นการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ ครั้งที่ 24 ซึ่งจัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 6 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและซีเกมส์ 2007
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแห่งประเทศไทย (ย่อ: ป.วิ.อ.) เป็นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อันเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ (procedural law) ของประเทศไทย เป็นหนึ่งในบรรดาประมวลกฎหมายที่รัฐบาลไทย (แต่ครั้งที่ยังเรียกชื่อประเทศว่า "สยาม") เร่งผลิตใช้ เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศ อันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ย่อ: ป.พ.พ.) เป็นประมวลกฎหมายแพ่ง อันเป็นกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) แห่งประเทศไทย เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประยุทธ์ จันทร์โอชา
ประเทศจีน
ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศจีน
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทย
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2475
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2475 ในประเทศไทย .
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2475
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2549 ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2549
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2550
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2550 ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2550
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2552
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2552 ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2552
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2553
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2553 ในประเทศไทย .
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2553
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2555
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพ.ศ. 2555 ในประเทศไทย .
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2555
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2556
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2556 ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2556
ประเทศไทยใน ค.ศ. 2014
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 (พ.ศ.2557) ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน ค.ศ. 2014
ประเทศไทยใน ค.ศ. 2015
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน ค.ศ. 2015
ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน ค.ศ. 2016
ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน ค.ศ. 2017
ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) ในประเทศไท.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและประเทศไทยใน ค.ศ. 2018
ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ
ล.อ.ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและปรีชา เอี่ยมสุพรรณ
ปรีดี พนมยงค์
ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและปรีดี พนมยงค์
ปู (แก้ความกำกวม)
ปู อาจหมายถึง ชื่อต่อไปนี้.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและปู (แก้ความกำกวม)
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและนายกรัฐมนตรี
นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล (เดิมชื่อ นิวัฒน์ บุญทรง) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย, อดีตประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) และอดีตรองประธานกรรมการบริหาร ฝ่ายภาพลักษณ์ และกิจกรรมสัมพันธ์ กลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน).
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
แฟนพันธุ์แท้ 2005
รายการแฟนพันธุ์แท้ในปี 2005 ใช้รูปแบบเช่นเดียวกันกับรูปแบบของปี 2004 แต่มีการเปลี่ยนแปลงในเกม 3 วินาที จากเดิมในปี 2002-2004 แข่งขันแบบไม่มีการกำหนดรอบอย่างแน่นอน ใครตอบผิดตกรอบทันที แต่ในปี 2005 มีการกำหนดเป็นรอบทั้งหมด 5 รอบ ใครได้คะแนนน้อยที่สุดตกรอบทันที โดยในปี 2005 นี้ มีรายการแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 22 เรื่อง เป็นเรื่องใหม่ 20 เรื่อง เรื่องเก่าที่นำมาจัดแข่งขันใหม่ 2 เรื่อง มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ทั้งหมด 25 ท่าน จาก 21 เรื่อง ตอบคำถามสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ผิด 1 ท่าน โดยในการชิงชัยสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2005 ได้มีสุดยอดแฟนพันธุ์แท้ร่วมเข้าชิงชัยทั้งหมด 23 ท่าน และสุดยอดแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2005 ก็คือ แซนดี้ หงส์ สุดยอดแฟนพันธุ์แท้ตุ๊กตาบาร์บี้ นั่นเอง.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและแฟนพันธุ์แท้ 2005
แมวไทย
แมวไทย พันธุ์วิเชียรมาศ แมวไทย คือแมวที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศไทย คุณสมบัติที่ทำให้แมวไทยเหนือกว่าแมวชนิดอื่น คือ เรื่องอุปนิสัย แมวไทยมีความฉลาด มีความเป็นตัวของตัวเอง รู้จักคิด รู้จักประจบ รักบ้าน รักเจ้าของ และเหนืออื่นใด คือ รักความอิสระของตัวเองเป็นชีวิตจิตใจ อิสระที่ จะกิน จะดื่ม หรือจะไปไหนตามที่ใจชอบ ซึ่งถือว่าเป็นบุคลิกประจำตัวที่ทำให้แตกต่างจากแมวพันธุ์อื่น สีสันตามตัวของแมวไทย เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้นักรักแมวรู้สึกสุขใจยามได้มอง ไม่ว่าจะเป็น วิเชียรมาศ เก้าแต้ม ขาวมณีหรือขาวปลอด นิลรัตน์หรือดำปลอด ศุภลักษณ์หรือ ทองแดง สีสวาดหรือแมวไทยพันธุ์โคราช ต่างล้วนได้รับความสนใจ จากเจ้าของและผู้สนใจทั้งสิ้น.
แยกพลับพลาไชย
แยกพลับพลาไชย เป็นทางห้าแยกจุดตัดถนนพลับพลาไชย กับถนนหลวงและถนนไมตรีจิตต์ ในพื้นที่แขวงวัดเทพศิรินทร์และแขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นย่านชาวไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพฯ ที่ต่อเนื่องกับย่านถนนเยาวราชและถนนเจริญกรุง บริเวณทางแยกมีร้านข้าวหน้าไก่ ก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่ และภัตตาคารอาหารจีนที่ขึ้นชื่อหลายแห่ง.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและแยกพลับพลาไชย
แปลก พิบูลสงคราม
งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและแปลก พิบูลสงคราม
โชคชัย บูลกุล
ัย บูลกุล นักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียงด้านการปศุสัตว์และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โชคชัยเป็นบุตรชายของ นายมา และนางบุญครอง บูลกุล (ซึ่งนามของทั้งคู่เป็นที่มาของศูนย์การค้ามาบุญครอง) เกิดเมื่อปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโชคชัย บูลกุล
โชติ คุ้มพันธ์
ร.โชติ คุ้มพันธ์ ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษา เข้าสมัครเป็นเสมียนกรมศุลกากร ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อาสาสมัครเข้าเป็นพลทหาร ตำแหน่งพลขับ เมื่อกลับมาแล้วรับจ้างเป็นกะลาสีในเรือ แล้วจึงไปเรียนต่อที่ประเทศเยอรมนี สถานที่เคยอาสาไปรบ จนกระทั่งเรียนจนได้ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อกลับมาแล้วเข้าทำงานธนาคาร โดยเป็นผู้หนึ่งที่ริเริ่มตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้น ในทางการเมือง ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรประเภทที่ 1 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโชติ คุ้มพันธ์
โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
รงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (Bangkok Christian College ย่อ: ก.ท, BCC) เรียกอย่างย่อว่า กรุงเทพคริสเตียน หรือ คริสเตียน เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ ได้รับการสถาปนาขึ้นโดยคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน เมื่อปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย
รงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (อังกฤษ: Montfort College, 130px) เป็นโรงเรียนเอกชน ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ปัจจุบันโรงเรียนมงฟอร์ตได้แยกที่ตั้งในแผนกประถม และมัธยมคือ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อ 16 มีนาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
อาคารเรือนเพชร ซึ่งปัจจุบันถูกรื้อถอนไปเพื่อนำไม้ไปสร้างอาคารเรือนแก้ว ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2496 ตึกยุพราชอาคารหลังแรกของโรงเรียน ปัจจุจบันมีอายุครบ 114 ปี โรงช้างต้น หรือ เรือนช้างต้น หนึ่งในอาคารเก่าแก่ที่ปัจจุบันใช้เป็นห้อง BAND โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย (อักษรย่อ: ย.ว., Y.R.C.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของภาคเหนือ และโรงเรียนสหศึกษาของรัฐบาลประจำจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นสถานศึกษาในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โรงเรียนก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนอัสสัมชัญ
รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโรงเรียนอัสสัมชัญ
โรงเรียนอำนวยศิลป์
รงเรียนอำนวยศิลป์ (อ.น.ศ.) เป็นโรงเรียนเอกชนที่ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโรงเรียนอำนวยศิลป์
โรงเรียนเทพศิรินทร์
รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและโรงเรียนเทพศิรินทร์
ไตรรงค์ อินทรทัต
ลเอก ไตรรงค์ อินทรทัต (1 กันยายน พ.ศ. 2492 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2559) อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก เป็นบุตรชายคนสุดท้องในบรรดาบุตรทั้งหมด 4 คน (เป็นชายทั้งหมด) ของ.ต.โผน อินทรทัต อดีตเสรีไทยและผู้อำนวยการโรงงานยาสูบ และ ม.ล.กันยกา สุทัศน์ จบการศึกษาจากโรงเหมินทร์วิทยา, โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย, โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร, โรงเรียนผะดุงศิษย์พิทยา เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) เหล่าทหารม้า รับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ อาทิ นายทหารคนสนิท (ทส.) ของ พล.ท.วีระพันธ์ รังคะรัตน์, ฝ่ายเสนาธิการประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด, นายทหารคนสนิท (ทส.) ของ พล.อ.มงคล อัมพรพิสิฏฐ์, ผู้ชำนาญการกองบัญชาการทหารสูงสุด, ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการทหารสูงสุด, หัวหน้าสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก, ราชองครักษ์เวร, ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, หัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา) และผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก พล.อ.ไตรรงค์ ถือเป็นนายทหารคนหนึ่งที่มีบทบาทในการเมืองโดยเฉพาะช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีตำแหน่งปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง ด้านความมั่นคง และงานมวลชนสัมพันธ์ และในการถูกลอบสังหารของ นายกรเทพ วิริยะ หรือ "ชิปปิ้งหมู" ซึ่งเป็นพยานปากสำคัญในคดีทุจริตของรัฐบาล ก็มีเสียงร่ำลือกันว่าเป็นฝีมือของ พล.อ.ไตรรงค์อีกด้วย และในการชุมนุมของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงแผ่นดิน พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและไตรรงค์ อินทรทัต
เบญจา หลุยเจริญ
นางเบญจา หลุยเจริญ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตอธิบดีกรมศุลกากร ก่อนจะลาออกจากราชการมารับตำแหน่งรัฐมนตรี ในเดือนมิถุนายน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเบญจา หลุยเจริญ
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
เกษตร โรจนนิล
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กเต้ (เกิดเมื่อ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2476) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 1 โรงเรียนการบินรุ่น น.25 โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูงรุ่นที่ 18 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 15 และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเกษตร โรจนนิล
เมธี ชาติมนตรี
.ต.ท.เมธี ชาติมนตรี ขณะชุมนุมร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พันตำรวจโท เมธี ชาติมนตรี หรือรู้จักในชื่อ สารวัตรจ๊าบ (14 ตุลาคม พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเมธี ชาติมนตรี
เยาวภา วงศ์สวัสดิ์
วภา วงศ์สวัสดิ์ (ชื่อเล่น: แดง) อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ประธาน..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเยาวภา วงศ์สวัสดิ์
เสรีไทย
รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ.
เหวง โตจิราการ
นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเหวง โตจิราการ
เหตุการณ์ 6 ตุลา
หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเหตุการณ์ 6 ตุลา
เหตุการณ์รถตู้สาธารณะถูกชนบนทางยกระดับอุตราภิมุข พ.ศ. 2553
หตุการณ์รถตู้สาธารณะถูกชนบนทางยกระดับอุตราภิม..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเหตุการณ์รถตู้สาธารณะถูกชนบนทางยกระดับอุตราภิมุข พ.ศ. 2553
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
เทพ โชตินุชิต
นายเทพ โชตินุชิต เป็นอดีตนักการเมือง นักกฎหมาย และทนายความชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีที่ไม่ประจำกระทรวง และเป็นหัวหน้าพรรคการเมือง 2 พรรค คือ พรรคเศรษฐกร (พ.ศ.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเทพ โชตินุชิต
เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
เปรม ติณสูลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและเปรม ติณสูลานนท์
11 มิถุนายน
วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ11 มิถุนายน
14 ตุลาคม
วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ14 ตุลาคม
16 กันยายน
วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ16 กันยายน
16 ธันวาคม
วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ16 ธันวาคม
17 กันยายน
วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ17 กันยายน
23 กุมภาพันธ์
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ23 กุมภาพันธ์
27 กันยายน
วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ27 กันยายน
29 พฤศจิกายน
วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ29 พฤศจิกายน
29 กันยายน
วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.
ดู นายกรัฐมนตรีไทยและ29 กันยายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รองนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยรองนายกรัฐมนตรีไทยรักษาการนายกรัฐมนตรีประธานคณะกรรมการราษฎรนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งถัดไปการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกำธร พุ่มหิรัญกิตติ สีหนนทน์กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 29กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 30กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2016ฝ่ายอักษะภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยามหาวิทยาลัยศิลปากรมีชัย ฤชุพันธุ์ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุทธิยง ลิ้มเลิศวาทีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2489รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2555รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561รายพระนามและรายนามนายกราชบัณฑิตยสถานและราชบัณฑิตยสภารายการธงในประเทศไทยรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยรายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทยริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรลีลาวดี วัชโรบลวรวีร์ มะกูดีวัดพระแท่นศิลาอาสน์วันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)วิชญาณี เปียกลิ่นวิกรม กรมดิษฐ์วิลาศ จันทร์พิทักษ์วิลาศ โอสถานนท์วิสุทธิ์ วานิชบุตรวิจิตรา ธนะรัชต์วินัย ทองสองวนิช ปานะนนท์ศาสนาในประเทศไทยศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้สกุลชินวัตรสภาผู้แทนราษฎรไทยสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมยศ เชื้อไทยสมัคร สุนทรเวชสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมาน ภุมมะกาญจนะสมเพียร เอกสมญาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสฤษดิ์ ธนะรัชต์สะพานติณสูลานนท์สัญญา ธรรมศักดิ์สำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรีสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพสำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐสำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกสิทธิ จิรโรจน์สิทธิ เศวตศิลาสุกำพล สุวรรณทัตสุรบถ หลีกภัยสุรยุทธ์ จุลานนท์สุรินทร์ มาศดิตถ์สุจินดา คราประยูรสุขุม นวลสกุลสุนทร คงสมพงษ์สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถานการณ์ฉุกเฉินสถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สงัด ชลออยู่สตรีในประเทศไทยสนธิ บุญยรัตกลินหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหาญ ลีนานนท์ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)อภิรัชต์ คงสมพงษ์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอาณาจักรน่านเจ้าอานันท์ ปันยารชุนอำเภอสันกำแพงอิสระพงศ์ หนุนภักดีอินทรีแดง (ภาพยนตร์)อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยผิน ชุณหะวัณจักรทิพย์ ชัยจินดาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดตรังจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนนทบุรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธานินทร์ กรัยวิเชียรถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถวิล จันทร์ประสงค์ถนอม กิตติขจรถนนพหลโยธินถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีทวี บุณยเกตุทหารม้าทักษิณ ชินวัตรที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลกท่าอากาศยานดอนเมืองขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้าณรงค์ กิตติขจรดุสิตธานีควง อภัยวงศ์คณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)คณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)คนไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพลฉลอง เรี่ยวแรงซีเกมส์ 2007ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประยุทธ์ จันทร์โอชาประเทศจีนประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2475ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549ประเทศไทยใน พ.ศ. 2550ประเทศไทยใน พ.ศ. 2552ประเทศไทยใน พ.ศ. 2553ประเทศไทยใน พ.ศ. 2555ประเทศไทยใน พ.ศ. 2556ประเทศไทยใน ค.ศ. 2014ประเทศไทยใน ค.ศ. 2015ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018ปรีชา เอี่ยมสุพรรณปรีดี พนมยงค์ปู (แก้ความกำกวม)นายกรัฐมนตรีนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาลแฟนพันธุ์แท้ 2005แมวไทยแยกพลับพลาไชยแปลก พิบูลสงครามโชคชัย บูลกุลโชติ คุ้มพันธ์โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยโรงเรียนยุพราชวิทยาลัยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนอำนวยศิลป์โรงเรียนเทพศิรินทร์ไตรรงค์ อินทรทัตเบญจา หลุยเจริญเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกษตร โรจนนิลเมธี ชาติมนตรีเยาวภา วงศ์สวัสดิ์เสรีไทยเหวง โตจิราการเหตุการณ์ 6 ตุลาเหตุการณ์รถตู้สาธารณะถูกชนบนทางยกระดับอุตราภิมุข พ.ศ. 2553เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เทพ โชตินุชิตเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์เปรม ติณสูลานนท์11 มิถุนายน14 ตุลาคม16 กันยายน16 ธันวาคม17 กันยายน23 กุมภาพันธ์27 กันยายน29 พฤศจิกายน29 กันยายน