โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นาซา

ดัชนี นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

425 ความสัมพันธ์: บอราบอราชอน โอคีฟบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์ชาลส์ โบลเดนชานะบาโฮนวยโวแบงก์บิกแบงบี-52 สตราโตฟอร์เทรสฟลายมีทูเดอะมูนฟัลคอน 9ฟีนิกซ์ (ยานอวกาศ)ฟีเล (ยานอวกาศ)ฟ้าหลัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556พ.ศ. 2458พ.ศ. 2502พ.ศ. 2505พ.ศ. 2509พ.ศ. 2511พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2523พ.ศ. 2527พ.ศ. 2531พ.ศ. 2536พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2561พ.ศ. 2563พ.ศ. 2580พลศาสตร์ของไหลเชิงคณนาพืดน้ำแข็งกรกฎาคม พ.ศ. 2548กระสวยอวกาศกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์...กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีกระสวยอวกาศแอตแลนติสกระสวยอวกาศโคลัมเบียกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์กระจุกดาวลูกไก่กระจุกดาวทรงกลมกลุ่มดาวคนคู่กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2กล้องโทรทรรศน์อวกาศ GALEXกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรากล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตันกล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชลกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์กัสซีนี–เฮยเคินส์กันยายน พ.ศ. 2548กันยายน พ.ศ. 2550การบินอวกาศการระเบิดที่ตุงกุสคาการลดลงของโอโซนการวาร์ปการปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554การไล่ผีให้โรแลนด์ โดการไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคารการเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์)การเปลี่ยนขนาดของเวลากาลิเลโอ (แก้ความกำกวม)กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ภัยพิบัติกระสวยอวกาศโคลัมเบียภูเขาน้ำแข็ง บี-15ภูเขาน้ำแข็ง เอ-38ภูเขาไฟเมานาเคอามวลเขาสูงไอร์มหาวิทยาลัยแคนซัสมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟมหานวดาราประเภท 1เอมัทมอนส์มาริเนอร์ 9มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์มีนาคม พ.ศ. 2549ยานลูนาร์โปรสเปกเตอร์ยานเจมินี 5ยูจีน เซอร์นันยูโรปา (ดาวบริวาร)ยูเอฟโอระบบสุริยะระวี ภาวิไลรัฐบาลกลางสหรัฐรัฐรีอูกรันดีดูนอร์ตีรายชื่อภูเขาน้ำแข็งที่บันทึกตามขนาดพื้นที่รายชื่อผลงานของธงไชย แมคอินไตย์รายชื่อตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!รีอาซิลเวียลูนา 1ลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1ล็อกฮีด มาร์ตินวอยเอจเจอร์วอยเอจเจอร์ 1วอยเอจเจอร์ 2วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบวิทยาลัยฟิลลิปส์วงแหวนของดาวเนปจูนวงโคจรพ้องคาบโลกว่าน หู่ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลศูนย์อวกาศเคนเนดีศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรปสสารมืดสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)สิงหาคม พ.ศ. 2548สิ่งมีชีวิตนอกโลกสุพรหมัณยัน จันทรเศขรสุริยุปราคาสุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560สุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถานีอวกาศฟรีดอมสถานีอวกาศนานาชาติสตาร์ เทรคสไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)สเปซชิปทูหลุมดำห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ออร์บิทัล เอทีเคออโรรา (ดาราศาสตร์)อะพอลโลอะพอลโล 11อะพอลโล 14อะทอลล์อะครอสเดอะยูนิเวิร์สอะตอมอะตอมไฮโดรเจนอาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศอาร์คิมิดีสอาร์ซีโฟร์ดับเบิลยูดีอาร์เทอร์ คอมป์ตันอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยาอิปไซลอนแอนดรอมิดาอิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)อินเตอร์สเตลลาร์ ทะยานดาวกู้โลกอุทกภัยในประเทศปากีสถาน พ.ศ. 2553อุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจรอุโมงค์ลมฮาสเซลบลาดจรวดจอร์จ ดับเบิลยู. บุชจอห์น ครอมเวล เมเทอร์จอห์น เกล็นน์จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพจันทรายาน-1จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557จูดิธ เรสนิคจูโน (ยานอวกาศ)จี-ช็อคจีเอฟเอเจ-1ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปทีมเงาอัจฉริยะที่ตั้งของโลกในเอกภพท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดาท่าอากาศยานนานาชาติมอนทรีอัล ปิแอร์ อิลเลียต ทรูโดดรากอน (ยานอวกาศ)ดวงจันทร์ดวงจันทร์ของกาลิเลโอดอว์น (ยานอวกาศ)ดาราศาสตร์รังสีแกมมาดาราจักรดาวบริวารของดาวยูเรนัสดาวพลูโตดาวฤกษ์ดาวหางดาวอังคารดาวอีริสดาวโรหิณีดาวไมราดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันดาวเทียมสปุตนิก 1ดาวเคราะห์นอกระบบดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกคริสตา แมคออลิฟคริสต์ศตวรรษที่ 21คริสต์ทศวรรษ 2000คริสต์ทศวรรษ 2020คลื่นความโน้มถ่วงคลีฟแลนด์ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกคาร์ล เซแกนตูลูซซี-5 กาแลคซีซีรีสซีเอช-47 ชีนุกปฏิทินจีนปรากฏการณ์ 2012ปรากฏการณ์โลกร้อนปรากฏการณ์เกาะความร้อนปรากฏการณ์เรือนกระจกปีเตอร์ นอร์วิกนอร์ทธรอป กรัมแมนนักบินอวกาศนัมเบอส์นาซา ทีวีนิวฮอไรซันส์นูเมอานีล อาร์มสตรองน้ำน้ำบนดาวอังคารน้ำเหลวนอกโลกแบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยนแฟตเฟสติวัลแฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟนแฟนแทสติกโฟร์แพลงก์ตอนพืชแฮม (ชิมแปนซี)แผนลวงสะท้านโลกแผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์แถบดาวเคราะห์น้อยแถบไคเปอร์แทรปพิสต์-1แทรปพิสต์-1เอฟแขนนายพรานแครอน (ดาวบริวาร)แคปริคอร์นวันแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 125แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 126แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 127แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 128แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 129แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 130แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 131แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 132แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 133แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 134แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 135แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 136แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 137แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 138แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 140แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 141แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 142แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 143แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 144แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 145แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 146แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 147แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 148แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 149แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 150แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 151แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 152แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 153แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 154แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 156แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 157แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 158แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 159แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 160แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 161แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 162ใบหน้าบนดาวอังคารโบอิง 737โฟมัลฮอตโฟโตสเฟียร์โรงเรียนสุรนารีวิทยาโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ดโลก (ดาวเคราะห์)โอไรออน (ยานอวกาศ)โอเมก้า สปีดมาสเตอร์โจเซฟ คิททินเจอร์โทรทัศน์ในประเทศไทยโครงการกระสวยอวกาศ–มีร์โครงการวอยเอจเจอร์โครงการวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์นโครงการหอดูดาวเอกโครงการอวกาศโซเวียตโตเกียวโซลาร์แม็กซิมัมไพโอเนียร์ 10ไพโอเนียร์ 11ไมซ์กาแล็กซีไมเคิล กริฟฟินไมเคิล คอลลินส์ไอ ซวิกกี 18ไอลีน คอลลินส์ไฮพีเรียน (ดาวบริวาร)ไฮโดรเจนเบลล์ 204/205เบเกิลเฟอร์ดินานด์ มาเจลลันเพลบลูดอตเพศสัมพันธ์ในอวกาศเกอไทต์เกาะเซนทิเนลเหนือเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)เมอร์คิวรี-แอตลาส 6เมซีเย 2เมซีเย 4เมซีเย 5เมซีเย 82เมเว็นเรดอนเรดาร์เส้นโค้งมังกรเส้นเวลาของอนาคตไกลเหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556เอชอาร์ 8799เอชดี 37974เอฟ-15 อีเกิลเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทเอกภพเอมส์เอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ดเอสทีเอส-100เอสทีเอส-129เอสทีเอส-134เอสทีเอส-27เอนเซลาดัสเอแอลเอช 84001เอ็ดการ์ มิตเชลเอ็นจีซี 2207 และไอซี 2163เอ็นจีซี 3949เอ็นจีซี 4236เอ็นจีซี 6357เฮลิโอสเฟียร์เจมส์ อี. เวบบ์เจเนรัล ไดนามิกส์ เอฟ-16เอ็กซ์แอลเทอเรนซ์ เต๋าเขาโรไรมาเขตแผ่รังสีเดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)เดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์เดอะบลูมาร์เบิลเคยูแบนด์เครื่องยนต์จรวดเคปเลอร์ (ยานอวกาศ)เคปเลอร์-10เคปเลอร์-10บีเคปเลอร์-10ซีเคปเลอร์-16บีเคปเลอร์-22บีเคปเลอร์-452บีเคปเลอร์-69ซีเซลล์เชื้อเพลิงเซลีนี (ยานอวกาศ)เซเลสเทียเซเลอร์มูน S "แผนยึดครองโลกของเจ้าหญิงหิมะ"เปลวสุริยะเนบิวลาวงแหวนเนบิวลาอเมริกาเหนือเนบิวลาปูเนบิวลานายพรานเนบิวลาเอสกิโมเนียร์ชูเมกเกอร์COROTETAOIN SHRDLUGeminiRETScreenSTS-26WANK (หนอนคอมพิวเตอร์)1 กุมภาพันธ์1 ตุลาคม1 E+13 m²11 ตุลาคม12 พฤศจิกายน14 พฤษภาคม14 มกราคม15 ตุลาคม16 พฤศจิกายน17 กันยายน20 สิงหาคม2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์)21 สิงหาคม23 สิงหาคม23308 นิยมเสถียร23310 ศิริวัน23313 สุโภไควณิช24 ตุลาคม25 มกราคม253 มาทิลเด27 ตุลาคม28 กันยายน29 กรกฎาคม29 กันยายน29 มีนาคม3 พฤศจิกายน3 มีนาคม3 ธันวาคม30 พฤศจิกายน31 กรกฎาคม31 มกราคม33179 อาร์แซนแวงแกร์4 กรกฎาคม4 มกราคม4 มิถุนายน5 กันยายน5 มีนาคม55 ปู6 มีนาคม6 สิงหาคม67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค7 พฤศจิกายน7 กุมภาพันธ์7 ธันวาคม9 เมษายน90377 เซดนา ขยายดัชนี (375 มากกว่า) »

บอราบอรา

right โบราโบร่า (Bora Bora); โบรา-โบร่า (Bora-Bora) หรือ ปอราปอรา (ตาฮีตี: Porapora) เป็นเกาะแห่งหนึ่งของหมู่เกาะโซไซเอตีในเฟรนช์โปลินีเซีย ดินแดนโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ลักษณะเป็นเกาะที่ปกคลุมไปด้วยป่าเขตร้อน มีซากภูเขาไฟหลายลูก พื้นทะเลนิ่งเพราะมีเทือกปะการังล้อมรอบเกาะ และมีหาดทรายที่สวยงาม.

ใหม่!!: นาซาและบอราบอรา · ดูเพิ่มเติม »

ชอน โอคีฟ

อน โอคีฟ ชอน โอคีฟ (Sean O'Keefe) เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1956 เคยเป็นผู้อำนวยการองค์การนาซา สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2001 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2005 ตลอดช่วงการบริหารของเขามีเรื่องราวเกิดขึ้นกับนาซามากมายทั้งดีมากและร้ายมาก ตั้งแต่ความสำเร็จในการส่งยานลงสำรวจดาวอังคาร ไปจนถึงโศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศโคลัมเบีย 21 กุมภาพันธ์ 2005 หลังจากลาออกจากนาซาแล้ว โอคีฟได้เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยหลุยเซียนา และลาออกเมื่อ 16 มกราคม 2008 ดาวเคราะห์น้อย 78905 ชอนโอคีฟ ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขาสำหรับผลงานการปฏิบัติหน้าที่ที่องค์การนาซ.

ใหม่!!: นาซาและชอน โอคีฟ · ดูเพิ่มเติม »

บัญชีรายชื่อดาวฤกษ์

ัญชีรายชื่อดาวฤกษ์ คือชุดรายชื่อทางดาราศาสตร์ที่รวบรวมชื่อดาวฤกษ์ต่างๆ ในทางดาราศาสตร์แล้ว มีดาวฤกษ์หลายดวงที่ถูกอ้างถึงด้วยชื่อจากบัญชีรายชื่อที่แตกต่างกัน มีบัญชีรายชื่อมากมายที่อาจมีความแตกต่างกันอย่างมากเนื่องจากถูกสร้างขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ กันด้วยวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน บทความนี้จะแสดงเฉพาะบัญชีรายชื่อที่มีการอ้างอิงถึงบ่อยๆ บัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เคยมีการรวบรวมขึ้นโดยชนชาติโบราณมากมาย เช่น ชาวบาบิโลน ชาวกรีก ชาวจีน ชาวเปอร์เซีย และอาหรับ ปัจจุบันนี้มีบัญชีรายชื่อดาวรุ่นใหม่ที่ทันสมัย อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถดาวน์โหลดได้จากศูนย์ข้อมูลดาราศาสตร์ขององค์การนาซ.

ใหม่!!: นาซาและบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ โบลเดน

ลส์ แฟรงก์ โบลเดน จูเนียร์ ชาลส์ แฟรงก์ โบลเดน จูเนียร์ (Charles Frank Bolden, Jr.; 19 สิงหาคม ค.ศ. 1946 —) เป็นอดีตผู้บริหารของนาซา ซึ่งเป็นพลตรีเกษียณจากนาวิกโยธินสหรัฐ และเป็นอดีตนักบินอวกาศของนาซา ในปี..

ใหม่!!: นาซาและชาลส์ โบลเดน · ดูเพิ่มเติม »

ชานะ

นะ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: นาซาและชานะ · ดูเพิ่มเติม »

บาโฮนวยโวแบงก์

นวยโวแบงก์ (Bajo Nuevo Bank) เป็นเกาะของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์เป็นเกาะที่มีข้อพิพาททางการปกครอง โดยที่นี่เป็นดินแดนที่โคลอมเบีย จาเมกา นิการากัว และสหรัฐอเมริกาต่างอ้างสิทธิ์ ที่นี่เป็นเกาะที่มีขนาดเล็ก อยู่ในแนวปะการัง ที่มีขนาดเล็กบาง เกาะเล็กเกาะน้อย ที่ปกคลุมด้วย หญ้า ที่ตั้งอยู่ในทิศตะวันตก ทะเลแคริบเบียน ที่ 15 ° 53 'n 78 ° 38 'w พิกัด: 15 ° 53 'n 78 ° 38' กับ ประภาคาร โลว เคย์ ที่ 15 ° 51 'n 78 ° 38'.

ใหม่!!: นาซาและบาโฮนวยโวแบงก์ · ดูเพิ่มเติม »

บิกแบง

ตาม'''ทฤษฎีบิกแบง''' จักรวาลมีจุดกำเนิดมาจากสภาพที่มีความหนาแน่นสูงและร้อน และจักรวาลมีการขยายตัวอยู่ตลอดเวลา บิกแบง (Big Bang, "การระเบิดครั้งใหญ่") เป็นแบบจำลองของการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพในจักรวาลวิทยาซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์และจากการสังเกตการณ์ที่แตกต่างกันจำนวนมาก นักวิทยาศาสตร์โดยทั่วไปใช้คำนี้กล่าวถึงแนวคิดการขยายตัวของเอกภพหลังจากสภาวะแรกเริ่มที่ทั้งร้อนและหนาแน่นอย่างมากในช่วงเวลาจำกัดระยะหนึ่งในอดีต และยังคงดำเนินการขยายตัวอยู่จนถึงในปัจจุบัน ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์ นักวิทยาศาสตร์และพระโรมันคาทอลิก เป็นผู้เสนอแนวคิดการกำเนิดของเอกภพ ซึ่งต่อมารู้จักกันในชื่อ ทฤษฎีบิกแบง ในเบื้องแรกเขาเรียกทฤษฎีนี้ว่า สมมติฐานเกี่ยวกับอะตอมแรกเริ่ม (hypothesis of the primeval atom) อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน ทำการคำนวณแบบจำลองโดยมีกรอบการพิจารณาอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: นาซาและบิกแบง · ดูเพิ่มเติม »

บี-52 สตราโตฟอร์เทรส

ี-52 สตราโตฟอร์เทรส (B-52 Stratofortress) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์พลังไอพ่นพิสัยไกลที่ถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 สร้างโดยบริษัทโบอิง แอร์เพลน คัมปะนี.

ใหม่!!: นาซาและบี-52 สตราโตฟอร์เทรส · ดูเพิ่มเติม »

ฟลายมีทูเดอะมูน

"ฟลายมีทูเดอะมูน" (Fly Me to the Moon) หรืออีกชื่อคือ "อินอะเธอร์เวิร์ด" (In Other Words) เป็นเพลงสากลอมตะ ออกซิงเกิลครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: นาซาและฟลายมีทูเดอะมูน · ดูเพิ่มเติม »

ฟัลคอน 9

ฟัลคอน 9(อังกฤษ: Falcon 9) เป็นชื่อตระกูลพาหนะขนส่งทางอวกาศที่ออกแบบและสร้างโดยสเปซเอ็กซ์ ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ในเมืองฮาวทอร์น, แคลิฟอร์เนีย ตระกูลจรวดนี้ประกอบด้วยฟัลคอน 9 v1.0 และฟัลคอน 9 v1.1 และฟัลคอน 9-อาร์ ทั้งสองส่วนของจรวด ขับดันโดยเครื่องยนต์จรวดที่ใช้ออกซิเจนเหลว และน้ำมันก๊าดแบบ RP-1 เป็นเชื้อเพลิง ฟัลคอน 9 รุ่นปัจจุบัน มีระวางบรรทุก 13,150 กิโลกรัมขึ้นสู่วงโคจรต่ำของโลก และ 4,850 กิโลกรัมขึ้นสู่วงโคจรค้างฟ้า จรวดทั้ง 3 แบบ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับกลางของระบบขนส่งอวกาศ จรวดฟัลคอน 9 และยานดรากอนชนะข้อเสนอภารกิจขนส่งสัมภาระขึ้น/ลงจากสถานีอวกาศนานาชาติ ในชื่อภารกิจ Commercial Resupply Services (CRS) ภายใต้โครงการ Commercial Orbital Transportation Services (COTS) ของนาซา และได้เริ่มเที่ยวบินแรกของภารกิจดังกล่าวเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: นาซาและฟัลคอน 9 · ดูเพิ่มเติม »

ฟีนิกซ์ (ยานอวกาศ)

ัญญาลักษณ์โครงการฟีนิกซ์ ยานฟีนิกซ์ (Phoenix Spacecraft) เป็นยานสำรวจดาวอังคารของโครงการสำรวจดาวอังคาร ยานลำนี้มีภารกิจหลักในการสำรวจสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับชืวิตขนาดเล็กและเพื่อสำรวจประวัติศาสตร์ของน้ำบนดาว เพื่อเป็นข้อมูลว่าดาวอังคารเคยมีแหล่งน้ำบนดาวมาก่อนหรือไม่อย่างไร ยานฟีนิกซ์ถูกปล่อยในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ด้วยจรวดเดลต้าทู 7925 ของนาซา ยานเดินทางมาถึงและลงจอดในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ณ บริเวณขั้วโลกเหนือของดาวอังคาร ยานลำนี้ได้รับการออกแบบให้มีแขนกล ใช้ในการตักดินทรายที่อยู่บริเวณรอบๆ ยาน และยานยังมีเตาสำหรับทดลองปฏิกิริยาทางเคมี ใช้สำหรับทดสอบดินบนดาวเพื่อหาสารประกอบของน้ำ โดยใช้แขนกลของยานตักและเทลงในเตา นอกจากนี้ยานยังมีกล้องสำหรับถ่ายภาพบนดาว โดยยานฟีนิกซ์ใช้พลังงานจากการชาร์จพลังงานจากแผงโซล่าเซลของยาน ฟีนิกซ์ถูกออกแบบให้ปฏิบัติภารกิจเพียงแค่สามเดือน และข้อมูลที่ได้จากการสำรวจครบตามที่ต้องการ แต่หลังจากสามเดือนยานยังสามารถทำงานต่อได้อีกกว่าสองเดือน ทางโครงการจึงเพิ่มงบประมาณการสำรวจ ดังนั้นโครงการนี้จึงเลื่อนระยะเวลาออกไปจนถึงสิ้นปี พ.ศ. 2551 ในวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 นาซาไม่สามารถติดต่อกับยานฟีนิกซ์ได้ เป็นเพราะยานไม่สามารถชาร์จพลังงานจากดวงอาทิตย์ได้ (เกิดจากสภาวะแวดล้อมของดาว) ทำให้นาซาสูญเสียยานฟีนิกซ์ก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม นับว่าโครงการนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงเพราะมันได้ทำการทดสอบทางด้านวิทยาศาสตร์ได้สำเร็จในทุกรายการที่ได้วางแผนไว้ ในปี พ.ศ. 2552 นาซามีโครงการส่งยานสำรวจดาวอังคารหลังจากยานฟีนิกซ์ ชื่อว่า Mars Science Laboratory.

ใหม่!!: นาซาและฟีนิกซ์ (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

ฟีเล (ยานอวกาศ)

ฟีเล หรือ ไฟลี (Philae) เป็นส่วนลงจอด (lander) หุ่นยนต์ขององค์การอวกาศยุโรปซึ่งไปกับยานอวกาศ โรเซตตา จนลงจอดบนดาวหาง 67พี/ชูรีวมอฟ-เกราซีเมนโค ที่กำหนด หลังออกจากโลกไปแล้วกว่าสิบปี เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 ส่วนลงจอดสามารถลงจอดควบคุม (controlled touchdown) บนนิวเคลียสดาวหางได้สำเร็จเป็นครั้งแรก คาดว่าอุปกรณ์จะได้ภาพแรก ๆ จากผิวดาวหางและทำการวิเคราะห์ ณ ที่เดิมเพื่อหาองค์ประกอบของดาวหาง ฟีเล ถูกเฝ้าติดตามและควบคุมจากศูนย์ปฏิบัติการอวกาศยุโรปที่ดาร์มชตัดท์ ประเทศเยอรมนี ส่วนลงจอดนี้ได้ชื่อตามเกาะไฟลีในแม่น้ำไนล์ซึ่งพบโอบิลิสก์ โดยโอบิลิสก์ดังกล่าวร่วมกับศิลาโรเซตตาถูกใช้ถอดอักษรไฮโรกลิฟอียิปต.

ใหม่!!: นาซาและฟีเล (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าหลัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556

หมอกควันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยนาซา ฟ้าหลัว (หรือหมอกควัน) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..

ใหม่!!: นาซาและฟ้าหลัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2563

ทธศักราช 2563 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2020 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2563 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2580

ทธศักราช 2580 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2037 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นาซาและพ.ศ. 2580 · ดูเพิ่มเติม »

พลศาสตร์ของไหลเชิงคณนา

แบบจำลองการไหลของอากาศความเร็วสูงรอบๆกระสวยอวกาศระหว่างการเดินทางกลับสู่โลก มัค 7 พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ (CFD ซี่งย่อมาจาก Computational Fluid Dynamics) คือสาขาหนึ่งในกลศาสตร์ของไหลที่ใช้กระบวนการเชิงตัวเลขและขั้นตอนวิธี (algorithm) ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการไหลของของไหล เพื่อการนี้ คอมพิวเตอร์จะถูกนำมาใช้เพื่อทำการคำนวณนับล้านๆครั้ง ก่อนที่จะสร้างแบบจำลองการทำปริกิริยาของของไหลและก๊าซต่อขอบผิวซึ่งกำหนดโดยสภาวะของขอบเขต แต่ทว่า ผลลัพธ์ที่ได้นั้นก็ยังเป็นเพียงการประมาณการณ์ที่ได้จากในหลายๆกรณีเท่านั้นถึงแม้ว่าจะใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูงในการคำนวณก็ตาม อย่างไรก็ตาม การพัฒนาของโปรแกรมนี้ในปัจจุบัน ความแม่นยำและความเร็วในการคำนวณสถานะการณ์ที่ซับซ้อนนั้นได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่นการจำลองการไหลแบบเทอร์บิวแลนต์ หรือ Transonic โปรแกรมนี้แต่เดิมถูกนำมาใช้กับการจำลองกังหันลม แต่ปัจจุบันถูกนำมาใช้ในการทดสอบการบินด้ว.

ใหม่!!: นาซาและพลศาสตร์ของไหลเชิงคณนา · ดูเพิ่มเติม »

พืดน้ำแข็ง

ทางอากาศของพืดน้ำแข็งบนชายฝั่งตะวันออกของเกาะกรีนแลนด์ พืดน้ำแข็ง (Ice sheet) หรือเรียกอีกอย่างว่าธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป (continental glacier) เป็นมวลของธารน้ำแข็งที่ปกคลุมภูมิประเทศโดยรอบและมีขนาดมากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันพืดน้ำแข็งสามารถพบได้เพียงในกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกา ช่วงยุคน้ำแข็งยุคสุดท้ายในยุคน้ำแข็งใหญ่สุดครั้งสุดท้ายพืดน้ำแข็งลอเรนไทด์ได้ปกคลุมพื้นที่จำนวนมากของทวีปอเมริกาเหนือ พืดน้ำแข็งไวช์เซเลียนปกคลุมทางเหนือของทวีปยุโรปและพืดน้ำแข็งปาตาโกเนียปกคลุมทางใต้ของทวีปอเมริกาใต้ พืดน้ำแข็งนั้นมีขนาดใหญ่กว่าหิ้งน้ำแข็งและธารน้ำแข็งแบบแอลป์ มวลของน้ำแข็งที่ปกคลุมพื้นที่น้อยกว่า 50,000 เรียกว่าทุ่งน้ำแข็ง ถึงแม้ว่าผิวหน้าของพืดน้ำแข็งจะหนาวและเย็นแต่บริเวณฐานจะอุ่นเนื่องจากความร้อนใต้พิภพ ในสถานที่ ๆ ทำให้น้ำแข็งด้านล่างละลายจากนั้นก็จะค่อย ๆ พาน้ำแข็งไหลไปเร็วกว่าบริเวณอื่นจะเรียกว่าภูมิภาคน้ำแข็งไหล (Ice stream) ปัจจุบันพืดน้ำแข็งบริเวณขั่วโลกนั้นยังถือว่ามีอายุน้อยมาก พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกก่อตัวขึ้นครั้งแรกจากทุ่งน้ำแข็งขนาดเล็กในช่วงต้นสมันโอลิโกซีนจากนั้นก็เพิ่มขนาดและลดลงหลายครั้งจนถึงสมัยพลิโอซีนพืดน้ำแข็งก็คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของแอนตาร์กติกา พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์นั้นไม่ได้ขยายตัวเลยจนถึงปลายสมัยพลิโอซีนแต่หลังจากนั้นก็พัฒนาตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ธารน้ำแข็งปกคลุมทวีป ทำให้พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์ที่เกิดแบบรวดเร็วและเฉียบผลันสามารถเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่งอกบนเกาะได้ดีกว่าพืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกที่ค่อย ๆ ก่อตัวอย่างช้.

ใหม่!!: นาซาและพืดน้ำแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: นาซาและกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

ใหม่!!: นาซาและกระสวยอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์

กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ (Shuttle Orbiter Challenger) รหัสประจำยานคือ OV-099 เป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในอวกาศขององค์การนาซ่า สร้างถัดจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เริ่มปล่อยสู่อวกาศครั้งแรก(ภารกิจที่ STS-6) ในวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: นาซาและกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี

STS-92, พ.ศ. 2543 (ภาพจากองค์การนาซา) กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์) เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ดิสคัฟเวอรี ถือเป็นกระสวยอวกาศปฏิบัติการลำที่สาม (ไม่รวมกระสวยอวกาศ''เอนเทอร์ไพรซ์'' ซึ่งเป็นยานทดสอบ) และเป็นกระสวยอวกาศลำที่มีระยะปฏิบัติการยาวนานที่สุด ในบรรดากระสวยอวกาศทั้งหมด ดิสคัฟเวอรีมีปฏิบัติการหลายชนิด ทั้งงานวิจัย และภารกิจร่วมกับสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศลำนี้ได้ชื่อมาจากเรือสำรวจหลายลำในอดีตที่ชื่อ ดิสคัฟเวอรี โดยเรือดิสคัฟเวอรีลำแรก คือ HMS Discovery ของอังกฤษ ซึ่งเป็นเรือสำรวจที่พา เจมส์ คุก เดินทางครั้งสำคัญ นอกจากนี้ยังมีเรือดิสคัฟเวอรีอื่น ๆ อีกมากมาย กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรียังมีชื่อตรงกับยานอวกาศในภาพยนตร์เรื่อง 2001: A Space Odyssey ด้วย ยานดิสคัฟเวอรีเป็นกระสวยอวกาศที่ขึ้นไปปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) รวมทั้งภารกิจซ่อมแซมกล้องฮับเบิลในครั้งที่สองและสามด้วย นอกจากนี้ยังมีภารกิจปล่อยโพร้บยูลิสซิส (Ulysses) และดาวเทียม TDRS สามดวง ยานดิสคัฟเวอรีได้รับเลือกถึงสองครั้งให้ทำหน้าที่แทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ และกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ที่ระเบิดเมื่อ ค.ศ. 1986 และ ค.ศ. 2003 ตามลำดั.

ใหม่!!: นาซาและกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศแอตแลนติส

STS-129 กระสวยอวกาศ แอตแลนติส (Orbiter Vehicle Designation OV-104) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 4 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-104 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ เอนเดฟเวอร์) กระสวยอวกาศแอตแลนติส ถูกตั้งชื่อตามเรือสำรวจหลักของสถาบันสมุทรศาสตร์ เริ่มทำการบินครั้งแรกในเที่ยวบิน STS-51-J วันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: นาซาและกระสวยอวกาศแอตแลนติส · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ.1981) จนมาถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 กระสวยอวกาศโคลัมเบียได้เกิดอุบัติเหตุระเบิดขึ้นเหนือรัฐเทกซัสขณะกลับสู่โลก หลังภารกิจครั้งที่ 28 เสร็จสิ้น ทำให้ลูกเรือในยานทั้ง 7 คนเสียชีวิต.

ใหม่!!: นาซาและกระสวยอวกาศโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์

การทดสอบการบินและลงจอดครั้งแรก เมื่อ ปี พ.ศ. 2520 (1977) กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ปัจจุบันนำไปแสดงที่ Udvar-Hazy Center กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-101) เป็นกระสวยอวกาศต้นแบบขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-101 เอนเทอร์ไพรซ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบการบินของกระสวยอวกาศ ในโครงการนำขึ้น-ลงจอด (Approach and Landing Test:ALT) จนบินครบห้าครั้ง แต่เดิมนั้นทางนาซาตั้งใจจะปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ไปใช้ในเที่ยวบินโคจร ซึ่งจะทำให้มันเป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ขึ้นบินหลังจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย แต่ระหว่างการก่อสร้างยานโคลัมเบีย มีการเปลี่ยนแปลงแบบครั้งสุดท้ายไปซึ่งมีส่วนสำคัญเกี่ยวกับน้ำหนักของลำตัวยานและส่วนของปีก การปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ให้บินได้จึงหมายถึงการจะต้องรื้อชิ้นส่วนยานโคจรออกและส่งกลับไปให้ผู้รับเหมาหลายรายในส่วนต่างๆ ของประเทศ เมื่องบทำท่าจะบานปลาย จึงมีการตัดสินใจทางเลือกอื่นโดยการสร้างกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ขึ้นครอบตัวโครงยาน (STA-099) ที่แต่เดิมเป็นอุปกรณ์ทดสอบ แล้วค่อยปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์เพื่อใช้งานแทนยานชาเลนเจอร์หลังจากที่มันถูกทำลายไป ทว่าได้มีการสร้างกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ขึ้นมาจากโครงสร้างสำรองแทนที่อีกครั้ง นาซ่าได้ใช้กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์เป็นกระสวยต้นแบบในการสร้างกระสวยอวกาศลำอื่นๆ ได้แก่ กระสวยอวกาศโคลัมเบีย กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี กระสวยอวกาศแอตแลนติส และกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ ปัจจุบันกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ได้ถูกนำไปแสดงที่ Steven F. Udvar-Hazy Center.

ใหม่!!: นาซาและกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-105) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ''ดิสคัฟเวอรี'' และ ''แอตแลนติส'') เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในภารกิจที่ STS-49 ยานเอนเดฟเวอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจสำคัญมากมาย เช่น ปล่อยดาวเทียม เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย และลำเลียงชิ้นส่วนของสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิบัติภารกิจสุดท้ายคือ STS-134 วันที่ 16 พฤษภาคม..

ใหม่!!: นาซาและกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวลูกไก่

กระจุกดาวลูกไก่ หรือ กระจุกดาวไพลยาดีส (Pleiades) หรือวัตถุเมสสิเยร์ M45 หรือ ดาวพี่น้องทั้งเจ็ด เป็นกระจุกดาวเปิดในกลุ่มดาววัว ประกอบด้วยดาวฤกษ์ระดับ B ที่มีประวัติการสังเกตมาตั้งแต่สมัยกลาง นับเป็นหนึ่งในกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด และอาจเป็นกระจุกดาวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า กระจุกดาวนี้ประกอบด้วยดาวฤกษ์สีน้ำเงินที่มีอายุราว 100 ล้านปี แต่เดิมเคยเชื่อว่าเศษฝุ่นที่ทำให้เกิดการสะท้อนแสงจาง ๆ เรืองรองรอบดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดน่าจะเป็นเศษที่หลงเหลือจากการก่อตัวของกระจุกดาว (จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนบิวลามายา ตามชื่อดาวมายา) แต่ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าไม่มีความเกี่ยวข้องกัน เป็นเพียงฝุ่นเมฆในสสารระหว่างดาวที่ดาวฤกษ์กำลังเคลื่อนผ่านเท่านั้น นักดาราศาสตร์คาดการณ์ว่ากระจุกดาวนี้จะมีอายุต่อไปอีกอย่างน้อย 250 ล้านปี หลังจากนั้นก็จะกระจัดกระจายออกไปเนื่องจากปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาราจักรเพื่อนบ้านใกล้เคียง.

ใหม่!!: นาซาและกระจุกดาวลูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวทรงกลม

เมสสิเยร์ 80 กระจุกดาวทรงกลมในกลุ่มดาวแมงป่อง อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ของเรา 28,000 ปีแสง ประกอบด้วยดาวฤกษ์นับแสนดวง กระจุกดาวทรงกลม (Globular Cluster) เป็นแหล่งรวมของดวงดาวที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม โคจรไปรอบๆ แกนกลางดาราจักร ดาวฤกษ์ในกระจุกดาวทรงกลมมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดต่อกันค่อนข้างมาก ทำให้พวกมันรวมตัวเป็นกลุ่มทรงกลม มีความหนาแน่นของดาวค่อนข้างสูงโดยเฉพาะในจุดศูนย์กลาง บางครั้งเรียกชื่อโดยย่อเพียงว่า globular กระจุกดาวทรงกลมมักพบอยู่ในกลดดาราจักร มีดวงดาวรวมตัวกันอยู่มากและมักมีอายุเก่าแก่กว่าส่วนที่เหลือของดาราจักร หรือกระจุกดาวเปิดซึ่งมักพบในจานดาราจักร ในดาราจักรทางช้างเผือกมีกระจุกดาวทรงกลมอยู่ราว 158 แห่ง และคาดว่ายังมีกระจุกดาวที่ยังค้นไม่พบอีกราว 10-20 แห่งAshman, Keith M.; Zepf, Stephen E. (1992).

ใหม่!!: นาซาและกระจุกดาวทรงกลม · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวคนคู่

กลุ่มดาวคนคู่ หรือ กลุ่มดาวมิถุน/เมถุน (♊) เป็นกลุ่มดาวหนึ่งในกลุ่มดาวจักรราศี อยู่ระหว่างกลุ่มดาววัวทางทิศตะวันตก กับกลุ่มดาวปูทางทิศตะวันออก ทางทิศเหนือ คือ กลุ่มดาวสารถีและกลุ่มดาวแมวป่าที่แทบจะมองไม่เห็น ทางทิศใต้ คือ กลุ่มดาวยูนิคอร์นและกลุ่มดาวหมาเล็ก โครงการเจมินีขององค์การนาซา ตั้งชื่อตามกลุ่มดาวนี้ จุดเด่นของกลุ่มดาวคนคู่ คือ ดาวฤกษ์สองดวงอยู่ใกล้กัน ดาวที่อยู่สูงกว่าเรียกว่าดาวคัสตอร์ (α Gem) ดวงล่างเรียกว่าดาวพอลลักซ์ (β Gem).

ใหม่!!: นาซาและกลุ่มดาวคนคู่ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์

กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ (Wide Field/Planetary Camera) คือ กล้องที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ถูกติดตั้งตั้งแต่ตอนขนส่งขึ้นสู่วงโคจร ประสิทธิภาพของมันมันลดลงเนื่องจากข้อบกพร่องของกระจกหลักในกล้องโทรทรรศน์ อย่างไรก็ตาม มันยังคงถ่ายภาพวัตถุทางดาราศาสตร์ที่สว่างมากด้วยความละเอียดสูง ทำให้เกิดการค้นพบที่สำคัญต่างๆมากมาย กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์เกิดจากแนวคิดของ James A. Westphal ศาสตราจารย์วิชาอวกาศดาวเคราะห์จากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย ถูกออกแบบและก่อสร้างโดยห้องทดลองการขับเคลื่อนด้วยไอพ่นขององค์การนาซา ในเวลานั้น อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (CCD) ยังไม่ถูกนำมาใช้งานทางดาราศาสตร์มากนัก แต่ประสิทธิภาพของมันก็ทำให้นักดาราศาสตร์เห็นว่าควรใช้มันในกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ประกอบด้วยกล้องสองตัวแยกจากกัน ได้แก่ กล้องถ่ายภาพสนามกว้าง และกล้องถ่ายภาพดาวเคราะห์ กล้องแต่ละตัวมีอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (CCD) ขนาด 800 x 800 พิกเซล จำนวน 4 ตัว วางติดกันให้สามารถถ่ายรูปได้โดยไร้รอยต่อ กล้องถ่ายภาพสนามกว้างมีพิกเซลขนาด 0.1 พิลิปดา ใช้สำหรับถ่ายภาพวัตถุมัวในมุมกว้าง กล้องถ่ายภาพดาวเคราะห์มีพิกเซลขนาด 0.043 พิลิปดา ใช้สำหรับถ่ายภาพความละเอียดสูง พีระมิดสี่หน้าที่เอียง 45 องศาเป็นตัวเลือกว่าจะใช้กล้องใด กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ถูกเปลี่ยนเป็นกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 ในภารกิจซ่อมบำรุงกล้องฮับเบิลครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: นาซาและกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2

ที่ได้จากกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 มีรูปร่างเป็นขั้นบันได กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 (Wide Field and Planetary Camera 2) คือ กล้องที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ถูกนำขึ้นไปติดตั้งในภารกิจซ่อมบำรุงกล้องฮับเบิลครั้งที่หนึ่งเมื่อ ค.ศ. 1993 มันถ่ายภาพสนามลึกฮับเบิลเมื่อ..

ใหม่!!: นาซาและกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ GALEX

วาดกล้องโทรทรรศน์อวกาศ GALEX กล้องโทรทรรศน์อวกาศ GALEX (ย่อจาก Galaxy Evolution Explorer) หรือ โครงการสำรวจวิวัฒนาการของดาราจักร เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศในย่านรังสีอัลตราไวโอเลตที่โคจรอยู่รอบโลก ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2546 โดยจรวดเพกาซัสนำกล้องกาเล็กซ์ไว้ในวงโคจรวงกลมด้านในที่ระดับความสูง 697 กิโลเมตร (432 ไมล์) มุมเอียงจากเส้นศูนย์สูตรของโลก 29 องศา งานสังเกตการณ์ครั้งแรกเป็นงานที่อุทิศแด่ลูกเรือของกระสวยอวกาศโคลัมเบีย โดยทำการถ่ายภาพท้องฟ้าบริเวณกลุ่มดาวเฮอร์คิวลีส ในวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: นาซาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศ GALEX · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (Spitzer Space Telescope) หรือเดิมชื่อ Space Infrared Telescope Facility (SIRTF) เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศอินฟราเรด เป็นกล้องอันดับที่สี่และสุดท้ายของโครงการหอดูดาวเอกของนาซา ตั้งชื่อตาม ดร.

ใหม่!!: นาซาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: นาซาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา หรือ กล้องรังสีเอกซ์จันทรา (Chandra X-ray Observatory) เป็นดาวเทียมของนาซา ที่มี detector ที่สามารถตรวจจับรังสีเอกซ์ได้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการศึกษารังสี X-ray ในห้วงอวก.

ใหม่!!: นาซาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตัน หรือ กล้องรังสีแกมมาคอมพ์ตัน (Compton Gamma-ray Observatory) เป็นหอสังเกตการณ์ดวงที่สองของนาซาในโครงการหอดูดาวเอกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ หลังจากที่ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขึ้นไปก่อนหน้านั้น กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตันตั้งชื่อตาม ดร.

ใหม่!!: นาซาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล (Herschel Space Observatory) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศขององค์การอวกาศยุโรป ริเริ่มโครงการตั้งแต..

ใหม่!!: นาซาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ (James Webb Space Telescope; JWST) เป็นโครงการหอดูดาวอินฟราเรดในอวกาศขององค์การนาซาที่วางแผนไว้ในอนาคต เพื่อสืบทอดภารกิจของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล มีเป้าหมายทางวิทยาศาสตร์ในการสังเกตการณ์วัตถุอันห่างไกลในเอกภพ ซึ่งอยู่ไกลเกินกว่าความสามารถของกล้องฮับเบิลจะจับภาพได้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างองค์การนาซา กับองค์การอวกาศยุโรป (ESA) และองค์การอวกาศแคนาดา (CSA) เดิมมีชื่อเรียกโครงการว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศแห่งยุคหน้า (Next Generation Space Telescope; NGST) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: นาซาและกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ · ดูเพิ่มเติม »

กัสซีนี–เฮยเคินส์

ำลองสามมิติ ยานสำรวจอวกาศกัสซีนี ขณะโคจรรอบดาวเสาร์ ภารกิจ กัสซีนี–เฮยเคินส์ หรือ คัสซีนี–ฮอยเกนส์ (Cassini–Huygens) เป็นความร่วมมือระหว่างนาซา, องค์การอวกาศยุโรป (ESA) และองค์การอวกาศอิตาลี (ASI) เพื่อส่งยานไปศึกษาดาวเสาร์และระบบดาวเสาร์ อันรวมถึงวงแหวนดาวเสาร์และดาวบริวาร ยานอวกาศหุ่นยนต์ไร้คนบังคับชั้นแฟลกชิปประกอบด้วยยานกัสซีนีของนาซา และส่วนลงจอดเฮยเคินส์ของ ESA ซึ่งจะลงจอดบนไททัน ดาวบริวารใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ กัสซีนีเป็นยานอวกาศลำที่สี่ที่เยือนดาวเสาร์และเป็นลำแรกที่เข้าสู่วงโคจร ยานนี้ตั้งชื่อตามโจวันนี โดเมนีโก กัสซีนี นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี และคริสตียาน เฮยเคินส์ นักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ ยานโดยสารไปกับไททัน 4บี/เซ็นทอร์เมื่อวันี่ 15 ตุลาคม 2540 ปฏิบัติภารกิจในอวกาศเป็นเวลากว่า 19 ปี โดยใช้เวลา 13 ปีโคจรรอบดาวเสาร์ แล้วศึกษาดาวเคราะห์และระบบดาวหลังเข้าสู่โคจรเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2547 การเดินทางสู่ดาวเสาร์มีการบินผ่านดาวศุกร์ (เมษายน 2541 ถึงกรกฎาคม 2542) โลก (สิงหาคม 2542) ดาวเคราะห์น้อย 2685 มาเซอร์สกี และดาวพฤหัสบดี (ธันวาคม 2543) ภารกิจสิ้นสุดลงในวันที่ 15 กันยายน 2560 เมื่อกัสซีนีได้รับคำสั่งให้บินเข้าชั้นบรรยากาศบนของดาวเสาร์และถูกเผาไหม้เพื่อป้องกันความเสี่ยงการทำให้ดาวบริวารของดาวเสาร์ปนเปื้อนจุลชีพจากโลกที่ติดไปกับยาน ทั้งนี้ ดาวบริวารของดาวเสาร์บางดวงมีสิ่งแวดล้อมที่อาจมีสิ่งมีชีวิตได้ ภารกิจดังกล่าวเป็นที่รู้กันแพร่หลายว่าประสบความสำเร็จเหนือความคาดหมาย ผู้อำนวยการกองวิทยาดาวเคราะห์ของนาซาเรียก กัสซีนี–เฮยเคินส์ ว่าเป็น "ภารกิจแห่งครั้งแรก" ซึ่งปฏิบัติความเข้าใจของมนุษย์เกี่ยวกับระบบดาวเสาร์ ซึ่งรวมทั้งดาวบริวารและวงแหวน และความเข้าใจว่าอาจพบสิ่งมีชีวิตได้ในระบบสุริยะ ภารกิจดั้งเดิมของกัสซีนีวางแผนไว้กินเวลาสี่ปี ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2547 ถึงพฤษภาคม 2551 ต่อมาภารกิจถูกขยายเวลาไปสองปีถึงเดือนกันยายน 2553 เรียก ภารกิจวิษุวัตกัสซีนี (Cassini Equinox Mission) และขยายเวลาครั้งที่สองและครั้งสุดท้ายด้วย ภารกิจอายันกัสซีนี (Cassini Solstice Mission) ที่กินเวลาต่อมาอีกเจ็ดปีถึงวันที่ 15 กันยายน 2560 16 ประเทศในทวีปยุโรปพร้อมทั้งสหรัฐจัดตั้งทีมซึ่งรับผิดชอบต่อการออกแบบ การก่อสร้าง การบิน และการเก็บข้อมูลจากส่วนโคจรกัสซีนีและยานสำรวจเฮยเคินส์ ภารกิจดังกล่าวบริหารจัดการโดยห้องปฏิบัติการการขับดันเจ็ตของนาซาในสหรัฐ ที่ซึ่งส่วนบนรนโคจรถูกออกแบบและประกอบ การพัฒนายานสำรวจไททันเฮยเคินส์บริหารจัดการโดยศูนย์วิจัยอวกาศและเทคโนโลยียุโรป อุปกรณ์เครื่องมือสำหรับยานสำรวจดังกล่าวได้รับการจัดหาจากหลายประเทศ องค์การอวกาศอิตาลี (ASI) จัดหาเสาวิทยุกำลังขยายสูงของยานสำรวจกัสซีนี และเรดาร์น้ำหนักเบาและกะทัดรัด ซึ่งทำหน้าที่อเนกประสงค์ทั้งเป็นการถ่ายภาพจากเรดาร์ (synthetic aperture radar) มาตรความสูงเรดาร์และมาตรรังสี กัสซีนีได้รับพลังงานโดยพลูโทเนียม-238 หนัก 32.7 กิโลกรัมRuslan Krivobok:.

ใหม่!!: นาซาและกัสซีนี–เฮยเคินส์ · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2548

อห์น โรเบิร์ต.

ใหม่!!: นาซาและกันยายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2550

กันยายน..

ใหม่!!: นาซาและกันยายน พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การบินอวกาศ

การบินอวกาศ (spaceflight) คือการบินที่เกิดขึ้นในอวกาศโดยมีนักบินเป็นมนุษย์และอาจมีผู้โดยสารร่วมในการบินด้วย ซึ่งแตกต่างกับการสำรวจอวกาศด้วยหุ่นยนต์หรือดาวเทียมควบคุมระยะไกล บางครั้งก็เรียกอย่างเฉพาะเจาะจงว่า การบินในอวกาศโดยมนุษย์ (manned spaceflight) สำหรับปี ค.ศ. 2008 มีโครงการอวกาศการบินที่ยังดำเนินการอยู่ได้แก่ โครงการโซยูส (Soyuz) ขององค์การอวกาศสหพันธ์รัสเซีย โครงการอวกาศยานขององค์การนาซา และโครงการเสินโจวขององค์กรอวกาศแห่งชาติจีน.

ใหม่!!: นาซาและการบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

การระเบิดที่ตุงกุสคา

การระเบิดที่ตุงกุสคา หรือ เหตุการณ์ตุงกุสคา (Tunguska explosion, Tunguska event) เป็นการระเบิดอย่างรุนแรง ที่เกิดขึ้นบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำพอดกาเมนนายาตุงกุสคา (Podkamennaya Tunguska River) ไซบีเรีย จักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันคือ กราสโนยาร์คไคร ตอนกลางของรัสเซีย) เมื่อเวลาประมาณ 7.12 น. วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2451 ตามเวลาท้องถิ่น (GMT+7 ตามเวลาในประเทศไทย) แม้ว่าสาเหตุยังคงเป็นประเด็นถกเถียง แต่การระเบิดคล้ายมากกับการระเบิดคลื่นอัดอากาศจากการแตกตัวของอุกกาบาตหรือดาวหางขนาดใหญ่ ที่ความสูงเหนือพื้นผิวโลก 5-10 กิโลเมตร (3-6 ไมล์) แม้ว่าการระเบิดของอุกกาบาตกลางอากาศก่อนถึงพื้นผิวเกิดขึ้นน้อยกว่าการชนพื้นผิว แต่ก็ยังจัดเป็นการปะทะของอุกกาบาตอีกลักษณะหนึ่ง การศึกษาต่างวาระแสดงหลักฐานตรงกันว่ามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 10-30 เมตร แต่ขนาดที่แน่นอนอ้างไม่ตรงกัน ประมาณการว่า การระเบิดนี้มีความรุนแรงเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที ระหว่าง 5 เมกะตัน ถึง 30 เมกะตัน หรือประมาณ 1,000 เท่า _ ของระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิม่า ประเทศญี่ปุ่น การระเบิดเกิดขึ้นกลางอากาศที่ความสูงประมาณ 5-10 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน การระเบิดทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนแผ่ออกเป็นวงกว้าง เทียบเท่ากับแผ่นดินไหวที่แมกนิจูด 5.0 ทำลายต้นไม้ประมาณ 80 ล้านต้น กินอาณาบริเวณประมาณ 2,150 ตารางกิโลเมตร แม้เชื่อกันว่าเหตุการณ์ตุงกุสคาเป็นการปะทะของอุกกาบาตขนาดใหญ่ที่สุดที่มนุษย์สังเกตพบในช่วงประวัติศาสตร์มนุษย์ แต่การปะทะขนาดคล้ายกันนี้พบได้ในพื้นที่มหาสมุทรที่ห่างไกล ซึ่งพลาดการสังเกตพบในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และคริสต์ทศวรรษ 1970 เพราะยังไม่มีการคิดค้นระบบตรวจการณ์ทางดาวเทียม.

ใหม่!!: นาซาและการระเบิดที่ตุงกุสคา · ดูเพิ่มเติม »

การลดลงของโอโซน

องหลุมพร่องโอโซนขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา ซึ่งเกิดขึ้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 บริเวณขั้วโลกใต้ การลดลงของโอโซน (ozone depletion) คือปรากฏการณ์การลดลงของชั้นโอโซนบนชั้นบรรยากาศระดับชั้นสตราโตสเฟียร์ โดยทำการศึกษาการลดลงของชั้นโอโซนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นาซาและการลดลงของโอโซน · ดูเพิ่มเติม »

การวาร์ป

การสร้างภาพของสนามวาร์ป ยานอวกาศจะถูกวางอยู่ในฟองของอวกาศปกติ การวาร์ป (Warp drive) คือสมมติฐานที่เกี่ยวกับระบบการขับเคลื่อนที่เร็วกว่าแสง (FTL) ดังที่มีปรากฏในการดำเนินเรื่องในนิยายวิทยาศาสตร์, ที่โดดเด่นสะดุดตาที่สุดก็คือเรื่องสตาร์เทร็ค (Star Trek) ยานอวกาศที่ใช้ระบบขับเคลื่อนด้วยการวาร์ปอาจเดินทางด้วยอัตราเร็วที่มากขึ้นอย่างเห็นได้ชัดกว่าอัตราเร็วของแสงหลายเท่าตัว, ในขณะที่สามารถหลีกเลี่ยงปัญหาความสัมพัทธ์ของการยืดออกของเวลาได้ ในทางตรงกันข้ามกับเทคโนโลยีการเคลื่อนที่ที่เร็วกว่าแสง (FTL) อื่น ๆ อีกมากมายที่ปรากฏในนิยายวิทยาศาสตร์ เช่นการขับเคลื่อนแบบ "กระโดดข้าม" (jump drive) หรือการขับเคลื่อนอันเหลือเชื่ออย่างไม่มีที่สิ้นสุด (Infinite Improbability Drive) ในการวาร์ปนั้นจะไม่อนุญาตให้มีการเดินทางที่รวดเร็วในทันทีผ่านไปในระยะทางระหว่างจุดสองจุด; แต่จะใช้เทคโนโลยีที่จะสร้าง "ฟอง" สังเคราะห์ของกาล-อวกาศปกติ ณ บริเวณที่อยู่ล้อมรอบยานอวกาศนั้น (ส่วนที่อยู่ตรงข้ามกับด้านที่จะเดินทางเข้าสู่บริเวณเขตแดนที่แยกออกจากกันหรือต่างมิติกัน เช่น ในอวกาศแบบไฮเปอร์สเปซ, ดังเช่นที่ถูกนำมาใช้ในภาพยนตร์เรื่องสตาร์ วอร์ส (Star Wars), สตาร์เกทแฟรนไชส์​​ (Stargate franchise), Warhammer 40,000, Babylon 5, Cowboy Bebop and Andromeda universes) วิธีการแก้ปัญหาในเชิงทฤษฎีสำหรับการเดินทางที่เร็วกว่าแสงซึ่งเป็นแบบจำลองของแนวคิดนั้น เรียกว่าการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์, เป็นสูตรที่คิดค้นโดยนักฟิสิกส์ชื่อ มิเกล อัลคับเบียร์ (Miguel Alcubierre) ในปี..

ใหม่!!: นาซาและการวาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

การปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554

ทางอากาศของกลุ่มเมฆเถ้าที่ปรากฏในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2554 การปะทุของภูเขาไฟปูเยอว..

ใหม่!!: นาซาและการปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การไล่ผีให้โรแลนด์ โด

การไล่ผีให้โรแลนด์ โด (Exorcism of Roland Doe) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเชิงเหนือธรรมชาติที่เกี่ยวกับภูตผีปีศาจ อันเป็นที่มาของภาพยนตร์เรื่อง The Exorcist ในปี..

ใหม่!!: นาซาและการไล่ผีให้โรแลนด์ โด · ดูเพิ่มเติม »

การไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคาร

การไหลในฤดูร้อนบนเนินดาวอังคารในปล่องภูเขาไฟนิวตัน การสังเกตจากมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ขององค์การนาซาได้เปิดเผยว่า อาจมีการไหลของน้ำในช่วงเดือนที่อบอุ่นที่สุดบนดาวอังคาร การวิจัยเสนอว่า ในอดีตอาจเคยมีน้ำในสถานะของเหลวไหลอยู่บนพื้นผิวของดาว ปกคลุมเป็นบริเวณกว้างคล้ายกับมหาสมุทรบนโลก อย่างไรก็ตาม คำถามยังคงมีอยู่ว่าน้ำหายไปไหนหมด ในแถลงการณ์ที่ออกโดยนาซาเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: นาซาและการไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

การเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์)

การเคลื่อนที่ในฟิสิกส์ หมายถึง การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง ถูกอธิบายด้วย การกระจัด ระยะทาง ความเร็ว ความเร่ง เวลา และอัตราเร็ว การเคลื่อนที่ของวัตถุจะถูกสังเกตได้โดยผู้สังเกตที่เป็นส่วนหนึ่งของกรอบอ้างอิง ทำการวัดการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุเทียบกับกรอบอ้างอิงนั้น ถ้าตำแหน่งของวัตถุไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับกรอบอ้างอิง อาจกล่าวได้ว่าวัตถุนั้นอยู่นิ่งหรือตำแหน่งคงที่ (ระบบมีพลวัตแบบเวลายง) การเคลื่อนที่ของวัตถุจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เว้นเสียแต่มีแรงมากระทำ โมเมนตัมคือปริมาณที่ใช้ในการวัดการเคลื่อนที่ของวัตถุ โมเมนตัมของวัตถุเกี่ยวข้องกับมวลและความเร็วของวัตถุ และโมเมนตัมทั้งหมดของวัตถุทั้งหมดในระบบโดดเดี่ยว (อย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอก) ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลาตามที่อธิบายไว้ในกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม เนื่องจากไม่มีกรอบอ้างอิงที่แน่นอนดังนั้นจึงไม่สามารถระบุการเคลื่อนที่แบบสัมบูรณ์ได้ ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาลจึงสามารถเคลื่อนที่ได้ การเคลื่อนที่ใช้ได้กับวัตถุ อนุภาค การแผ่รังสี อนุภาคของรังสี อวกาศ ความโค้ง และปริภูมิ-เวลาได้ อนึ่งยังสามารถพูดถึงการเคลื่อนที่ของรูปร่างและขอบเขต ดังนั้นการเคลื่อนที่หมายถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในการกำหนดค่าของระบบทางกายภาพ ตัวอย่างเช่นเราสามารถพูดถึงการเคลื่อนที่ของคลื่นหรือการเคลื่อนที่ของอนุภาคควอนตัมซึ่งการกำหนดค่านี้ประกอบด้วยความน่าจะเป็นในการครอบครองตำแหน่งที่เฉพาะเจาะจง การเคลื่อนที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนตำแหน่ง เช่น ภาพนี้เป็นรถไฟใต้ดินออกจากสถานีด้วยความเร็ว.

ใหม่!!: นาซาและการเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์) · ดูเพิ่มเติม »

การเปลี่ยนขนาดของเวลา

doi.

ใหม่!!: นาซาและการเปลี่ยนขนาดของเวลา · ดูเพิ่มเติม »

กาลิเลโอ (แก้ความกำกวม)

กาลิเลโอ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: นาซาและกาลิเลโอ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: นาซาและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์

''ชาเลนเจอร์''ระเบิด คร่าชีวิตลูกเรือทั้งหมด 7 คน ไมเคิล เจ. สมิท, ดิก สโคบี, โรนัลด์ แมคแนร์; (แถวหลัง) เอลลิสัน โอนิซึกะ, คริสตา แมคออลิฟ, เกรกอรี จาร์วิส, จูดิธ เรสนิค ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: นาซาและภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติกระสวยอวกาศโคลัมเบีย

right โศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เกิดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 เมื่อกระสวยอวกาศโคลัมเบียของ องค์การนาซา แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยตกลงมาสู่โลกเหนือเขตรัฐเทกซัสพร้อมกับการสูญเสียลูกเรือทั้งหมดเจ็ดคน หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจในเที่ยวบินที่ 28 STS-107 และกำลังเดินทางกลับสู่พื้นโลก การสูญเสียของกระสวยอวกาศโคลัมเบียเกิดจากความเสียหายที่เกิดขึ้นระหว่างการส่ง ชิ้นส่วนแผ่นโฟมกันความร้อนชิ้นหนึ่งเกิดปริแตกออก และหลุดออกจากบริเวณถังเชื้อเพลิงด้านนอก พุ่งมากระทบปลายปีกด้านซ้ายของกระสวยอวกาศ ทำให้ระบบป้องกันความร้อนของกระสวย (Shuttle's thermal protection system (TPS)) ได้รับความเสียหาย วิศวกรจำนวนหนึ่งสังเกตเห็นความผิดปกติตั้งแต่กระสวยอวกาศยังอยู่ในวงโคจร แต่ผู้จัดการภาคพื้นดินของนาซาให้จำกัดขอบเขตการสอบสวนไว้ก่อนเพราะเห็นว่ายังไม่สามารถทำอะไรได้ คณะกรรมการสอบสอนอุบัติเหตุกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ระบุถึงปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งในทางเทคนิคและด้านการจัดการภายในองค์กร ทำให้โครงการด้านกระสวยอวกาศต้องหยุดชะงักไปกว่าสองปีหลังจากอุบัติเหตุครั้งนี้ นับเป็นเหตุโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่หลังจากเหตุการณ์โศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร.

ใหม่!!: นาซาและภัยพิบัติกระสวยอวกาศโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาน้ำแข็ง บี-15

อบของภูเขาน้ำแข็ง บี-15เอ ในทะเลรอสส์ทวีปแอนตาร์กติกา, 29 มกราคม 2545 ภูเขาน้ำแข็ง บี-15เป็นภูเขาน้ำแข็งที่ใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่มีการบันทึกซึ่งมันมีความยาวขนาด 295 ก.ม.กว้าง 37 ก.ม. และมีพื้นที่ขนาด 11,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าประเทศจาเมกา ภูเขาน้ำแข็ง บี-15นั้นแยกตัวออกมาจากหิ้งน้ำแข็งรอสส์ ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: นาซาและภูเขาน้ำแข็ง บี-15 · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาน้ำแข็ง เอ-38

The split of the A38-B iceberg is recorded in this series of images. The iceberg was originally part of the massive A-38 iceberg, which broke from the Ronne Ice Shelf in Antarctica ภูเขาน้ำแข็ง เอ-38 คือภูเขาน้ำแข็งขนาดใหญ่ที่แยกจากหิ้งน้ำแข็งฟิวช์เนอร์-โรนใน ทวีปแอนตาร์กติกาใน..

ใหม่!!: นาซาและภูเขาน้ำแข็ง เอ-38 · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเมานาเคอา

มานาเคอา เมื่อมองจาก โคฮาลา แผนที่ของเกาะฮาวาย กล้องโทรทรรศน์ Subaru, Keck I, II และกล้องอินฟราเรดของนาซา ภูเขาไฟเมานาเคอา (Mauna Kea) เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว ตั้งอยู่ในรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา เป็นภูเขาหนึ่งในห้าลูกที่ประกอบกันเป็นเกาะฮาวาย โดยภูเขาอีกสี่ลูก คือ ภูเขาไฟโคฮาลา ภูเขาไฟฮูอาลาไล ภูเขาไฟเมานาโลอา ภูเขาไฟคีเลาเวอา เมานาเคอามีความสูงวัดจากระดับน้ำทะเล 13,796 ฟุต หรือ 4,205 เมตร สูงที่สุดในเกาะฮาวาย โดยสูงกว่ายอดเขาเมานาโลอาประมาณ 120 ฟุต (37 เมตร) เมานาเคอามีความสูงวัดจากฐานส่วนที่จมอยู่ใต้มหาสมุทรแปซิฟิกอีกประมาณ 19,000 ฟุต (5,800 เมตร) เมื่อรวมกันแล้วเมานาเคอามีความสูงมากกว่า 33,000 ฟุต (10,000 เมตร) ซึ่งสูงที่สุดในโลก และสูงกว่ายอดเขาเอเวอเรสต์ เมานาเคอาเป็นภาษาฮาวาย แปลว่า ภูเขาสีขาว เนื่องจากมีหิมะปกคลุมยอดเขาตลอดทั้งปี บนยอดเขามีทัศนวิสัยที่ดี เหมาะสำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ โดยมีกล้องดูดาวอยู่บนยอดเขาถึง 13 กล้องจากหลายประเทศ รวมทั้งหอดูดาวเคก 1 และ 2 (W.M.Keck Observatory) และกล้องวิทยุโทรทรรศน์หนึ่งในสิบกล้อง ที่ประกอบกันเป็น Very Long Baseline Array (VLBA) ของหอดูดาววิทยุแห่งชาติ (National Radio Astronomy Observatory - NRAO) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เกิดแผ่นดินไหววัดความสั่นสะเทือนได้ 6.7 มาตราริกเตอร์ ทำให้เกิดความเสียหายต่อกล้องดูดาวจำนวนหนึ่งบนยอ.

ใหม่!!: นาซาและภูเขาไฟเมานาเคอา · ดูเพิ่มเติม »

มวลเขาสูงไอร์

มวลเขาสูงไอร์ หรือมวลเขาสูงแอร์ (Aïr Mountains) เป็นกระจุกภูเขาสูง ตั้งในเขตเตเนเร ประเทศไนเจอร์ และเป็นส่วนหนึ่งของทะเลทรายสะฮารา (หรือ เศาะหะรออ์) มีความสูงเฉลี่ย 500 — 900 เมตร และเป็นพื้นที่ที่มีฝนตกมากกว่าทะเลทรายโดยรอบ ทำให้มีสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัย โดยนับได้ถึง 430 ชนิด มีสิ่งมีชีวิตแบบซาเฮล สะฮารา และสิ่งมีชีวิตแบบเมดิเตอร์เรเนียน จากการสำรวจในศตวรรษที่ 20พบว่ามีไม้หนามสปีชีส์ ''Acacia tortilis'' subsp. ''raddiana'' และพืชสปีชีส์ Balanites aegyptiaca ขึ้นระหว่างภูเขา พืชชนิดอื่นพบได้ยากเพราะบริเวณดังกล่าวแห้งแล้งมาก ส่วนบริเวณแม่น้ำชั่วคราว (วาดีย์) ประกอบด้วยพืชจำพวก Acacia nilotica, Faidherbia albida, Hyphaene thebaica ขึ้นร่วมอยู่กับอินทผลัม มวลเขามีอายุตั้งแต่บรมยุคพรีแคมเบรียนถึงมหายุคซีโนโซอิก ประกอบด้วยหินเพอร์แอลคาไลน์ และหินแกรนิต ซึ่งมีสีดำตัดกับหินแกรนิตสีอ่อน ในบรรดาภูเขาที่ประกอบเป็นกระจุกภูเขาไอร์นี้ มีภูเขาอิดูกัล-น์-ตาแกซ (ความสูง 2022 เมตร) ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของประเทศไนเจอร์ ภูเขาตัมกัก (Tamgak) (1988 เมตร) ภูเขาเกรอบูน (1944 เมตร) และภูเขาอื่น ๆ อีก มวลเขาทั้งหมดโผล่ขึ้นกลางที่ราบสูง.

ใหม่!!: นาซาและมวลเขาสูงไอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคนซัส

อาคาร Lippincott Hall ตระหง่านอยู่เบื้องหลังรูปปั้นของ Jimmy Green คณบดีคนแรกของคณะนิติศาสตร์ ในอิริยาบถขณะกำลังยืนพูดคุยกับนักศึกษา The Forum อาคารเรียนสตูดิโอ ซึ่งออกแบบและก่อสร้างเองโดยนักศึกษาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแคนซัส (University of Kansas มักย่อว่า เคยู (KU) หรือ แคนซัส) เป็นมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองลอว์เรนซ์ ในรัฐแคนซัส มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี ค.ศ. 1865 มหาวิทยาลัยมีคณาจารย์และนักวิจัยประมาณ 5,500 คน และนักศึกษาประมาณ 27,000 คน น้ำพุหน้าไคโอเมกา นอกจากวิทยาเขตหลักในเมืองลอว์เรนซ์แล้ว มหาวิทยาลัยมีศูนย์การแพทย์ (KU Medical Center) ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงพยาบาล (University of Kansas Hospital) ตั้งอยู่ที่เมืองแคนซัสซิตี นอกจากนี้มหาวิทยาลัยแคนซัสเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหรัฐอเมริกาที่ริเริ่มจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาสังคมวิทยา (Sociology) เมื่อปี 1890 ทีมกีฬามหาวิทยาลัยมีชื่อว่า เจย์ฮอกส์ (Jayhawks) โดยมีสัญลักษณ์เป็นนกผสมระหว่างบลูเจย์และเหยี่ยวสแปร์โรว์ (สแปร์โรว์ฮอว์ก) ทีมบาสเกตบอลของมหาวิทยาลัยมีผลงานชนะการแข่งขันระดับประเทศใน NCAA เป็นจำนวน 3 ครั้ง ในปี 1952, 1988, 2008 และรองชนะเลิศ 6 ครั้งในปี 1940, 1953, 1957, 1991, 2003, 2012.

ใหม่!!: นาซาและมหาวิทยาลัยแคนซัส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Case Western Reserve University หรือ CASE หรือ CWRU หรือ CASE WESTERN) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เน้นทางด้านการวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 จากการรวมกันของสองสถาบันการศึกษาอันได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีเคส (Case Institute of Technology) ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2423 โดยนาย ลีโอนาร์ท เคส จูเนียร์ (Leonard Case Jr) กับ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Western Reserve University) ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2369 มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีนักศึกษาประมาณ 10,000 คน แบ่งเป็น นักศึกษาปริญญาบัณฑิต 4,386 คน นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 5,640 คน และอาจารย์ประจำ 3,055 คน และเจ้าหน้าที่ 3,402 คน สำหรับปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของมหาวิทยาลัยประจำปีคือ 968 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ได้รับเงินบริจาคประจำปีคือ 138.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นทางด้านการวิจัยเป็นอย่างมาก โดยตามรายงานประจำปี.

ใหม่!!: นาซาและมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

มหานวดาราประเภท 1เอ

accessdate.

ใหม่!!: นาซาและมหานวดาราประเภท 1เอ · ดูเพิ่มเติม »

มัทมอนส์

มัทมอนส์ (Maat Mons) เป็นภูเขาไฟที่สูงที่สุดบนดาวศุกร์ และเป็นภูเขาที่สูงเป็นอันดับที่ 2 ของดาว รองจากแมกซ์เวลมอนทีส ตั้งอยู่ที่พิกัด ของดาวศุกร์ ภูเขาไฟลูกนี้มีความสูง 8 กิโลเมตรเหนือระดับเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของดาวศุกร์ ชื่อของภูเขาไฟมีที่มาจากเทพีแห่งความจริงและความเที่ยงตรงของอียิปต์นามว่า มัท (Maat).

ใหม่!!: นาซาและมัทมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

มาริเนอร์ 9

มาริเนอร์ 9 (Mariner 9 / Mariner Mars '71 / Mariner-I) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาในโครงการมาริเนอร์ที่ช่วยในภารกิจการสำรวจดาวอังคาร ยานออกเดินทางสู่ดาวอังคารเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1971 ที่ฐานทัพอากาศแหลมคาเนเวอรัล สหรัฐอเมริกา เดินทางถึงดาวอังคารเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน นับเป็นยานอวกาศลำแรกที่ไปโคจรรอบดาวเคราะห์ดวงอื่น โดยเอาชนะมาร์ส 2 และมาร์ส 3 ของโซเวียตไปเพียงเล็กน้อย มาริเนอร์ 9 ใช้เวลาหลายเดือนเพื่อคอยให้พายุฝุ่นบนดาวอังคารสงบลง แล้วจึงส่งภาพอันน่าอัศจรรย์จากดาวอังคารกลับมายังโลกเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: นาซาและมาริเนอร์ 9 · ดูเพิ่มเติม »

มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์

วาดยานในวงโคจรรอบดาวอังคาร มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ (Mars Reconnaissance Orbiter) หรือเอ็มอาร์โอ (MRO) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซาที่ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มีเป้าหมายศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับดาวอังคารอย่างละเอียด ค้นหาจุดลงจอดที่เหมาะสมสำหรับยานอวกาศในอนาคต และทำหน้าที่รับ-ส่งสัญญาณวิทยุระหว่างยานกับโลกด้วยอัตราส่งข้อมูลที่สูงกว่ายานลำอื่น ๆ ภารกิจหลักของยานมีกำหนด 4 ปี โดยได้เริ่มเข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคารเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2549 ตามเวลาในสหรัฐอเมริกา หรือตรงกับเช้ามืดวันที่ 11 มีนาคม ตามเวลาในประเทศไท.

ใหม่!!: นาซาและมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: นาซาและมีนาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ยานลูนาร์โปรสเปกเตอร์

นอวกาศลูนาร์โปรสเปกเตอร์ (Lunar Prospector) ถูกส่งขึ้นไปเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) เพื่อสำรวจดวงจันทร์ เป็นเวลา 1 ปีในการหาข้อมูลเกี่ยวกับพื้นผิวและภายในดวงจันทร์ ยานโคจรรอบดวงจันทร์ในระดับสูง 100 กม.ในเวลา 2-3 สัปดาห์อุปกรณ์ 1 ใน 5 อย่าง ก็พบหลักฐานสำคัญ ที่แสดงว่า ในหินใกล้บริเวณขั้วของดวงจันทร์มีผลึกน้ำแข็งอยู่ด้ว.

ใหม่!!: นาซาและยานลูนาร์โปรสเปกเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยานเจมินี 5

กอร์ดอน คูเปอร์และพีท คอนราด นักบินประจำยานเจมินี 5 ยานเจมินี 5 (Gemini 5 ชื่อทางการ Gemini V) ยานอวกาศมีนักบินในโครงการเจมินี ของนาซา เมื่อ พ.ศ. 2508 นับเป็นเที่ยวบินที่มีนักบินของโครงการเจมินีลำที่ 3 และของโครงการยานอวกาศทั้งหมดที่มีมนุษย์ขับขี่ลำดับที่ 11 ของสหรัฐอเมริกา (รวมทั้งการบินโดยเครื่องบินทดลองเอกซ์ 15 ที่บินสูงกว่า 100 กิโลเมตร).

ใหม่!!: นาซาและยานเจมินี 5 · ดูเพิ่มเติม »

ยูจีน เซอร์นัน

ูจีน แอนดรูว์ "จีน" เซอร์นัน (Eugene Andrew "Gene" Cernan; 14 มีนาคม พ.ศ. 2477 – 16 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นนักบินอวกาศชาวอเมริกัน ผู้ซึ่งเป็นบุคคลลำดับที่ 11 และสุดท้ายที่เดินบนดวงจันทร์ เขาเดินทางไปอวกาศทั้งหมดสามครั้ง ได้แก่ ไปกับยานเจอมินี 9A ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: นาซาและยูจีน เซอร์นัน · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรปา (ดาวบริวาร)

ูโรปา (Europa; Ευρώπη) เป็นดาวบริวารดวงหนึ่งของดาวพฤหัสบดี ค้นพบในปี..

ใหม่!!: นาซาและยูโรปา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอฟโอ

ที่เชื่อว่าเป็นยูเอฟโอในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ถ่ายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 1952 วัตถุบินกำหนดเอกลักษณ์ไม่ได้ (unidentified flying object) ย่อว่า วบกอม หรือมักเรียกว่า ยูเอฟโอ หรือ ยูโฟ (UFO) ในความหมายกว้างที่สุด คือ สิ่งผิดปกติประจักษ์ชัดใด ๆ ในท้องฟ้า (หรือใกล้หรืออยู่บนพื้นดิน แต่สังเกตว่าบินร่อน ลงจอดหรือทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า) ซึ่งไม่สามารถระบุเอกลักษณ์ได้ในทันทีว่าเป็นวัตถุหรือปรากฏการณ์ใด ๆ ที่ทราบจากการสังเกตด้วยตา และ/หรือ การใช้เครื่องมือช่วย เช่น เรดาร์ สิ่งผิดปกตินี้มักเรียกว่า "จานผี" หรือ "จานบิน" ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1940 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 คำว่า "ยูเอฟโอ" ประดิษฐ์ขึ้นอย่างเป็นทางการใน..

ใหม่!!: นาซาและยูเอฟโอ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วัตถุขนาดย่อมกว่าดาวเคราะห์จำนวน 5 ดวง ได้รับการจัดระดับให้เป็นดาวเคราะห์แคระ ได้แก่ ซีรีสในแถบดาวเคราะห์น้อย กับวัตถุอีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในย่านพ้นดาวเนปจูน คือ ดาวพลูโต (ซึ่งเดิมเคยถูกจัดระดับไว้เป็นดาวเคราะห์) เฮาเมอา มาคีมาคี และ อีรีส มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่รอบ ๆ เราเรียกดาวบริวารเหล่านี้ว่า "ดวงจันทร์" ตามอย่างดวงจันทร์ของโลก นอกจากนี้ดาวเคราะห์ชั้นนอกยังมีวงแหวนดาวเคราะห์อยู่รอบตัวอันประกอบด้วยเศษฝุ่นและอนุภาคขนาดเล็ก สำหรับคำว่า ระบบดาวเคราะห์ ใช้เมื่อกล่าวถึงระบบดาวโดยทั่วไปที่มีวัตถุต่าง ๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ คำว่า "ระบบสุริยะ" ควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า "ระบบสุริยจักรวาล" อย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคำว่า "จักรวาล" ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: นาซาและระบบสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ระวี ภาวิไล

ตราจารย์กิตติคุณ ระวี ภาวิไล (17 ตุลาคม พ.ศ. 2468 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2560) เป็นราชบัณฑิต อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิชาการด้านดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของไทย นับเป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของไทย และมีส่วนให้สังคมไทย โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์มากขึ้น สำหรับบุคคลทั่วไป อาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: นาซาและระวี ภาวิไล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลางสหรัฐ

รัฐบาลกลางสหรัฐ (Federal Government of the United States) เป็นรัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกาซึ่งใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐตามรัฐธรรมนูญและประกอบด้วยรัฐห้าสิบรัฐ รวมตลอดถึงเขตการปกครองใหญ่หนึ่งแห่ง และดินแดนอื่น ๆ แบ่งเป็นสามฝ่าย คือ นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาให้ใช้อำนาจผ่านรัฐสภา ประธานาธิบดี และศาลกลาง รวมถึง ศาลสูงสุด ตามลำดับ อำนาจหน้าที่ของแต่ละฝ่ายนั้น กับทั้งการจัดตั้งกระทรวงในฝ่ายบริหารและศาลชั้นรองนั้น เป็นไปตามที่บัญญัติเพิ่มเติมไว้ในรัฐบัญญัติ ชื่อเต็มของประเทศ คือ "สหรัฐอเมริกา" (The United States of America) ไม่ปรากฏชื่ออื่นในรัฐธรรมนูญ และชื่อนี้ยังปรากฏบนเงินตรา สนธิสัญญา และคดีความซึ่งรัฐเป็นคู่ความ (เช่น คดีระหว่างชาลส์ ที. เช็งก์ กับสหรัฐอเมริกา) ส่วนคำว่า "รัฐบาลแห่งสหรัฐอเมริกา" (Government of the United States of America) หรือ "รัฐบาลสหรัฐ" (United States Government) นั้นนิยมใช้ในเอกสารราชการเพื่อแทนรัฐบาลกลางแยกจากรัฐทั้งหลายโดยรวม ในระดับภาษาเขียนหรือสนทนาอย่างเป็นกันเองนั้น นิยมใช้ว่า "รัฐบาลกลาง" (Federal Government) และบางทีก็ใช้ว่า "รัฐบาลแห่งชาติ" (National Government) คำว่า "กลาง" และ "แห่งชาติ" ที่ปรากฏในชื่อส่วนราชการและโครงการราชการนั้นมักบ่งบอกการสังกัดรัฐบาลกลาง (เช่น สำนักงานสอบสวนกลาง และองค์การบริหารบรรยากาศและมหาสมุทรแห่งชาติ) นอกจากนี้ เพราะรัฐบาลกลางตั้งอยู่ในวอชิงตัน ดี.ซี. โดยทั่วไปจึงใช้ "วอชิงตัน" เรียกแทนรัฐบาลกลาง.

ใหม่!!: นาซาและรัฐบาลกลางสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐรีอูกรันดีดูนอร์ตี

รีอูกรันดีดูนอร์ตี (Rio Grande do Norte) เป็นรัฐในประเทศบราซิล อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ เป็นดินแดนทางปลายตะวันออกเฉียงเหนือสุดของทวีปอเมริกาใต้ และด้วยเพราะตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ รัฐรีโอกรันดีโดนอร์เตจึงเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ เมืองหลวงของรัฐคือเมืองนาตาล และจากข้อมูลขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ ถือว่าเป็นที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ที่สุดในอเมริกา รัฐมีชายหาดยาว 410 กิโลเมตร ปาล์มมะพร้าว ลากูน ที่สร้างชื่อเสียงให้กับหาดเหล่านี้ เศรษฐกิจหลักของรัฐ คือ การท่องเที่ยว รองลงมาคือการเจาะน้ำมันปิโตรเลียม (เป็นรัฐที่ผลิตเป็นอันดับ 2 ของประเทศ) เกษตรกรรม ผลไม้ การทำเหมืองแร่ รวมถึงผลิตภัณฑ์จากเกลือทะเล.

ใหม่!!: นาซาและรัฐรีอูกรันดีดูนอร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภูเขาน้ำแข็งที่บันทึกตามขนาดพื้นที่

รายชื่อภูเขาน้ำแข็งขนาดใหญ่ที่บันทุกไวได้โดยเรียงตามขนาดพื้นที.

ใหม่!!: นาซาและรายชื่อภูเขาน้ำแข็งที่บันทึกตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของธงไชย แมคอินไตย์

ทความนี้เนื้อหาเกี่ยวกับผลงานของธงไชย แมคอินไตย์ สำหรับบทความหลักดูที่ ธงไชย แมคอินไตย์ ธงไชย แมคอินไตย์ จากคอนเสิร์ตแฟนซีแฟนซน ปี 2552 ผลงานของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในวงการบันเทิงเริ่มต้นจากการเป็นนักแสดงสมทบละครเรื่องแรก "น้ำตาลไหม้" ปี 2526 จากนั้นมีผลงานในหลากหลายบทบาทอย่างต่อเนื่อง ทั้งละคร และภาพยนตร์ โดยได้รับการตอบรับอย่างสูงจากภาพยนตร์ เรื่อง "ด้วยรักคือรัก" ปี 2528 ซึ่งได้รับบทเป็นพระเอกภาพยนตร์เรื่องแรกประกบกับนักร้องดังแห่งยุค "อัญชลี จงคดีกิจ" จนกระทั่งก้าวเข้าสู่วงการเพลงเต็มตัวปี 2529 กลายเป็นศิลปินนักร้องขวัญใจประชาชนทุกเพศทุกวัยตั้งแต่นั้นมา ระหว่างนั้นยังมีผลงานละคร ซึ่งสร้างสถิติเรตติ้งสูงสุดตลอดกาล ละครเรื่อง "คู่กรรม" ปี 2533 นอกจากนั้นยังมีผลงานโฆษณา ซึ่งทางต้นสังกัดพิถีพิถันในเรื่องของการรับงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมไปถึงงานถ่ายแบบนิตยสาร และการออกรายการ ซึ่งไม่มุ่งเน้นในเรื่องของปริมาณ แต่เน้นในเรื่องคุณภาพ ความเชื่อมั่น เพื่อให้ได้ผลตอบรับที่ดีที่สุดของผู้บริโภค เป็นอีกภาพลักษณ์ที่สำคัญของซุปเปอร์สตาร์อันดับ 1 ของไท.

ใหม่!!: นาซาและรายชื่อผลงานของธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!

"ตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!" เป็นเนื้อหาที่ว่าด้วยตัวละครที่ปรากฏในนิยายซีรีส์และการ์ตูนมังงะ มะรุมะ ของอาจารย์โทโมะ ทาคาบายาชิ ตลอดจนอะนิเมะ Kyo Kara Maoh!.

ใหม่!!: นาซาและรายชื่อตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ! · ดูเพิ่มเติม »

รีอาซิลเวีย

แสดงแอ่งรีอาซิลเวียบริเวณซีกใต้ของเวสตา รีอาซิลเวีย (Rheasilvia) เป็นลักษณะภูมิประเทศที่โดดเด่นที่สุดในดาวเคราะห์น้อยเวสตาและคาดว่านี้อาจเป็นผลกระทบจากแอ่งปะทะ ปากแอ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 505 ก.ม. ซึ่งคิดเป็น 90% ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเวสตาเองและคิดเป็น 95% เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของเวสตา (529 ก.ม.) อย่างไรก็ตามค่าเฉลี่ยของเวสตานั้นเป็นผลกระทบจากแอ่งปะทะนั้นเอง จุดสูงสุดตรงกลางแอ่งนั้นมีความสูงกว่า 22 ก.ม.ทำให้มันเป็นภูเขาที่สูงที่สุดในระบบสุร.

ใหม่!!: นาซาและรีอาซิลเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ลูนา 1

ลูนา 1 (อี-1 ซีรีส์) ซึ่งในขณะนั้นรู้จักกันในชื่อ เมชตา (Мечта; "ความฝัน") เป็นยานอวกาศลำแรกที่เดินทางไปถึงบริเวณใกล้เคียงของดวงจันทร์ และเป็นยานอวกาศลำแรกในโครงการลูนาของโซเวียตที่สามารถปล่อยขึ้นไปในทิศทางเดียวกับดวงจันทร์ได้สำเร็จ ขณะเดินทางผ่านแถบรังสีแวนแอลเลนชั้นนอก เครื่องมือตรวจวัดรังสีของยานสามารถตรวจจับอนุภาคพลังงานสูงปริมาณเล็กน้อยที่มีอยู่ในวงแหวนชั้นนอก ค่าที่ได้จากการตรวจวัดดังกล่าวทำให้ได้ข้อมูลใหม่เกี่ยวกับแถบรังสีของโลกและอวกาศ ปรากฏว่าดวงจันทร์ไม่มีสนามแม่เหล็กที่สามารถตรวจพบได้ นอกจากนี้ ลูนา 1 ยังเป็นครั้งแรกที่มีการสังเกตและตรวจวัดลมสุริยะโดยตรงBrian Harvey, Russian planetary exploration: history, development, legacy, prospects.

ใหม่!!: นาซาและลูนา 1 · ดูเพิ่มเติม »

ลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1

ยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 ยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 เป็นยานอวกาศลำที่หนึ่งจากห้าลำในโครงการ ยานอวกาศแบบไร้นักบินที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบดวงจันทร์โดยองค์การนาซา สหรัฐอเมริกา เพื่อภารกิจในการทำแผนผังพื้นผิวดวงจันทร์ ก่อนที่ยานอพอลโลจะทำการร่อนลง ภารกิจทั้งห้าครั้งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี โดนพื้นผิวของดวงจันทร์กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ถูกถ่ายภาพไว้โดยความละเอียดระดับ 60 เมตร หรือละเอียดกว่านั้น ภารกิจแรกของยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 ก็คือการสำรวจพื้นที่ 20 แห่งที่ยานอพอลโลจะสามารถร่อนลงได้ ยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 มีอุปกรณ์สำหรับถ่ายภาพแบบความสามารถสูงซึ่งประกอบไปด้วยกล้องแบบเลนส์คู่ โดนเป็นเลนส์มุมแคบขนาด 610 มิลลิเมตร และ เลนส์มุมกว้างขนาด 80 มิลลิเมตร หน่วยประมวลผลฟิล์ม สแกนเนอร์ และอุปกรณ์เฉพาะสำหรับจัดการเกี่ยวกับฟิล์ม ฟิล์มที่ใช้เป็นขนาด 70 มิลลิเมตร หมวดหมู่:ยานอวกาศของนาซา หมวดหมู่:การสำรวจดวงจันทร์ หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2509 หมวดหมู่:ดาวเทียมโคจรรอบดวงจันทร์.

ใหม่!!: นาซาและลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ล็อกฮีด มาร์ติน

ำหรับอดีตบริษัท ดูที่ ล็อกฮีดและมาร์ติน มาเรียทต้า ล็อกฮีด มาร์ติน (Lockheed Martin) เป็นบริษัทด้านอากาศยาน อวกาศ และการป้องกันประเทศรายใหญ่ของโลกสัญชาติอเมริกา เกิดจากการควบรวมระหว่างสองบริษัทคือ ล็อคฮีคคอร์ปอเรชั่น กับ มาร์ตินมารีเอ็ตตา ในปี 1995 ล็อกฮีดมาร์ตินมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเบเธสดา รัฐแมริแลนด์ อันเป็นเขตปริมณฑลทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ล็อกฮีคมาร์ตินถือเป็นบริษัทคู่สัญญาด้านการป้องกันประเทศ (defense contractor) ที่ใหญ่ที่สุดของโลกในแง่ของรายได้.

ใหม่!!: นาซาและล็อกฮีด มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

วอยเอจเจอร์

วอยเอจเจอร์ (Voyager) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: นาซาและวอยเอจเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วอยเอจเจอร์ 1

วอยเอจเจอร์ 1 วอยเอเจอร์ 1 (Voyager 1) เป็นยานสำรวจอวกาศที่นาซาปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: นาซาและวอยเอจเจอร์ 1 · ดูเพิ่มเติม »

วอยเอจเจอร์ 2

มเดลของยานในโครงการวอยเอจเจอร์ วอยเอจเจอร์ 2 (Voyager 2) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์ ซึ่งมียานพี่อีกลำหนึ่งคือยานวอยเอจเจอร์ 1 ยานวอยเอจเจอร์ 2 ถูกส่งขึ้นไปให้โคจรเป็นเส้นโค้งตามระนาบสุริยวิถี โดยเตรียมการให้สามารถเดินทางเข้าใกล้ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน ด้วยการอาศัยแรงเหวี่ยงจากแรงโน้มถ่วงของดาวเสาร์ซึ่งมันจะต้องเดินทางผ่านในปี..

ใหม่!!: นาซาและวอยเอจเจอร์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ

นื่องจากดาวเคราะห์นอกระบบจะมีการส่องสว่างในตัวเองน้อยมากๆ เมื่อเทียบกับดาวฤกษ์แม่ของมัน การตรวจจับจึงเป็นไปได้ยาก ทั้งแสงสว่างจากดาวฤกษ์ยังอาจบดบังและกลบการมองเห็นดาวเคราะห์ไปเสีย ด้วยเหตุนี้ การตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบจึงมักไม่สามารถดำเนินการได้จากการเฝ้าสังเกตโดยตรง นักดาราศาสตร์ได้พัฒนากระบวนวิธีตรวจจับทางอ้อมหลายวิธีเพื่อตรวจหาดาวเคราะห์นอกระบบ ในปัจจุบันมีกระบวนวิธีทางอ้อมหลายวิธีที่สามารถใช้ตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบอย่างได้ผล iOS 9.3.5(13G36) wckadse.

ใหม่!!: นาซาและวิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยฟิลลิปส์

วิทยาลัยฟิลลิปส์ หรือ ฟิลลิปส์แอนโดเวอร์ หรือ แอนโดเวอร์ (อังกฤษ: Phillips Academy, Phillips Andover, Andover, Phillips Academy Andover, หรือ PA) เป็นโรงเรียนประจำ สหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา รับนักเรียนเกรด 9-12 รวมทั้งนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว (post-graduate หรือ PG) โรงเรียนตั้งอยู่ในเมือง แอนโดเวอร์ รัฐ แมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ทางเหนือของเมือง บอสตัน ประมาณ 25 ไมล.

ใหม่!!: นาซาและวิทยาลัยฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนของดาวเนปจูน

วงแหวนแต่ละวงแหวนของดาวเนปจูน วงแหวนของดาวเนปจูน (Rings of Neptune) มีลักษณะมีความสว่างไม่มากนัก เพราะประกอบด้วยอนุภาคที่เป็นผงฝุ่นขนาด 1 ไมโครเมตร จนถึงขนาดประมาณ 10 เมตร เช่นเดียวกับวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวยูเรนัส ซึ่งนักดาราศาสตร์สำรวจพบระบบวงแหวนของดาวเนปจูนเป็นครั้งแรกในช่วงทศวรรษที่ 60 และในปี ค.ศ. 1989 ยานวอยเอเจอร์ 2 ได้บินผ่านเข้าไปใกล้ดาวเนปจูนและบันทึกภาพส่งกลับมายังโลก ทำให้นักดาราศาสตร์พบว่าดาวเนปจูนมีวงแหวนล้อมรอบด้วยกันถึง 5 วง วงแหวนของดาวเนปจูน ได้แก่ วงแหวนแอดัมส์, วงแหวนอราโก, วงแหวนแลสเซลล์, วงแหวนเลอ แวรีเย และวงแหวนกัลเลอ นอกจากนั้นยังมีวงแหวนที่จางมาก ๆ และยังไม่มีชื่ออีก 1 วง ที่อยู่ในวงโคจรเดียวกันกับดวงจันทร์แกลาเทีย และยังมีดวงจันทร์บริวารของดาวเนปจูนอีก 3 ดวง คือ เนแอด, ทาแลสซา และดิสพีนา ที่มีวงโคจรอยู่ภายในระบบวงแหวนเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: นาซาและวงแหวนของดาวเนปจูน · ดูเพิ่มเติม »

วงโคจรพ้องคาบโลก

วงโคจรพ้องคาบโลก (geosynchronous orbit, อักษรย่อ: GSO) เป็นวงโคจรที่มีคาบการโคจรเท่ากับคาบการหมุนรอบตัวเองของโลก วัตถุที่อยู่ในวงโคจรนี้จะกลับมาอยู่ตำแหน่งเดิมเมื่อเทียบกับพื้นโลกเมื่อเวลาผ่านไปทุกๆ 1 วันดาราคติ (23 ชั่วโมง 56 นาที 4 วินาที) สำหรับวงโคจรพ้องคาบโลกที่อยู่ในระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตร เราจะเรียกว่า วงโคจรค้างฟ้า (geostationary earth orbit, อักษรย่อ: GEO) วงโคจรพ้องคาบโลก มีรัศมี 42,164 กิโลเมตร (26,199 ไมล์) วัตถุที่อยู่ในวงโคจรนี้ จะโคจรด้วยความเร็ว 3.076 กิโลเมตร/วินาที (11,074 กิโลเมตร/ชั่วโมง) ใช้เวลาโคจรรอบโลกหนึ่งรอบ 1,436 นาที.

ใหม่!!: นาซาและวงโคจรพ้องคาบโลก · ดูเพิ่มเติม »

ว่าน หู่

วาดว่าน หู่ ขณะพยายามขึ้นสู่อวกาศ ตามตำนาน ว่าน หู่ หรืออาจสะกด ว่าน ฮู่ เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราวกลางราชวงศ์หมิง (คริสต์ศตวรรษที่ 16) ซึ่งพยายามจะเป็นนักผจญอวกาศคนแรกของโลกโดยขึ้นสู่อวกาศด้วยจรวดทำเอง ภายหลัง ชื่อเขาได้ใช้ตั้งเป็นนามปล่องภูเขาไฟแห่งหนึ่งบนดวงจันทร.

ใหม่!!: นาซาและว่าน หู่ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด

ทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด (Goddard Space Flight Center; GSFC) เป็นห้องทดลองด้านอวกาศที่สำคัญแห่งหนึ่งขององค์การนาซา ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1959 เป็นศูนย์การบินอวกาศแห่งแรกของนาซา มีเจ้าหน้าที่พลเรือนประมาณ 10,000 คน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ห่างออกไปประมาณ 6.5 ไมล์ ในเขตเมืองกรีนเบลท์ รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดเป็นองค์กรที่ใหญ่ที่สุดซึ่งรวบรวมนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรมาไว้ด้วยกันเพื่อศึกษาเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับโลก ระบบสุริยะ และเอกภพ โดยอาศัยการสังเกตการณ์ผ่านอุปกรณ์สังเกตการณ์ในอวกาศ รวมถึงเป็นห้องทดลองในการวิจัยพัฒนาและควบคุมการทำงานของยานอวกาศสำหรับงานวิทยาศาสตร์ที่ไม่ต้องใช้มนุษย์ควบคุม นอกเหนือจากงานวิจัยเกี่ยวกับอวกาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดยังศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนภารกิจการปฏิบัติงานในอวกาศรวมถึงการออกแบบและสร้างยานอวกาศด้วย นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดคนหนึ่งคือ จอห์น ซี. เมเทอร์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: นาซาและศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล

ทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล (George C. Marshall Space Flight Center; MSFC) เป็นที่ตั้งดั้งเดิมขององค์การนาซา ปัจจุบันเป็นศูนย์กลางในการออกแบบและก่อสร้างส่วนประกอบต่างๆ ของยานอวกาศ ได้แก่ส่วนขับดันกระสวยอวกาศ ถังเชื้อเพลิงภายนอก การฝึกอบรมนักบินอวกาศ ทั้งทางด้านงานเครือข่ายและการจัดการข้อมูล รวมถึงเป็นศูนย์กลางออกแบบสถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station; ISS) ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลตั้งอยู่ที่เรดสโตนอาร์เซนอล ที่เมืองฮันท์สวิลล์ รัฐแอละแบมา สหรัฐอเมริกา ชื่อของศูนย์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่นายพลจอร์จ มาร์แชล ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลยังเป็นที่ตั้งของศูนย์สนับสนุนการปฏิบัติการฮันท์สวิลล์ (Huntsville Operations Support Center; HOSC) ซึ่งทำหน้าที่งานสนับสนุนต่างๆ ของภารกิจการปล่อยกระสวยอวกาศ การบรรทุก และการทดลองต่างๆ ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี้ที่ฟลอริดา รวมถึงภารกิจการนำส่งยานและการทดลองต่างๆ บนสถานีอวกาศนานาชาติ นอกจากนี้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทราก็อยู่ในความดูแลของศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลนี้ด้ว.

ใหม่!!: นาซาและศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อวกาศเคนเนดี

ูนย์อวกาศ จอห์น เอฟ.

ใหม่!!: นาซาและศูนย์อวกาศเคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป

ูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป (Space Telescope - European Coordinating Facility; ST-ECF) เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่สนับสนุนและบริหารงานบริการเบื้องต้นสำหรับนักดาราศาสตร์ชาวยุโรปเพื่อเข้าใช้งานกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล อันเป็นโครงการร่วมระหว่างองค์การนาซากับองค์การอวกาศยุโรป ศูนย์นี้ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1984 โดยองค์การอวกาศยุโรปและหอดูดาวยุโรปใต้ ตั้งอยู่ที่สำนักงานใหญ่ของหอดูดาวยุโรปใต้ที่เมือง การ์ชิง ไบ มึนเชน ประเทศเยอรมัน ศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรปจะให้รายละเอียดทางเทคนิคเกี่ยวกับกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ บนยาน ให้ความช่วยเหลือเหล่านักดาราศาสตร์ยุโรปเพื่อเตรียมเอกสารขอใช้เวลาสังเกตการณ์ของกล้อง รวมถึงการพัฒนาและปรับแต่งซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สำหรับการประมวลผลข้อมูลเฉพาะทางที่ผู้ใช้งานกล้องฮับเบิลจำเป็นต้องใช้ การทำงานของศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรปจะประสานงานอย่างใกล้ชิดกับสถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ที่เมืองบัลติมอร์ สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงานของกล้องฮับเบิลโดยตรง.

ใหม่!!: นาซาและศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สสารมืด

รมืด (Dark Matter) สสารมืดคือสสารในจักรวาลที่เรามองไม่เห็นแต่รู้ว่ามีอยู่ เพราะอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงของมันต่อสสารปกติในกาแล็กซี่ สสารมืดเป็นองค์ประกอบในอวกาศชนิดหนึ่งซึ่งเป็นเพียงสมมุติฐานทางด้านฟิสิกส์ดาราศาสตร์และจักรวาลวิทยา ว่ามันเป็นสสารซึ่งไม่สามารถส่องแสงหรือสะท้อนแสงได้เพียงพอที่ระบบตรวจจับการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะสามารถตรวจจับได้โดยตรง แต่การมีอยู่ของมันศึกษาได้จากการสำรวจทางอินฟราเรดจากผลกระทบของแรงโน้มถ่วงรวมที่มีต่อวัตถุท้องฟ้าที่เรามองเห็น จากการสังเกตการณ์โครงสร้างขนาดใหญ่ในอวกาศที่ใหญ่กว่าดาราจักรในปัจจุบัน ตลอดจนถึงทฤษฎีบิกแบง นับได้ว่าสสารมืดเป็นส่วนประกอบของมวลจำนวนมากในเอกภพในสังเกตการณ์ของเรา ปรากฏการณ์ที่ตรวจพบอันเกี่ยวข้องกับสสารมืด เช่น ความเร็วในการหมุนตัวของดาราจักร ความเร็วในการโคจรของดาราจักรในกระจุกดาราจักร รวมถึงการกระจายอุณหภูมิของแก๊สร้อนในดาราจักรและในคลัสเตอร์ของดาราจักร สสารมืดยังมีบทบาทอย่างมากในการก่อตัวและการพัฒนาการของดาราจักร ผลการศึกษาด้านต่างๆ ล้วนบ่งชี้ว่า ในกระจุกดาราจักรและเอกภพโดยรวม ยังคงมีสสารชนิดอื่นอีกนอกเหนือจากสิ่งที่ตอบสนองต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เรียกสสารโดยรวมเหล่านั้นว่า "สสารมืด" สสารปกติจะถูกตรวจจับได้จากการแผ่พลังงานออกมา เนบิวลา กาแล็กซี ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ต้นไม้ หรือแม้กระทั่งจุลชีพเล็กๆ จะถูกตรวจจับได้จากรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมา ทว่าสสารมืดจะไม่แผ่พลังงานเพียงพอที่จะตรวจจับได้โดยตรง นักวิทยาศาสตร์รู้ว่าในจักรวาลมีสสารมืดตั้งแต่ปี 1933 เมื่อ ฟริตซ์ ซวิคกี้ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ของสถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย ศึกษากระจุกกาแล็กซีโคมา โดยวัดมวลทั้งหมดของกระจุกกาแล็กซีนี้บนพื้นฐานการศึกษาการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีบริเวณขอบของกระจุกกาแล็กซี สสารมืด มีมวลมากกว่าที่มองเห็น จากการประมาณค่าพบว่าการแผ่รังสีทั้งหมดในจักรวาลพบว่า 4% เป็นของวัตถุที่สามารถมองเห็นได้ 22% มาจากสสารมืด 74% มาจากพลังงานมืด แต่เป็นการยากมากที่จะทดสอบได้ว่าสสารมืดเกิดจากอะไร แต่เชื่อว่าน่าจะมาจากการประกอบกันของส่วนเล็ก ๆ ของ baryons จนเกิดเป็นสสารมืดขึ้น ซึ่งปัญหานี้เป็นปัญหาใหญ่ในการศึกษาด้านอนุภาคทางฟิสิกส์เนื่องจากมีมวลบางส่วนของระบบที่ศึกษาหายไป สสารมืด จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจในการศึกษาอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: นาซาและสสารมืด · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.) (Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) - GISTDA) เป็นหน่วยงานรัฐที่บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ และวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เลขที่ 120 อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 6 และชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: นาซาและสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: นาซาและสิงหาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: นาซาและสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สุพรหมัณยัน จันทรเศขร

รหมัณยัน จันทรเศขร หรือ “จันทรา” (Subrahmanyan Chandrasekhar) เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ นักฟิสิกส์ และนักคณิตศาสตร์ ชาวอเมริกันเชื้อสายอินเดีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ค.ศ. 1983 พร้อมกับวิลเลียม อัลเฟรด ฟาวเลอร์ จากผลงานร่วมกันว่าด้วยโครงสร้างเชิงทฤษฎีและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ สุพรหมัณยัน จันทรเศขรเป็นหลานของจันทรเศขร เวงกฎะ รามัน (นักฟิสิกส์รางวัลโนเบล ค.ศ. 1930) จันทรเศขรผู้นี้นอกจากมีความสามารถอย่างหาตัวจับยากในด้านวิทยาศาสตร์แล้ว ยังมีความรู้อันลุ่มลึกและกว้างขวางในด้านศิลปะและวรรณคดีด้วย ในด้านวิทยาศาสตร์นั้นเขามีความสามารถอันผสมผสานระหว่างความเข้าใจพื้นฐานด้านแนวคิดทางฟิสิกส์ และความสามารถด้านคณิตศาสตร์เชิงปรากฏการณ์ด้ว.

ใหม่!!: นาซาและสุพรหมัณยัน จันทรเศขร · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา

ริยุปราคาเต็มดวง พ.ศ. 2542 สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาเรียงอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทร์มีดิถีตรงกับจันทร์ดับ เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทร์เคลื่อนเข้ามาบดบังดวงอาทิตย์ โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือบางส่วนก็ได้ ในแต่ละปีสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกได้อย่างน้อย 2 ครั้ง สูงสุดไม่เกิน 5 ครั้ง ในจำนวนนี้อาจไม่มีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแม้แต่ครั้งเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ครั้ง โอกาสที่จะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงสำหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นค่อนข้างยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งจะเกิดในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทร์พาดผ่านเท่านั้น สุริยุปราคาเต็มดวงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่สวยงาม น่าตื่นเต้น และสร้างความประทับใจแก่คนที่ได้ชม ผู้คนจำนวนมากต่างพากันเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกลเพื่อคอยเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์นี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ..

ใหม่!!: นาซาและสุริยุปราคา · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ริยุปราคาเต็มดวง เกิดขึ้นในวันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: นาซาและสุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: นาซาและสุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559

กิดสุริยุปราคาเต็มดวงในวันที่ 9 มีนาคม..

ใหม่!!: นาซาและสุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ

ันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Space Telescope Science Institute; STScI) เป็นศูนย์ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์เพื่อดูแลกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (ขึ้นสู่วงโคจรตั้งแต่ ค.ศ. 1990) และกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ (จะขึ้นสู่วงโคจรประมาณ ค.ศ. 2013) สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยจอห์นส์ฮอปกินส์ วิทยาเขตโฮมวูด ในเมืองบัลติมอร์ รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา เริ่มก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1981 ในฐานะศูนย์ข้อมูลวิทยาศาสตร์ภายใต้การดูแลของสภามหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยด้านดาราศาสตร์ (Association of Universities for Research in Astronomy; AURA) ทำหน้าบริหารข้อมูลที่ได้รับจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลให้เกิดประโยชน์ต่อวงการดาราศาสตร์สูงสุด นอกเหนือจากงานดูแลปฏิบัติการตามปกติของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล และเตรียมการรองรับการปฏิบัติงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์แล้ว สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศยังทำหน้าที่บริหารและปฏิบัติภารกิจด้านข้อมูลของกล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Multi-mission Archive at Space Telescope; MAST) งานบริหารศูนย์ข้อมูลปฏิบัติการเคปเลอร์ (Kepler mission) และกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นต้องใช้ความชำนาญพิเศษหรือโครงสร้างพื้นฐานที่สถาบันมีเพื่อรองรับการทำงานอื่นใดในการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในอวกาศ รายได้ของสถาบันส่วนใหญ่มาจากสัญญาจ้างโดยศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดขององค์การนาซา นอกนั้นเป็นเงินรายได้เล็กน้อยที่ได้จาก ศูนย์ข้อมูลเอมส์ขององค์การนาซา ห้องทดลองการขับเคลื่อนด้วยไอพ่นของนาซาและจากองค์การอวกาศยุโรป เจ้าหน้าที่ของสถาบันประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ (ส่วนใหญ่เป็นนักดาราศาสตร์และนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์) วิศวกรซอฟต์แวร์ เจ้าหน้าที่ข้อมูล เจ้าหน้าที่ควบคุมกล้องโทรทรรศน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ รวมถึงธุรการและเจ้าหน้าที่สนับสนุนทางธุรกิจอีกจำนวนหนึ่ง ประมาณว่ามีนักวิทยาศาสตร์ระดับปริญญาเอกมากกว่า 100 คนทำงานอยู่ที่สถาบันแห่งนี้ โดยเป็นเจ้าหน้าที่จากองค์การอวกาศยุโรปที่ได้รับมอบหมายมาในโครงการกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลจำนวน 15 คน รวมเจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถาบันประมาณ 350 คน.

ใหม่!!: นาซาและสถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: นาซาและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศฟรีดอม

นีอวกาศฟรีดอม (Space Station Freedom) เป็นชื่อโครงการหนึ่งขององค์การนาซาในการก่อสร้างสถานีอวกาศแบบมีคนอยู่อาศัยได้ที่โคจรรอบโลกอย่างถาวร แม้จะได้รับการอนุมัติจากประธานาธิบดีในขณะนั้น คือ โรนัลด์ เรแกน และมีการประกาศเป็น State of the Union Address ในปี..

ใหม่!!: นาซาและสถานีอวกาศฟรีดอม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นาซาและสถานีอวกาศนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์ เทรค

ตาร์ เทรค (Star Trek) เป็นชื่อของแฟรนไชส์สื่อบันเทิง นิยายวิทยาศาสตร์ สัญชาติอเมริกัน สร้างโดยยีน ร็อดเดนเบอร์รี ปัจจุบันสถานีโทรทัศน์ ซีบีเอส เป็นเจ้าของและเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ทั้งหมดFor a more detailed history of the ownership of the franchise, see the corporate ownership section.

ใหม่!!: นาซาและสตาร์ เทรค · ดูเพิ่มเติม »

สไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)

ปรูไลนาอัดเม็ด สไปรูไลนา เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์หรือเป็นอาหารเสริมซึ่งผลิตจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินสองชนิด คือ Arthrospira platensis และ Arthrospira maxima Arthrospira พบปลูกทั่วโลก และใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในมนุษย์ เช่นเดียวกับเป็นอาหาร และพบได้ทั้งในรูปเม็ด แผ่นและผง มันยังใช้เป็นสารเสริมอาหารสัตว์ในการเลี้ยงสัตว์น้ำ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำและอุตสาหกรรมสัตว์ปีกVonshak, A. (ed.). Spirulina platensis (Arthrospira): Physiology, Cell-biology and Biotechnology. London: Taylor & Francis, 1997.

ใหม่!!: นาซาและสไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

สเปซชิปทู

กลด์คอมโพสิตส์ รุ่น 339 สเปซชิปทู หรือ เอสเอสทู (Scaled Composites Model 339 SpaceShipTwo, SS2) เป็นเครื่องบินอวกาศแบบวงโคจรย่อยออกแบบสำหรับการท่องเที่ยวอวกาศ ผลิตโดยเดอะสเปซชิปคอมปะนี สเปสชิปทูถูกขนไปยังความสูงปล่อยตัวโดยสเกลด์คอมโพสิตส์ไวท์ไนท์ทู (Scaled Composites White Knight Two) ก่อนถูกปล่อยตัวให้บินไปยังชั้นบรรยากาศส่วนบนด้วยเครื่องยนต์จรวด จากนั้นจึงร่อนกลับมายังโลกและจอดบนรันเวย์แบบเครื่องบินปกติ ยานอวกาศนี้เปิดตัวสู่สาธารณะเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: นาซาและสเปซชิปทู · ดูเพิ่มเติม »

หลุมดำ

มุมมองจำลองของหลุมดำด้านหน้าของทางช้างเผือก โดยมีมวลเทียบเท่าดวงอาทิตย์ 10 ดวงจากระยะทาง 600 กิโลเมตร หลุมดำ (black hole) หมายถึงเทหวัตถุในเอกภพที่มีแรงโน้มถ่วงสูงมาก ไม่มีอะไรออกจากบริเวณนี้ได้แม้แต่แสง ยกเว้นหลุมดำด้วยกัน เราจึงมองไม่เห็นใจกลางของหลุมดำ หลุมดำจะมีพื้นที่หนึ่งที่เป็นขอบเขตของตัวเองเรียกว่าขอบฟ้าเหตุการณ์ ที่ตำแหน่งรัศมีชวาร์สชิลด์ ถ้าหากวัตถุหลุดเข้าไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ วัตถุจะต้องเร่งความเร็วให้มากกว่าความเร็วแสงจึงจะหลุดออกจากขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ แต่เป็นไปไม่ได้ที่วัตถุใดจะมีความเร็วมากกว่าแสง วัตถุนั้นจึงไม่สามารถออกมาได้อีกต่อไป เมื่อดาวฤกษ์ที่มีมวลมหึมาแตกดับลง มันอาจจะทิ้งสิ่งที่ดำมืดที่สุด ทว่ามีอำนาจทำลายล้างสูงสุดไว้เบื้องหลัง นักดาราศาสตร์เรียกสิ่งนี้ว่า "หลุมดำ" เราไม่สามารถมองเห็นหลุมดำด้วยกล้องโทรทรรศน์ใดๆ เนื่องจากหลุมดำไม่เปล่งแสงหรือรังสีใดเลย แต่สามารถตรวจพบได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ และคลื่นโน้มถ่วงของหลุมดำ (ในเชิงทฤษฎี โครงการแอลไอจีโอ) และจนถึงปัจจุบันได้ค้นพบหลุมดำในจักรวาลแล้วอย่างน้อย 6 แห่ง หลุมดำเป็นซากที่สิ้นสลายของดาวฤกษ์ที่ถึงอายุขัยแล้ว สสารที่เคยประกอบกันเป็นดาวนั้นได้ถูกอัดตัวด้วยแรงดึงดูดของตนเองจนเหลือเป็นเพียงมวลหนาแน่นที่มีขนาดเล็กยิ่งกว่านิวเคลียสของอะตอมเดียว ซึ่งเรียกว่า ภาวะเอกฐาน หลุมดำแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ หลุมดำมวลยวดยิ่ง เป็นหลุมดำในใจกลางของดาราจักร, หลุมดำขนาดกลาง, หลุมดำจากดาวฤกษ์ ซึ่งเกิดจากการแตกดับของดาวฤกษ์, และ หลุมดำจิ๋วหรือหลุมดำเชิงควอนตัม ซึ่งเกิดขึ้นในยุคเริ่มแรกของเอกภพ แม้ว่าจะไม่สามารถมองเห็นภายในหลุมดำได้ แต่ตัวมันก็แสดงการมีอยู่ผ่านการมีผลกระทบกับวัตถุที่อยู่ในวงโคจรภายนอกขอบฟ้าเหตุการณ์ ตัวอย่างเช่น หลุมดำอาจจะถูกสังเกตเห็นได้โดยการติดตามกลุ่มดาวที่โคจรอยู่ภายในศูนย์กลางหลุมดำ หรืออาจมีการสังเกตก๊าซ (จากดาวข้างเคียง) ที่ถูกดึงดูดเข้าสู่หลุมดำ ก๊าซจะม้วนตัวเข้าสู่ภายใน และจะร้อนขึ้นถึงอุณหภูมิสูง ๆ และปลดปล่อยรังสีขนาดใหญ่ที่สามารถตรวจจับได้จากกล้องโทรทรรศน์ที่โคจรอยู่รอบโลก การสำรวจให้ผลในทางวิทยาศาสตร์เห็นพ้องต้องกันว่าหลุมดำนั้นมีอยู่จริงในเอกภพ แนวคิดของวัตถุที่มีแรงดึงดูดมากพอที่จะกันไม่ให้แสงเดินทางออกไปนั้นถูกเสนอโดยนักดาราศาสตร์มือสมัครเล่นชาวอังกฤษ จอห์น มิเชล ในปี 1783 และต่อมาในปี 1795 นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ปีแยร์-ซีมง ลาปลาส ก็ได้ข้อสรุปเดียวกัน ตามความเข้าใจล่าสุด หลุมดำถูกอธิบายโดยทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ซึ่งทำนายว่าเมื่อมีมวลขนาดใหญ่มากในพื้นที่ขนาดเล็ก เส้นทางในพื้นที่ว่างนั้นจะถูกทำให้บิดเบี้ยวไปจนถึงศูนย์กลางของปริมาตร เพื่อไม่ให้วัตถุหรือรังสีใดๆ สามารถออกมาได้ ขณะที่ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไปอธิบายว่าหลุมดำเป็นพื้นที่ว่างที่มีความเป็นภาวะเอกฐานที่จุดศูนย์กลางและที่ขอบฟ้าเหตุการณ์บริเวณขอบ คำอธิบายนี่เปลี่ยนไปเมื่อค้นพบกลศาสตร์ควอนตัม การค้นคว้าในหัวข้อนี้แสดงให้เห็นว่านอกจากหลุมดำจะดึงวัตถุไว้ตลอดกาล แล้วยังมีการค่อย ๆ ปลดปล่อยพลังงานภายใน เรียกว่า รังสีฮอว์คิง และอาจสิ้นสุดลงในที่สุด อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับหลุมดำที่ถูกต้องตามทฤษฎีควอนตัม.

ใหม่!!: นาซาและหลุมดำ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: นาซาและห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์บิทัล เอทีเค

Orbital ATK Inc. เป็นบริษัทผู้ผลิตด้านการบินและอวกาศและการป้องกันประเทศสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ในเขตดัลเลส รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: นาซาและออร์บิทัล เอทีเค · ดูเพิ่มเติม »

ออโรรา (ดาราศาสตร์)

แสงออโรราบนท้องฟ้า ออโรรา เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่มีแสงเรืองบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน โดยมักจะขึ้นในบริเวณแถบขั้วโลก โดยบางครั้งจะเรียกว่า แสงเหนือ หรือ แสงใต้ ขึ้นอยู่กับแหล่งกำเนิด ปรากฏการออโรราเป็นตัวอย่างปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่น่าทึงที่สุดที่เกิดขึ้นในอวกาศที่ใกล้พื้นโลก มันอาจปรากฏจากสิ่งจางๆ เป็นวงนิ่ง แล้วระเบิดออกมาเป็นสีต่าง ๆ พุ่งกระจายภายในเวลาไม่กี่วินาที บางครั้งจะปรากฏเหมือนมันจะแตะกับพื้น หรือในเวลาอื่นอาจเห็นมันพุ่งสูงขึ้นสู่ท้องฟ้า แต่ความจริงแล้ว แสงออโรรานั้นเกิดขึ้นที่ความสูงจากพื้นโลก (altitudes) ประมาณ 100 ถึง 300 กิโลเมตร บริเวณที่อยู่บริเวณบรรยากาศชั้นบนที่อยู่ใกล้กับอวก.

ใหม่!!: นาซาและออโรรา (ดาราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

อะพอลโล

อะพอลโล (Apollo; Ἀπόλλων; อะพอลลอน; Apollō) เป็นหนึ่งในพระเจ้าองค์สำคัญที่สุดในพระเจ้าโอลิมปัสในเทพปกรณัมกรีกและศาสนากรีกโบราณ ตลอดจนเทพปกรณัมโรมันและศาสนาโรมันโบราณ อะพอลโลทรงเป็นอุดมคติของคูรอส (kouros) คือ หนุ่มนักกีฬาไม่ไว้หนวด และทรงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นเทพเจ้าแห่งแสงและดวงอาทิตย์ สัจจะและคำพยากรณ์ การรักษา โรคระบาด ดนตรี กวี ฯลฯ อะพอลโลทรงเป็นพระโอรสของซูสและลีโต และมีพระเชษฐภคินีฝาแฝด คือ อาร์ทิมิสซึ่งเป็นพรานหญิง ปัจจุบัน อะพอลโลเป็นชื่อที่ถูกตั้งตามอยู่บ่อยครั้ง โดยมีความหมายในทางที่เกี่ยวกับแสงสว่างหรือความสำเร็จ เช่น เป็นชื่อปฏิบัติการทางอวกาศของนาซาที่เรียกว่า โครงการอะพอลโล หรือเป็นชื่อสินค้าต่าง ๆ เช่น ยี่ห้อน้ำมันเครื่อง ยี่ห้อหรือชื่อรุ่นรถยนต์ ชื่อบริษัท เป็นต้น อะพอลโลเป็นเทพเจ้าที่ถูกปั้นด้วยทองแดงยืนคร่อมอ่าวทะเลอีเจียน ที่เกาะโรดส์ ที่มีชื่อว่า มหารูปแห่งโรดส์ นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์โลกยุคโบราณด้วย โดยทั่วไปรูปปั้นอะพอลโลจะถือเครื่องดนตรีคล้ายพิณและมีลูกบอลทองคำที่เป็นสัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์ หมวดหมู่:เทพเจ้ากรีก หมวดหมู่:สุริยเทพ หมวดหมู่:เทพเจ้าโรมัน.

ใหม่!!: นาซาและอะพอลโล · ดูเพิ่มเติม »

อะพอลโล 11

ัญลักษณ์โครงการอะพอลโล 11 ลูกเรืออะพอลโล่ 11 ประกอบด้วย นีล อาร์มสตรอง (Neil Alden Armstrong) ผู้บังคับการ, เอดวิน อัลดริน (Adwin Aldrin) และ ไมเคิล คอลลินส์ (Michael Collins) อะพอลโล 11 (Apoll XI) เป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนผิวของดวงจันทร์สำเร็จขององค์การนาซา อะพอลโล 11 ถูกส่งขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโดยจรวดแซทเทิร์น 5 (Saturn V) ที่ฐานยิงจรวจที่แหลมเคเนดี รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: นาซาและอะพอลโล 11 · ดูเพิ่มเติม »

อะพอลโล 14

Mission patc ยานอะพอลโล 14 เป็นยานอวกาศลำที่ 8 ในโครงการอะพอลโลขององค์การนาซาที่มีมนุษย์เดินทางไปด้วย และเป็นยานลำที่ 3 ที่นำมนุษย์อวกาศลงบนพื้นผิวดวงจันทร.

ใหม่!!: นาซาและอะพอลโล 14 · ดูเพิ่มเติม »

อะทอลล์

กดาวเทียมของอะทอลล์อาตาฟูในโตเกเลาในมหาสมุทรแปซิฟิก อะทอลล์ (atoll) เป็นเกาะปะการังรูปวงแหวนที่ล้อมรอบลากูน ที่อาจล้อมปิดลากูนโดยสมบูรณ์หรือล้อมรอบเป็นบางส่วนก็ได้.

ใหม่!!: นาซาและอะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

อะครอสเดอะยูนิเวิร์ส

อะครอสเดอะยูนิเวิร์ส (Across the Universe) เป็นเพลงของเดอะ บีเทิลส์ ที่มีการเผยแพร่เป็นครั้งแรกเพื่อการกุศลเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2512 จากนั้นถูกนำมารวมในอัลบัมสุดท้ายของเดอะบีเทิลส์ ชุด Let It Be ที่วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 เพลงนี้แต่งโดย จอห์น เลนนอน บันทึกเสียงครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2511 โดยได้รับเครดิตว่าแต่งโดย เลนนอน/แมคคาร์ทนีย์ ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งเพลงนี้มีอายุครบ 40 ปี ประกอบกับเป็นการก่อตั้งองค์การนาซาครบรอบ 50 ปี และการก่อตั้งโครงการ Deep Space Network (DSN) ครบรอบ 45 ปี กลุ่มแฟนเพลงของเดอะ บีเทิลส์ ได้นัดกันเปิดเพลงนี้พร้อมกันทั่วโลก ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เมื่อเวลา 7.00 น. ตามเวลา Eastern Time Zone (ตรงกับ 19.00 น. เวลาในประเทศไทย) ในขณะเดียวกัน นาซา ได้ส่งสัญญาณวิทยุเพลง Across The Universe ขึ้นสู่อวกาศไปยังดาวเหนือซึ่งอยู่ห่างจากโลกออกไป 431 ปีแสง จากสายอากาศขนาด 70 เมตรของ DSN ที่ศูนย์อวกาศของนาซา นอกกรุงแมดริด ประเทศสเปน การเฉลิมฉลองนี้มีชื่อเรียกว่า "Across the Universe Day".

ใหม่!!: นาซาและอะครอสเดอะยูนิเวิร์ส · ดูเพิ่มเติม »

อะตอม

อะตอม (άτομον; Atom) คือหน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วยส่วนของนิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ นิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งเป็นนิวไคลด์ชนิดเดียวที่เสถียรโดยไม่มีนิวตรอนเลย) อิเล็กตรอนของอะตอมถูกดึงดูดอยู่กับนิวเคลียสด้วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ในทำนองเดียวกัน กลุ่มของอะตอมสามารถดึงดูดกันและกันก่อตัวเป็นโมเลกุลได้ อะตอมที่มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า มิฉะนั้นแล้วมันอาจมีประจุเป็นบวก (เพราะขาดอิเล็กตรอน) หรือลบ (เพราะมีอิเล็กตรอนเกิน) ซึ่งเรียกว่า ไอออน เราจัดประเภทของอะตอมด้วยจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส จำนวนโปรตอนเป็นตัวบ่งบอกชนิดของธาตุเคมี และจำนวนนิวตรอนบ่งบอกชนิดไอโซโทปของธาตุนั้น "อะตอม" มาจากภาษากรีกว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไปถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อยๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่งๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก กลศาสตร์ควอนตัมเป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ ตามความเข้าใจในปัจจุบัน อะตอมเป็นวัตถุขนาดเล็กที่มีมวลน้อยมาก เราสามารถสังเกตการณ์อะตอมเดี่ยวๆ ได้โดยอาศัยเครื่องมือพิเศษ เช่น กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์ มวลประมาณ 99.9% ของอะตอมกระจุกรวมกันอยู่ในนิวเคลียสไอโซโทปส่วนมากมีนิวคลีออนมากกว่าอิเล็กตรอน ในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งมีอิเล็กตรอนและนิวคลีออนเดี่ยวอย่างละ 1 ตัว มีโปรตอนอยู่ \begin\frac \approx 0.9995\end, หรือ 99.95% ของมวลอะตอมทั้งหมด โดยมีโปรตอนและนิวตรอนเป็นมวลที่เหลือประมาณเท่า ๆ กัน ธาตุแต่ละตัวจะมีอย่างน้อยหนึ่งไอโซโทปที่มีนิวเคลียสซึ่งไม่เสถียรและเกิดการเสื่อมสลายโดยการแผ่รังสี ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการแปรนิวเคลียสที่ทำให้จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเปลี่ยนแปลงไป อิเล็กตรอนที่โคจรรอบอะตอมจะมีระดับพลังงานที่เสถียรอยู่จำนวนหนึ่งในลักษณะของวงโคจรอะตอม และสามารถเปลี่ยนแปลงระดับไปมาระหว่างกันได้โดยการดูดซับหรือปลดปล่อยโฟตอนที่สอดคล้องกับระดับพลังงานที่ต่างกัน อิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัติทางแม่เหล็กของอะตอม แนวคิดที่ว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ ไม่ต่อเนื่องกันและไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กไปได้อีก เกิดขึ้นมานับเป็นพันปีแล้ว แนวคิดเหล่านี้มีรากฐานอยู่บนการให้เหตุผลทางปรัชญา นักปรัชญาได้เรียกการศึกษาด้านนี้ว่า ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) จนถึงยุคหลังจากเซอร์ ไอแซค นิวตัน จึงได้มีการบัญญัติศัพท์คำว่า 'วิทยาศาสตร์' (Science) เกิดขึ้น (นิวตันเรียกตัวเองว่าเป็น นักปรัชญาธรรมชาติ (natural philosopher)) ทดลองและการสังเกตการณ์ ธรรมชาติของอะตอม ของนักปรัชญาธรรมชาติ (นักวิทยาศาสตร์) ทำให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ มากมาย การอ้างอิงถึงแนวคิดอะตอมยุคแรก ๆ สืบย้อนไปได้ถึงยุคอินเดียโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล โดยปรากฏครั้งแรกในศาสนาเชน สำนักศึกษานยายะและไวเศษิกะได้พัฒนาทฤษฎีให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นว่าอะตอมประกอบกันกลายเป็นวัตถุที่ซับซ้อนกว่าได้อย่างไร ทางด้านตะวันตก การอ้างอิงถึงอะตอมเริ่มขึ้นหนึ่งศตวรรษหลังจากนั้นโดยลิวคิพพุส (Leucippus) ซึ่งต่อมาศิษย์ของเขาคือ ดีโมครีตุส ได้นำแนวคิดของเขามาจัดระเบียบให้ดียิ่งขึ้น ราว 450 ปีก่อนคริสตกาล ดีโมครีตุสกำหนดคำว่า átomos (ἄτομος) ขึ้น ซึ่งมีความหมายว่า "ตัดแยกไม่ได้" หรือ "ชิ้นส่วนของสสารที่เล็กที่สุดไม่อาจแบ่งแยกได้อีก" เมื่อแรกที่ จอห์น ดาลตัน ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอม นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นเข้าใจว่า 'อะตอม' ที่ค้นพบนั้นไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว ถึงแม้ต่อมาจะได้มีการค้นพบว่า 'อะตอม' ยังประกอบไปด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน แต่นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันก็ยังคงใช้คำเดิมที่ดีโมครีตุสบัญญัติเอาไว้ ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์ (Corpuscularianism) ที่เสนอโดยนักเล่นแร่แปรธาตุในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซูโด-กีเบอร์ (Pseudo-Geber) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า พอลแห่งทารันโท แนวคิดนี้กล่าวว่าวัตถุทางกายภาพทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดละเอียดเรียกว่า คอร์พัสเคิล (corpuscle) เป็นชั้นภายในและภายนอก แนวคิดนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีอะตอม ยกเว้นว่าอะตอมนั้นไม่ควรจะแบ่งต่อไปได้อีกแล้ว ขณะที่คอร์พัสเคิลนั้นยังสามารถแบ่งได้อีกในหลักการ ตัวอย่างตามวิธีนี้คือ เราสามารถแทรกปรอทเข้าไปในโลหะอื่นและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของมันได้ แนวคิดนิยมคอร์พัสคิวลาร์อยู่ยั่งยืนยงเป็นทฤษฎีหลักตลอดเวลาหลายร้อยปีต่อมา ในปี..

ใหม่!!: นาซาและอะตอม · ดูเพิ่มเติม »

อะตอมไฮโดรเจน

วาดแสดงถึงอะตอมไฮโดรเจน มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณสองเท่าของรัศมีของแบบจำลองของบอร์ (ไม่ใช่สัดส่วนจริง) อะตอมไฮโดรเจน (hydrogen atom) คืออะตอมของไฮโดรเจนซึ่งเป็นธาตุเคมีชนิดหนึ่ง อะตอมที่มีค่าประจุไฟฟ้าเป็นกลางประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกหนึ่งตัว และอิเล็กตรอนที่มีประจุลบหนึ่งตัวโคจรอยู่โดยรอบนิวเคลียสด้วยแรงคูลอมบ์ อะตอมไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบทางเคมีประมาณ 75% ของมวลพื้นฐานทั้งหมดของเอกภพนี้ (มวลเอกภพส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบธาตุเคมี หรือแบริออน แต่ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสสารมืดและพลังงานมืด).

ใหม่!!: นาซาและอะตอมไฮโดรเจน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ

อาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดฟอร์มใหญ่แห่งปี ค.ศ. 1998 เรื่อง Armageddon นำแสดงโดย บรูซ วิลลิส, ลิฟ ไทเลอร์, เบน แอฟเฟล็ก, โอเวน วิลสัน, บิลลี่ บ็อบ ทอร์นตัน, ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน, สตีฟ บูเซมี กำกับการแสดงโดย ไมเคิล เบย์ อำนวยการสร้างโดย เจอร์รี่ บรัคไฮเมอร.

ใหม่!!: นาซาและอาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คิมิดีส

อาร์คิมิดีส (Αρχιμήδης; Archimedes; 287-212 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก เกิดเมื่อ287 ปีก่อนคริสตกาล ในเมืองซีรากูซา ซึ่งในเวลานั้นเป็นนิคมท่าเรือของกรีก แม้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของเขาน้อยมาก แต่เขาก็ได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในสมัยคลาสสิก ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชา สถิตยศาสตร์ของไหล, สถิตยศาสตร์ และการอธิบายหลักการเกี่ยวกับคาน เขาได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรมเครื่องจักรกลหลายชิ้น ซึ่งรวมไปถึงปั๊มเกลียว (screw pump) ซึ่งได้ตั้งชื่อตามชื่อของเขาด้วย ผลการทดลองในยุคใหม่ได้พิสูจน์แล้วว่า เครื่องจักรที่อาร์คิมิดีสออกแบบนั้นสามารถยกเรือขึ้นจากน้ำหรือสามารถจุดไฟเผาเรือได้โดยอาศัยแถบกระจกจำนวนมาก อาร์คิมิดีสได้รับยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล เช่นเดียวกับ นิวตัน เกาส์ และ ออยเลอร์ เขาใช้ระเบียบวิธีเกษียณ (Method of Exhaustion) ในการคำนวณพื้นที่ใต้เส้นโค้งพาราโบลาด้วยการหาผลรวมของชุดอนุกรมอนันต์ และได้ค่าประมาณที่ใกล้เคียงที่สุดของค่าพาย เขายังกำหนดนิยามแก่วงก้นหอยของอาร์คิมิดีส ซึ่งได้ชื่อตามชื่อของเขา, คิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน และคิดค้นระบบสำหรับใช้บ่งบอกถึงตัวเลขจำนวนใหญ่มาก ๆ อาร์คิมิดีสเสียชีวิตในระหว่างการล้อมซีราคิวส์ (ราว 214-212 ปีก่อนคริสตกาล) โดยถูกทหารโรมันคนหนึ่งสังหาร ทั้ง ๆ ที่มีคำสั่งมาว่าห้ามทำอันตรายแก่อาร์คิมิดีส ซิเซโรบรรยายถึงการเยี่ยมหลุมศพของอาร์คิมิดีสซึ่งมีลูกทรงกลมจารึกอยู่ภายในแท่งทรงกระบอกเหนือหลุมศพ เนื่องจากอาร์คิมิดีสเป็นผู้พิสูจน์ว่า ทรงกลมมีปริมาตรและพื้นที่ผิวเป็น 2 ใน 3 ส่วนของทรงกระบอกที่บรรจุทรงกลมนั้นพอดี (รวมพื้นที่ของฐานทรงกระบอกทั้งสองข้าง) ซึ่งนับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาในทางคณิตศาสตร์ ขณะที่ผลงานประดิษฐ์ของอาร์คิมิดีสเป็นที่รู้จักกันดี แต่งานเขียนทางด้านคณิตศาสตร์กลับไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายนัก นักคณิตศาสตร์จากอเล็กซานเดรียได้อ่านงานเขียนของเขาและนำไปอ้างอิง ทว่ามีการรวบรวมผลงานอย่างแท้จริงเป็นครั้งแรกในช่วง ค.ศ. 530 โดย ไอซิดอร์ แห่งมิเลตุส (Isidore of Miletus) ส่วนงานวิจารณ์งานเขียนของอาร์คิมิดีสซึ่งเขียนขึ้นโดย ยูโตเซียส แห่งอัสคาลอน (Eutocius of Ascalon) ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ช่วยเปิดเผยผลงานของเขาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเป็นครั้งแรก ต้นฉบับงานเขียนของอาร์คิมิดีสหลงเหลือรอดผ่านยุคกลางมาได้ไม่มากนัก แต่ก็เป็นแหล่งข้อมูลสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ในยุคเรอเนสซองส์ ปี..

ใหม่!!: นาซาและอาร์คิมิดีส · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ซีโฟร์ดับเบิลยูดี

RC4WD เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายอะไหล่ รถและอุปกรณ์ที่ควบคุมโดยระบบวิทยุ ก่อตั้งเมื่อปี 2544 ที่ซานฟรานซิสโก ผลิตภัณฑ์ของ RC4WD ถูกเลือกใช้โดยนาซ่า อีกทั้งยังปรากฏทางโทรทัศน์และนิตยสารในหลาย ๆ ประเทศ บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนสำหรับรถวิทยุบังคับแบบใช้ถ่านที่เร็วที.

ใหม่!!: นาซาและอาร์ซีโฟร์ดับเบิลยูดี · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เทอร์ คอมป์ตัน

อาร์เทอร์ ฮอลลี คอมป์ตัน (Arthur Holly Compton) (10 กันยายน พ.ศ. 2435 – 15 มีนาคม พ.ศ. 2505) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิก..

ใหม่!!: นาซาและอาร์เทอร์ คอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม และ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสัตยาไสที่ดำเนินการตามแนวทางความเชื่อของตนเอง.

ใหม่!!: นาซาและอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อิปไซลอนแอนดรอมิดา

อิปไซลอนแอนดรอมิดา (Upsilon Andromedae; υ Andromedae / υ And) คือดาวคู่ที่อยู่ห่างจากโลกราว 44 ปีแสงในบริเวณกลุ่มดาวแอนดรอมิดา ดาวฤกษ์เอกคือ อิปไซลอนแอนดรอมิดา เอ เป็นดาวแคระเหลือง-ขาว ซึ่งมีอายุน้อยกว่าดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์รองในระบบคือ อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี เป็นดาวแคระแดง อยู่ในวงโคจรที่กว้างกว่า ณ ตอนนี้ (พ.ศ. 2553) มีดาวเคราะห์นอกระบบ 4 ดวงที่ได้รับการยืนยันแล้วว่าโคจรอยู่รอบดาวฤกษ์เอกของระบบนี้ ดาวเคราะห์ทั้งสี่มีลักษณะเป็นดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดี อิปไซลอนแอนดรอมิดาเป็นดาวฤกษ์ดวงแรกในแถบลำดับหลักที่มีการค้นพบระบบดาวเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกหลายดวง และเป็นดวงแรกในหมู่ดาวฤกษ์ประเภทระบบดาวหลายดวงซึ่งมีสมาชิกในระบบดาวเคราะห์หลายดวง อิปไซลอนแอนดรอมิดาเป็นดาวฤกษ์ในลำดับที่ 21 ในจำนวน 100 เป้าหมายแรกของโครงการค้นหาดาวเคราะห์คล้ายโลก (Terrestrial Planet Finder ขององค์การนาซ่า ซึ่งต้องเลื่อนระยะเวลาโครงการออกไปเนื่องจากประสบปัญหาด้านการเงิน.

ใหม่!!: นาซาและอิปไซลอนแอนดรอมิดา · ดูเพิ่มเติม »

อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)

อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (Upsilon Andromedae b; υ Andromedae b / υ And b / υ Andromedae Ab / υ And Ab) หรืออิปไซลอนแอนดรอมิดา เอบี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวอิปไซลอนแอนดรอมิดา เอในระยะทางที่ใกล้ที่สุด ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกประกาศการค้นพบพร้อมกันกับ 55 ปู บี และ เทา คนเลี้ยงสัตว์ บี เมื่อเดือนมิถุนายน ปี..

ใหม่!!: นาซาและอิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์สเตลลาร์ ทะยานดาวกู้โลก

อินเตอร์สเตลลาร์ ทะยานดาวกู้โลก (Interstellar) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ กำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการเดินทางในอวกาศโดยผ่านทางรูหนอน ถ่ายทำทั้งในระบบฟิล์ม 35 มิลลิเมตร และไอแมกซ์ กำหนดออกฉายในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2557.

ใหม่!!: นาซาและอินเตอร์สเตลลาร์ ทะยานดาวกู้โลก · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศปากีสถาน พ.ศ. 2553

อุทกภัยในประเทศปากีสถาน..

ใหม่!!: นาซาและอุทกภัยในประเทศปากีสถาน พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจร

วเทียม OAO-3 ในห้องคลีนรูม อุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจร (Orbiting Astronomical Observatory; OAO) เป็นชุดหอดูดาวในอวกาศสี่ตัวขององค์การนาซาที่ส่งขึ้นสู่อวกาศระหว่างปี ค.ศ. 1966 - 1972 ซึ่งให้ผลสังเกตการณ์คุณภาพสูงสำหรับวัตถุท้องฟ้าในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลตได้เป็นครั้งแรก แม้อุปกรณ์สังเกตการณ์ 2 ตัวไม่ประสบความสำเร็จ แต่อุปกรณ์อีกสองตัวก็ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งและช่วยกระตุ้นความสนใจในแวดวงนักดาราศาสตร์ให้มองเห็นความสำคัญของการสังเกตการณ์ในห้วงอวกาศ เป็นจุดเริ่มต้นที่นำไปสู่ความสำเร็จของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล.

ใหม่!!: นาซาและอุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจร · ดูเพิ่มเติม »

อุโมงค์ลม

อุโมงค์ลม อุโมงค์ลม เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาการไหลของอากาศผ่านวัตถุแข็ง โดยอากาศจะถูกเป่า หรือสูบผ่านท่อนำลมที่มีวัตถุภายใต้การทดสอบอยู่ และมีช่องสำหรับสังเกตการณ์หรือมีอุปกรณ์วัดติดตั้งอยู่ ส่วนมากนิยมวัดการสั่นไหวของอาคาร วัตถุทดสอบจะมีอุปกรณ์ที่มีความไวต่อความสมดุลในการวัดแรงที่สร้างโดยกระแสอากาศ; หรือกระแสอากาศอาจจะมีควันหรือสารอื่น ๆ ที่ถูกฉีดเพื่อให้เส้นการไหลสามารถมองเห็นได้รอบ ๆ วัตถุ อากาศยานหรือยานพาหนะขนาดใหญ่เท่าของจริงมีการทดสอบเป็นบางครั้งในอุโมงค์ลมขนาดใหญ่ แต่สิ่งอำนวยความสะดวกเหล่านี้มีราคาแพงในการดำเนินงานและบางส่วนของฟังก์ชันเหล่านี้ได้ถูกนำไปใช้ได้มากกว่าโดยการสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่อุโมงค์ลมปิดได้ถูกคิดค้นในปี 1871 อุโมงค์ลมขนาดใหญ่ได้ถูกสร้างขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อุโมงค์ลมของนาซา (NASA) ที่มีแบบจำลองของเครื่องบินอยู่ภายใน.

ใหม่!!: นาซาและอุโมงค์ลม · ดูเพิ่มเติม »

ฮาสเซลบลาด

วิคเตอร์ ฮาสเซลบลาด (Victor Hasselblad AB) คือบริษัทผู้ผลิตกล้องขนาดกลาง (medium-format camera) และอุปกรณ์ถ่ายภาพที่ตั้งอยู่ในเมืองโกเธนเบิร์ก ประเทศสวีเดน ตัวบริษัทมีชื่อเสียงในด้านกล้องขนาดกลางที่ได้ผลิตมาตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อครั้งที่องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯได้นำกล้องฮาสเซลบลาดไปใช้ในภารกิจอะพอลโลที่ส่งมนุษย์อวกาศคนแรกไปยังดวงจันทร์นั้น ถือได้ว่านำชื่อเสียงมาให้กับบริษัทมากที่สุดก็ว่าได้ รูปถ่ายเกือบทุกรูปในระหว่างภารกิจครั้งนั้นได้มาจากกล้องฮาสเซลบลาดที่มีการดัดแปลงเพื่อให้สามารถใช้งานในสภาวะไร้น้ำหนักได้ กล้องฮาสเซลบลาดรุ่น V-System ยังคงมีช่างภาพมืออาชีพและมือสมัครเล่นใช้งานอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากอายุการใช้งานที่นานและคุณภาพของเลนส์ที่ดีเยี่ยม ขณะที่กล้องรุ่นใหม่ H-System นั้นก็ถือว่าเป็นผู้นำในตลาดกล้องดิจิทัลขนาดกลาง เป็นคู่แข่งสำคัญของซินาร์และมาม.

ใหม่!!: นาซาและฮาสเซลบลาด · ดูเพิ่มเติม »

จรวด

รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C. to 17th Century)" ในทางทหาร, วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมได้ใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือแต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 20, เมื่อวิทยาการที่เกี่ยวกับจรวดได้ถือกำเนิดขึ้น เป็นการเปิดประตูสู่ยุคอวกาศ,กับการที่มนุษย์กำลังจะไปเหยียบดวงจันทร์ จรวดได้ถูกใช้สำหรับทำดอกไม้ไฟและอาวุธ, เก้าอี้ดีดตัวสำหรับนักบินและพาหนะสำหรับนำส่งดาวเทียม, นักบินอวกาศ และการสำรวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในขณะที่จรวดที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพนั้นจะใช้สำหรับการขับเคลื่อนด้วยอัตราเร็วที่ต่ำ ๆ, นักวิทยาศาสตร์จะเปรียบเทียบหาจรวดที่มีแรงขับเคลื่อนในระบบอื่น ๆ, ที่มีน้ำหนักเบากว่าและมีประสิทธิภาพสูงกว่า, ทำให้สามารถสร้างความเร่งในการเคลื่อนที่ของจรวดได้มากขึ้น และสามารถทำให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่สูงอย่างยิ่งด้วยประสิทธิภาพที่เหมาะสม จรวดเคมีเป็นชนิดของจรวดที่พบมากที่สุดและพวกมันมักจะสร้างไอเสียโดยการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด จรวดเคมีต้องการที่เก็บพลังงานเชื้อเพลิงที่มีขนาดใหญ่โตมากในรูปแบบที่พร้อมจะปลดปล่อยตัวเองออกมาได้อย่างง่ายดาย และมีอันตรายมาก อย่างไรก็ตาม, จะต้องทำด้วยการออกแบบอย่างรอบคอบ, การทดสอบ, การก่อสร้าง, และใช้ความเสี่ยงอันตรายให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้.

ใหม่!!: นาซาและจรวด · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: นาซาและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ครอมเวล เมเทอร์

อห์น ครอมเวล เมเทอร์ (John Cromwell Mather; เกิดวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1946) เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์และนักจักรวาลวิทยาชาวอเมริกัน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากผลงานดาวเทียม COBE ร่วมกับ จอร์จ สมูท ดาวเทียม COBE สามารถตรวจวัด "...รูปแบบของวัตถุดำและความไม่เหมือนกันทุกทิศทาง (Anisotropy) ของการแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล" ได้เป็นครั้งแรก ผลงานนี้ช่วยยืนยันเป็นหลักฐานแน่นหนาแก่ทฤษฎีบิกแบงโดยอาศัยดาวเทียมสำรวจไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล (COBE) จากความเห็นของคณะกรรมการรางวัลโนเบล กล่าวว่า "โครงการ COBE อาจพิจารณาได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาจักรวาลวิทยาอย่างละเอียดแม่นยำ" เมเทอร์เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์อาวุโสที่ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดขององค์การนาซาในแมริแลนด์ และเป็นศาสตราจารย์พิเศษสาขาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยแมริแลนด์ เมื่อปี..

ใหม่!!: นาซาและจอห์น ครอมเวล เมเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เกล็นน์

อห์น เกล็นน์ในภารกิจเมอร์คิวรี-แอตลาส 6 จอห์น เฮร์เชล เกล็นน์ จูเนียร์ (John Herschel Glenn Jr., 18 กรกฎาคม 1921 – 8 ธันวาคม 2016) นักบินอวกาศชาวอเมริกัน เดินทางไปกับกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี เพื่อศึกษาผลกระทบของการเดินทางในอวกาศที่มีต่อผู้สูงอายุ หลังห่างหายจากภารกิจอวกาศมานานกว่า 3 ทศวรรษ จอห์น เกล็นน์เข้าเป็นนักบินในหน่วยรบของกองทัพเรือ และนาวิกโยธินสหรัฐ เคยร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 และ สงครามเกาหลี เคยทำการบินกับเครื่องบินรุ่น R4D (ดักลาส ซี-47 สกายเทรน ดาโกต้า รุ่นของกองทัพเรือ) และ เครื่องบินขับไล่ F4U Corsair และ F9F Panther เขายังเคยเป็นนักบินแลกเปลี่ยนให้กองทัพอากาศสหรัฐ ขึ้นบินกับ F-86 Sabre ก่อนจะย้ายมาเป็นนักบินทดสอบให้กับกองทัพเรือ จอห์น เกล็นน์ เป็นนักบินอวกาศให้กับองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา ในโครงการเมอร์คิวรี โดยเป็นนักบินอวกาศคนที่ 3 ของสหรัฐอเมริกา เป็นชาวอเมริกันคนแรกที่โคจรรอบโลกเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1962 ในการขึ้นบินนาน 5 ชั่วโมงกับ เฟรนด์ชิป 7 จากนั้นเขาได้ลาออกจากองค์การนาซ่า และกลับมาทำงานในกองทัพเรือ จนปี..

ใหม่!!: นาซาและจอห์น เกล็นน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ

ักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ หรือ ฟิสิกส์จักรวาลวิทยา (Physical cosmology) คือสาขาวิชาหนึ่งของการศึกษาดาราศาสตร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาลและพลศาสตร์ของเอกภพของเรา ตลอดจนถึงความเกี่ยวข้องกับปัญหาพื้นฐานในแง่การกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ การศึกษาจักรวาลวิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ และสาเหตุเริ่มต้นของการเคลื่อนที่เหล่านั้น มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของโคเปอร์นิคัส ที่ว่าวัตถุท้องฟ้าทุกชนิดย่อมอยู่ภายใต้กฎทางฟิสิกส์เดียวกันกับกฎทางฟิสิกส์ที่ใช้บนโลก ส่วนกลศาสตร์นิวตันเป็นการนำเสนอทฤษฎีที่จะทำความเข้าใจกับการเคลื่อนที่ ปัจจุบันเรียกกลศาสตร์ทั้งหมดนี้รวม ๆ กันว่า กลศาสตร์ท้องฟ้า (celestial mechanics) สำหรับการศึกษาจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพในยุคปัจจุบันเริ่มขึ้นจากการพัฒนาทฤษฎีใหม่ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป รวมถึงข้อมูลการสังเกตการณ์วัตถุที่อยู่ไกลมาก ๆ ในจักรวาลของเร.

ใหม่!!: นาซาและจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ · ดูเพิ่มเติม »

จันทรายาน-1

ันทรายาน (चंद्रयान-1, Telugu:చంద్రయాన్-1) เป็นยานอวกาศสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ของอินเดีย ออกแบบและสร้างโดยองค์การวิจัยด้านอวกาศแห่งอินเดีย (Indian Space Research Organisation - ISRO) ส่งขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: นาซาและจันทรายาน-1 · ดูเพิ่มเติม »

จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557

ันทรุปราคาเต็มดวง เกิดขึ้นในวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: นาซาและจันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

จูดิธ เรสนิค

ูดิธ อาร์ลีน เรสนิค (5 เมษายน ค.ศ. 1949 – 28 มกราคม ค.ศ. 1986) เธอเป็นวิศวกรและนักบินอวกาศของนาซา เรสนิคเป็นหนึ่งในผู้เสียชีวิตในเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ในระหว่างการเปิดตัวภารกิจ STS-51-L เรสนิคเป็นนักบินอวกาศหญิงชาวอเมริกันคนที่สองในอวกาศ เรสนิคอยู่ในวงโคจร 145 ชั่วโมง เรสนิคเป็นนักบินอวกาศอเมริกันเชื้อสายยิวคนแรก และเป็นนักบินอวกาศหญิงชาวยิวคนแรกที่อยู่ในอวกาศ เรสนิคจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน และได้รับปริญญาดุษฏีบัณฑิตในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าจากมหาวิทยาลัยแมริแลนด์ คอลเลจพาร์ก รางวัล IEEE Judith Resnik Award สำหรับวิศวกรอวกาศได้นำชื่อของเธอเป็นชื่อรางวัลเพื่อเป็นเกียรติแก่เรสน.

ใหม่!!: นาซาและจูดิธ เรสนิค · ดูเพิ่มเติม »

จูโน (ยานอวกาศ)

นอวกาศจูโน ยานอวกาศจูโน (Juno) เป็นภารกิจเขตแดนใหม่ของนาซา ไปยังดาวพฤหัสบดี จูโนถูกปล่อยขึ้นจากสถานีกองทัพอากาศเคปคานาเวอเรล เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 2011 และจะไปถึงจุดหมายในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 โดยมีรูปแบบการโคจรอยู่ในวงโคจรขั้วโลก เพื่อศึกษาองค์ประกอบของดาวพฤหัสบดี, สนามแรงโน้มถ่วง, สนามแม่เหล็ก และแม็กนีโตสเฟียร์ขั้วโลก ศึกษาจุดกำเนิดของดาวรวมถึงค้นหาคำตอบว่าดาวพฤหัสบดีที่มีแกนหินหรือไม่ ปริมาณน้ำในชั้นบรรยากาศที่ลึกลงไป การกระจายมวลและความเร็วลมในบรรยากาศชั้นลึกที่เชื่อว่าจะมีความเร็วลมสูงสุด 618 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (384 ไมล์ต่อชั่วโมง) จูโนเป็นยานอวกาศลำที่สองที่โคจรรอบดาวพฤหัสบดีต่อจากยานอวกาศกาลิเลโอที่โคจรระหว่างปี..

ใหม่!!: นาซาและจูโน (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

จี-ช็อค

ี-ช็อค (G-Shock) เป็นยี่ห้อของนาฬิกาที่ผลิตโดยคาสิโอ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในเรื่องของความทนทานต่อการกระเทือน (เช่น การชนอย่างรุนแรง และ การสั่นสะเทือนอย่างหนัก) ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากแรงสั่นสะเทือนจากแรงโน้มถ่วงของโลก นาฬิการุ่นนี้ถูกออกแบบเพื่อการกีฬา การทหาร และกิจกรรมผจญภัย และเกือบทั้งหมดของทุกรุ่นของ G-Shock จะมีฟังก์ชันของ นาฬิกาจับเวลา นับเวลาถอยหลัง ไฟส่องสว่าง และ กันน้ำได้.

ใหม่!!: นาซาและจี-ช็อค · ดูเพิ่มเติม »

จีเอฟเอเจ-1

ีเอฟเอเจ-1 (GFAJ ย่อมาจาก "Give Felisa a Job") เป็นสายพันธุ์ของแบคทีเรียทรงแท่งในวงศ์ Halomonadaceae แบคทีเรียเอ็กซ์ทรีมโมไฟล์ชนิดนี้อาศัยแยกตัวออกจากทะเลสาบมอนอ อันเป็นทะเลสาบน้ำเค็มจัดและมีสภาพด่าง ทางตะวันออกของรัฐแคลิฟอร์เนีย นักวิทยาศาสตร์โดยทีมวิจัย นำโดยนักชีววิทยาดาราศาสตร์ของนาซา เฟลิซา วอล์ฟ-ไซมอน ในวารสารไซแอนซ์ในปี..

ใหม่!!: นาซาและจีเอฟเอเจ-1 · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์

นักบินอวกาศ บัสซ์ อัลดรินและนีล อาร์มสตรอง ในแบบจำลองการฝึกดวงจันทร์และส่วนลงจอดของนาซา นักทฤษฎีสมคบคิดกล่าวว่า การถ่ายภาพภารกิจกระทำโดยใช้ชุดที่คล้ายกับแบบจำลองฝึกนี้ ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ (Moon landing conspiracy theories) อ้างว่า โครงการอะพอลโลและการลงจอดบนดวงจันทร์ที่สืบเนื่องบางส่วนหรือทั้งหมดเป็นการหลอกลวงที่นาซาและสมาชิกองค์การอื่นจัดฉากขึ้น มีหลายปัจเจกบุคคลและกลุ่มได้อ้างการสมคบคิดดังกล่าวมาตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1970 การอ้างที่โดดเด่นที่สุด คือ การลงจอดที่มีมนุษย์โดยสารไปด้วยทั้งหกครั้ง (ระหว่าง ค.ศ. 1969-1972) เป็นเรื่องกุ และนักบินอวกาศของอะพอลโลสิบสองคนมิได้เดินบนดวงจันทร์ นักทฤษฎีสมคบคิดมีพื้นฐานข้ออ้างจากความคิดที่ว่า นาซาและองค์การอื่นทำให้สาธารณะหลงผิดเชื่อว่า การลงจอดเกิดขึ้นโดยการผลิต ทำลายหรือยุ่งกับหลักฐาน รวมทั้งภาพถ่าย เทปการวัดและส่งข้อมูลทางไกล การสื่อสัญญาณ ตัวอย่างหินจากดวงจันทร์ และกระทั่งพยานปากสำคัญบางคน นักทฤษฎีสมคบคิดได้จัดการรักษาความสนใจของสาธารณะเอาไว้กับทฤษฎีของพวกตนมาได้นานกว่า 40 ปี แม้จะมีหลักฐานจากฝ่ายที่สามเกี่ยวกับการลงจอดและการหักล้างในรายละเอียดต่อข้ออ้างการหลอกลวงนี้ การสำรวจความคิดเห็นในหลายสถานที่ได้แสดงว่า ชาวอเมริกันระหว่าง 6% ถึง 20% ที่ถูกสำรวจ เชื่อว่า การลงจอดโดยมีมนุษย์โดยสารไปด้วยนั้นเป็นการกุขึ้น แม้แต่ใน..

ใหม่!!: นาซาและทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

การทดสอบสัมพัทธภาพทั่วไปความเที่ยงสูงโดยยานอวกาศแคสซินี สัญญาณวิทยุที่ส่งระหว่างโลกและยาน (คลื่นสีเขียว) ถูกหน่วงโดยการบิดของปริภูมิ-เวลา (เส้นสีน้ำเงิน) เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์ สัมพัทธภาพทั่วไปหรือทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (general relativity หรือ general theory of relativity) เป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบเรขาคณิตซึ่งอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์จัดพิมพ์ใน..

ใหม่!!: นาซาและทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป · ดูเพิ่มเติม »

ทีมเงาอัจฉริยะ

ทีมเงาอัจฉริยะ เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติอเมริกันแนวดรามาในปี..

ใหม่!!: นาซาและทีมเงาอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ที่ตั้งของโลกในเอกภพ

ที่ตั้งของโลกในเอกภพ (Earth's location in the Universe) นั้นตั้งแต่ที่มนุษย์ได้เริ่มมีการสร้างและสมมุติตำแหน่งที่ตั้งของโลกขึ้นเมื่อประมาณ 400 ปีที่แล้วโดยเริ่มจากการสังเกตการณ์ด้วยกล้องส่องทางไกลและซึ่งเริ่มมีความแพร่หลายมากในหลายศตวรรษที่ผ่านมา ในอดีตนานมาแล้วนั้นมนุษย์เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลซึ่งประกอบด้วยดาวเคราะห์, ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่หมุนรอบโลกและในศตวรรษที่ 17 ก็มีแนวคิดว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางซึ่งเป็นผลมาจากการสังเกตของนักดาราศาสตร์นามว่าวิลเลียม เฮอร์เชลและยังได้อธิบายต่ออีกว่าดวงอาทิตย์และระบบสุริยะอยู่ในกาแลคซีที่เป็นรูปแผ่นดิสก์ขนาดใหญ่ และในศตวรรษที่ 20 ได้มีการขอสังเกตจากการสำรวจดาราจักรชนิดก้นหอยจึงเผยให้เห็นว่ากาแลคซี่ทางช้างเผือกของเราเป็นหนึ่งในพันล้านกาแลคซีในจักรวาลที่กำลังขยายตัวจึงได้มีการจัดกลุ่มกระจุกดาราจักรขึ้นในตอนปลายของศตวรรษที่ 20 จากนั้นก็มีการกำหนดเอกภพที่สังเกตได้ซึ้งเกิดจากกลุ่มกระจุกดาราจักรและช่องว่างขนาดใหญ่ (Cosmic voids) รวมกันเป็นใยเอกภพ (Galaxy filament) ซึ่งกลุ่มกระจุกดาราจักร, ช่องว่างและใยเอกภพนั้นเป็นโครงสร้างใหญ่ ๆ ที่สามารถพบและสังเกตได้ในเอกภพ โครงสร้างเหล่ามีขนาดใหญ่มากอาจมีขนาดมากกว่า 1000 เมกะพาร์เซก และเอกภพนั้นจะรวมจนกลายเป็นเนื้อเดียวกันซึ่งหมายความว่าทุกส่วนของเอกภพนั้นมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นขององค์ประกอบและโครงสร้างเดียวกัน และในปัจจุบันนี้มนุษย์ก็ยังไม่รู้ว่าจุดสิ้นสุดหรือขอบของเอกภพนั้นอยู่ที่ใดเนื่องจากโลกเป็นส่วนเล็ก ๆ ในเอกภพจึงไม่สามารถหาตำแหน่งขอบของเอกภพได้จากโลก.

ใหม่!!: นาซาและที่ตั้งของโลกในเอกภพ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาลันดา (Stockholm-Arlanda Airport) ตั้งอยู่ที่เขตซิกทูนา มณฑลสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ห่างจากกรุงสตอกโฮล์มไปทางเหนือประมาณ 42 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสวีเดน และเป็นท่าอากาศยานหลักสู่ประเทศสวีเดน เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของสแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ ซิสเต็ม ใหญ่เป็นอันดับสามในประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีผู้ใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศหนาแน่นเป็นอันดับสองในภูมิภาค รองรับผู้โดยสารกว่า 19 ล้านคนต่อปี ในปี..

ใหม่!!: นาซาและท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติมอนทรีอัล ปิแอร์ อิลเลียต ทรูโด

ท่าอากาศยานนานาชาติมอนทรีอัล ปิแอร์ อิลเลียต ทรูโด (Aéroport international Pierre-Elliott-Trudeau de Montréal) เดิมคือ ท่าอากาศยานนานาชาติมอนทรีอัล ดอร์วาล ตั้งอยู่ที่เมืองดอร์วาล, มอนทรีอัล รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา ห่างจากตัวเมืองประมาณ 20 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานหลักของแอร์แคนาดา และแอร์ทรานแซต และยังเป็น 1 ใน 8 ของท่าอากาศยานในแคนาดาที่เป็นที่ตั้งของด่านตรวจลงตราล่วงหน้าของสหรัฐอเมริกา ท่าอากาศยานแห่งนี้เปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบัน เพื่อเป็นเกียรติต่อ ปิแอร์ อิลเลียต ทรูโด อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 15 ของแคนาดา เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: นาซาและท่าอากาศยานนานาชาติมอนทรีอัล ปิแอร์ อิลเลียต ทรูโด · ดูเพิ่มเติม »

ดรากอน (ยานอวกาศ)

รากอน (Dragon) เป็นยานอวกาศที่สามารถนำบางส่วนมาใช้ใหม่ได้ พัฒนาโดย สเปชเอ็กซ์ บริษัทขนส่งอวกาศเอกชนสัญชาติอเมริกัน ตั้งอยู่ในฮาวธอร์น, รัฐแคลิฟอร์เนีย ดราก้อนถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยจรวดขนส่งแบบ Falcon 9 ซึ่งเป็นจรวดสองส่วน สเปซเอ็กซ์ยังพัฒนาดรากอนอีกหนึ่งรุ่นที่สามารถขนส่งมนุษย์ได้ ชื่อว่า ดราก้อนไรเดอร์ (Dragon V2) ยานดรากอน เริ่มเที่ยวบินแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 และทำให้ดรากอนกลายเป็นยานอวกาศเชิงพาณิชย์ลำแรก และสามารถกู้คืนจากวงโคจรได้สำเร็จ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ยานดรากอนแบบขนส่งสินค้า เป็นยานอวกาศเชิงพาณิชย์ลำแรกที่โคจรบรรจบและเชื่อมต่อกับสถานีอวกาศนานาชาติ นอกจากนี้ยังได้ทำสัญญาในการขนส่งสินค้าไปยังสถานีอวกาศนานาชาติภายใต้โครงการชื่อ Commercial Resupply Services ของนาซา ดรากอนเริ่มการขนส่งดังกล่าวตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา นอกจากนี้ สเปซเอ็กซ์ยังพัฒนาดรากอนสำหรับบรรทุกนักบินอวกาศในชื่อ ดรากอน วี2 สามารถขนส่งนักบินอวกาศได้ถึง 7 คน และสามารถปรับเปลี่ยนให้ขนส่งนักบินอวกาศพร้อมกับสินค้าได้ มีระยะปฏิบัติการในวงโคจรต่ำของโลก นอกจากนี้ สเปซเอ็กซ์ยังได้รับสัญญาจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาให้พัฒนายานขนส่งมนุษย์ให้ทางรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีแผ่นกันความร้อนที่ออกแบบมาเพื่อรองรับแรงเสียดทานจากบรรยากาศโลกหลังกลับจากดาวอังคารได้ เพราะการเดินทางระหว่างดาวเคราะห์จะใช้ความเร็วหลุดพ้น ซึ่งมีความเร็วสูงมาก.

ใหม่!!: นาซาและดรากอน (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

ดวงจันทร์

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107).

ใหม่!!: นาซาและดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ

แกนิมีด คัลลิสโต ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean moons) คือดวงจันทร์บริวารทั้ง 4 ดวงของดาวพฤหัสบดีซึ่งถูกค้นพบโดยกาลิเลโอ กาลิเลอีช่วงเดือนมกราคม..

ใหม่!!: นาซาและดวงจันทร์ของกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

ดอว์น (ยานอวกาศ)

นสำรวจอวกาศ ดอว์น (Dawn) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาแบบใช้หุ่นยนต์ควบคุม ถูกส่งไปในภารกิจสำรวจดาวเคราะห์น้อยดวงที่ใหญ่ที่สุด 2 ดวงในแถบดาวเคราะห์น้อย คือ ดาวเคราะห์น้อยเวสตา และดาวเคราะห์แคระ ซีรีส ดอว์นขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 27 กันยายน..

ใหม่!!: นาซาและดอว์น (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์รังสีแกมมา

ราศาสตร์รังสีแกมมา (Gamma-ray astronomy) เป็นการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นที่สั้นที่สุดของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้กล้องโทรทรรศน์รังสีแกมมา เช่น กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน แหล่งกำเนิดรังสีแกมมาที่ตรวจจับได้โดยมากมาจากการเกิดแสงวาบรังสีแกมมา ซึ่งเป็นรังสีแกมมาที่แผ่ออกจากวัตถุเพียงชั่วไม่กี่มิลลิวินาทีหรืออาจนานหลายพันวินาทีก่อนที่มันจะสลายตัวไป แหล่งกำเนิดรังสีแกมมาชั่วคราวเช่นนี้มีจำนวนกว่า 90% ของแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาทั้งหมด มีแหล่งกำเนิดรังสีแกมมาเพียง 10% เท่านั้นที่เป็นแหล่งกำเนิดแบบถาวร ได้แก่ พัลซาร์ ดาวนิวตรอน และวัตถุที่อาจกลายไปเป็นหลุมดำได้ เช่น นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต.

ใหม่!!: นาซาและดาราศาสตร์รังสีแกมมา · ดูเพิ่มเติม »

ดาราจักร

ราจักร '''NGC 4414''' ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 56,000 ปีแสง และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 60 ล้านปีแสง ดาราจักร หรือ กาแล็กซี (galaxy) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คำนี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias หมายถึง "น้ำนม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวง ไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง.

ใหม่!!: นาซาและดาราจักร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวบริวารของดาวยูเรนัส

อเบอรอน ดาวยูเรนัส เป็นดาวเคราะห์แก๊สขนาดยักษ์ในระบบสุริยะ มีดาวบริวารที่รู้จักแล้ว 27 ดวง โดยทั้งหมดถูกตั้งชื่อตามตัวละครในผลงานการประพันธ์ของวิลเลียม เชกสเปียร์ และอเล็กซานเดอร์ โปป โดยใน ค.ศ. 1787 ดาวบริวารสองดวงแรกถูกค้นพบโดยวิลเลียม เฮอร์เชล ได้แก่ ทิทาเนียและโอเบอรอน ส่วนดาวบริวารทรงกลมอื่น ๆ ถูกค้นพบโดยวิลเลียม ลาสเซลล์ ในปี ค.ศ. 1851 (ได้แก่ แอเรียลและอัมเบรียล) และในปี ค.ศ. 1948 โดยเจอราร์ด ไคเปอร์ (มิแรนดา) ดาวบริวารที่เหลือถูกค้นพบหลังจากปี ค.ศ. 1985 โดยภารกิจของวอยเอจเจอร์ 2 และด้วยความช่วยเหลือของกล้องโทรทรรศน์บนโลกที่ทันสมัย ดาวบริวารของดาวยูเรนัสถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดาวบริวารรอบในสิบสามดวง (thirteen inner moons), กลุ่มดาวบริวารขนาดใหญ่ห้าดวง (five major moons) และกลุ่มดาวบริวารทรงแปลกเก้าดวง (nine irregular moons) โดยกลุ่มดาวบริวารรอบในสิบสามดวงจะกระจัดกระจายอยู่ภายในบริเวณวงแหวนของดาวยูเรนัส กลุ่มดาวบริวารขนาดใหญ่ห้าดวงเป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่และเป็นทรงกลม ในนั้น 4 ดวงเป็นดาวบริวารที่ยังมีกระบวนการภายใน มีภูเขาไฟ และการเปลี่ยนแปลงบนเปลือกดาวอยู่ ดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มคือ ไททาเนีย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,578 กม.

ใหม่!!: นาซาและดาวบริวารของดาวยูเรนัส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพลูโต

วพลูโต (Pluto; ดัชนีดาวเคราะห์น้อย: 134340 พลูโต) เป็นดาวเคราะห์แคระในแถบไคเปอร์ วงแหวนของวัตถุพ้นดาวเนปจูน โดยเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ มันมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมวลมากที่สุดเป็นอันดับสองในบรรดาดาวเคราะห์แคระที่รู้จักในระบบสุริยะ และยังเป็นวัตถุที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 9 และมวลมากเป็นอันดับที่ 10 ในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ที่ใหญ่ที่สุดโดยปริมาตร แต่มีมวลน้อยกว่าอีริส ซึ่งเป็นวัตถุในแถบหินกระจาย ดาวพลูโตมีลักษณะเหมือนกับวัตถุอื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ ประกอบไปด้วยหินและน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ มีมวลและปริมาตรประมาณ 1 ใน 6 และ 1 ใน 3 ของดวงจันทร์ตามลำดับ วงโคจรของดาวพลูโตมีความเยื้องศูนย์กลางมาก อยู่ที่ 30 ถึง 49 หน่วยดาราศาสตร์ (4.4 – 7.4 พันล้านกิโลเมตร) จากดวงอาทิตย์ หมายความว่าเมื่อดาวพลูโตอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มันจะอยู่ใกล้กว่าวงโคจรของดาวเนปจูนเสียอีก แต่เนื่องด้วยการสั่นพ้องของวงโคจร ทำให้ดาวเคราะห์ทั้งสองดวงไม่สามารถโคจรมาชนกันได้ ในปี..

ใหม่!!: นาซาและดาวพลูโต · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: นาซาและดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: นาซาและดาวหาง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอังคาร

วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.

ใหม่!!: นาซาและดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอีริส

136199 อีริส (Eris) หรือ 2003 UB313 เป็นดาวเคราะห์แคระหนึ่งในวัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) เป็นดาวเคราะห์แคระดวงใหญ่ เป็นลำดับที่ 2 ในระบบสุริยะที่ถูกค้นพบในปัจจุบัน มีขนาดเล็กกว่าดาวพลูโตเล็กน้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1445 กิโลเมตร(ขนาดดาวพลูโต 1473 กิโลเมตร) มีดวงจันทร์บริวาร 1 ดวง ชื่อ ดิสโนเมีย (Dysnomia) อีริสถูกค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์และคณะ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 2005 จากภาพที่ถ่ายไว้เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ด้วยกล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวพาโลมาร์ รัฐแคลิฟอร์เนีย คณะผู้ค้นพบได้เสนอให้ตั้งชื่อดาวที่พบใหม่นี้ว่า ซีนา (Xena) ตามชื่อของละครโทรทัศน์ Xena: Warrior Princess โดยตัวอักษร X หมายถึง ดาวเคราะห์ X ที่เปอร์ซิวัล โลเวลล์ เคยเสนอไว้ และให้ดวงจันทร์บริวารของมันใช้ชื่อว่า แกเบรียลล์ (Gabrielle) แต่ไม่ได้มีการประกาศใช้ชื่อนี้อย่างเป็นทางการ ภายหลังการค้นพบ คณะผู้ค้นพบและนาซาได้ประกาศว่าอีริสเป็น ดาวเคราะห์ดวงที่ 10 แต่จากการประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ได้ข้อสรุปว่าอีริสไม่จัดเป็นดาวเคราะห์ แต่เป็นดาวเคราะห์แคระ ชื่อ อีริส มาจากชื่อของเทพเจ้าแห่งความวุ่นวาย ผู้วางอุบายโดยใช้แอปเปิลทองคำ เพื่อทำให้เฮรา อาเทนา และอะโฟรไดต์ ซึ่งเป็นสามเทวีพรหมจรรย์ในบรรดาเทพแห่งโอลิมปัสแตกคอกัน เพราะว่าไม่ได้เชิญนางมางานเลี้ยงของเทพ ส่วน ดิสโนเมีย คือชื่อธิดาของอีริส ไฟล์:Animation showing movement of 2003 UB313.gif|ภาพถ่าย 3 ภาพในระยะเวลา 3 ชั่วโมงที่ ไมเคิล อี.

ใหม่!!: นาซาและดาวอีริส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวโรหิณี

วอัลดิบาแรน (Aldebaran; ชื่ออื่น: α Tau, α Tauri, Alpha Tauri) เป็นดาวฤกษ์สว่างที่สุดในกลุ่มดาววัว และเป็นหนึ่งในดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้ายามค่ำคืน เนื่องจากตำแหน่งของดาวอยู่บริเวณส่วนหัวของกลุ่มดาว ในอดีตจึงมีที่เรียกชื่อดาวนี้ว่า ดาวตาวัว ดาวอัลดิบาแรนเป็นดาวที่มีความสว่างมากที่สุดในบริเวณกระจุกดาวไฮดีส (Hyades) ซึ่งเป็นกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด ยานอวกาศไพโอเนียร์ 10 ขององค์การนาซาที่เดินทางผ่านดาวพฤหัสบดีเมื่อปี ค.ศ. 1973 จะเดินทางไปถึงผ่านดาวอัลดิบาแรนในประมาณอีก 2 ล้านปีข้างหน้.

ใหม่!!: นาซาและดาวโรหิณี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวไมรา

วไมรา (Mira) อยู่ในกลุ่มดาวซีตัส ห่างจากโลกเราประมาณ 200-400 ปีแสง เป็นระบบดาวคู่ที่ประกอบด้วยดาวยักษ์แดง 2 ดวงคือ ดาวไมรา เอ (Mira A) และดาวไมรา บี (Mira B) ดาวไมรา เอ ยังเป็นดาวแปรแสงและเป็นดาวแปรแสงซึ่งมิใช่ซูเปอร์โนวาดวงแรกที่มีการค้นพบอีกด้วย หากไม่นับรวม Eta Carinae ในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือแล้ว ไมราจัดว่าเป็นดาวแปรแสงแบบมีวงรอบที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้า แต่อาจมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นในบางช่วงของวงรอบการส่องสว่างของมัน.

ใหม่!!: นาซาและดาวไมรา · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน

วเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน (Wilkinson Microwave Anisotropy Probe; WMAP) หรือ ดาวเทียมดับเบิลยูแมป ชื่อเดิมคือ แมป (MAP) และ เอ็กพลอเรอร์ 80 (Explorer 80) เป็นยานอวกาศที่วัดความแตกต่างของอุณหภูมิการแผ่รังสีความร้อนที่หลงเหลืออยู่จากเหตุการณ์บิกแบง หรือที่เรียกว่า การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล โดยการตรวจวัดไปทั่วท้องฟ้า หัวหน้าโครงการคือศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ แอล.

ใหม่!!: นาซาและดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมสปุตนิก 1

ปุตนิก 1 (Спутник-1; IPA:; Sputnik 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกของโลก สหภาพโซเวียต ได้ส่งดาวเทียมสปุตนิกขึ้นสู่วงโคจรโลกในรูปวงรีในวันที่ 4 ตุลาคม 1957 ซึ่งโคจรสามสัปดาห์ก่อนที่แบตเตอรี่จะเสียอย่างเงียบ ๆ ก่อนที่จะตกลงสู่ชั้นบรรยากาศในอีกสองเดือนต่อมา สปุตนิก 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 ซม.

ใหม่!!: นาซาและดาวเทียมสปุตนิก 1 · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์นอกระบบ

accessdate.

ใหม่!!: นาซาและดาวเคราะห์นอกระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก

วเคราะห์น้อยใกล้โลก (Near-Earth asteroids; NEA) คือดาวเคราะห์น้อยที่มีวงโคจรใกล้กับวงโคจรของโลก โดยมากมีวงโคจรอยู่ระหว่าง 0.983 ถึง 1.3 หน่วยดาราศาสตร์ จากดวงอาทิตย์ วงโคจรของดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกบางส่วนตัดกับวงโคจรของโลก ซึ่งอาจมีความเสี่ยงที่จะปะทะกันได้ ดาวเคราะน้อยเหล่านี้อยู่ใกล้พอที่จะเดินทางไปถึงโดยยานอวกาศได้ บางดวงสามารถไปถึงได้โดยใช้เชื้อเพลิงน้อยกว่าการไปดวงจันทร์เสียอีก ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้เป็นเป้าหมายที่น่าสำรวจอย่างยิ่ง มียานอวกาศไปเยือนดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกสองดวงแล้ว คือ ยานสำรวจ Near Earth Asteroid Rendezvous ขององค์การนาซา ไปสำรวจดาวเคราะห์น้อย 433 อีรอส และยานสำรวจ Hayabusa ของ JAXA ได้ไปเยือน 25143 Itokawa ดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก จัดว่าเป็นกลุ่มย่อยหนึ่งอยู่ในบรรดา วัตถุท้องฟ้าใกล้โลก.

ใหม่!!: นาซาและดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก · ดูเพิ่มเติม »

คริสตา แมคออลิฟ

รอน คริสตา แมคออลิฟ (เกิด ชารอน คริสตา คอร์ริแกน; 2 กันยายน ค.ศ. 1948 – 28 มกราคม ค.ศ. 1986) เป็นคุณครูชาวอเมริกันจากคอนโคด, รัฐนิวแฮมป์เชียร์ แมคออลิฟเป็นสมาชิกหนึ่งในเจ็ดที่เสียชีวิตจากเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ในระหว่างการเปิดตัวภารกิจ STS-51-L แมคออลิฟได้รับปริญญาตรีในสาขาครุศาสตร์ และประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยรัฐแฟรมมิงแฮมในปี ค.ศ. 1970 และได้ปริญญาโทด้านการดูแลการศึกษาและบริหาร จากมหาวิทยาลัยรัฐโบวี่ในปี ค.ศ. 1978 แมคออลิฟเข้ารับตำแหน่งคุณครูสังคมที่โรงเรียนมัธยมต้นคอนโคดในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ ในปี ค.ศ. 1983 ในปี ค.ศ. 1985 แมคออลิฟได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมในโครงการ นาซา คุณครูในโครงการอวกาศ ซึ่งเธอได้รับคัดเลือกจากคนมากกว่า 11,000 คน ในฐานะที่แมคออลิฟได้เป็นหนึ่งในสมาชิกคนหนึ่งของภารกิจ STS-51-L แมคออลิฟได้วางแผนไว้ว่า เธอจะกลับลงมาเป็นครูครั้งที่สอง และจะสอนเรื่องเกี่ยวกับกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1986 กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ได้เกิดระเบิดขึ้น หลังจากกระสวยอวกาศขึ้นได้เพียง 72 วินาที หลังจากที่เธอเสียชีวิต โรงเรียนและกองทุนศึกษาได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เธอ และในปี ค.ศ. 2004 แมคออลิฟได้รับรางวัล Medal of Honor Medal of Honorium.

ใหม่!!: นาซาและคริสตา แมคออลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 21

ริสต์ศตวรรษที่ 21 คือคริสต์ศตวรรษแรกของคริสต์สหัสวรรษที่ 3 และเป็นคริสต์ศตวรรษปัจจุบัน เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: นาซาและคริสต์ศตวรรษที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 2000

ริสต์ทศวรรษ 2000 (2000s) คือคริสต์ทศวรรษตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: นาซาและคริสต์ทศวรรษ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 2020

..

ใหม่!!: นาซาและคริสต์ทศวรรษ 2020 · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นความโน้มถ่วง

ในวิชาฟิสิกส์ คลื่นความโน้มถ่วง (gravitational wave) คือความผันผวนของความโค้งในปริภูมิ-เวลาที่แผ่ออกเป็นคลื่น ที่เดินทางออกจากแหล่งกำเนิด อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ทำนายไว้ใน..

ใหม่!!: นาซาและคลื่นความโน้มถ่วง · ดูเพิ่มเติม »

คลีฟแลนด์

ลีฟแลนด์ (Cleveland) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา อยู่ในเขตคูยาโฮกาเคาน์ตี้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐโอไฮโอและริมชายฝั่งทางใต้ของทะเลสาบอิรี ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: นาซาและคลีฟแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: นาซาและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์

ปัจจุบัน มีเพียงโลกเท่านั้นที่เป็นดาวเคราะห์ที่มีปัจจัยเกื้อหนุนต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์ คือการตรวจวัดศักยภาพของดาวเคราะห์หรือดาวบริวารของดาวเคราะห์ว่าสามารถรองรับการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้หรือไม่ ชีวิตดังกล่าวนี้อาจมีวิวัฒนาการขึ้นบนดาวเคราะห์หรือดาวบริวารนั้นเอง หรืออพยพมาจากแหล่งอื่นก็ได้ ในปัจจุบันนี้ยังไม่มีความแน่ชัดใดๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนอกโลก ดังนั้นการศึกษาเรื่องความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์จึงใช้เงื่อนไขสภาวะแวดล้อมของโลก และคุณลักษณะของดวงอาทิตย์และระบบสุริยะเป็นสำคัญ ซึ่งเป็นปัจจัยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงอยู่ได้บนโลก การศึกษาวิจัยในสาขานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์และเป็นสาขาเกิดใหม่ในทางชีวดาราศาสตร์ สิ่งจำเป็นพื้นฐานที่สุดสำหรับชีวิต คือ แหล่งกำเนิดพลังงาน ความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์มีความหมายพื้นฐานถึงลักษณะขอบเขตทางฟิสิกส์ธรณีวิทยา เคมีธรณีวิทยา และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่พอเหมาะพอดีในการเอื้อหนุนต่อสิ่งมีชีวิต องค์การนาซ่าได้นิยามขอบเขตพื้นฐานของความสามารถอยู่อาศัยได้ ว่า "ต้องมีน้ำในสถานะของเหลว เงื่อนไขที่ช่วยให้เกิดโมเลกุลอินทรีย์ที่ซับซ้อน และมีแหล่งพลังงานพอสำหรับสร้างเมแทบอลิซึม".

ใหม่!!: นาซาและความสามารถอยู่อาศัยได้ของดาวเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก

10.1126/science.1177265 ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก (global catastrophic risk) เป็นเหตุการณ์สมมุติในอนาคต ที่อาจทำความเสียหายต่อมนุษย์อย่างรุนแรงทั่วโลก เหตุการณ์บางอย่างอาจทำลาย หรือทำความเสียหายแก่ อารยธรรมที่มีในปัจจุบัน หรือเหตุการณ์ที่รุนแรงกว่านั้น อาจทำให้มวลมนุษย์สูญพันธุ์ ซึ่งเรียกได้ว่า เป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของมนุษย์ (existential risk) ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น การระเบิดของซูเปอร์ภูเขาไฟ และการวิ่งชนโลกของดาวเคราะห์น้อย จะเป็นความเสี่ยงในระดับนี้ถ้ารุนแรงเพียงพอ เหตุการณ์ที่มนุษย์เป็นเหตุ ก็อาจจะเป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของสัตว์ฉลาดต่าง ๆ ของโลก เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน สงครามนิวเคลียร์ หรือการก่อการร้ายชีวภาพ สถาบันอนาคตของมนุษยชาติ (Future of Humanity Institute) ที่เป็นส่วนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เชื่อว่า การสูญพันธุ์ของมนุษย์ น่าจะมีเหตุมาจากมนุษย์เอง มากกว่าจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ แต่ว่า เป็นเรื่องยากลำบากที่จะศึกษาการสูญพันธุ์ของมนุษย์ เพราะไม่เคยมีเหตุการณ์นี้จริง ๆ แม้นี่จะไม่ได้หมายความว่า จะไม่เกิดขึ้นในอนาคต แต่ว่า การสร้างแบบจำลองของความเสี่ยงต่อความอยู่รอด เป็นเรื่องยาก โดยส่วนหนึ่งเพราะผู้ศึกษามีความเอนเอียงจากการอยู่รอด คือมีความคิดผิดพลาดที่พุ่งความสนใจไปในสิ่งที่อยู่รอด จนทำให้เหตุผลไม่ตรงกับความจริง.

ใหม่!!: นาซาและความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล เซแกน

ร์ล เซแกน (Carl Sagan) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน (ค.ศ. 1934 - 1996) เป็นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรยากาศของดาวเคราะห์ต่าง ๆ เซแกนได้ศึกษาว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นและมีวิวัฒนาการบนโลกอย่างไร สนใจถึงความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตอยู่บนดาวอื่นเป็นพิเศษ เซแกนเป็นคนริเริ่มความคิดที่จะติดตั้งแผ่นป้ายบนยานสำรวจอวกาศไพโอเนียร์ 10 ที่เป็นเหมือนจดหมายจากโลก ยานไพโอเนียร์ 10 ผ่านเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีใน ค.ศ. 1973 ก่อนที่จะออกไปยังขอบนอกของระบบสุริยะแล้วออกสู่อวกาศ แผ่นป้ายแบบเดียวกันติดไปกับยานสำรวจอวกาศไพโอเนียร์ 11 ในปีต่อมา นอกจากงานด้านดาราศาสตร์แล้ว เซแกนยังมีชื่อเสียงจากนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Contact ซึ่งเกี่ยวกับความพยายามของมนุษย์ในการค้นหาสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญานอกโลก นิยายเรื่องนี้ ภายหลังได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ในชื่อเดียวกัน (ชื่อภาษาไทยคือ "คอนแทค อุบัติการณ์สัมผัสห้วงจักรวาล") นำแสดงโดย โจดี้ ฟอสเตอร.

ใหม่!!: นาซาและคาร์ล เซแกน · ดูเพิ่มเติม »

ตูลูซ

ตูลูซ (Toulouse) เป็นเทศบาลในจังหวัดโอต-การอน ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ซึ่งติดกับประเทศสเปน แต่มีพรมแดนธรรมชาติ คือ เทือกเขาพิเรนีสคั่นไว้ ตูลูซเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันมีประชากรอยู่ราว 1,300,000 คน เป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินของโลก โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่และโรงงานของแอร์บัส นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของอินเทลภาคพื้นยุโรปตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของฝรั่ง.

ใหม่!!: นาซาและตูลูซ · ดูเพิ่มเติม »

ซี-5 กาแลคซี

ซี-5 กาแลคซี (C-5 Galaxy) เป็นเครื่องบินลำเลียงทางทหารขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยล็อกฮีด มันถูกออกแบบมาเพื่อให้การลำเลียงทางอากาศด้านยุทธศาสตร์เหนือพื้นที่อันห่างไกลและเพื่อลำเลียงสินค้าขนาดใหญ่กว่าปกติ ซี-5 กาแลคซีนั้นถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นาซาและซี-5 กาแลคซี · ดูเพิ่มเติม »

ซีรีส

ซีรีส หรือ เซเรส (Ceres) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า 1 ซีรีส เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดและเป็นดาวเคราะห์แคระดวงเดียวในระบบสุริยะชั้นใน เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ โดยจูเซปเป ปีอาซซี นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: นาซาและซีรีส · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอช-47 ชีนุก

ซี-47 ชีนุก (CH-47 Chinook) เป็นเฮลิคอปเตอร์ใบพัดเรียงขนาดหนักสองเครื่องยนต์ มันมีความเร็วสูงสุดที่ 315 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งเร็วกว่าเฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์หรือเฮลิคอปเตอร์โจมตีในทศวรรษที่ 2503 หรือแม้แต่บางลำในปัจจุบัน บทบาทของมันคือการขนส่งทหาร ปืนใหญ่ และเสบียงเข้าสู่สมรภูมิ มันมีทางลาดด้านท้ายขนาดใหญ่และตะขอแขวนสินค้าอีกสามจุดที่ด้ายนอก ชีนุกถูกออกแบบและเริ่มผลิตโดยโบอิง เวอร์ทอลเมื่อต้นทศวรรษที่ 2503 ปัจจุบันมันถูกผลิตโดยโบอิง อินเตอร์เกรทเต็ด ดีเฟนซ์ ซิมเทมส์ ชีนุกได้ถูกขายให้กับ 16 ประเทศ ผู้ใช้รายใหญ่ที่สุดคือกองทัพบกสหรัฐและกองทัพอากาศสหราชอาณาจักรซึ่งใช้โบอิง ชีนุก.

ใหม่!!: นาซาและซีเอช-47 ชีนุก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจีน

ปฏิธินจีนปี ค.ศ.2017 ปฏิทินจีน หมายถึง ปฏิทินสุริยคติหรือปฏิทินจันทรคติซึ่งชาวจีนหรือชาวต่างประเทศเชื้อสายจีนใช้ในทางราชการและการกำหนดวันสำคัญต่าง ๆ ในการติดต่อราชการ-ธุรกิจ ชาวจีนใช้ปฏิทินสุริยคติสากลเช่นเดียวกับชาวตะวันตกและอีกหลายประเทศทั่วโลก แต่การกำหนดประเพณีสำคัญจะอาศัยปฏิทินจันทรคติเป็นหลักเสมอ ปฏิทินสุริยคติจีน กำหนดให้เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ดับที่ใกล้กับวันเหมายัน หรือวันที่ซีกโลกเหนือมีกลางวันสั้นที่สุด ส่วนปฏิทินจันทรคติจีน กำหนดให้เริ่มขึ้นปีนักษัตรใหม่ในวันลี่ชุน แต่เริ่มปีใหม่ในวันตรุษจีน ซึ่งเป็นวันจันทร์ดับต้นฤดูใบไม้ผลิ มักอยู่ในเดือนกุมภาพันธ์หรือปลายเดือนมกราคมของทุกปี.

ใหม่!!: นาซาและปฏิทินจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์ 2012

ปรากฏการณ์ 2012 ประกอบด้วยขอบเขตความเชื่อทางโลกาวินาศศาสตร์ว่าจะมีเหตุการณ์อันนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงหรือวินาศภัยฉับพลันเกิดขึ้นในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2012Sitler 2006Defesche 2007 ซึ่งวันนั้นกล่าวกันว่าเป็นวันสิ้นสุดของวัฏจักรปฏิทินแบบนับยาวเมโสอเมริกา 5,125 ปี มีการเสนอข้อสนับสนุนทางดาราศาสตร์และสูตรพยากรณ์ที่เกี่ยวข้องกับวันดังกล่าวออกมาเป็นจำนวนมาก แต่ทั้งหมดล้วนไม่ได้รับการยอมรับจากวิชาการกระแสหลัก การเปลี่ยนผ่านนี้ ขบวนการยุคใหม่ตีความว่า วันนั้นเป็นจุดเริ่มต้นของเวลาซึ่งโลกและพลโลกอาจมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือทางจิตวิญญาณในทางบวก และวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: นาซาและปรากฏการณ์ 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์โลกร้อน

ผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504–2533 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพื้นที่ผิดปกติที่เทียบกับอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2551 ปรากฏการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี..

ใหม่!!: นาซาและปรากฏการณ์โลกร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์เกาะความร้อน

ตเกียว, กรณีปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมือง อุณหภูมิปกติของโตเกียวที่สูงกว่าบริเวณใกล้เคียง. ปรากฏการณ์เกาะความร้อน หรือ เกาะความร้อนเมือง (urban heat island: UHI) คือปรากฏการณ์ที่พื้นที่ในมหานครมีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณโดยรอบอย่างมีนัย ความแตกต่างของอุณหภูมิที่สูงกว่าดังกล่าวจะชัดเจนในตอนกลางคืนมากกว่าตอนกลางวัน ในฤดูหนาวมากกว่าฤดูร้อนและเมื่อไม่มีลมหรือมีลมพัดอ่อน สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดเกาะความร้อนเมืองคือการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวของแผ่นดินที่เกิดจากการพัฒนาเมืองซึ่งใช้วัสดุที่ทำให้เกิดการสะสมกันของความร้อนประกอบกับความร้อนที่ปล่อยออกจากการใช้พลังงานตามอาคารสถานที่ต่างๆ เมื่อศูนย์กลางประชากรของเมืองเพิ่ม การเปลี่ยนแปลงผิวพื้นแผ่นดินก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นตามไปเรื่อยๆ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเพิ่มอุณหภูมิทั่วไปโดยเฉลี่ย ผลของปรากฏการณ์เกาะความร้อนเมืองทำให้ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายเดือนในบริเวณใต้ลมที่ห่างจากใจกลางเมืองออกไปประมาณ 60 กิโลเมตรเพิ่มขึ้นจากปกติประมาณร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับบริเวณพื้นที่เหนือลม.

ใหม่!!: นาซาและปรากฏการณ์เกาะความร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์เรือนกระจก

แผนภูมิแสดงการแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างดวงอาทิตย์ พื้นผิวโลก ชั้นบรรยากาศของโลก และอวกาศ ความสามารถของชั้นบรรยากาศในการจับและนำพลังงานที่แผ่ออกมาจากพื้นผิวโลกกลับมาใช้ใหม่เป็นลักษณะนิยามของปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) คือ ขบวนการที่รังสีความร้อนจากพื้นผิวโลกจะถูกดูดซับโดยก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ และแผ่รังสีออกไปอีกครั้งในทุกทิศทาง เนื่องจากการแผ่รังสีออกไปอีกครั้งถูกส่งกลับมายังพื้นผิวโลกและบรรยากาศด้านล่าง เป็นผลทำให้ระดับอุณหภูมิพื้นผิวโลกเฉลี่ยสูงขึ้นถ้าไม่มีก๊าซเหล่านี้A concise description of the greenhouse effect is given in the Intergovernmental Panel on Climate Change Fourth Assessment Report, "What is the Greenhouse Effect?", IIPCC Fourth Assessment Report, Chapter 1, page 115: "เพื่อความสมดุลของพลังงานที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ โลกโดยเฉลี่ยต้องแผ่รังสีพลังงานจำนวนที่เท่ากันกลับไปสู่อวกาศ เพราะว่าโลกเย็นกว่าดวงอาทิตย์ โลกจึงแผ่รังสีที่ความยาวคลื่นที่ยาวกว่าในแถบความถี่อินฟราเรด รังสีความร้อนที่ปล่อยออกมาจากพื้นดินและมหาสมุทรจำนวนมากนี้จะถูกดูดซับในชั้นบรรยากาศรวมทั้งหมู่เมฆและแผ่รังสีอีกครั้งกลับมายังโลก ขบวนการนี้เรียกว่าปรากฏการณ์เรือนกระจก" Stephen H. Schneider, in Geosphere-biosphere Interactions and Climate, Lennart O. Bengtsson and Claus U. Hammer, eds., Cambridge University Press, 2001, ISBN 0-521-78238-4, pp.

ใหม่!!: นาซาและปรากฏการณ์เรือนกระจก · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ นอร์วิก

ปีเตอร์ นอร์วิก เป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: นาซาและปีเตอร์ นอร์วิก · ดูเพิ่มเติม »

นอร์ทธรอป กรัมแมน

นอร์ทธรอป กรัมแมน คอร์ปอเรชัน เป็นบริษัทสัญชาติสหรัฐอเมริกา ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอากาศยานทางการทหาร การต่อเรือรบ และเทคโนโลยีทางการทหาร ก่อตั้งขึ้นในปี 1994 จากการควบรวมกิจการของบริษัท นอร์ทธรอปและบริษัทกรัมแมน เข้าด้วยกัน ในปี 2010 นอร์ทธรอป กรัมแมน เป็นบริษัทที่มีสัญญาการจัดซื้ออาวุธอยู่ในอันดับที่ 4 ของโลก"".

ใหม่!!: นาซาและนอร์ทธรอป กรัมแมน · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: นาซาและนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นัมเบอส์

นัมเบอส์ (NUMB3ERS) เป็นละครชุดอเมริกันแนวดราม่า อาชญากรรม ออกอากาศทางช่องซีบีเอส ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม..

ใหม่!!: นาซาและนัมเบอส์ · ดูเพิ่มเติม »

นาซา ทีวี

นาซา ทีวี (NASA TV) เป็นบริการโทรทัศน์ของหน่วยงานนาซา (องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ) แห่งรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกา ที่ออกอากาศโดยใช้โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแบบการออกอากาศคู่ขนานผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิลท้องถิ่นทั่วสหรัฐอเมริกา และเครือข่ายโทรทัศน์มือสมัครเล่นขาประจำอาจดำเนินรายการนาซา ทีวี ตามดุลพินิจของตัวเอง ในฐานะที่นาซาได้สร้างเนื้อหาที่ได้รับการพิจารณาว่าเป็นผลงานของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกาและเป็นสาธารณสมบัติ เครือข่ายนี้ได้รับการสร้างขึ้นอย่างเป็นทางการในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เพื่อให้รับข้อมูลจากผู้บริหารและวิศวกรของนาซา กับวิดีโอภารกิจแบบเรียลไทม์ นาซาได้ดำเนินการให้บริการโทรทัศน์ตั้งแต่การเริ่มต้นโครงการอวกาศสำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดเก็บสื่อถาวร และจัดทำสื่อภาพวิดีโอ.

ใหม่!!: นาซาและนาซา ทีวี · ดูเพิ่มเติม »

นิวฮอไรซันส์

นิวฮอไรซันส์ (New Horizons; ท. ขอบฟ้าใหม่) เป็นยานสำรวจอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ซึ่งปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนิวฟรอนเทียส์ (New Frontiers) ของนาซา ยานสร้างโดย ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์และสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ โดยทีมซึ่งมีเอ.

ใหม่!!: นาซาและนิวฮอไรซันส์ · ดูเพิ่มเติม »

นูเมอา

นูเมอา (Nouméa) เป็นเมืองหลวงของนิวแคลิโดเนีย ซึ่งเป็นดินแดนในเขตโอเชียเนียของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ 45.7 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 97,579 คนจากข้อมูลสำมะโนประชากรปี..

ใหม่!!: นาซาและนูเมอา · ดูเพิ่มเติม »

นีล อาร์มสตรอง

รือโท นีล ออลเดน อาร์มสตรอง (Neil Alden Armstrong; 5 สิงหาคม พ.ศ. 2473 — 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักบินอวกาศชาวอเมริกัน และเป็นมนุษย์ที่ได้ชื่อว่าเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์คนแรกของโลก.

ใหม่!!: นาซาและนีล อาร์มสตรอง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำ

น้ำในสองสถานะ: ของเหลว (รวมทั้งก้อนเมฆซึ่งเป็นตัวอย่างของละอองลอย) และของแข็ง (น้ำแข็ง) น้ำเป็นสิ่งที่โปร่งใส ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น และเกือบจะไม่มีสี ซึ่งเป็นสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบหลักของลำธาร, แม่น้ำ, และมหาสมุทรในโลก เป็นต้น และยังเป็นของเหลวในสิ่งมีชีวิต มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเลนต์ น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น หิมะ, ธารน้ำแข็ง, และภูเขาน้ำแข็ง, ก้อนเมฆ, หมอก, น้ำค้าง, ชั้นหินอุ้มน้ำ และ ความชื้นในบรรยากาศ น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ดิน 1.7% ในธารน้ำแข็งและชั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติกาและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเศษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจากอนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ) และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และชั้นบรรยากาศ และน้ำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของสิ่งมีชีวิตและผลิตภัณฑ์ น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฏจักรของการระเหยเป็นไอและการคายน้ำ (การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน น้ำดื่มสะอาดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะไม่มีแคลอรีหรือสารอาหารที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่มสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ประชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่า 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเกี่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่างไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี..

ใหม่!!: นาซาและน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำบนดาวอังคาร

น้ำบนดาวอังคารในปัจจุบันมีอยู่แทบทั้งหมดเป็นน้ำแข็ง แม้ยังมีไอน้ำปริมาณเล็กน้อยในบรรยากาศด้วย และบางครั้งเป็นน้ำเกลือ (brine) รูปของเหลวปริมาตรต่ำในดินดาวอังคารตื้น ๆ ที่เดียวที่เห็นน้ำแข็งน้ำ (water ice) ได้จากพื้นผิว คือ ที่พืดน้ำแข็งขั้วดาวเหนือ ยังมีน้ำแข็งน้ำปริมาณมากอยู่ใต้พืดน้ำแข็งคาร์บอนไดออกไซด์ถาวรที่ขั้วใต้ของดาวอังคาร และใต้ดินตื้น ๆ ที่ละติจูดอบอุ่นกว่า มีการระบุน้ำแข็งกว่า 5 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตรที่หรือใกล้พื้นผิวของดาวอังคารสมัยใหม่ เพียงพอที่จะปกคลุมดาวเคราะห์ทั้งดวงที่ความลึก 35 เมตร และอาจมีน้ำแข็งปริมาณมากกว่านี้ถูกกักอยู่ใต้ดินชั้นลึก น้ำในรูปของเหลวอาจเกิดขึ้นชั่วคราวบ้างบนพื้นผิวดาวอังคารปัจจุบัน แต่เฉพาะในบางภาวะ ไม่มีแหล่งน้ำในรูปของเหลวขนาดใหญ่ถาวรเพราะความดันบรรยากาศที่พื้นผิวโดยเฉลี่ยมีเพียง 600 ปาสกาล (0.087 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) หรือประมาณ 0.6% ของความดันระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ยของโลก และอุณหภูมิเฉลี่ยของดาวต่ำเกินไปมาก (210 K, −63 °C) ทำให้น้ำระเหิดหรือเยือกแข็งอย่างรวดเร็ว ก่อนประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน ดาวอังคารอาจมีบรรยากาศหนาแน่นและมีอุณหภูมิพื้นผิวสูงกว่านี้ ทำให้มีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวปริมาณมาก เป็นไปได้ว่ามีมหาสมุทรขนาดใหญ่ซึ่งอาจปกคลุมหนึ่งในสามของดาว ยังพบว่าน้ำไหลอยู่ใต้พื้นผิวเป็นระยะสั้น ๆ หลายช่วงในประวัติศาสตร์สมัยหลัง ๆ ของดาวอังคาร วันที่ 9 ธันวาคม 2556 นาซารายงานว่า อาศัยหลักฐานจากโรเวอร์ คิวริออสซิตี ที่กำลังศึกษาอีโอลิสปาลัส (Aeolis Palus) แอ่งเกลมีทะเลสาบน้ำจืดโบราณซึ่งสามารถเป็นสิ่งแวดล้อมที่จุลินทรีย์อาศัยอยู่ได้ หลักฐานหลายสายชี้ว่ามีน้ำจำนวนมากบนดาวอังคารและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของดาว ปริมาณน้ำบนดาวอังคารในปัจจุบันประเมินได้จากภาพถ่ายยานอวกาศ เทคนิคการรับรู้ระยะไกล (การวัดสเปกโตรสโคบ เรดาร์ ฯลฯ) และการสืบค้นพื้นผิวจากส่วนลงจอดและโรเวอร์ หลักฐานน้ำในอดีตทางธรณีวิทยามีทั้งช่องระบายขนาดมหึมาที่เกิดจากการกัดเซาะของน้ำท่วม เครือข่ายหุบแม่น้ำโบราณ ดินดอนสามเหลี่ยมและก้นทะเลสาบ และการตรวจจับหินและแร่ธาตุบนพื้นผิวซึ่งก่อขึ้นได้เฉพาะในน้ำในรูปของเหลว ลักษณะธรณีสัณฐานจำนวนมากเสนอว่ามีน้ำแข็งพื้นดิน (ชั้นดินเยือกแข็งคงตัว) และการเคลื่อนไหวของน้ำแข็งในธารน้ำแข็ง ทั้งในอดีตอันใกล้และปัจจุบัน ร่องธาร (gully) และที่ลาดเอียงเส้นตรง (slope lineae) ตามหน้าผาและผนังแอ่งแนะว่าน้ำที่กำลังไหลยังก่อรูปทรงพื้นผิวของดาวอังคาร แม้ว่ามีขนาดน้อยกว่าในอดีตโบราณมาก แม้ว่าพื้นผิวดาวอังคารเปียกเป็นบางช่วงและจุลินทรีย์อาจอาศัยอยู่ได้เมื่อหลายพันล้านปีก่อน แต่สิ่งแวดล้อมปัจจุบันที่พื้นผิวแห้งและอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง เป็นไปได้ว่าเป็นอุปสรรคที่ไม่อาจเอาชนะสำหรับสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ ดาวอังคารไม่มีบรรยากาศหนา ชั้นโอโซนและสนามแม่เหล็ก ทำให้รังสีดวงอาทิตย์และรังสีคอสมิกถึงพื้นผิวได้โดยตรง ฤทธิ์ทำลายของรังสีไอออนต่อโครงสร้างเซลล์เป็นปัจจัยจำกัดสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งต่อการรอดชีวิตบนพื้นผิว ฉะนั้น ที่ตั้งที่มีโอกาสดีที่สุดในการค้นพบสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคารอาจเป็นในสิ่งแวดล้อมใต้พื้นผิว การเข้าใจน้ำบนดาวอังคารสำคัญต่อการประเมินศักยภาพของดาวในการรองรับสิ่งมีชีวิตและให้ทรัพยากรที่ใช้ได้สำหรับการสำรวจของมนุษย์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้ "ตามน้ำ" จึงเป็นแก่นวิทยาศาสตร์ของโครงการสำรวจดาวอังคารของนาซาในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21 การค้นพบโดย 2001 มาร์สโอดิสซีย์ (2001 Mars Odyssey) มาร์สเอ็กซ์พลอเรชันโรเวอร์ส (Mars Exploration Rovers) มาร์รีคอนนิเซินออร์บิเตอร์ (Mars Reconnaissance Orbiter) และมาร์สฟีนิกซ์แลนเดอร์ (Mars Phoenix Lander) มีส่วนสำคัญในการตอบคำถามสำคัญเกี่ยวกับปริมาณและการกระจายของน้ำบนดาวอังคาร ส่วนโคจรมาร์สเอ็กซ์เพรส (Mars Express) ขององค์การอวกาศยุโรปยังให้ข้อมูลที่สำคัญในภารกิจนี้ มาร์สโอดิสซีย์ มาร์สเอ็กซ์เพรส โรเวอร์ออพพอร์ทูนิตี (Opportunity) มาร์รีคอนนิเซินออร์บิเตอร์ และโรเวอร์ คิวริออสซิตี (Curiosity) ยังส่งข้อมูลกลับจากดาวอังคาร และยังมีการค้นพบอยู่เรื่อ.

ใหม่!!: นาซาและน้ำบนดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเหลวนอกโลก

กระแสน้ำพุร้อนใน Palikir Crater (ภายใน Newton crater) ของดาวอังคาร ในขณะที่มีหลักฐานที่สนใจ แต่ไม่สามารถสรุปได้ว่าเป็นข้อมูลของน้ำจากดาวข้างนอก,จนถึงขณะนี้ได้มีการยืนยันโดยตรง น้ำเหลวนอกโลก (Extraterrestrial liquid water) คือน้ำในสภาพของเหลวที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตินอกโลก เป็นที่น่าสนใจอย่างมาก เพราะเป็นที่ยอมรับว่าเป็นหนึ่งในสิ่งที่จำเป็นสำหรับชีวิตตามที่เรารู้จักและเป็นที่คาดเดาอย่างสำคัญสำหรับสิ่งมีชีวิตนอกโลก ด้วยน้ำในมหาสมุทรที่ปกคลุม 71% ของพื้นผิว, โลกยังเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่รู้จักกันดีว่ามีแหล่งน้ำที่เป็นของเหลวบนพื้นผิวของมัน และน้ำที่เป็นของเหลวเป็นสิ่งจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทุกเผ่าพันธุ์บนโลก การปรากฏตัวของน้ำบนผิวโลกเป็นผลมาจากความดันบรรยากาศ และวงโคจรที่เสถียรในเขตอาศัยได้ของดวงอาทิตย์ แม้ว่าต้นกำเนิดของน้ำบนโลกยังไม่ทราบแน่ชัด วิธีการหลักที่ใช้ในการยืนยัน คือ การดูดซึมของสเปกโทรโฟโตเมตรี (Absorption spectroscopy) และทางธรณีเคมี (Geochemistry) เทคนิคเหล่านี้ได้รับการพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพสำหรับบรรยากาศไอน้ำ และน้ำแข็ง อย่างไรก็ตามการใช้วิธีการปัจจุบันของ สเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ (Astronomical spectroscopy) ซึ่งเป็นเรื่องยากมากที่จะตรวจจับน้ำเหลวบนดาวเคราะห์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของน้ำใต้ดิน เนื่องจากนี้นักดาราศาสตร์ชีววิทยา และนักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ได้ใช้ทฤษฎีเขตอาศัยได้, ทฤษฎีแรงโน้มถ่วง และทฤษฎีน้ำขึ้นน้ำลง, รูปแบบของความแตกต่างของดาวเคราะห์ และเรดิโอมิตรี (Radiometry) เพื่อตรวจสอบศักยภาพของน้ำเหลว น้ำที่สังเกตได้จากภูเขาไฟสามารถให้หลักฐานทางอ้อมที่น่าสนใจมากขึ้น, เป็นคุณสมบัติของแม่น้ำและการปรากฏตัวของสารป้องกันการแข็งตัว เช่น เกลือหรือแอมโมเนีย การใช้วิธีการดังกล่าวนักวิทยาศาสตร์หลายคนอนุมานว่าน้ำของเหลวเคยปกคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ไว้ของ ดาวอังคาร และดาวศุกร์ ที่คิดว่าน้ำเป็นของเหลวใต้พื้นผิวของดาวเคราะห์บางดวง, คล้ายกับน้ำบาดาลของโลก,ไอน้ำถือเป็นหลักฐานที่แน่ชัดว่ามีของเหลวอยู่ในน้ำ แม้ว่าไอน้ำในชั้นบรรยากาศอาจพบได้ในหลายแห่งที่น้ำของเหลวไม่ได้.

ใหม่!!: นาซาและน้ำเหลวนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

แบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยน

แบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยน (Battleship) เป็นภาพยนตร์แนวนิยายวิทยาศาสตร์สงครามยุทธนาวีของอเมริกัน..

ใหม่!!: นาซาและแบทเทิลชิป ยุทธการเรือรบพิฆาตเอเลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

แฟตเฟสติวัล

แฟตเฟสติวัล เป็นเทศกาลดนตรีในประเทศไทย ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีโดย สถานีวิทยุ 104.5 แฟตเรดิโอ เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ 1 - 2 กันยายน พ.ศ. 2544 ที่โรงงานยาสูบเก่า เป็นจัดเป็นประจำเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน เดิมมีสปอนเซอร์หลักเป็นเบียร์ไฮเนเก้น ทำให้ใช้ชื่องานเทศกาลว่า "ไฮเนเก้น แฟตเฟสติวัล" แต่ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงสปอนเซอร์ ทำให้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ "แฟตเฟสติวัล" ในปัจจุบัน ลักษณะของงาน จะเป็นเทศกาลที่มุ่งเน้นกิจกรรมทางดนตรีเป็นหลัก จัดขึ้นปีละครั้ง แต่ละครั้งจะจัดขึ้นเป็นเวลา 2 วัน คือวันเสาร์และอาทิตย์แรกหรือที่สองของเดือนพฤศจิกายน ตั้งแต่เที่ยงวันไปจนถึงเที่ยงคืน โดยเปลี่ยนแปลงสถานที่จัดไปเรื่อยๆ ทุกปี.

ใหม่!!: นาซาและแฟตเฟสติวัล · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน (Fan Pan Tae Superfan) รายการเกมโชว์ของไทยจากเวิร์คพอยท์ ดำเนินรายการโดยกันต์ กันตถาวร ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 21.00 - 22.00 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ออกอากาศเทปแรกเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: นาซาและแฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน · ดูเพิ่มเติม »

แฟนแทสติกโฟร์

แฟนแทสติกโฟร์ (Fantastic Four)เป็นบันเทิงคดีเกี่ยวกับซูเปอร์ฮีโร่ซึ่งเป็นกลุ่มคน 4 คนเป็นหนังสือการ์ตูนวางจำหน่ายโดยมาร์เวลคอมิกส์ คอมิคเล่มแรกก็คือ The Fantastic Four #1 (พฤศจิกายน 1961) แฟนแทสติกโฟร์เป็นกลุ่มซูเปอร์ฮีโร่แรกๆ เขียนและแก้ไขโดย สแตน ลี และผู้วาดภาพ / และช่วยแต่งเนื้อเรื่อง คือ แจ็ค เคอร์บี้.

ใหม่!!: นาซาและแฟนแทสติกโฟร์ · ดูเพิ่มเติม »

แพลงก์ตอนพืช

แพลงก์ตอนพืชชนิดและรูปร่างต่าง ๆ ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กไม่ถึงมิลลิเมตร ไดอะตอม สิ่งมีชีวิตหลักกลุ่มหนึ่งในแพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนพืช หรือ ไฟโทแพลงก์ตอน (Phytoplankton) มีรากศัพท์จากภาษากรีกว่า φυτόν (ฟิตอน) หมายถึง "พืช" และ πλαγκτός (พลังค์ตอส) หมายถึง "ผู้เดินทาง" หรือ "ผู้เร่ร่อน" คือแพลงก์ตอนที่สามารถสังเคราะห์แสงและสร้างอาหารเองได้ สิ่งมีชีวิตกลุ่มหลักของแพลงก์ตอนพืชประกอบด้วย ไดอะตอม สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีทอง ไดโนแฟลกเจลเลต และไซยาโนแบคทีเรีย (สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เนื่องจากเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิของห่วงโซ่และสายใยอาหาร พบได้ทั้งในระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศน้ำเค็ม ตลอดจนในระบบนิเวศน้ำกร่อย แพลงก์ตอนพืชส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกสาหร่าย ทั้งที่เป็นโพรแคริโอตและยูแคริโอต โดยในแหล่งน้ำจืดจะพบสาหร่ายสีเขียว โดยเฉพาะในอันดับเดสมิด เป็นกลุ่มหลัก ส่วนในแหล่งน้ำเค็มอย่างทะเลและทะเลสาบ พบว่าแพลงก์ตอนพืชกลุ่มหลักคือกลุ่มไดอะตอมและไดโนแฟลกเจลเลต ในทางชีววิทยา แพลงก์ตอนพืชบางสปีชี่ส์จัดอยู่ในอาณาจักรพืช เช่น สาหร่ายสีเขียว บางชนิดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา เช่น ไดอะตอม สาหร่ายสีทอง บางชนิดอยู่ในกลุ่มเฮเทอโรคอนท์ ซึ่งไม่ได้จัดอันดับไว้ (จำพวกไดโนแฟลกเจลเลต) และบางชนิดถูกจัดอยู่ในอาณาจักรยูแบคทีเรีย เช่น ไซยาโนแบคทีเรีย แพลงก์ตอนพืชยังเป็นอาหารของแพลงก์ตอนสัตว์และสัตว์หลายชนิดที่อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำหรือท้องทะเล สัตว์บางชนิดมีอวัยวะคล้ายตาข่ายเพื่อดักจับแพลงก์ตอนพืชโดยเฉพาะ เช่น กุ้งเคย ห่วงโซ่อาหารหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดคือ แพลงก์ตอนพืช → กุ้งเคย → วาฬ มนุษย์นำแพลงก์ตอนพืชมาใช้ประโยชน์ในหลายทาง แพลงก์ตอนบางชนิดมีคุณค่าทางอาหารสูง จึงถูกนำไปใช้เป็นอาหารเสริมหรือเป็นส่วนประกอบของอาหารเสริม บางชนิดถูกนำไปใช้เป็นอาหารให้แก่สัตว์น้ำวัยอ่อนที่ต้องการเพาะพันธุ์ แพลงก์ตอนพืชที่มีปริมาณมากและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแหล่งน้ำใด ๆ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ ทำให้น้ำเปลี่ยนสีเป็นสีเขียว แดง น้ำตาล หรือเหลือง ขึ้นอยู่กับชนิดของแพลงก์ตอนพืช เช่น ไดโนแฟลกเจลเลตอย่าง Noctiluca scintillans ทำให้น้ำเป็นสีเขียว Ceratium furca ทำให้น้ำเป็นสีน้ำตาล เป็นต้น แพลงก์ตอนพืชปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เนื่องจากทำให้น้ำขาดออกซิเจนหรือลดลงอย่างมาก หรือทำให้เกิดภาวะสะสมของสารพิษที่มาจากตัวแพลงก์ตอน แพลงก์ตอนพืชมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการผลิตออกซิเจน นักชีววิทยาคาดการณ์ว่าปริมาณออกซิเจนถึงร้อยละ 50–80 ในชั้นบรรยากาศโลกผลิตขึ้นจากแพลงก์ตอนพืช ปัจจุบันแพลงก์ตอนพืชมีจำนวนลดลงอย่างมาก ซึ่งปัจจัยสำคัญคือน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้น ตั้งแต..

ใหม่!!: นาซาและแพลงก์ตอนพืช · ดูเพิ่มเติม »

แฮม (ชิมแปนซี)

แฮม เดอะ ชิมป์ แฮม (ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 19 มกราคม พ.ศ. 2526) เป็นชื่อของลิงชิมแปนซีในโครงการสำรวจอวกาศของนาซา ถูกส่งขึ้นไปกับยานอวกาศเมอร์คิวรี MR-2 เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2504 และกลับลงสู่พื้นโลก ในมหาสมุทรแอตแลนติก อย่างปลอดภัยในวันเดียวกัน ชื่อ แฮม มาจากชื่อย่อของ Holloman Aerospace Medical Center ซึ่งเป็นศูนย์ฝึกเพื่อเตรียมความพร้อมของมันสำหรับในโครงการนี้ ตั้งอยู่ในฐานทัพอากาศฮอลโลแมน รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา การส่งแฮมขึ้นสู่อวกาศ เป็นการทดสอบความปลอดภัย ก่อนจะมีการส่งมนุษย์อวกาศคนแรกของสหรัฐ อลัน เชพพาร์ด ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 หลังจากกลับมาได้อย่างปลอดภัย แฮมถูกส่งไปเลี้ยงดูที่สวนสัตว์ในวอชิงตันดีซี และนอร์ทแคโรไลน.

ใหม่!!: นาซาและแฮม (ชิมแปนซี) · ดูเพิ่มเติม »

แผนลวงสะท้านโลก

แผนลวงสะท้านโลก (Deception Point) เป็นนวนิยายแนววิทยาศาสตร์/ระทึกขวัญ ผลงานชิ้นที่ 3 ของแดน บราวน์ ผู้ประพันธ์ รหัสลับดาวินชี เนื้อเรื่องเกี่ยวข้องกับการค้นพบสิ่งมีชีวิตนอกโลก โดยมีการเมืองอยู่เบื้องหลัง.

ใหม่!!: นาซาและแผนลวงสะท้านโลก · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์

แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์ คือแผ่นบันทึกที่ติดอยู่กับยานสำรวจอวกาศ 2 ลำ ภายใต้โครงการวอยเอจเจอร์ที่ปล่อยขึ้นสู่อวกาศในปี..

ใหม่!!: นาซาและแผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แถบดาวเคราะห์น้อย

กราฟิกแสดงอาณาเขตของแถบดาวเคราะห์น้อย แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์ มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตรKrasinsky, G. A.; Pitjeva, E. V.; Vasilyev, M. V.; Yagudina, E. I. (July 2002).

ใหม่!!: นาซาและแถบดาวเคราะห์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

แถบไคเปอร์

กราฟิกแสดงแถบไคเปอร์ และเมฆออร์ต ภาพแสดงวัตถุพ้นดาวเนปจูนขนาดใหญ่ ที่เป็นที่รู้จักแล้วในปัจจุบัน ยานนิวฮอไรซันส์ ที่ใช้ในการสำรวจแถบไคเปอร์ และดาวพลูโต แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) หมายถึง บริเวณที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ที่ด้านนอกระบบสุริยะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้านไมล์ มีก้อนวัตถุแข็ง เป็นน้ำแข็งขนาดเล็กจำนวนมากโคจรรอบดวงอาทิตย์ ลักษณะคล้ายกับแถบดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า วัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object - KBO) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า วัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง เชื่อกันว่าก้อนน้ำแข็งเหล่านี้ เป็นแหล่งกำเนิดของดาวหางคาบสั้น โดยชื่อแถบไคเปอร์นี้ ได้ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เจอราร์ด ไคเปอร์ ผู้ค้นพบ เดิมทีวัตถุที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ถูกค้นพบในแถบไคเปอร์ คือ ดาวพลูโต ซึ่งถูกค้นพบเมื่อ..

ใหม่!!: นาซาและแถบไคเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แทรปพิสต์-1

แทรปพิสต์-1 (TRAPPIST-1) หรือ 2MASS J23062928-0502285 เป็นดาวฤกษ์แคระเย็นจัด (ultra-cool dwarf star) ตั้งอยู่ห่างออกไป 39.5 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ ทีมนักดาราศาสตร์นำโดยมีกาแอล ฌียง (Michaël Gillon) แห่งสถาบันดาราศาสตร์ฟิสิกส์และธรณีฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยลีแยฌ ประเทศเบลเยียม ใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กสำหรับตรวจจับการผ่านหน้าของดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แรกเริ่ม (Transiting Planets and Planetesimals Small Telescope; TRAPPIST) ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์ในหอดูดาวลาซียาในทะเลทรายอาตากามา ประเทศชิลี เพื่อสังเกตดาวฤกษ์และค้นหาดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์นี้ เทคนิคที่ใช้ค้นหาคือการตรวจสอบการเคลื่อนผ่านหน้าดาวฤกษ์ ทำให้พวกเขาค้นพบดาวเคราะห์ขนาดใกล้เคียงกับโลกจำนวน 3 ดวงโคจรรอบดาวฤกษ์แคระแดงดวงนี้ ดาวเคราะห์ชั้นในสุดสองดวงอยู่ใต้ภาวะไทดัลล็อกกับดาวฤกษ์แม่ คือจะหันหน้าเพียงด้านเดียวเข้าหาดาวฤกษ์แม่ตลอดเวลา ส่วนอีกหนึ่งดวงอยู่ในเขตอาศัยได้ (habitable zone) ทีมนักดาราศาสตร์เฝ้าสังเกตการณ์ตั้งแต่ช่วงเดือนกันยายนถึงธันวาคม..

ใหม่!!: นาซาและแทรปพิสต์-1 · ดูเพิ่มเติม »

แทรปพิสต์-1เอฟ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: นาซาและแทรปพิสต์-1เอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แขนนายพราน

รงสร้างที่สังเกตของแขนชนิดก้นหอยของทางช้างเผือกhttp://planetquest.jpl.nasa.gov/system/interactable/7/index.html See the "Spiral Arms" part of this NASA animation for details แขนนายพราน (Orion Arm) เป็นแขนชนิดก้นหอยย่อยของดาราจักรทางช้างเผือก กว้าง 3,500 ปีแสง (1,100 พาร์เซก) และยาวประมาณ 10,000 ปีแสง (3,100 พาร์เซก) ระบบสุริยะและโลกอยู่ในแขนนายพราน นอกจากนี้ แขนนายพรานยังมีชื่อเรียกเต็มว่า แขนหงส์-นายพราน รวมไปถึง แขนท้องถิ่น, สะพานนายพราน, เดือยท้องถิ่น และเดือยนายพราน แขนนายพราน ตั้งชื่อตามชื่อกลุ่มดาวนายพราน ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มดาวที่โดดเด่นที่สุดในฤดูหนาวทางซีกโลกเหนือ (หรือฤดูร้อนทางซีกโลกใต้) ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดและเทห์วัตถุที่มีชื่อเสียงที่สุดในกลุ่มดาวนายพราน (ดาวบีเทลจุส ดาวไรเจล ดาวฤกษ์ในเข็มขัดนายพราน เนบิวลานายพราน) อยู่ในแขนนายพราน ดังที่แสดงในแผนที่อินเตอร์แอคทีฟด้านล่าง แขนท้องถิ่นตั้งอยู่ระหว่างแขนซาจิตทาเรียส-แครินา (เข้าใกล้ศูนย์กลางดาราจักร) และแขนเพอร์ซีอุส (เข้าใกล้เอกภพด้านนอก) แขนเพอร์ซีอุสเป็นหนึ่งในสองแขนหลักของดาราจักรทางช้างเผือก แต่ก่อน "เดือย" ระหว่างแขนเพอร์ซีอุสและแขนซาจิตทาเรียส-แครินา ที่ติดกันเคยคาดกันว่าเป็นโครงสร้างย่อย ปัจจุบันมีการนำเสนอหลักฐานในกลางปี 2556 ว่า เดือยดังกล่าวแท้จริงแล้วอาจเป็นแขนงของแขนเพอร์ซีอุส หรืออาจเป็นแขนอิสระส่วนหนึ่งก็ได้ ในแขนนายพราน ระบบสุริยะและโลกตั้งอยู่ใกล้กับขอบด้านในในฟองท้องถิ่น ราวครึ่งหนึ่งของความยาวแขนนายพราน คือ ราว 8,000 พาร์เซ็ก (26,000 ปีแสง) จากศูนย์กลางดาราจักร.

ใหม่!!: นาซาและแขนนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

แครอน (ดาวบริวาร)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: นาซาและแครอน (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

แคปริคอร์นวัน

แคปริคอร์นวัน (Capricorn One) ส่วนชื่อภาษาไทย คือ "แผนลวงโลก" เป็นภาพยนตร์กำกับและเขียนบทโดย ปีเตอร์ ไอแฮมส์ (Peter Hyams) เป็นภาพยนตร์ลักษณะชีวิต / วิทยาศาสตร์ / เขย่าขวัญ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวโครงการเดินทางสู่ดาวอังคารขององค์การนาซา ล้มเหลว และตกอยู่ในภาวะเสี่ยงอันตราย ดังนั้พวกเขาจึงตัดสินใจกุเรื่องการเดินทางไปเยือนดาวอังคารขึ้นมา โดยที่ต้องปกปิดความลับทั้งหมดเอาไว้.

ใหม่!!: นาซาและแคปริคอร์นวัน · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 125

แซรอสชุดที่ 125 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 125 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 12 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 4 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 34 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1060 - ค.ศ. 2358 กินเวลาทั้งสิ้น 1298.17 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 125 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 126

แซรอสชุดที่ 126 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 126 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 28 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 10 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1179 - ค.ศ. 2459 กินเวลาทั้งสิ้น 1280.14 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 126 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 127

แซรอสชุดที่ 127 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 82 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 127 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 42 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 991 - ค.ศ. 2452 กินเวลาทั้งสิ้น 1460.44 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 127 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 128

แซรอสชุดที่ 128 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 128 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 24 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 4 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 32 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 984 – ค.ศ. 2282 กินเวลาทั้งสิ้น 1298.17 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 128 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 129

แซรอสชุดที่ 129 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 80 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 129 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 29 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 9 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 19 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1103 – ค.ศ. 2528 กินเวลาทั้งสิ้น 1424.38 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 129 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 130

แซรอสชุดที่ 130 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 130 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1096 – ค.ศ. 2394 กินเวลาทั้งสิ้น 1298.17 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 130 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 131

แซรอสชุดที่ 131 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 131 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 6 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 5 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 30 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1125 – ค.ศ. 2369 กินเวลาทั้งสิ้น 1244.08 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 131 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 132

แซรอสชุดที่ 132 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 132 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 33 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 7 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1208 – ค.ศ. 2470 กินเวลาทั้งสิ้น 1262.11 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 132 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 133

แซรอสชุดที่ 133 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 133 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 12 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 6 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 46 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1219 – ค.ศ. 2499 กินเวลาทั้งสิ้น 1280.14 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 133 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 134

แซรอสชุดที่ 134 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 134 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 8 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 16 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 30 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1248 – ค.ศ. 2510 กินเวลาทั้งสิ้น 1262.11 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 134 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 135

แซรอสชุดที่ 135 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 135 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 45 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 6 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1331 – ค.ศ. 2593 กินเวลาทั้งสิ้น 1262.11 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 135 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 136

ลื่อนไหวแนวคราสของชุดแซรอส 136 วันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1865สมาชิกลำดับที่ 29 วันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1883 สังเกตการณ์จากเกาะแคโรไลน์ในปี ค.ศ. 1883 คณะสำรวจนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกาเดินทางจากเปรูไปยังเกาะแคโรไลน์โดยเรือยูเอสเอสฮาร์ตฟอร์ด (USS Hartford) เพื่อไปสังเกตการณ์สุริยุปราคาเต็มดวงในวันที่ 6 พฤษภาคม ส่วนคณะสำรวจชาวฝรั่งเศสก็ได้สังเกตการณ์อยู่บนเกาะแคโรไลน์เช่นกัน http://www.economicexpert.com/a/Caroline:Island.htmสมาชิกลำดับที่ 30 วันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1919 สังเกตการณ์จากเกาะปรินซิปี ตำแหน่งของภาพดาวภายในอาณาเขตใกล้ดวงอาทิตย์ถูกใช้พิสูจน์คำทำนายการขึ้นรูปของแสงรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ จากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของเขาสมาชิกลำดับที่ 32 วันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 จากคอสตาริกาสมาชิกลำดับที่ 36 วันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 จากบังกลาเทศสมาชิกลำดับที่ 37 แซรอสชุดที่ 136 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 136 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 6 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 6 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 44 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1360 – ค.ศ. 2622 กินเวลาทั้งสิ้น 1262.11 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 136 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 137

แซรอสชุดที่ 137 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 137 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 10 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 6 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 4 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 32 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1389 – ค.ศ. 2633 กินเวลาทั้งสิ้น 1244.08 ปี.

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 137 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 138

แซรอสชุดที่ 138 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 138 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 50 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 3 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1472 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 138 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139

แซรอสชุดที่ 139 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 139 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 12 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1501 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 140

แซรอสชุดที่ 140 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 140 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 11 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 32 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 16 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1512 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 140 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 141

แซรอสชุดที่ 141 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 141 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 41 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1613 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 141 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 142

แซรอสชุดที่ 142 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 142 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1624 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 142 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 143

แซรอสชุดที่ 143 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 143 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 12 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 26 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1617 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 143 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 144

แซรอสชุดที่ 144 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 144 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1736 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 144 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 145

ลื่อนไหวแนวคราสของชุดแซรอส 145 แซรอสชุดที่ 145 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 77 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 145 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 14 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 1 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 41 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1639 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 145 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 146

แซรอสชุดที่ 146 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 76 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 146 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 13 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 24 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 13 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1541 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 146 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 147

แซรอสชุดที่ 147 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 80 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 147 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 40 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 19 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1624 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 147 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 148

แซรอสชุดที่ 148 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 75 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 148 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 2 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 40 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 12 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1653 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 148 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 149

แซรอสชุดที่ 149 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 149 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 17 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 23 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1664 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 149 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 150

แซรอสชุดที่ 150 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 150 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 40 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1729 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 150 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 151

แซรอสชุดที่ 151 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 151 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 18 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 6 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1776 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 151 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 152

แซรอสชุดที่ 152 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 152 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 30 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 22 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1805 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 152 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 153

แซรอสชุดที่ 153 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 153 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 13 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 49 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1870 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 153 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 154

แซรอสชุดที่ 154 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 154 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 17 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 36 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1917 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 154 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155

แซรอสชุดที่ 155 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 155 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 33 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 20 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1928 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 156

แซรอสชุดที่ 156 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 69 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 156 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 52 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 2011 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 156 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 157

แซรอสชุดที่ 157 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 157 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 19 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 34 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 2058 –..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 157 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 158

แซรอสชุดที่ 158 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 158 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 35 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 16 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 158 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 159

แซรอสชุดที่ 159 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง 49 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 159 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 160

แซรอสชุดที่ 160 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่ง 46 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 160 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 161

แซรอสชุดที่ 161 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่ง 46 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 161 · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 162

แซรอสชุดที่ 162 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่ง 42 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..

ใหม่!!: นาซาและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 162 · ดูเพิ่มเติม »

ใบหน้าบนดาวอังคาร

ใบหน้าบนดาวอังคาร ถ่ายโดยยานไวกิ้ง ใบหน้าบนดาวอังคาร (Face on Mars) เป็นรูปร่างของพื้นผิวขนาดยาวประมาณ 3 ก.ม.และกว้างประมาณ 1.5 ก.ม. ที่ตั้งอยู่ที่บริเวณที่เรียกว่าไซโดเนียบนดาวอังคารซึ่งอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรประมาณ 10 องศา ภาพนี้ถูกถ่ายครั้งแรกโดยยานไวกิ้ง 1 เมื่อ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1976 ในวงโคจรดาวอังคารและถูกนำมาเผยแพร่โดยนาซาในอีกหกวันต่อมา เมื่อภาพนี้ถูกเผยแพร่ออกไป เกิดเป็นกระแสมากมาย เช่น บ้างก็ว่าเป็นอารายธรรมของมนุษย์ดาวอังคาร แต่บ้างก็เชื่อว่า เป็นภูเขาบนดาวอังคารที่ถูกแสงและเงาตกกระทบกันพอดีจึงทำให้ดูคล้ายใบหน้ามนุษย์ แต่ความจริงแล้วภาพนี้แท้จริงเป็นแพริโดเลียประการหนึ่ง ที่ทำให้มองว่าคล้ายใบหน้ามนุษย์ ซึ่งที่จริงเป็นแสงและเงาที่ตกกระกันบนภูเขาของดาวอังคาร เมื่อถ่ายอีกครั้ง ณ สถานที่เดิมก็ไม่ปรากฏภาพในลักษณะเช่นนี้อีก.

ใหม่!!: นาซาและใบหน้าบนดาวอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

โบอิง 737

รื่องบินโบอิง 737-800 ของซันเอ็กซ์เพรส Boeing 737-800 โบอิง 737 เป็นเครื่องบินโดยสารที่มีพิสัยบินระยะปานกลาง ลำตัวแคบ ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ผลิตโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง โดยนับตั้งแต่วันที่ได้ทดสอบการบินครั้งแรกเมื่อ 9 เมษายน..

ใหม่!!: นาซาและโบอิง 737 · ดูเพิ่มเติม »

โฟมัลฮอต

ฟมัลฮอต (Fomalhaut) หรือ อัลฟาปลาใต้ (α PsA / α Piscis Austrini) เป็นดาวฤกษ์สว่างที่สุดในกลุ่มดาวปลาใต้ และเป็นหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์สว่างที่สุดบนท้องฟ้า หากอยู่ในซีกโลกเหนือ จะสามารถมองเห็นดาวโฟมัลฮอตได้ทางเกือบขอบฟ้าด้านทิศใต้ในช่วงเย็นต้นฤดูหนาว ใกล้กับเส้นละติจูด 50˚เหนือ ดาวจะตกลับขอบฟ้าเมื่อดาวซิริอุสปรากฏขึ้น และจะไม่ปรากฏขึ้นอีกจนกว่าดาวปาริชาต (Antares) จะตกลับไป ชื่อ "โฟมัลฮอต" มีความหมายว่า "ปากวาฬ" มาจากคำภาษาอารบิกว่า فم الحوت fum al-ḥawt ดาวฤกษ์นี้จัดเป็นดาวฤกษ์ระดับ A ในแถบลำดับหลัก อยู่ห่างจากโลกประมาณ 25 ปีแสง ถือเป็นดาวฤกษ์แบบคล้ายเวกา ซึ่งแผ่รังสีอินฟราเรดออกมาจำนวนมาก บ่งชี้ว่าดาวนี้มีแผ่นจานฝุ่นล้อมรอบ ดาวโฟมัลฮอตเป็นดาวฤกษ์สำคัญดวงหนึ่งในการศึกษาดาวเคราะห์นอกระบบ เนื่องจากเป็นระบบดาวฤกษ์แห่งแรกที่มีดาวเคราะห์นอกระบบ โฟมัลฮอตบี ซึ่งถูกถ่ายภาพไว้ได้ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น ภาพนี้ตีพิมพ์ในวารสาร Science เมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: นาซาและโฟมัลฮอต · ดูเพิ่มเติม »

โฟโตสเฟียร์

ฟโตสเฟียร์ (Photosphere) ของวัตถุทางดาราศาสตร์ หมายถึงย่านรอบนอกของวัตถุที่ส่งผ่านแสง คำนี้มาจากภาษากรีกโบราณว่า φως¨- φωτος/photos (โฟตอส) แปลว่า "แสง" และ σφαιρα/sphaira (สไฟรา) แปลว่า "ลูกบอล" ซึ่งสื่อถึงรูปร่างลักษณะของมันที่คล้ายพื้นผิวลูกบอลกลมที่ส่องแสงออกมา ย่านโฟโตสเฟียร์นี้กินพื้นที่ลึกลงไปในพื้นผิวของดาวฤกษ์จนกระทั่งแก๊สกลายเป็นทึบแสง ซึ่งเทียบเท่าค่า optical depth ที่ 2/3.

ใหม่!!: นาซาและโฟโตสเฟียร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรนารีวิทยา

รงเรียนสุรนารีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ร.น., S.R.N) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดนครราชสีมาประเภทโรงเรียนหญิงล้วน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสุรนารีวิทยา ได้จัดการศึกษาจนเป็นที่ยอมรับของสังคมในการเป็นสถานศึกษาชั้นนำของโรงเรียนมัธยมศึกษาของไทย เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาประจำปีการศึกษา 2523 และได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำปีการศึกษา 2535 โรงเรียนสุรนารีวิทยาเป็นโรงเรียนที่มีต้นกำเนิดของโรงเรียนมัธยมแบบประสม (Comprehensive School) แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งได้รับการพัฒนาด้วยความเอาใส่ ทุ่มเท เสียสละอย่างต่อเนื่องจากผู้บริหาร บุคลากรของโรงเรียนตลอดจนนักเรียนและสังคมตลอดม.

ใหม่!!: นาซาและโรงเรียนสุรนารีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด

รเบิร์ต ฮัทชิงส์ ก็อดเดิร์ด (Robert Hutchings Goddard, Ph.D.; 5 ตุลาคม ค.ศ. 1882 - 10 สิงหาคม ค.ศ. 1945) เป็นอาจารย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันที่ริเริ่มการค้นคว้าจรวดที่ใช้เชื้อเพลิงเหลวในการควบคุม เขายิงจรวดลำแรกของโลกที่ใช้เชื้อเพลิงเหลวเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1926 จากนั้นระหว่างปี..

ใหม่!!: นาซาและโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: นาซาและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โอไรออน (ยานอวกาศ)

นลูกเรืออเนกประสงค์โอไรออน (Orion Multi-Purpose Crew Vehicle, MPCV) เป็นยานอวกาศซึ่งตั้งใจบรรทุกลูกเรือนักบินอวกาศสูงสุดสี่คนไปเป้าหมายที่หรือพ้นวงโคจรต่ำของโลก (LEO) นาซากำลังพัฒนาเพื่อปล่อยบนระบบปล่อยอวกาศ ปัจจุบัน ตั้งใจให้โอไรออนอำนวยความสะดวกการสำรวจดาวเคราะห์น้อยและดาวอังคารของมนุษย์ ตลอดจนให้ลูกเรือและขีดความสามารถการขนส่งสัมภาระไปและกลับจากสถานีอวกาศนานาชาติ นาซาประกาศ MCOV เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2554 การออกแบบอาศัยยานสำรวจลูกเรือโอไรออนจากโครงการคอนสตัลเลชัน (Constellation program) ที่ถูกยกเลิก มีสองมอดูลหลัก ล็อกฮีดมาร์ตินกำลังสร้างมอดูลสั่งการโอไรออนที่ศูนย์ประกอบมีชู (Michoud Assembly Facility) ในนิวออร์ลีนส์ ส่วนแอร์บัสกลาโหมและอวกาศกำลังสร้างมอดูลบริการโอไรออน จัดโดยองค์การอวกาศยุโรป เที่ยวบินทดสอบแรกของ MPCV เรียก การทดสอบการบินสำรวจ 1 (EFT-1) ถูกปล่อยบนจรวดเดลตา 4 เฮฟวีเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 บนเที่ยวบินนาน 4 ชั่วโมง 24 นาที ลงจอดที่เป้าหมายในมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อเวลา 10:29 เซ็นทรัล (ล่าช้าจากวันก่อนเพราะปัญหาเทคนิค) ภารกิจบรรทุกนักบินอวกาศแรกคาดว่ายังไม่เกิดจนปี 2559.

ใหม่!!: นาซาและโอไรออน (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

โอเมก้า สปีดมาสเตอร์

อเมก้า สปีดมาสเตอร์ โปรเฟสชันแนล (เลขอ้างอิงโอเมก้า: 3570.50.00) หรืออีกชื่อที่โอเมก้าเรียกว่า "มูนวอตช์" เป็นนาฬิกาไขลานด้วยมือซึ่งเปิดตัวในปี..

ใหม่!!: นาซาและโอเมก้า สปีดมาสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ คิททินเจอร์

ซฟ คิททินเจอร์ หรือ โจ คิทเทนเจอร์ มีชื่อเต็มว่า โจเซฟ วิลเลี่ยม คิททินเจอร์ 2 (Joseph Kittinger หรือ Joe Kittenger; ชื่อเต็ม Joseph William Kittinger II) เป็นชาวอเมริกัน เกิดในวันที่ เป็นนักบิน และเป็นผู้ทดสอบทดลองขับ เครื่องบินรุ่นต่าง ๆ ในกองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงการทดสอบการบินในองค์การนาซาด้ว.

ใหม่!!: นาซาและโจเซฟ คิททินเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 เริ่มใช้ย่านความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) ซึ่งประกอบด้วย ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 2-4 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 5-12 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 จึงเริ่มใช้ย่านความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) คือช่องสัญญาณที่ 26-60 (ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 35-60) ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มออกอากาศ จนถึง พ.ศ. 2517 ใช้ระบบสัญญาณแอนะล็อก ในการส่งแพร่ภาพขาวดำ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (National Television System Committee; NTSC) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Committee; FCC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเต็มเป็น Federal Communications Commission) ต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จึงเริ่มนำระบบการส่งแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที (Phase Alternating Line; PAL) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยคลื่นวิทยุ (Consultative Committee on International Radio; CCIR ปัจจุบันคือ ภาควิทยุคมนาคมโดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ International Telecommunication Union Radiocommunication Sector; ITU-R) เข้ามาใช้ในประเทศไทย และเริ่มออกอากาศด้วยภาพสี ภายใต้ระบบดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใต้กำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริ่มจากส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเริ่มดำเนินการในส่วนกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน จากนั้นก็เริ่มนำระบบดิจิทัล เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตรายการ และควบคุมการออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้กับกระบวนการส่งแพร่ภาพ ผ่านโครงข่ายอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยจะยุติการออกอากาศด้วยสัญญาณแอนะล็อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ส่วนระบบการออกอากาศด้วยช่องทางอื่น ซึ่งนำเข้ามาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service; MMDS) ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2556, ผ่านคลื่นวิทยุไมโครเวฟ ระหว่างปี..

ใหม่!!: นาซาและโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โครงการกระสวยอวกาศ–มีร์

รงการกระสวยอวกาศ-เมียร์ (Shuttle–Mir Program) เป็นโครงการความร่วมมือด้านอวกาศระหว่างรัสเซียกับสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับการที่กระสวยอวกาศของสหรัฐจะเดินทางไปเยือนสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย นักบินอวกาศของรัสเซียจะบินไปยังกระสวยอวกาศ ส่วนนักบินอวกาศสหรัฐจะบินไปยังยานโซยูซเพื่อเข้าปฏิบัติการระยะยาวบนสถานีอวกาศเมียร์ โครงการนี้ (ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า "เฟสหนึ่ง") มีวัตถุประสงค์จะให้ฝ่ายสหรัฐอเมริกาเรียนรู้จากประสบการณ์ของรัสเซียในการใช้ชีวิตอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานๆ และเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างชาติทั้งสองตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของทั้งสองประเทศ คือองค์การนาซ่า กับองค์การอวกาศสหพันธรัฐรัสเซีย (รอสคอสมอส) โครงการนี้ช่วยปูพื้นฐานโครงการความร่วมมือทางอวกาศในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "เฟสสอง" ของโครงการร่วม คือการก่อสร้างสถานีอวกาศนานาชาติ โครงการเริ่มต้นประกาศตัวในปี..

ใหม่!!: นาซาและโครงการกระสวยอวกาศ–มีร์ · ดูเพิ่มเติม »

โครงการวอยเอจเจอร์

เส้นทางการเดินทางของยานอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์เพื่อไปเยือนดาวเคราะห์รอบนอก และมีความเร็วสูงพอจะเดินทางออกนอกระบบสุริยะ โครงการวอยเอจเจอร์ (Voyager Program) คือชื่อโครงการยานสำรวจอวกาศแบบไม่ใช้คนบังคับของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยห้องทดลองการขับเคลื่อนด้วยไอพ่น และได้รับเงินทุนสนับสนุนจากองค์การนาซา ประกอบด้วยยานสำรวจอวกาศ 2 ลำคือ วอยเอจเจอร์ 1 และ วอยเอจเจอร์ 2 ซึ่งขึ้นสู่อวกาศเมื่อปี ค.ศ. 1977 ทำหน้าที่เก็บข้อมูลอันทรงคุณค่าเกี่ยวกับดาวเคราะห์และระบบสุริยะ โดยใช้ข้อมูลตำแหน่งดาวเคราะห์ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 แม้ในตอนแรกมันจะถูกออกแบบมาเพื่อใช้สำรวจศึกษาดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ แต่ยานทั้งสองยังสามารถปฏิบัติภารกิจของมันในห้วงอวกาศรอบนอกของระบบสุริยะต่อไปได้ ปัจจุบันนี้ยานทั้งสองกำลังอยู่บนเส้นทางที่มุ่งหน้าออกจากระบบสุริยะ หมวดหมู่:โครงการวอยเอจเจอร์ หมวดหมู่:ดาวพฤหัสบดี หมวดหมู่:ดาวเสาร์ หมวดหมู่:ดาวยูเรนัส หมวดหมู่:ดาวเนปจูน.

ใหม่!!: นาซาและโครงการวอยเอจเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โครงการวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์น

รงการวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์น (อังกฤษ: Lincoln Near-Earth Asteroid Research หรือ LINEAR) เป็นโครงวิจัยการร่วมกันระหว่าง กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา,องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา หรือองค์การนาซา,และสถาบันวิจัยลินคอล์นซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งในสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ในการค้นหาและติดตามดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก โดยเริ่มโครงงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2541 ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา ทีมงานสามารถตรวจพบวัตุถุต่างๆ กว่า 231,082 ชิ้น โดยในจำนวนนี้มีวัตถุกว่า 2,423 ชิ้น เป็นดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก และกว่า 279 ชิ้น เป็นดาวหาง วัตถุทุกชิ้นที่ค้นพบโดยโครงการนี้ถูกค้นพบโดยกล้องโทรทัศน์หุ่นยนต.

ใหม่!!: นาซาและโครงการวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

โครงการหอดูดาวเอก

รงการหอดูดาวเอก (Great Observatories Program) เป็นโครงการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ขนาดใหญ่ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา หรือนาซา ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่มีกำลังสูงมากจำนวน 4 ตัว ซึ่งสร้างผลสังเกตการณ์ที่มีอิทธิพลต่อวงการดาราศาสตร์เป็นอย่างสูง กล้องทั้งสี่ตัวออกแบบมาให้สามารถจับภาพวัตถุท้องฟ้าในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าได้.

ใหม่!!: นาซาและโครงการหอดูดาวเอก · ดูเพิ่มเติม »

โครงการอวกาศโซเวียต

รวดอาร์-7 โครงการอวกาศโซเวียต ประกอบด้วยการพัฒนา จรวด และ การสำรวจอวกาศเป็นโครงการที่จัดทำโดยอดีต สหภาพโซเวียตจากช่วงทศวรรษที่ 1930 จนถึงการ สลายตัว ในปี..

ใหม่!!: นาซาและโครงการอวกาศโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: นาซาและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

โซลาร์แม็กซิมัม

มวัฏจักรสุริยะล่าสุด โซลาร์แม็กซิมัม (solar maximum) หรือ โซลาร์แม็กซ์ (solar max) เป็นช่วงเวลาที่มีปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์สูงที่สุดในวัฏจักรสุริยะ ระหว่างโซลาร์แม็กซิมัม จุดดับบนดวงอาทิตย์จะปรากฏ โซลาร์แม็กซิมัมเป็นช่วงเวลาที่เส้นสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์บิดเบี้ยวไปมากที่สุดเนื่องจากสนามแม่เหล็กบนเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์หมุนด้วยอัตราเร็วกว่าขั้วดวงอาทิตย์เล็กน้อย วัฏจักรสุริยะแต่ละวัฏจักรกินเวลาเฉลี่ย 11 ปี โดยผลที่ได้จากการสังเกตพบว่าอยู่ระหว่าง 9 ถึง 14 ปีในวัฏจักรสุริยะใ.

ใหม่!!: นาซาและโซลาร์แม็กซิมัม · ดูเพิ่มเติม »

ไพโอเนียร์ 10

ไพโอเนียร์ 10 (เดิมได้ชื่อว่า ไพโอเนียร์เอฟ) เป็นยานสำรวจอวกาศอเมริกัน หนัก 258 กิโลกรัม ซึ่งบรรลุภารกิจแรกที่ดาวพฤหัสบดี จากนั้น ไพโอเนียร์ 10 เป็นยานอวกาศลำแรกที่ถึงความเร็วหลุดพ้นจากระบบสุริยะ ศูนย์วิจัยเอมส์นาซาในรัฐแคลิฟอร์เนียเป็นผู้ดำเนินโครงการสำรวจอวกาศดังกล่าว และทีอาร์ดับเบิลยูเป็นผู้ผลิตยาน หมวดหมู่:โครงการไพโอเนียร์.

ใหม่!!: นาซาและไพโอเนียร์ 10 · ดูเพิ่มเติม »

ไพโอเนียร์ 11

อเนียร์ 11 (Pioneer 11) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 6 เมษายน ค.ศ. 1973 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการไพโอเนียร์ เพื่อศึกษาแถบดาวเคราะห์น้อย,สภาพแวดล้อมรอบดาวพฤหัสบดี,ลมสุริยะ,รังสีคอสมิก และดาวเสาร์ และท้ายที่สุดได้ไกลออกไปในระบบสุริยะ และเฮลิโอสเฟียร์ เป็นการสำรวจแรกที่พบดาวเสาร์ และครั้งที่สองที่บินผ่านแถบดาวเคราะห์น้อย และดาวพฤหัสบดี แต่เนื่องจากข้อจำกัดของพลังงานและระยะทางมากมายในการสำรวจ การสื่อสารได้สูญหายไปตั้งแต่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995.

ใหม่!!: นาซาและไพโอเนียร์ 11 · ดูเพิ่มเติม »

ไมซ์กาแล็กซี

มซ์กาแล็กซี (Mice Galaxies) เป็นกาแล็กซีแบบสไปรัลสองกาแล็กซี อยู่ในกลุ่มดาวผมเบเรนิซ ห่างไปประมาณ290ล้านปีแสง ในกระจุกกาแล็กซีโคมา ในภาพด้านขวาคือNGC4676A ส่วนทางซ้ายคือNGC4676B เมื่อ290ล้านปีก่อน NGC4676A/NGC4676B เริ่มเข้าสุ่กระบวนการรวมตัวกันของกาแล็กซี โดยชื่อของกาแล็กซี ได้มาจากแขนของกาแล็กซีที่ยาวออกไป จากผลของแรงไทดัล เนื่องมาจากผลของแรงโน้มถ่วงที่เกิดขึ้นระหว่างส่วนใกล้กับส่วนไกลของกาแล็กซี เรียกว่า Galactic tide ภาพกาแล็กซีนี้ถูกถ่ายไว้โดย 2545 กล้องโทรทัศน์อวกาศฮับเบิล.

ใหม่!!: นาซาและไมซ์กาแล็กซี · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล กริฟฟิน

มเคิล ดักลาส กริฟฟิน (Michael Douglas Griffin) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1949 เป็นนักฟิสิกส์และวิศวกรการบินชาวอเมริกัน เข้ารับตำแหน่งผู้บริหารขององค์การนาซาตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: นาซาและไมเคิล กริฟฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล คอลลินส์

มเคิล คอลลินส์ (อังกฤษ: Michael Collins) (เกิด: 31 ตุลาคม ค.ศ. 1930; 86 ปี) เป็นนักบินอวกาศชาวอเมริกันและนักบินทดสอบ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มนักบินอวกาศสิบสี่คนที่สามในปีพ.ศ. 2506 เขาบินเข้าไปในอวกาศสองครั้ง ภารกิจแรกคือเจมินิ 10 ไมเคิล คอลลินส์ได้เข้าร่วมภารกิจโครงการอะพอลโล 11 เขาไปดวงจันทร์กับนีล อาร์มสตรอง และเอดวิน อัลดริน เขาเป็นหนึ่งใน 24 คนที่ได้เดินทางไปยังดวงจันทร์ เขาเดินทางมายังประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เมื่อปี..

ใหม่!!: นาซาและไมเคิล คอลลินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอ ซวิกกี 18

อ ซวิกกี 18 (I Zw 18) เป็นดาราจักรไร้รูปแบบแคระอยู่ประมาณ 59 ล้านปีแสง เป็นดาราจักรแรกที่ระบุไว้โดยนักดาราศาสตร์ชาวสวิส ฟริตซ์ ซวิกกี ในการสำรวจถ่ายภาพของดาราจักรในคริสต์ทศวรรษที่ 1930 การศึกษาที่หอดูดาวพาโลมาร์นำบางส่วนที่ผ่านมา 40 ปีนักดาราศาสตร์เชื่อว่าดาราจักรปะทุขึ้นด้วยพันล้านก่อตัวดาวปีหลังจากเพื่อนบ้านของดาราจักร ลักษณะดาราจักรอ่อนเยาว์ที่คล้ายคลึงกับ ไอ ซวิกกี 18 มักจะพบเฉพาะในเอกภพในยุคต้น กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลได้แต่พบลมดาวที่มีอายุมากกว่าที่มีอยู่ภายในดาราจักร การเสนอของการก่อดาวฤกษ์ของมันเริ่มต้นอย่างน้อยหนึ่งพันล้านปีที่ผ่านมาและอาจจะมากที่สุดเท่าที่หมื่นล้านปีที่ผ่านมา ดาราจักรจึงอาจจะเกิดขึ้นในเวลาเดียวกับที่ดาราจักรอื่น ๆ มากที.

ใหม่!!: นาซาและไอ ซวิกกี 18 · ดูเพิ่มเติม »

ไอลีน คอลลินส์

อลีน คอลลินส์ นาวาอากาศเอก ไอลีน แมรี คอลลินส์ (Eileen Marie Collins) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 ในเมืองเอลมิรา นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา อดีตนักบินทดสอบในกองทัพอากาศสหรัฐ ภายหลังรับตำแหน่งเป็นนักบินอวกาศแห่งองค์การนาซา ทั้งยังเป็นนักบินและผู้บังคับการกระสวยอวกาศหญิงคนแรกด้ว.

ใหม่!!: นาซาและไอลีน คอลลินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮพีเรียน (ดาวบริวาร)

ีเรียน (Greek: Ὑπερίων)เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ ค้นพบโดย William Bond,George Bond และ William Lassell ในปี 1848.

ใหม่!!: นาซาและไฮพีเรียน (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจน

รเจน (Hydrogen; hydrogenium ไฮโดรเจเนียม) เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอม 1 สัญลักษณ์ธาตุคือ H มีน้ำหนักอะตอมเฉลี่ย 1.00794 u (1.007825 u สำหรับไฮโดรเจน-1) ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุดและพบมากที่สุดในเอกภพ ซึ่งคิดเป็นมวลธาตุเคมีประมาณร้อยละ 75 ของเอกภพ ดาวฤกษ์ในลำดับหลักส่วนใหญ่ประกอบด้วยไฮโดรเจนในสถานะพลาสมา ธาตุไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหาได้ค่อนข้างยากบนโลก ไอโซโทปที่พบมากที่สุดของไฮโดรเจน คือ โปรเทียม (ชื่อพบใช้น้อย สัญลักษณ์ 1H) ซึ่งมีโปรตอนหนึ่งตัวแต่ไม่มีนิวตรอน ในสารประกอบไอออนิก โปรเทียมสามารถรับประจุลบ (แอนไอออนซึ่งมีชื่อว่า ไฮไดรด์ และเขียนสัญลักษณ์ได้เป็น H-) หรือกลายเป็นสปีซีประจุบวก H+ ก็ได้ แคตไอออนหลังนี้เสมือนว่ามีเพียงโปรตอนหนึ่งตัวเท่านั้น แต่ในความเป็นจริง แคตไอออนไฮโดรเจนในสารประกอบไอออนิกเกิดขึ้นเป็นสปีซีที่ซับซ้อนกว่าเสมอ ไฮโดรเจนเกิดเป็นสารประกอบกับธาตุส่วนใหญ่และพบในน้ำและสารประกอบอินทรีย์ส่วนมาก ไฮโดรเจนเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาเคมีกรด-เบส โดยมีหลายปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนโปรตอนระหว่างโมเลกุลละลายได้ เพราะเป็นอะตอมที่เรียบง่ายที่สุดเท่าที่ทราบ อะตอมไฮโดรเจนจึงได้ใช้ในทางทฤษฎี ตัวอย่างเช่น เนื่องจากเป็นอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเพียงชนิดเดียวที่มีผลเฉลยเชิงวิเคราะห์ของสมการชเรอดิงเงอร์ การศึกษาการพลังงานและพันธะของอะตอมไฮโดรเจนได้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม มีการสังเคราะห์แก๊สไฮโดรเจนขึ้นเป็นครั้งแรกในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยการผสมโลหะกับกรดแก่ ระหว่าง..

ใหม่!!: นาซาและไฮโดรเจน · ดูเพิ่มเติม »

เบลล์ 204/205

ลล์ 204/205 (อังกฤษ: Bell 204/205) เป็นเฮลิคอปเตอร์กองทัพเดี่ยว UH-1 Iroquois ของเฮลิคอปเตอร์ตระกูลฮิวอี้ เป็นประเภทที่ได้รับการรับรองในหมวดของการขนส่งและใช้ในการยกสินค้า และการดับเพลิงทางอาก.

ใหม่!!: นาซาและเบลล์ 204/205 · ดูเพิ่มเติม »

เบเกิล

กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.

ใหม่!!: นาซาและเบเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน

ฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan), ฟือร์เนา ดือ มากัลไยช์ (Fernão de Magalhães) หรือ เฟร์นันโด เด มากายาเนส (Fernando de Magallanes) เป็นนักเดินเรือชาวโปรตุเกส มีชีวิตอยู่ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา เขาเกิดที่เมืองซาบรอซา ทางภาคเหนือของประเทศโปรตุเกส หลังจากรับราชการทหารที่อินเดียตะวันออกและโมร็อกโก มาเจลลันได้เสนอตัวทำงานให้กับพระเจ้าชาลส์ที่ 5 แห่งสเปนเพื่อค้นหาเส้นทางเดินเรือทางทิศตะวันตกสู่ "หมู่เกาะเครื่องเทศ" (หมู่เกาะโมลุกกะในประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน) เขาจึงได้รับสัญชาติสเปนด้วย มาเจลลันได้เดินเรือออกจากเมืองเซบียาในปี พ.ศ. 2062 การเดินทางในช่วง..

ใหม่!!: นาซาและเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน · ดูเพิ่มเติม »

เพลบลูดอต

ลกเมื่อมองจากระยะ 6 พันล้านกิโลเมตรจะปรากฏเป็นจุดสีน้ำเงินจางเล็ก ๆ ท่ามกลางอวกาศอันกว้างใหญ่ (จุดกลางภาพค่อนไปทางขวามือ ในลำแสงอาทิตย์ที่ถูกกระเจิงโดยกล้องของยาน) เพลบลูดอต (Pale Blue Dot, "จุดสีน้ำเงินซีด") เป็นภาพถ่ายของโลก ถ่ายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: นาซาและเพลบลูดอต · ดูเพิ่มเติม »

เพศสัมพันธ์ในอวกาศ

แนวคิดของกิจกรรมทางเพศของมนุษย์ในสภาพไร้น้ำหนักหรือสภาพแวดล้อมสุดโต่งในอวกาศ หรือเพศสัมพันธ์ในอวกาศ แสดงความยากลำบากในการกระทำกิจกรรมต่าง ๆ เนื่องจากกฎข้อที่สามของนิวตัน จากกฎดังกล่าว ถ้าคู่รักยังตัวติดกัน การเคลื่อนไหวของพวกเขาจะต่อต้านกันและกัน จากนั้นอัตราความเร็วในกิจกรรมของพวกเขาจะไม่เปลี่ยนแปลงเว้นแต่ว่ามีวัตถุอื่น ๆ ที่ไม่ได้ติดตัวเข้ามาสัมผัส อาจเกิดความยากลำบากจากการลอยไปสัมผัสกับวัตถุอื่น ๆ ถ้าคู่รักมีอัตราความเร็วสัมพันธ์กับวันถุอื่น ๆ อาจเกิดการชนขึ้นได้ มีข้อเสนอแนะว่าการปฏิสนธิและการตั้งครรภ์ในสภาพแวดล้อมนอกโลกอาจเป็นปัญหาได้ Par Kieron Monks, Metro World News; 11 Avril 2012 ข้อมูลปี..

ใหม่!!: นาซาและเพศสัมพันธ์ในอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

เกอไทต์

กอไทต์ (Goethite) เป็นแร่เหล็กออกไซต์ ซึ่งถูกตั้งชื่อโดยผู้รู้รอบด้านชาวเยอรมัน โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเท.

ใหม่!!: นาซาและเกอไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเซนทิเนลเหนือ

กาะเซนทิเนลเหนือ (North Sentinel Island) เป็นเกาะหนึ่งของหมู่เกาะอันดามันในอ่าวเบงกอล ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะอันดามันใต้ด้านใต้ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะปกคลุมด้วยป่าไม้ เป็นเกาะที่เล็กและอยู่ห่างไกลจากแหล่งชุมชนหลัก ๆ ในกลุ่มเกาะอันดามันใหญ่ มีพืดหินปะการังโอบล้อม และไม่มีอ่าวจอดเรือตามธรรมชาติ บนเกาะเซนทิเนลเหนือมีกลุ่มคนพื้นเมืองกลุ่มหนี่งอาศัยอยู่ คนภายนอกเรียกชื่อคนกลุ่มนี้ตามชื่อเกาะว่า "ชาวเซนทิเนล" ประมาณกันว่ามีจำนวนประชากรอยู่ระหว่าง 15 ถึง 500 คน (ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูลและช่วงเวลาการประเมินที่แตกต่างกัน) ชนกลุ่มนี้ต้องเผชิญภัยคุกคามที่เป็นไปได้จากโรคติดเชื้อที่พวกเขาไม่มีภูมิคุ้มกัน เช่นเดียวกับความรุนแรงจากผู้บุกรุก รัฐบาลอินเดียจึงประกาศให้เกาะเซนทิเนลทั้งเกาะ (ซึ่งมีขนาดพอ ๆ กับแมนแฮตตัน) รวมทั้งพื้นน้ำในระยะ 3 ไมล์หรือประมาณ 5 กิโลเมตรจากตัวเกาะเป็นเขตหวงห้าม.

ใหม่!!: นาซาและเกาะเซนทิเนลเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)

นเมสเซนเจอร์ (MESSENGER ย่อจาก MErcury Surface, Space ENvironment, GEochemistry and Ranging probe) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซา ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2547 มีเป้าหมายเพื่อสำรวจพื้นผิวของดาวพุธ เป็นโครงการแรกในรอบ 30 ปีที่มีการส่งยานไปสำรวจดาวพุธ ยานเพียงลำเดียวก่อนหน้านี้คือ ยานมาริเนอร์ 10 ซึ่งสิ้นสุดภารกิจไปตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ใหม่!!: นาซาและเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์คิวรี-แอตลาส 6

มอร์คิวรี-แอตลาส 6 (MA-6) เป็นภารกิจเที่ยวบินอวกาศที่มีมนุษย์บังคับดำเนินการโดย นาซา องค์การอวกาศของสหรัฐอเมริกา ภารกิจนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเมอร์คิวรี และเป็นความพยายามที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกของนาซาในการนำนักบินอวกาศขึ้นสู่วงโคจร ภารกิจ MA-6 มีขึ้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพัน..

ใหม่!!: นาซาและเมอร์คิวรี-แอตลาส 6 · ดูเพิ่มเติม »

เมซีเย 2

มซีเย 2 (Messier 2) เป็นกระจุกดาวทรงกลมที่ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ ในอีก 5 องศาเหนือของดาวฤกษ์เบต้า คนแบกหม้อน้ำ ค้นพบโดย Giovanni Domenico Maraldi ในปี ค.ศ. 1746 และเป็นหนึ่งในกระจุกดาวทรงกลมที่ใหญ่ที่สุดที่รู้จักกัน.

ใหม่!!: นาซาและเมซีเย 2 · ดูเพิ่มเติม »

เมซีเย 4

มซีเย 4 (Messier 4) กำหนดให้เป็นชื่อ เอ็นจีซี 6121 เป็นกระจุกดาวทรงกลมที่ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวแมงป่อง ค้นพบโดย Jean-Philippe de Cheseaux ในปี ค.ศ. 1746 และจัดหมวดหมู่โดย ชาร์ล เมซีเย ในปี ค.ศ. 1764.

ใหม่!!: นาซาและเมซีเย 4 · ดูเพิ่มเติม »

เมซีเย 5

มซีเย 5 (Messier 5) หรือ เอ็ม5 กำหนดเป็นชื่อ เอ็นจีซี 5904 (NGC 5904) เป็นกระจุกดาวทรงกลมที่ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวงู ค้นพบโดย Gottfried Kirch ในปี ค.ศ. 1702 ไม่ควรสับสนกับกระจุกดาวทรงกลมสลัวมาก และไกลกว่าคือ พาโลมาร์ 5 ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงกับบนท้องฟ้.

ใหม่!!: นาซาและเมซีเย 5 · ดูเพิ่มเติม »

เมซีเย 82

มซีเย 82 (ที่รู้จักกันดี NGC 3034, Cigar Galaxy หรือ M82) เป็นดาราจักร ที่ใกล้เคียงดาราจักรดาวกระจาย ประมาณ 12 ล้านปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวหมีใหญ.

ใหม่!!: นาซาและเมซีเย 82 · ดูเพิ่มเติม »

เมเว็น

นสำรวจอวกาศเมเว็น (MAVEN) ย่อจาก Mars Atmosphere and Volatile Evolution (ชั้นบรรยากาศและวิวัฒนาการของสารระเหยได้ของดาวอังคาร) เป็นยานสำรวจอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจสำรวจชั้นบรรยากาศของดาวอังคาร ดำเนินโดยองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) ภารกิจนี้เป็นโครงการหนึ่งในแผนงานมาร์ส-สเค้าท์ (Mars Scout Program) ยานเมเว็นถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: นาซาและเมเว็น · ดูเพิ่มเติม »

เรดอน

รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.

ใหม่!!: นาซาและเรดอน · ดูเพิ่มเติม »

เรดาร์

รดาร์ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีขององค์การนาซา เสาอากาศเรดาร์ระยะไกลที่เรียกว่า Altair ที่ใช้ในการตรวจจับและติดตามวัตถุในพื้นที่ร่วมกับการทดสอบ ABM ที่ไซต์ทดสอบโรนัลด์ เรแกนบนเกาะควาจาลีน (Kwajalein) เรดาร์ (radar) เป็นระบบที่ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นเครื่องมือในการระบุระยะ (range), ความสูง (altitude) รวมถึงทิศทางหรือความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ เดิมทีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นาซาและเรดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นโค้งมังกร

้นโค้งมังกร (dragon curve) เป็นชื่อเรียกเส้นโค้งกลุ่มหนึ่งที่มีคุณสมบัติของความคล้ายตนเอง ซึ่งสร้างขึ้นโดยวิธีการเรียกตนเอง (recursive) เช่น สามารถนิยามโดยระบบลินเดนเมเยอร์ (Lindenmayer system, L-system) เส้นโค้งมังกรจัดเป็นแฟร็กทัลประเภทหนึ่ง ตัวอย่างเส้นโค้งมังกร เช่น มังกรไฮเวย์ (Heighway dragon) มังกรคู่ (twindragon) เป็นต้น.

ใหม่!!: นาซาและเส้นโค้งมังกร · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของอนาคตไกล

ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.

ใหม่!!: นาซาและเส้นเวลาของอนาคตไกล · ดูเพิ่มเติม »

เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556

้นทางที่อุกกาบาตตกและจุดที่ระเบิด เปรียบเทียบขนาดอุกกาบาตกับโบอิง 747 (มีชื่อกำกับว่า Chelyabinsk meteor) เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซี..

ใหม่!!: นาซาและเหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

เอชอาร์ 8799

อชอาร์ 8799 (HR 8799) เป็นดาวฤกษ์แถบลำดับหลัก ที่ห่างจากโลก 129 ปีแสง (39 พาร์เซก) อยู่ในกลุ่มดาวม้าบิน มีมวลประมาณ 1.5 เท่าของมวลดวงอาทิตย์และ 4.9 เท่าของความสว่าง โดยเป็นส่วนหนึ่งของระบบที่ประกอบด้วยเศษฝุ่นของดาวและดาวเคราะห์ขนาดใหญ่อย่างน้อยสี่ดวง การกำหนดชื่อ HR 8799 นั้นเป็นตัวบ่งชี้ของดาวในการจัดลำดับความสว่างของดาวฤกษ.

ใหม่!!: นาซาและเอชอาร์ 8799 · ดูเพิ่มเติม »

เอชดี 37974

อชดี 37974 (หรือ อาร์ 126) เป็นหนึ่งในสองดาวฤกษ์ที่ถูกระบุโดย กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ ของนาซ่า เป็นดาราจักรเพื่อนบ้านของทางช้างเผือกที่ใกล้ที่สุด เมฆแมเจลแลนใหญ่ (อีกเป็นอาร์ 66 หรือ เอชดีอี 268835) ดาวฤกษ์ทั้งสองจะโดยรอบจานฝุ่นมหึมาตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นมหาจุดเริ่มต้นของดาวเคราะห์M78ที่เป็นบ้านเกิดของเหล่าอุลตร้าแมน.

ใหม่!!: นาซาและเอชดี 37974 · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-15 อีเกิล

อฟ-15 อีเกิล (F-15 Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ทางยุทธวิธีทุกสภาพอากาศที่ถูกออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่ครองความได้เปรียบทางอากาศ มันถูกพัฒนาให้กับกองทัพอากาศสหรัฐและได้ทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: นาซาและเอฟ-15 อีเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท

อฟ-18 ฮอร์เน็ท (F-18 Hornet) ของแมคดอนเนลล์ ดักลาส (ปัจจุบันคือโบอิง) เป็นเครื่องบินโจมตีหลากบทบาทหลากสภาพอากาศที่สามารถใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบินและถูกออกแบบมาเพื่อการโจมตีทั้งภาคพื้นดินและภาคอากาศ มันถูกออกแบบในทศวรรษที่ 1970 ให้กับกองทัพเรือและกองนาวิกโยธินสหรัฐฯ ฮอร์เน็ทยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศในหลายประเทศ มันถูกเลือกให้ใช้ทำการแสดงโดยบลูแองเจิลของกองทัพเรือสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นาซาและเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท · ดูเพิ่มเติม »

เอกภพ

อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล ที่ประกอบด้วยกาแล็กซีที่มีอายุ ขนาด รูปร่าง และสีแตกต่างกัน เอกภพ หรือ จักรวาล โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นผลรวมของการดำรงอยู่ รวมทั้งดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ดาราจักร สิ่งที่บรรจุอยู่ในอวกาศระหว่างดาราจักร และสสารและพลังงานทั้งหมด การสังเกตเอกภพทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเชื่อกันว่ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 9,999 ล้านปีแสง นำไปสู่อนุมานขั้นแรกเริ่มของเอกภพ การสังเกตเหล่านี้แนะว่า เอกภพถูกควบคุมด้วยกฎทางฟิสิกส์และค่าคงที่เดียวกันตลอดขนาดและประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ทฤษฎีบิกแบงเป็นแบบจำลองจักรวาลวิทยาทั่วไปซึ่งอธิบายพัฒนาการแรกเริ่มของเอกภพ ซึ่งในจักรวาลวิทยากายภาพเชื่อว่าเกิดขึ้นเมื่อราว 13,700 ล้านปีก่อน มีนักฟิสิกส์มากมายเชื่อสมมุติฐานเกี่ยวกับพหุภพ ซึ่งกล่าวไว้ว่าเอกภพอาจเป็นหนึ่งในภพจำนวนมากที่มีอยู่เช่นกัน ระยะทางไกลสุดที่เป็นไปได้ทางทฤษฎีแก่มนุษย์ที่จะมองเห็นอธิบายว่าเป็น เอกภพที่สังเกตได้ การสังเกตได้แสดงว่า เอกภพดูจะขยายตัวในอัตราเร่ง และมีหลายแบบจำลองเกิดขึ้นเพื่อพยากรณ์ชะตาสุดท้ายของเอกภพ แผนภาพตำแหน่งของโลกในสถามที่ต่างๆของเอก.

ใหม่!!: นาซาและเอกภพ · ดูเพิ่มเติม »

เอมส์

อมส์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: นาซาและเอมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด

right เอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด (SR-71 Blackbird) ล็อกฮีด เอสอาร์-71 เป็นเครื่องบินที่พัฒนาขึ้นมาจาก ล็อกฮีด วายเอฟ-12 เอ ทำการบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1962 ในทะเลทรายเนวาดา วายเอฟ-12 เริ่มพัฒนาเป็น เอสอาร์-71 ในปี ค.ศ. 1963 เป็นเครื่องบินความเร็วระดับ 3 มัค เริ่มทำสถิติโลกเป็นครั้งแรกในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1965 เอสอาร์-71 เป็นเครื่องบินเจ๊ตตรวจการณ์ทางยุทธศาสตร์ ใช้งานในกองทัพอากาศสหรัฐและองค์การนาซ่า และได้รับสมญานามว่าแบล็คเบิร์ด (Blackbird).

ใหม่!!: นาซาและเอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-100

STS-100 เป็นภารกิจสเปซชัทเทิลไปยังสถานีอวกาศนานาชาติด้วยกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ STS-100 ติดตั้งแขนหุ่นยนต์ Canadarm2 ใน ISS.

ใหม่!!: นาซาและเอสทีเอส-100 · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-129

STS-129 เป็นภาจกิจกระสวยอวกาศของนาซ่าในสถานีอวกาศนานาชาติ เริ่มต้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 14:28 EST และลงจอดในวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 09:44 EST บนรันเวย์ที่ 33 ในสถานที่จอดกระสวยศูนย์อวกาศเคนเนดี STS-129 ได้มุ่งเน้นระยะส่วนประกอบสำรองนอกสถานี เที่ยวบิน 11 วันรวมเดินในอวกาศ 3 วัน อ่าวแน่ะดำเนินการสองขนาดใหญ่ ExPRESS Logistics Carrier ได้แก่ วัดการหมุนสำรอง 2 เครื่องมือ ถังไนโตรเจน 2 ชุด เครื่องสูบน้ำ 2 โมดูล ประกอบด้วยถังแอมโมเนีย การเสร็จสิ้นปฏิบัติภารกิจกระสวยอวกาศนี้เหลือหกเที่ยวบินที่เหลืออยู่จนถึงเสร็จสิ้นโครงการกระสวยอวกาศหลังจาก STS-135 ได้รับการอนุมัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011.

ใหม่!!: นาซาและเอสทีเอส-129 · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-134

STS-134 เป็นภารกิจสุดท้ายของเที่ยวบินของกระสวยอวกาศนาซา เป็นภารกิจที่ 25 และเป็นเที่ยวบินอวกาศสุดท้ายของกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ เที่ยวบินนี้ส่งมอบให้อัลฟาแมกเนติกสเปกโตรมิเตอร และการขนส่งโลจิสติกเอ๊กซ์เพสย์ ไปยังสถานีอวกาศนานาชาต.

ใหม่!!: นาซาและเอสทีเอส-134 · ดูเพิ่มเติม »

เอสทีเอส-27

STS-27 เป็นภารกิจการส่งกระสวยอวกาศของนาซาครั้งที่ 27 และเป็นเที่ยวบินครั้งที่ 3 ของกระสวยอวกาศแอตแลนติส STS-27 ถูกเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1988 ใช้เวลาในการปฏิบัติภารกิจสี่วัน เป็นภารกิจการส่งกระสวยอวกาศครั้งที่สองหลังจากที่เกิดเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เมื่อมกราคม ค.ศ. 1986 ข้อมูลของ STS-27 ถูกจัดเก็บโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ระบบบกันความร้อนของกระสวยอวกาศในภารกิจนี้ได้รับความเสียหายอย่างมากในระหว่างการลิฟ-ออฟ (lift-off) ซึ่งยังกระทบกับปีกด้านขวาของกระสวยอวกาศอีกด้วย ฮูต กิบสัน เมื่อเขาได้เห็นความเสียหายของกระสวยอวกาศ เขาได้กล่าวว่า "วีอาร์โกอิ่งทูดาย" (พวกเรากำลังไปสู่ความตาย) เหตุการณ์นี้มีความคล้ายคลึงกับเหตุการณ์ของ STS-107 เมื่อ 15 ปีที่แล้วที่เกิดจากระบบความร้อนเสียหายระหว่างกับโลก แต่เหตุการณ์ในกระสวยอวกาศภารกิจนี้สามารถขึ้นสู่วงโคจรได้สำเร็จ และปฏิบัติภารกิจได้สำเร็.

ใหม่!!: นาซาและเอสทีเอส-27 · ดูเพิ่มเติม »

เอนเซลาดัส

อนเซลาดัส (Enceladus) หรือ Saturn II เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่อันดับที่ 6 ของดาวเสาร์ ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมันนาม วิลเลียม เฮอร์เชล เมื่อ..

ใหม่!!: นาซาและเอนเซลาดัส · ดูเพิ่มเติม »

เอแอลเอช 84001

อุกกาบาต ALH84001 จากดาวอังคารที่พบในแถบขั้วโลกใต้ ALH 84001 (ชื่อเต็ม Allan Hills 84001) คือ อุกกาบาต ที่ค้นพบที่แอลลันฮิลล์ทวีปแอนตาร์กติกเมื่อ พ.ศ. 2527 โดยคณะนักล่าอุกกาบาตชาวสหรัฐฯ ของโครงการ ANSMET:en:ANSMET เช่นเดียวกับอุกกาบาตในกลุ่มของอุกกาบาตดาวอังคาร SNCs (shergottite, nakhlite, chassignite), จึงคาดการณ์ว่า ALH 84001 มาจากดาวอังคาร มวล ณ จุดค้นพบอุกกาบาตก้อนนี้มีน้ำหนัก 1.93 กิโลกรัม แต่มาเป็นข่าวใหญ่ไปทั่วโลกเมื่อ พ.ศ. 2539 เมื่อนักวิทยาศาสตร์ประกาศว่าปรากฏมีฟอสซิลขนาดเล็กมากของแบคทีเรียดาวอังคารอยู่ในก้อนอุกกาบาต.

ใหม่!!: นาซาและเอแอลเอช 84001 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดการ์ มิตเชล

thumb เอ็ดการ์ ดีน มิตเชล (17 กันยายน ค.ศ. 1930 - 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016) นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ซึ่งโดยสารยานอพอลโล 14 ขึ้นไปบนดวงจันทร์เมื่อปี ค.ศ. 1971 และเป็นเจ้าของสถิติมนุษย์อวกาศที่เดินบนดวงจันทร์เป็นเวลานานมากที่สุดถึง 9 ชั่วโมง 17 นาที เอ็ดการ์ มิตเชล มีความเชื่อส่วนตัวว่ามนุษย์ต่างดาวมีอยู่จริง เขากล่าวว่า มนุษย์ต่างดาวจะมีรูปร่างเล็ก ศีรษะใหญ่ ตาโต และเป็นมิตรกับมนุษย์ “พวกคุณเคยเห็นภาพถ่ายของมนุษย์ร่างเล็กเหล่านี้ซึ่งดูแปลกตามาบ้างแล้ว คนที่เคยเห็นมนุษย์ต่างดาวบอกกับผมว่าพวกเขามีหน้าตาเหมือนในภาพถ่าย พวกเขาไม่ได้เป็นศัตรูกับมนุษย์ เพราะหากพวกเขาไม่เป็นมิตร ป่านนี้มนุษย์ก็คงไม่เหลือแล้ว” นอกจากนี้มิตเชลยังกล่าวด้วยว่า ปรากฏการณ์วัตถุลึกลับบนท้องฟ้า (ยูเอฟโอ) ที่มีผู้พบเห็นล้วนเป็นเรื่องจริงเช่นกัน เขาอ้างว่ารู้เรื่องนี้มาจากองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติของสหรัฐฯ (นาซา) ที่เขาทำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์อยู่ในปัจจุบัน “ปรากฏการณ์ดังกล่าวถูกรัฐบาลประเทศต่างๆ ปิดเป็นความลับมานานกว่า 60 ปี ก่อนที่จะค่อยๆ ถูกเปิดเผยทีละนิดหลังจากมีคนเห็นยูเอฟโอบนท้องฟ้า” องค์การนาซาได้ออกมาระบุว่า มิตเชลเป็นชาวอเมริกันที่ยิ่งใหญ่ แต่นาซาไม่ได้มีส่วนร่วมในการแสดงความเห็นดังกล่าว หมวดหมู่:นักบินอวกาศชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2514 หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเทกซัส.

ใหม่!!: นาซาและเอ็ดการ์ มิตเชล · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นจีซี 2207 และไอซี 2163

อ็นจีซี 2207 และไอซี 2163 (NGC 2207 and IC 2163) เป็นดาราจักรชนิดก้นหอยคู่ชนกันอีกประมาณ 80 ล้านปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่ ดาราจักรทั้งสองถูกค้นพบโดย จอห์น เฮอร์เชล ในปี 1835.

ใหม่!!: นาซาและเอ็นจีซี 2207 และไอซี 2163 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นจีซี 3949

อ็นจีซี 3949 เป็นดาราจักรชนิดก้นหอย อยู่ในกลุ่มดาวหมีใหญ่ มีความเชื่อกันว่าจะอยู่ที่ประมาณ 50 ล้านปีแสงห่างจากโลก.

ใหม่!!: นาซาและเอ็นจีซี 3949 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นจีซี 4236

อ็นจีซี 4236 (NGC 4236) เป็นดาราจักรชนิดก้นหอยมีคาน ที่อยู่ในกลุ่มดาวมังกร อยู่ห่างจากโลกประมาณ 11.7 ล้านปีแสง (3.6 เมกะพาร์เซก).

ใหม่!!: นาซาและเอ็นจีซี 4236 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นจีซี 6357

อ็นจีซี 6357 (NGC 6357) เป็นเนบิวลากระจายใกล้ ๆ เอ็นจีซี 6334 อยู่ในกลุ่มดาวแมงป่อง เนบิวลามีดาวฤกษ์ก่อกำเนิดจำนวนมากป้องกัน โดยจานมืดของแก๊ส และดาวฤกษ์อายุน้อยที่ห่อในการขยายรัง.

ใหม่!!: นาซาและเอ็นจีซี 6357 · ดูเพิ่มเติม »

เฮลิโอสเฟียร์

แผนภาพแสดงคุณลักษณะของเฮลิโอสเฟียร์ เฮลิโอสเฟียร์ (Heliosphere) มีลักษณะคล้ายฟองอากาศอยู่ในห้วงอวกาศ ที่พองตัวอยู่ในสสารระหว่างดาว ซึ่งเป็นผลจากลมสุริยะ ทำหน้าที่ปกป้องระบบสุริยะเอาไว้จากรังสีคอสมิก แม้จะมีอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าส่วนหนึ่งจากสสารระหว่างดาวสามารถลอดเข้ามาภายในเฮลิโอสเฟียร์ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วสสารส่วนใหญ่ที่อยู่ภายในเฮลิโอสเฟียร์ล้วนมีต้นกำเนิดมาจากดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ในรัศมี 10,000 ล้านกิโลเมตรแรก ลมสุริยะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่า 1 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง จากนั้นจึงเริ่มชะลอและสลายไปในสสารระหว่างดาว ลมสุริยะจะชะลอความเร็วลงจนหยุดลงในที่สุดและรวมไปในมวลสารเหล่านั้น จุดที่ลมสุริยะชะลอความเร็วลงเรียกว่า กำแพงกระแทก (termination shock) จุดที่แรงดันของสสารระหว่างดาวกับลมสุริยะเข้าสู่สมดุลกันเรียกว่า เฮลิโอพอส (heliopause) จุดที่สสารระหว่างดาวเคลื่อนที่ในทางตรงกันข้าม คือชะลอตัวลงเมื่อปะทะเข้ากับเฮลิโอสเฟียร์ เรียกว่า โบว์ช็อค (bow shock).

ใหม่!!: นาซาและเฮลิโอสเฟียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ อี. เวบบ์

มส์ เอ็ดวิน เวบบ์ (James Edwin Webb, 7 ตุลาคม 1906 - 27 มีนาคม 1992) เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอเมริกันที่ทำงานเป็นผู้บริหารคนที่สองขององค์กรนาซา ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: นาซาและเจมส์ อี. เวบบ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจเนรัล ไดนามิกส์ เอฟ-16เอ็กซ์แอล

นรัล ไดนามิกส์ เอฟ-16เอ็กซ์แอล(General Dynamics F-16XL) เป็นเครื่องบินขับไล่สาธิตเทคโนโลยีที่ออกแบบและสร้างโดยเจเนรัล ไดนามิกส์ โดยพัฒนาต่อจากเอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน เอฟ-16เอ็กซ์แอลมีลักษณะปีกเป็นรูปทรงสามเหลี่ยม (Delta) F16เอ็กซ์แอลได้เข้าประกวดเครื่องบินขับไล่ให้กับกองทัพอากาศสหรัฐ แต่ได้พ่ายแพ้ให้กับเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล หลายปีหลังจากนั้นเครื่องต้นแบบทั้ง2ลำได้ถูกจัดเก็บไว้ที่ฐานทัพอากาศเอ็ดเวิร.

ใหม่!!: นาซาและเจเนรัล ไดนามิกส์ เอฟ-16เอ็กซ์แอล · ดูเพิ่มเติม »

เทอเรนซ์ เต๋า

ทอเรนซ์ เต๋า FAA FRS (เกิด 17 กรกฎาคม 1975 ในเมืองแอดิเลด ประเทศออสเตรเลีย) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวออสเตรเลียน-อเมริกันที่มีผลงานทางคณิตศาสตร์หลายแขนง ปัจจุบันเขากำลังให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ฮาร์มอนิก, สมการเชิงอนุพันธ์, คณิตศาสตร์เชิงการจัดพีชคณิต, คณิตศาสตร์เชิงการจัดเลขคณิต, คณิตศาสตร์เชิงการจัดเรขาคณิต, compressed sensing และ ทฤษฎีจำนวนวิเคราะห์ในปี 2015 เขาได้รับต่ำแหน่งประธานสาขาศาสตราภิชานคณิตศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยของแคลิฟอร์เนียลอสแอนเจลิส เต๋ายังเป็นผู้ร่วมรับเหรียญฟิลด์สในปี 2006 และรางวัล Breakthrough Prize in Mathematics ในปี 2014 .

ใหม่!!: นาซาและเทอเรนซ์ เต๋า · ดูเพิ่มเติม »

เขาโรไรมา

รไรมา (Monte Roraima) หรือรู้จักกันในชื่อเทปุยโรไรมาหรือเซอโรโรไรมา (Monte Roraima) เป็นเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาพากาไรมาของที่ราบสูงเทปุยในทวีปอเมริกาใต้ นักสำรวจชาวอังกฤษชื่อ เซอร์วอลเทอร์ ราเล ได้บรรยายไว้เป็นคนแรกว่า พื้นที่บนยอดเขากว่า 31 ตารางกิโลเมตร ประกอบขึ้นจากหน้าผารอบด้านซึ่งสูงถึง เขาแห่งนี้ยังทำหน้าที่เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่าง 3 ประเทศอันได้แก่ประเทศเวเนซุเอลา บราซิลและกายอานา เขาโรไรมา ตั้งอยู่บนหินฐานทวีปกายอานา ทางมุมตะวันออกเฉียงใต้ในพื้นที่ 30,000 ตารางกิโลเมตรของอุทยานแห่งชาติคาไนมา ซึ่งก่อให้เกิดยอดสูงสุดในที่เขตที่ราบสูงกายอานา ภูเขารูปโต๊ะของอุทยานได้รับการพิจารณาว่าเป็นการก่อตัวทางธรณีวิทยาที่เก่าแก่ที่สุดบนโลกมีอายุถึง 2 พันล้านปีนับตั้งแต่พรีแคมเบรียน จุดสูงสุดในกายอานาและรัฐโรไรมาของบราซิล ตั้งอยู่เขตพื้นที่ที่ราบสูง แต่เวเนซุล่าและบราซิลยังมีเขาสูงแห่งอื่นอีก พิกัดของเส้นแบ่งเขตแดนของ 3 ประเทศนี้อยู่ที่ แต่จุดสูงสุดของเขาแห่งนี้คือ มาเวอริคร็อก สูงถึง ตั้งอยู่ทางใต้สุดของที่ราบสูงและทั้งหมดอยู่ในพื้นที่ของเวเนซุเอล.

ใหม่!!: นาซาและเขาโรไรมา · ดูเพิ่มเติม »

เขตแผ่รังสี

วาดแสดงโครงสร้างของดวงอาทิตย์: 1. แกนกลาง 2. เขตแผ่รังสี 3. เขตพาความร้อน 4. โฟโตสเฟียร์ 5. โครโมสเฟียร์ 6. โคโรนา 7. จุดมืดดวงอาทิตย์ 8. Granules 9. Prominence เขตแผ่รังสี (Radiation zone) คือบริเวณใจกลางของเนื้อในดวงอาทิตย์ อยู่ระหว่างแกนกลางกับเขตพาความร้อน พลังงานภายในแกนกลางของดาวจะเดินทางออกมาจากแกนกลางโดยผ่านเขตแผ่รังสี โดยอยู่ในรูปของการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า เขตแผ่รังสีนี้มีความหนาแน่นมาก ระยะเวลาที่พลังงานจะผ่านออกมาอาจใช้เวลานับล้าน ๆ ปี.

ใหม่!!: นาซาและเขตแผ่รังสี · ดูเพิ่มเติม »

เดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

มดูลห้องปฏิบัติการเดสตินี (นาซา) กำลังติดตั้งบน สถานีอวกาศนานาชาติ เดสตินี (Destiny) เป็นส่วนประกอบหนึ่งของสถานีอวกาศนานาชาติเป็นปฏิบัติการของนาซาแรก ที่โคจรสถานีวิจัยถาวรตั้งแต่ สกายแล็ป ลุกขึ้นในกุมภาพันธ์ 1974.

ใหม่!!: นาซาและเดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์

อะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์ (The Martian) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ กำกับโดยริดลีย์ สก็อตต์ เขียนบทโดยดรูว์ ก็อดดาร์ด โดยดัดแปลงจากนวนิยายเรื่อง เหยียบนรกสุญญากาศ เขียนโดยแอนดี เวียร์ นำแสดงโดย แม็ตต์ เดม่อน, เจสสิกา แชสเทนและไมเคิล เปญา ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายครั้งแรกที่งานเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติโทรอนโตครั้งที่ 40 และออกฉายที่สหราชอาณาจักรในวันที่ 30 กันยายน 2015 สำหรับประเทศไทย เข้าฉายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2015.

ใหม่!!: นาซาและเดอะ มาร์เชียน กู้ตาย 140 ล้านไมล์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบลูมาร์เบิล

ม ภาพคอมโพสิต สร้างโดยนาซ่าในปี ค.ศ. 2001 (ซ้าย) และ 2002 (ขวา) เดอะบลูมาร์เบิล (The Blue Marble) เป็นภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกที่มีชื่อเสียง ถ่ายโดยลูกเรือของยานอวกาศอพอลโล 17 เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ระยะประมาณ 45000 กิโลเมตร จากโลก เป็นภาพถ่ายภาพแรกที่เห็นโลกทั้งใบ ชื่อของภาพมาจากภาพของโลกที่เหมือนกับลูกหินลายหินอ่อนสีฟ้านั่นเอง อพอลโล 17 เป็นปฏิบัติการดวงจันทร์ครั้งสุดท้ายที่มีมนุษย์ไปด้วย หลังจากนั้นไม่เคยมีมนุษย์คนไหนได้ไปอยู่ในระยะที่จะสามารถถ่ายภาพโลกทั้งใบอย่างเดอะบลูมาร์เบิลได้อีกเล.

ใหม่!!: นาซาและเดอะบลูมาร์เบิล · ดูเพิ่มเติม »

เคยูแบนด์

ูแบนด์ (Ku band) คือย่านหนึ่งของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านความถี่ไมโครเวฟ สัญลักษณ์ Ku หมายถึง "เค-ข้างใต้" (มาจากคำดั้งเดิมในภาษาเยอรมันว่า "Kurz-unten" ซึ่งมีความหมายเดียวกัน) ซึ่งมีความหมายถึงแถบที่อยู่ข้างใต้แถบ K ในการประยุกต์ใช้งานเรดาร์ จะมีช่วงความถี่ครอบคลุมระหว่าง 12-18 GHz ตามคำนิยามทางการของแถบความถี่วิทยุตามมาตรฐาน IEEE 521-2002 เคยูแบนด์ มีการใช้งานโดยทั่วไปในการสื่อสารดาวเทียม ที่สำคัญๆ คือ ดาวเทียมส่งผ่านการติดตามข้อมูล (Tracking Data Relay Satellite) ขององค์การนาซา สำหรับทั้งการติดต่อกับกระสวยอวกาศและการสื่อสารกับสถานีอวกาศนานาชาติ ดาวเทียมแบบเคยูแบนด์ยังมีการใช้งานสำหรับการส่งข้อมูลไปยังที่ห่างไกล เช่นสำหรับเครือข่ายระบบโทรทัศน์ที่ใช้ในการแก้ไขและการออกอากาศ แถบความถี่นี้ยังแบ่งออกเป็นช่วงย่อยอีกหลายช่วงแล้วแต่บริเวณทางภูมิศาสตร์ ซึ่งจัดแบ่งโดยสมาพันธ์การสื่อสารสากล (International Telecommunication Union; ITU) สถานีโทรทัศน์ NBC เป็นเครือข่ายโทรทัศน์แห่งแรกที่ทำการอัพลิงก์รายการส่วนใหญ่ผ่านเคยูแบนด์ในปี..

ใหม่!!: นาซาและเคยูแบนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องยนต์จรวด

รื่องยนต์ RS - 68 ถูกทดสอบที่ศูนย์อวกาศสเตนนิสของนาซา ไอเสียมองเห็นได้เกือบโปร่งใสนี้เกิดจากไอเสียของเครื่องยนต์จรวดเชื้อเพลิงเหลว คือ ไฮโดรเจนเหลวและออกซิเจนเหลว ไอเสียส่วนใหญ่จะถูกเปลี่ยนเป็นไอน้ำร้อนยวดยิ่ง (ไอน้ำจากเชื้อเพลิงขับดันไฮโดรเจนและออกซิเจน) เครื่องยนต์จรวด ไวกิ้ง 5c (Viking 5C) เครื่องยนต์จรวด คือ เครื่องยนต์ไอพ่นชนิดหนึ่ง Rocket Propulsion Elements; 7th edition- chapter 1 ที่ใช้มวลเชื้อเพลิงจรวดที่ถูกเก็บไว้โดยเฉพาะสำหรับการสร้างแรงขับดันไอพ่น (Jet Propulsion) อัตราเร็วสูง เครื่องยนต์จรวดคือ เครื่องยนต์แห่งแรงปฏิกิริยา (reaction engine) และได้รับแรงผลักดันที่สอดคล้องกับกฎข้อที่สามของนิวตัน เนื่องจากพวกมันไม่จำเป็นต้องใช้วัสดุภายนอกในรูปแบบเครื่องยนต์ไอพ่น (เช่น อากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ แต่มีก๊าซอ๊อกซิเจนที่เป็นของเหลวบรรทุกติดตัวจรวดไปด้วย) เครื่องยนต์จรวดสามารถนำไปใช้ได้กับการขับเคลื่อนยานอวกาศและใช้เกี่ยวกับภาคพื้นโลก เช่น ขีปนาวุธ เครื่องยนต์จรวดส่วนใหญ่เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายใน แม้ว่าจะไม่ใช่รูปแบบของการสันดาปหลัก ๆ อย่างที่มีอยู่ก็ตาม เครื่องยนต์จรวดเป็นกลุ่มของเครื่องยนต์ที่มีไอเสียที่มีอัตราเร็วสูง โดยที่มีน้ำหนักเบามาก, และมีประสิทธิภาพของพลังงานสูงสุด (สูญเสียพลังงานน้อยที่อัตราความเร็วที่สูงมาก) ของชนิดของเครื่องยนต์ไอพ่นทุกชนิด อย่างไรก็ดี แรงผลักดันที่ให้ออกมาทำให้เกิดไอเสียที่มีความเร็วสูง และมีอัตราสัมพัทธ์ของพลังงานจำเพาะของเชื้อเพลิงที่ใช้ขับเคลื่อนจรวดต่ำ มันเผาผลาญเชื้อเพลิงให้หมดไปภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว.

ใหม่!!: นาซาและเครื่องยนต์จรวด · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์ (ยานอวกาศ)

นอวกาศเคปเลอร์ (Kepler) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศเปิดตัวโดย นาซ่า ในการค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกโคจรอยู่รอบๆ ดาวฤกษ์อื่น ๆ การตั้งชื่อยานอวกาศนำมาจากนักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 โยฮันเนส เคปเลอร์ ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2009.

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์ (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-10

ปเลอร์-10 (Kepler-10) หรือชื่อเดิม KOI-72 เป็นดาวฤกษ์ที่ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวมังกร อยู่ห่างจากโลกออกไปใน 173 พาร์เซก (564 ปีแสง) เป็นดาวฤกษ์เล็กน้อยกว่าเล็กน้อย และเย็นเล็กน้อยกว่าดวงอาทิตย์ มีอายุประมาณ 11,900,000,000 ปีหรือเกือบ 2.6 เท่าอายุของดวงอาทิตย์ เคปเลอร์-10 เป็นระบบดาวเคราะห์ที่มีดาวเคราะห์อย่างน้อย 2 ดวง คือ เคปเลอร์-10บี และเคปเลอร์-10ซี.

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์-10 · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-10บี

ปเลอร์-10บี (Kepler-10b) เป็นดาวเคราะห์คล้ายโลกแรกที่ได้รับการยืนยันการค้นพบนอกระบบสุริยะ ค้นพบหลังจากหลายเดือนของการเก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่างนั้นของนาซ่าที่กำกับภารกิจเคปเลอร์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกข้ามในด้านหน้าของดาวฤกษ์พื้นที่ของตน ค้นพบดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 2011 เคปเลอร์-10บี มีมวลระหว่าง 3.3 และ 5.7 เท่ามวลโลกและรัศมีของโลกเท่ากับ 1.4 เท่า แต่มันอยู่มากใกล้กับดาวฤกษ์เคปเลอร์-10 และเป็นผลให้ร้อนเกินกว่าเพื่อรองรับการมีชีวิต การดำรงอยู่ของมันได้รับการยืนยันโดยใช้การตรวจวัดจากหอดูดาวดับเบิลยู. เอ็ม. เคก ในรัฐฮาว.

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์-10บี · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-10ซี

ปเลอร์-10ซี (Kepler-10c) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบโคจรรอบดาวแคระเหลือง เคปเลอร์-10 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 560 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวมังกร การค้นพบโดยมีการประกาศยานอวกาศเคปเลอร์ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2011 ทีมงานได้รับการยืนยันการสังเกตโดยใช้ข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์แห่งนาซ่า และเทคนิคที่เรียกว่าปั่นที่ปกครองออกมาผลบวกปลอมมากที่สุด เคปเลอร์-10c เป็นดาวเคราะห์ที่ทรานซิติงที่ 3 ได้รับการยืนยันทางสถิติ (ขึ้นอยู่กับความน่าจะเป็นมากกว่าการสังเกตที่เกิดขึ้นจริง) หลังจาก เคปเลอร์-9ดี และเคปเลอร์-11จี ทีมงานเคปเลอร์พิจารณาวิธีการทางสถิติที่นำไปสู่​​การค้นพบของเคปเลอร์-10c ว่าสิ่งที่จะเป็นสิ่งที่จำเป็นเพื่อยืนยันดาวเคราะห์จำนวนมากในบริเวณเคปเลอร์ของมุมมอง.

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์-10ซี · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-16บี

ปเลอร์-16บี (Kepler-16b) หรือชื่อเดิมคือ เคปเลอร์-16 (เอบี)-บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบมันเป็นดาวเคราะห์มวลดาวเสาร์ประกอบด้วยก๊าซและหินครึ่งหนึ่งและน้ำแข็ง โคจรรอบระบบดาวคู่ เคปเลอร์-16 ด้วยระยะเวลา 229 วัน เป็นครั้งแรกที่ยืนยันตัวอย่างที่ชัดเจนในดาวเคราะห์รอบดาวฤกษ์คู่ ดาวเคราะห์ที่โคจรรอบไม่หนึ่ง แต่สองดาว ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบโดยใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศต่างประเทศ คือยานอวกาศเคปเลอร์ของนาซ่า นักวิทยาศาสตร์ก็สามารถตรวจจับดาวเคราะห์ดวงโดยใช้วิธีการขนส่งตอนที่พวกเขาสังเกตเห็นแสงสลัวของหนึ่งในดาวของระบบแม้ในขณะที่คนอื่นๆ ไม่ได้กระไรแล้ว มองจากโลกดาวเคราะห์จะหยุดผ่านหน้า ดาวดวงหนึ่งเร็วที่สุดเท่าที่ในปี ค.ศ. 2014 และจะหยุดข้ามดาวสองและสว่างในปี ค.ศ. 2018 หลังจากนั้นดาวเคราะห์ดวงนี้จะยังคงใช้วิธีการตรวจสอบไม่พบการขนส่งไปจนถึงปี ค.ศ. 2042 ดาวเคราะห์ดวงนี้โคจรอยู่บนขอบด้านนอกของเขตอาศัยได้ แต่มันอาจเป็นไปได้ก๊าซยักษ์ที่มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ -100 ถึง -70 ° C (-150 ถึง -94 ° F).

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์-16บี · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-22บี

ปเลอร์-22บี ในความคิดของศิลปินนักวาดภาพ เคปเลอร์-22บี (Kepler-22b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่ได้รับการยืนยันการค้นพบโดยของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ของนาซา ที่เป็นไปได้ว่าอาจมีเขตอาศัยได้ รวมทั้งมีการโคจรรอบดาวฤกษ์ที่มีลักษณะเหมือนดวงอาทิตย์ มีระยะทางห่างจากโลกประมาณ 600 ปีแสง.

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์-22บี · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-452บี

ปเลอร์-452บี (Kepler-452b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวดาวแคระเหลือง ตรวจจับโดย กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ''เคปเลอร์''และประกาศค้นพบครั้งแรกโดย นาซา เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2015 ซึ่งเป็นดาวดวงแรกที่ใกล้เคียงกับโลกมากที่สุดตั้งแต่การค้บพบ และโคจรอยู่ในเขตที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์-452บี · ดูเพิ่มเติม »

เคปเลอร์-69ซี

ปเลอร์-69ซี (ชื่อเดิม KOI-172.02, K00172.02) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบซูเปอร์เอิร์ธที่ได้รับการยืนยันไปประมาณ 70% มีขนาดใหญ่กว่าโลก โคจรรอบดาวฤกษ์ดาวแคระเหลือง เคปเลอร์-69 ตั้งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,700 ปีแสง ในกลุ่มดาวหงส์ ค้นพบโดยยานอวกาศเคปเลอร์ ของนาซา การค้นพบครั้งแรกของดาวเคราะห์ที่ได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2013 ได้ยืนยันประกาศเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2013 เคปเลอร์-69ซี เป็นเรื่องน่าทึ่ง เพราะช่วงเวลาของการค้นพบ ผู้เป็นหนึ่งในที่สุดดาวเคราะห์คล้ายโลก.

ใหม่!!: นาซาและเคปเลอร์-69ซี · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์เชื้อเพลิง

Toyota FCHV ใช้เซลล์เชื้อเพลิง proton-conducting fuel cell) เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cell) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานเคมีจากเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งให้เป็นกระแสไฟฟ้าผ่านทางปฏิกิริยาเคมีของไอออนของไฮโดรเจนประจุบวกกับอ๊อกซิเจนหรือตัวทำอ๊อกซิเดชันอื่น เซลล์เชื้อเพลิงแตกต่างจากแบตเตอรี่ที่ว่ามันต้องการแหล่งจ่ายเชื้อเพลิงและอ๊อกซิเจนหรืออากาศอย่างต่อเนื่องเพื่อความยั่งยืนของปฏิกิริยาเคมี ในขณะที่ในแบตเตอรี่สารเคมีภายในจะทำปฏิกิริยาต่อกันเพื่อผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า (emf) เซลล์เชื้อเพลิงสามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องนานเท่าที่เชื้อเพลิงและอ๊อกซิเจนหรืออากาศยังคงถูกใส่เข้าไป ไม่เหมือนกับแบตเตอรี่ที่จะหยุดจ่ายกระแสไฟฟ้าถ้าสารเคมีหมดอายุการใช้งาน เซลล์เชื้อเพลิงครั้งแรกถูกคิดค้นในปี 1838 เซลล์เชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์ครั้งแรกถูกใช้มากว่าหนึ่งศตวรรษต่อมาในโครงการอวกาศของ นาซ่า ที่จะผลิตพลังงานให้กับดาวเทียมและแคปซูลอวกาศ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเซลล์เชื้อเพลิงถูกนำมาใช้ในงานที่หลากหลายอื่น ๆ เซลล์เชื้อเพลิงถูกใช้สำหรับพลังงานหลักและพลังงานสำรองเพื่อการพาณิชย์ อุตสาหกรรมและอาคารที่อยู่อาศัยและในพื้นที่ห่างไกลและไม่สามารถเข้าถึงได้ พวกมันยังถูกใช้เพื่อให้พลังงานกับยานพาหนะเซลล์เชื้อเพลิง รวมทั้งรถยก, รถยนต์, รถโดยสาร, เรือ, รถจักรยานยนต์และเรือดำน้ำ เซลล์เชื้อเพลิงมีอยู่หลายชนิด ทุกชนิดประกอบด้วยแอโนด แคโทดและอิเล็กโทรไลต์ อิเล็กโทรไลต์จะยอมให้ไอออนไฮโดรเจนประจุบวก (หรือโปรตอน) สามารถเคลื่อนที่ได้จากแอโนดไปแคโทดของเซลล์เชื้อเพลิง แอโนดและแคโทดประกอบด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาที่ทำให้เชื้อเพลิงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นที่สร้างไอออนไฮโดรเจนประจุบวกและอิเล็กตรอน ไอออนไฮโดรเจนจะถูกดึงผ่านอิเล็กโทรไลต์หลังจากการเกิดปฏิกิริยาและเคลื่อนที่ไปยังแคโทด ในขณะเดียวกันอิเล็กตรอนที่เหลือจากอะตอมของไฮโดรเจนจะถูกดึงจากแอโนดไปยังแคโทดผ่านวงจรภายนอก ทำให้เกิดกระแสตรง ที่แคโทดไอออนไฮโดรเจน อิเล็กตรอนและออกซิเจนทำปฏิกิริยากันก่อตัวเป็นน้ำ เนื่องจากความแตกต่างหลักระหว่างเซลล์เชื้อเพลิงในแต่ละประเภทคืออิเล็กโทรไลต์ เซลล์เชื้อเพลิงจึงถูกแยกประเภทตามชนิดของอิเล็กโทรไลต์ที่พวกมันใช้ และแยกตามระยะเวลาเริ่มต้นตั้งแต่ 1 วินาทีสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงเยื่อหุ้มแลกเปลี่ยนโปรตอน (solid oxide fuel cell (SOFC)) เซลล์เชื้อเพลิงเดี่ยว ๆ จะผลิตกระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันขนาดค่อนข้างเล็ก ประมาณ 0.7 โวลต์ ดังนั้นเซลล์จึงต้องวาง "ซ้อน" กัน หรือถูกวางเรียงกันเป็นแถว เพื่อที่จะสร้างแรงดันเพียงพอที่จะตอบสนองความต้องการของการใช้งาน นอกเหนือไปจากกระแสไฟฟ้า เซลล์เชื้อเพลิงยังผลิตน้ำ ความร้อนและ(ขึ้นอยู่กับแหล่งเชื้อเพลิง)ปริมาณขนาดเล็กมากของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ และก๊าซอื่นๆ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของเซลล์เชื้อเพลิงโดยทั่วไปจะอยู่ระหว่าง 40-60% หรือสูงขึ้นถึง 85% ในการผลิตแบบความร้อนร่วม (cogeneration) ถ้าความร้อนที่เหลือทิ้งถูกนำกลับมาใช้งานอีก ตลาดของเซลล์เชื้อเพลิงกำลังเจริญเติบโตและบริษัท Pike Research ได้ประมาณการว่าตลาดเซลล์เชื้อเพลิงอยู่กับที่จะสูงถึง 50 GW ในปี 2020 สารตั้งต้นที่ใช้โดยทั่วไปในเซลล์เชื้อเพลิงได้แก่ ก๊าซไฮโดรเจนที่ด้านแอโนด และก๊าซออกซิเจนที่ด้านแคโทด (เซลล์ไฮโดรเจน) โดยปกติแล้วเมื่อมีสารตั้งต้นไหลเข้าสู่ระบบ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นก็จะไหลออกจะระบบไปด้วย ดังนั้นการทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงจึงดำเนินต่อไปได้เรื่อยๆ ตราบเท่าที่เราสามารถควบคุมการไหลได้ เซลล์เชื้อเพลิงมักจะถูกมองว่าเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงและปราศจากมลพิษ เมื่อเปรียบเทียบกับเชื้อเพลิง เช่น มีเทนและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งทำให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ ผลิตภัณฑ์อย่างเดียวที่เกิดจากการทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงคือน้ำ อย่างไรก็ตามยังมีความกังวลอยู่ในขั้นตอนการผลิตก๊าซไฮโดรเจนซึ่งใช้พลังงานมาก การผลิตไฮโดรเจนจำเป็นต้องใช้วัตถุดิบที่มีไฮโดรเจน เช่น น้ำ หรือ เชื้อเพลิงอื่นๆ นอกจากนั้นยังต้องใช้ไฟฟ้าซึ่งก็ก็ผลิตมาจากแหล่งพลังงานแบบดั้งเดิม ได้แก่ น้ำมัน ถ่านหิน หรือแม้แต่พลังงานนิวเคลียร์ ในขณะที่พลังงานทางเลือกเช่น ลมและพลังงานแสงอาทิตย์ ก็อาจสามารถใช้ได้ แต่ราคาก็ยังสูงมากในปัจจุบัน ดังนั้นเราจึงยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงเป็นอิสระจากเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ จนกว่าเราจะสามารถหาวิธีการผลิตไฮโดรเจนปริมาณมากด้วยพลังงานทดแทนหรือพลังงานนิวเคลียร.

ใหม่!!: นาซาและเซลล์เชื้อเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

เซลีนี (ยานอวกาศ)

นอวกาศเซลีนี (SELENE; Σελήνη หมายถึง ดวงจันทร์) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คางุยะ เป็นยานอวกาศลำที่สองของญี่ปุ่น ที่ส่งขึ้นสู่ดวงจันทร์ ชื่อเซลีนีย่อมาจาก Selenological and Engineering Explorer หรือ ยานสำรวจทางวิศวกรรมและศึกษาดวงจันทร์ ยานถูกปล่อยขึ้นจากฐานปล่อยจรวดในศูนย์ศึกษาอวกาศทะเนะงะชิมะ (種子島宇宙センター, Tanegashima Space Center) จังหวัดคะโงะชิมะ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเวลา 01:31:01 น. วันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: นาซาและเซลีนี (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

เซเลสเทีย

วเสาร์จากหน้าจอโปรแกรม Celestia เซเลสเทีย (Celestia) เป็นซอฟต์แวร์เสรี ด้านดาราศาสตร์ ใช้ได้ทั้งบนระบบไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และ ลินุกซ์ ภายใต้เงื่อนไขโครงการกนู โปรแกรมนี้ออกแบบโดย Chris Laurel โดยใช้ฐานข้อมูลดวงดาวจากรายชื่อวัตถุท้องฟ้าของฮิปปาร์คอส (Hipparcos Catalogue) ผู้ใช้โปรแกรมสามารถมองภาพดาวเทียม ดาว จนถึงกลุ่มดาว เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระด้วย OpenGL นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถจำลองภาพการเดินทางไปในอวกาศได้เหมือนจริง และสามารถดาวโหลดโปรแกรม add-on เพิ่มเติมได้ องค์การอวกาศยุโรป (ESA) และ องค์การนาซา ก็ใช้โปรแกรมเซเลสเทียภายในหน่วยงาน จุดเด่นของโปรแกรมเซเลสเทียคือ ผู้ใช้สามารถสร้างวัตถุขึ้นมาได้ด้วยตัวเอง เป็นฟอร์แมท 3ds (3D Studio Max) กำหนดพื้นผิวของวัตถุได้เอง และกำหนดรูปแบบการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ จึงมีผู้ใช้จำนวนมากเขียน add-on ขึ้นมาเอง เพื่อแสดงภาพยานอวกาศในจินตนาการ เช่น ยานอวกาศจากภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส, 2001 จอมจักรวาล หรือแม้แต่จรวดสำรวจดวงจันทร์ในหนังสือการ์ตูน ตินตินผจญภัย ซึ่งสามารถดาวโหลดได้จากเว็บไซต.

ใหม่!!: นาซาและเซเลสเทีย · ดูเพิ่มเติม »

เซเลอร์มูน S "แผนยึดครองโลกของเจ้าหญิงหิมะ"

ซเลอร์มูน S แผนยึดครองโลกของเจ้าหญิงหิมะ หรือในชื่อภาษาอังกฤษว่า Sailor Moon S the Movie: Hearts in Ice เป็นภาพยนตร์ภาคพิเศษลำดับที่ 2 ของเซเลอร์มูน S เข้าฉายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2537 มีความยาว 61 นาที ภาพยนตร์ชุดนี้ สร้างโดยดัดแปลงเนื้อเรื่องจาก หนังสือการ์ตูน ในตอนที่มีชื่อว่า "คนรักของเจ้าหญิงคางูยะ" ซึ่งตีพิมพ์ในเล่มที่ 11 ของซีรีส์เรื่องเซเลอร์มูน (ในไทยตีพิมพ์เป็นเล่มพิเศษ 2 เล่ม) และในเล่มยังมีตอนพิเศษอีกตอนหนึ่งคือ "ความทรงจำแห่งคาซาบลังกา" ซึ่ง ฮิโนะ เร เป็นตัวเอกอีกด้วย โดยเนื้อเรื่องนี้ให้ลูน่าแมวคู่ใจของอุซางิเป็นตัวดำเนินเรื่อง ส่วนรายได้ของภาพยนตร์เรื่องนี่อยู่ที่ 1,790,000,000 เยน ติดอันดับภาพยนตร์ญี่ปุ่นที่ทำรายได้ในประเทศญี่ปุ่น อันดับที่ 7 ในปี..2538 และผลิตในรูปแบบ วิดีโอ เลเซอร์ดิสก์ และดีวีดีอีก.

ใหม่!!: นาซาและเซเลอร์มูน S "แผนยึดครองโลกของเจ้าหญิงหิมะ" · ดูเพิ่มเติม »

เปลวสุริยะ

ต่อเนื่อง 2 ภาพของปรากฏการณ์เปลวสุริยะที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ โดยตัดแผ่นจานดวงอาทิตย์ออกไปจากภาพเพื่อให้เห็นเปลวได้ชัดเจนขึ้น เปลวสุริยะ (Solar flare) คือการระเบิดใหญ่ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ที่ปลดปล่อยพลังงานออกมาถึง 6 × 1025 จูล (ประมาณ 1 ใน 6 ของพลังงานที่ปลดปล่อยจากดวงอาทิตย์ทุกวินาที) คำนี้สามารถใช้เรียกปรากฏการณ์ลักษณะเดียวกันที่เกิดขึ้นบนดาวฤกษ์อื่นๆ โดยจะเรียกว่า เปลวดาวฤกษ์ (stellar flare) เปลวสุริยะส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ทั้งหมด (โฟโตสเฟียร์, โครโมสเฟียร์, และโคโรนา) ทำให้พลาสมามีความร้อนถึงหลายสิบล้านเคลวิน และเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน โปรตอน และไอออนหนักจนเข้าใกล้ความเร็วแสง เกิดการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าผ่านข้ามสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทุกช่วงความยาวคลื่น นับตั้งแต่คลื่นวิทยุไปจนถึงรังสีแกมมา เปลวสุริยะส่วนมากจะเกิดขึ้นในย่านแอ็กทีฟเช่น บริเวณจุดมืดดวงอาทิตย์ ซึ่งมีสนามแม่เหล็กกำลังแรง รังสีเอ็กซ์และการแผ่รังสีอุลตราไวโอเล็ตที่แผ่ออกมาโดยเปลวสุริยะสามารถส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศของโลก และทำลายการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุช่วงยาว การปะทะของคลื่นโดยตรงที่ความยาวคลื่นขนาดเดซิเมตรอาจรบกวนการทำงานของเรดาร์และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ทำงานในช่วงความถี่ดังกล่าว.

ใหม่!!: นาซาและเปลวสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลาวงแหวน

นบิวลาวงแหวน (Ring Nebula หรือรู้จักกันในชื่ออื่นคือ M57หรือ NGC6720) เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ในกลุ่มดาวพิณ เกิดจากแก๊สและฝุ่นที่ผิวดาวยักษ์แดงแผ่ออกไปสู่มวลสารระหว่างดาว ในขณะที่ดาาวฤกษ์ตรงกลางยุบตัวเป็นดาวแคระขาว.

ใหม่!!: นาซาและเนบิวลาวงแหวน · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลาอเมริกาเหนือ

นบิวลาอเมริกาเหนือ (North America Nebula) หรือรู้จักกันดีในชื่อ NGC 7000 หรือ คลาด์เวลล์ 20 เป็นเนบิวลาแผ่รังสีที่ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวหงส์ ใกล้กับดาวเดเนบ ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ยักษ์สีน้ำเงินที่สว่างที่สุด รูปร่างที่โดดเด่นของเนบิวลาคล้ายกับทวีปอเมริกาเหนือ พร้อมด้วยความสำเร็จในอ่าวเม็กซิโก บางครั้งมันถูกเรียกว่า "เนบิวลาอเมริกาเหนือ".

ใหม่!!: นาซาและเนบิวลาอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลาปู

นบิวลาปู (บัญชีการตั้งชื่อ M1, NGC 1952 หรือ Taurus A) เป็นซากซูเปอร์โนวาและเนบิวลาลมพัลซาร์ในกลุ่มดาววัว เนบิวลานี้ได้รับการสังเกตโดยจอห์น เบวิส ในปี..

ใหม่!!: นาซาและเนบิวลาปู · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลานายพราน

นบิวลานายพราน (Orion Nebula; หรือที่รู้จักในชื่อ วัตถุเมสสิเยร์ M42 หรือ NGC 1976) เป็นเนบิวลาแห่งหนึ่งอยู่ทางใต้ของเข็มขัดโอไรออนในกลุ่มดาวนายพราน ถือเป็นหนึ่งในเนบิวลาสว่างที่สุดและสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เนบิวลานายพรานอยู่ห่างออกไปประมาณ 1,270±76 ปีแสง ถือเป็นย่านกำเนิดดาวฤกษ์มวลมากที่อยู่ใกล้กับโลกมากที่สุด เนบิวลานายพรานมีขนาดกว้างประมาณ 24 ปีแสง บันทึกที่เก่าแก่ที่สุดที่อ้างถึงเนบิวลาแห่งนี้เรียกมันว่า เนบิวลาใหญ่ ในกลุ่มดาวนายพราน หรือ เนบิวลานายพรานใหญ่ อย่างไรก็ดียังมีบันทึกทางดาราศาสตร์ที่เก่าแก่กว่าเรียกมันว่า เอนสิส (Ensis; หมายถึง "ดาบ") อันเป็นชื่อเดียวกันกับดาวเอตาโอไรออนิส ซึ่งเมื่อมองจากโลกจะเห็นอยู่ใกล้กันกับเนบิวล.

ใหม่!!: นาซาและเนบิวลานายพราน · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลาเอสกิโม

นบิวลาเอสกิโม (Eskimo Nebula) หรือรู้จักกันดีในชื่อ NGC 2392,เนบิวลาเคลาน์เฟช หรือ คาล์ดเวลล์ 39 เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์เปลือกหอยคู่สองขั้ว ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ วิลเลียม เฮอร์เชล ในปี 1787 การก่อตัวคล้ายกับศีรษะของบุคคลที่ล้อมรอบด้วยกระโปรงเสื้อคลุม ตั้งอยู่ท่ามกลางก๊าซที่ประกอบด้วยชั้นนอกของดาวคล้ายดวงอาทิตย์ เส้นใยชั้นในที่มองเห็นได้โดยกดลมแรงของอนุภาคจากดาวส่วนกลาง จานชั้นนอกมีความผิดปกติของเส้นใยระยะปีแสง NGC 2392 อยู่กว่า 2,870 ปีแสงห่างออกไป และสามารถมองเห็นด้วยกล้องโทรทรรน์ขนาดเล็ก ในกลุ่มดาวคนคู.

ใหม่!!: นาซาและเนบิวลาเอสกิโม · ดูเพิ่มเติม »

เนียร์ชูเมกเกอร์

ภาพวาดของเนียร์ชูเมกเกอร์ เนียร์ชูเมกเกอร์ (Near Earth Asteroid Rendezvous - Shoemaker (NEAR Shoemaker)) เป็นยานอวกาศของนาซา สำหรับไปสำรวจดาวเคราะห์น้อยอีรอส ส่งออกจากโลกเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 บินผ่านดาวเคราะห์น้อยแมธิลด์ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2540 และเข้าสู่วงโคจรของอีรอสเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 หมวดหมู่:ยานอวกาศ หมวดหมู่:ภารกิจสู่ดาวเคราะห์น้อย หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2539 หมวดหมู่:โครงการดิสคัฟเวอรี.

ใหม่!!: นาซาและเนียร์ชูเมกเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

COROT

COROT (ย่อมาจาก COnvection ROtation and planetary Transits; หรือ "การพา การหมุน และการเคลื่อนผ่านของดาวเคราะห์") คือปฏิบัติการทางอวกาศ นำโดยองค์การอวกาศฝรั่งเศส (CNES; French Space Agency) ร่วมมือกับองค์การอวกาศยุโรปและองค์กรนานาชาติอื่น มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีคาบโคจรสั้น โดยเฉพาะดวงที่มีลักษณะเป็นดาวเคราะห์คล้ายโลก และการตรวจวัดคาบการแกว่งตัวของดาวฤกษ์ (asteroseismology) ที่มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์ COROT ถูกส่งออกสู่อวกาศเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม..

ใหม่!!: นาซาและCOROT · ดูเพิ่มเติม »

ETAOIN SHRDLU

etaoin shrdlu ใน ''เดอะนิวยอร์กไทมส์'' 30 ตุลาคม 1903 ETAOIN SHRDLU (เอ-ที-ออยน์ เชิร์ด-ลู) เป็นถ้อยคำภาษาอังกฤษที่ไม่มีความหมายและไร้สาระ ซึ่งปรากฏบ่อยมากในสิ่งพิมพ์ยุคพิมพ์ดีด ในยุคพิมพ์ดีด เมื่อผู้เรียงพิมพ์พิมพ์ผิดแล้ว วิธีแก้คำผิดคือต้องรอให้เต็มบรรทัดก่อน จึงค่อยวกกลับไปพิมพ์คำที่ถูกทับคำผิดนั้น อย่างไรก็ดี ผู้อ่านมักไม่สนใจคำผิด และคำผิดนั้นก็ไม่กระทบเนื้อความของสิ่งพิมพ์ด้วย ผู้เรียงพิมพ์จึงมักเลือกปล่อยบรรทัดที่พิมพ์ผิดนั้นไว้ แล้วขึ้นบรรทัดใหม่ให้ถูกต่อไปแทน ในการนี้ ผู้เรียงพิมพ์มักพิมพ์อักษรเรื่อยเปื่อยต่อจากคำผิด เพื่อให้บรรทัดเต็มและจะได้ขึ้นบรรทัดใหม่เร็ว ๆ และอักษรเรื่อยเปื่อยที่พิมพ์กันบ่อยที่สุด คือ ETAOIN SHRDLU เพราะสิบสองตัวนี้กดง่ายใกล้มือ ทั้งนี้ อักษรบนแป้นเครื่องเรียงพิมพ์นั้นจัดตำแหน่งตามการใช้บ่อย และเมื่อผู้เรียงพิมพ์ทำเช่นนั้นบ่อยเข้า ๆ ก็กลายเป็นการสร้างคำประหลาด คือ ETAOIN SHRDLU และเป็นเรื่องขบขันไป ถ้อยคำ ETAOIN SHRDLU ปรากฏในสิ่งพิมพ์ยุคนั้นถี่มาก ถึงขนาดที่สมัยต่อมาได้บรรจุไว้ในพจนานุกรมสำคัญหลายฉบับ เช่น พจนานุกรมของแรนเดิมเฮาส์เว็บสเตอร์ฉบับสมบูรณ์ (Random House Webster's Unabridged Dictionary) และนับเป็นมรดกตกทอดทางประวัติศาสตร์สิ่งพิมพ์และวัฒนธรรม อนึ่ง หนังสือพิมพ์ เดอะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) ฉบับ 2 กรกฎาคม 1978 ซึ่งเป็นฉบับพิมพ์ดีดฉบับสุดท้าย ลงสารคดีชื่อ "ลาก่อน Etaoin Shrdlu" (Farewell, Etaoin Shrdlu) ด้วย ในภาษาฝรั่งเศสก็มีถ้อยคำพิมพ์ผิดลักษณะเดียวกัน คือ elaoin sdrétu.

ใหม่!!: นาซาและETAOIN SHRDLU · ดูเพิ่มเติม »

Gemini

Gemini อาจหมายถึง.

ใหม่!!: นาซาและGemini · ดูเพิ่มเติม »

RETScreen

ซอฟต์แวร์จัดการพลังงานสะอาด RETScreen (หรือเรียกโดยย่อว่า RETScreen) เป็นชุดซอฟต์แวร์ที่รัฐบาลแคนาดาสร้างขึ้น ซึ่ง RETScreen Expert เป็นดาวเด่นในงาน Clean Energy Ministerial ประจำปี 2016 ที่ซาน ฟรานซิสโก RETScreen Expert เป็นซอฟต์แวร์เวอร์ชั่นปัจจุบันซึ่งออกเผยแพร่สู่สาธารณชนไปเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2016 ซึ่งซอฟต์แวร์นี้ช่วยให้สามารถระบุ ประเมิน และเพิ่มประสิทธิภาพแบบมวลรวมทั้งในด้านเทคนิคและด้านการเงินสำหรับโครงการพลังงานทดแทน และโครงการประหยัดพลังงานที่มีศักยภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับการวัดและการตรวจสอบประสิทธิภาพของโรงงาน รวมถึงค้นหาโอกาสในการประหยัดพลังงาน/การผลิตที่เกิดขึ้นตามจริงอีกด้วย "โหมดรับชม" ใน RETScreen Expert นั้นใช้งานได้ฟรีและอนุญาตให้เข้าใช้งานได้ในทุกฟังก์ชั่นของซอฟต์แวร์ ซึ่งแตกต่างไปจาก RETScreen เวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา อย่างไรก็ตาม ขณะนี้มี "โหมดมืออาชีพ" ใหม่ (ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถ บันทึก พิมพ์ ฯลฯ) ให้ใช้งานในแบบสมัครใช้บริการรายปีอีกด้วย RETScreen Suite เป็นซอฟต์แวร์เวอร์ชั่นก่อนหน้าของ RETScreen ที่ประกอบด้วย RETScreen 4 และ RETScreen Plus โดยที่ RETScreen Suite จะมีความสามารถในการวิเคราะห์การผลิตร่วม และการวิเคราะห์นอกระบบจำหน่ายไฟฟ้า แต่ RETScreen Expert นั้นจะแตกต่างไปจาก RETScreen Suite เพราะเป็นแพลตฟอร์มซอฟต์แวร์แบบครบวงจร ใช้แม่แบบที่ละเอียดและครอบคลุมสำหรับการประเมินโครงการ และยังมีความสามารถในการวิเคราะห์พอร์ตโฟลิโอได้อีกด้วย นอกจากนี้ RETScreen Expert ยังผสานฐานข้อมูลมากมายเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้งาน อันประกอบไปด้วยฐานข้อมูลสภาวะอากาศทั่วโลกจากสถานีภาคพื้นดินกว่า 6,700 แห่ง ข้อมูลดาวเทียมของ NASA ฐานข้อมูลมาตรฐาน ฐานข้อมูลต้นทุน ฐานข้อมูลโครงการ ฐานข้อมูลอุทกวิทยา และฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ ซอฟต์แวร์นี้มีวัสดุการฝึกอบรมแบบครบวงจรซึ่งรวมถึงตำราเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้ว.

ใหม่!!: นาซาและRETScreen · ดูเพิ่มเติม »

STS-26

STS-26 เป็นภารกิจกระสวยอวกาศของนาซาครั้งที่ 26 และเป็นเที่ยวบินที่เข้าสู่วงโคจรครั้งที่ 7 ของกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี ภารกิจได้เริ่มต้นขึ้นที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี, รัฐฟลอริด้า ในวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1988 หลังจากนั้น 4 วัน ภารกิจได้สิ้นสุดในวันที่ 3 ตุลาคม STS-26 ได้รับตั้งสมญาว่า "รีเทริน์ ทู ไฟต์" (กลับสู่เที่ยวบิน) ซึ่งเป็นภารกิจแรกหลังจากเกิดภัยพิบัติกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 เป็นภารกิจแรกตั้งแต่ภารกิจ STS-9 โดยใช้รหัส STS แบบเดียวกัน ภารกิจนี้เป็นครั้งแรกที่สมาชิกลูกเรือทั้งหมดใส่ชุดความดันในตอนเริ่มภารกิจจนถึงสิ้นสุดภารกิจ และเป็นภารกิจแรกที่มีประสบการณ์ครั้งแรกนับตั้งแต่อะพอลโล 11 โดยมีลูกเรือทั้งหมดปฎิบัติภารกิจอย่างน้อยหนึ่งภารกิจก่อน.

ใหม่!!: นาซาและSTS-26 · ดูเพิ่มเติม »

WANK (หนอนคอมพิวเตอร์)

WANK Worm เป็นหนอนคอมพิวเตอร์ที่โจมตีคอมพิวเตอร์ DEC VMS ใน..

ใหม่!!: นาซาและWANK (หนอนคอมพิวเตอร์) · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: นาซาและ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+13 m²

1 E+13 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10 ล้าน ถึง 100 ล้านตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10 ล้านตารางกิโลเมตร ---- ทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้าน ตร.กม. สหภาพโซเวียต ก่อนการล่มสลาย มีพื้นที่ 22 ล้าน ตร.กม. ดวงจันทร์ มีพื้นที่ 38 ล้าน ตร.กม. มหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ 77 ล้าน ตร.กม.

ใหม่!!: นาซาและ1 E+13 m² · ดูเพิ่มเติม »

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ11 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มกราคม

วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: นาซาและ14 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤศจิกายน

วันที่ 16 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 320 ของปี (วันที่ 321 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 45 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ16 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กันยายน

วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ17 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์)

2001 จอมจักรวาล (2001: A Space Odyssey) เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากนิยายวิทยาศาสตร์ในชุด จอมจักรวาล ของ อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก เรื่อง 2001 จอมจักรวาล เกี่ยวกับการเดินทางไปยังดาวเสาร์ของมนุษย์ในปี ค.ศ. 2001 ออกฉายในปี ค.ศ. 1968 กำกับโดยสแตนลีย์ คูบริก แต่มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อเรื่องเล็กน้อย จากดาวเสาร์ในฉบับนิยายเป็นดาวพฤหัสบดี ด้วยเหตุผลด้านเทคนิคที่ไม่สามารถสร้างฉากดาวเสาร์ขึ้นมาได้ บทภาพยนตร์เขียนคู่ไปกับฉบับนิยาย ได้รับการยกย่องอย่างสูงในฐานะแบบฉบับของภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลออสการ์ สาขา Visual Effects ค.ศ. 1968 และยังเป็นหนึ่งในสิบภาพยนตร์ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล จากการสำรวจของ Sight & Sound ในปี..

ใหม่!!: นาซาและ2001 จอมจักรวาล (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23308 นิยมเสถียร

23308 นิยมเสถียร เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย ระบบสุริยะจักรวาล มีคาบการโคจร 1502.5338982 วัน (4.11 ปี) ค้นพบเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2544 23308 นิยมเสถียร ตั้งชื่อจากนามสกุลของนายกรวิชญ์ นิยมเสถียร นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาในขณะนั้น ที่เป็นหนึ่งในสามสมาชิกกลุ่มตัวแทนประเทศไทย ไปประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ งาน Intel International Science and Engineering Fair หรือ ISEF ที่สหรัฐอเมริกา เรื่องรูปแบบการหุบของใบไมยราบ ซึ่งได้อันดับ 1 ของโลก เมื่อปี..

ใหม่!!: นาซาและ23308 นิยมเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

23310 ศิริวัน

23310 ศิริวัน (23310 Siriwon) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อยของระบบสุริยะ มีคาบการโคจร 1240.4205508 วัน (3.40 ปี) ค้นพบเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2544 23310 ศิริวัน ตั้งชื่อจากนามสกุลของนางสาวณัฐนรี ศิริวัน นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาในขณะนั้น ที่เป็นหนึ่งในสามสมาชิกกลุ่มตัวแทนประเทศไทย ไปประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ งาน Intel International Science and Engineering Fair หรือ ISEF ที่สหรัฐอเมริกา เรื่องรูปแบบการหุบของใบไมยราบ ซึ่งได้อันดับ 1 ของโลก เมื่อปี..

ใหม่!!: นาซาและ23310 ศิริวัน · ดูเพิ่มเติม »

23313 สุโภไควณิช

ป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยที่มีคาบดาราคติ 1227.2011173 วัน (3.36 ปี) ถูกค้นพบในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2544 และตั้งชื่อตาม ณฐพล สุโภไควณิช นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาในขณะนั้น ที่เป็นหนึ่งในสามสมาชิกกลุ่มตัวแทนประเทศไทย ไปประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ งาน Intel International Science and Engineering Fair หรือ ISEF ที่สหรัฐอเมริกา เรื่องรูปแบบการหุบของใบไมยราบ ซึ่งได้อันดับ 1 ของโลก เมื่อปี..

ใหม่!!: นาซาและ23313 สุโภไควณิช · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: นาซาและ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

253 มาทิลเด

253 มาทิลเด (253 Mathilde) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก ค้นพบโดย โยฮันน์ พาลิซา ใน พ.ศ. 2428 ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์จำนวนสี่ปี และโคจรรอบตัวเองด้วยอัตราที่ช้าผิดปกติ คือใช้เวลา 17.4 วัน ในการโคจรรอบตัวเองครบหนึ่งรอบ ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท C ซึ่งพื้นผิวมีส่วนประกอบของคาร์บอนอยู่ปริมาณมาก ทำให้พื้นผิวของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ทึบแสง โดยจะสะท้อนแสงเพียง 4% ของแสงที่ตกกระทบ เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2540 เนียร์ชูเมกเกอร์ได้สำรวจดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ ระหว่างทางที่จะเดินทางไปยังดาวเคราะห์น้อยอีรอส และได้ถ่ายภาพของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ไว้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงหลุมอุกกาบาตจำนวนมากบนพื้นผิว ปัจจุบัน 253 มาทิลเด เป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท C ดวงแรกที่มียานอวกาศไปสำรวจ และก่อนหน้าการเดินทางไปยัง 21 ลูเทเชีย ดาวเคราะห์น้อยมาทิลเดจะเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการสำรวจในปัจจุบัน.

ใหม่!!: นาซาและ253 มาทิลเด · ดูเพิ่มเติม »

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ27 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ28 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ29 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ29 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: นาซาและ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ธันวาคม

วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ3 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มกราคม

วันที่ 31 มกราคม เป็นวันที่ 31 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 334 วันในปีนั้น (335 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: นาซาและ31 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

33179 อาร์แซนแวงแกร์

33179 อาร์แซนแวงแกร์ (33179 Arsènewenger) เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก มีคาบดาราคติเท่ากับ 1544.2942189 วัน (4.23 ปี) ค้นพบเมื่อวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: นาซาและ33179 อาร์แซนแวงแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: นาซาและ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ5 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

55 ปู

55 ปู หรือ โร1 ปู (55 Cancri) เป็นระบบดาวคู่ที่อยู่ห่างจากโลกราว 41 ปีแสงในบริเวณกลุ่มดาวปู ระบบดาวนี้ประกอบด้วยดาวแคระเหลือง 1 ดวง และดาวแคระแดงขนาดเล็กกว่าอีก 1 ดวง ทั้งสองดวง นี้อยู่ห่างกันมากกว่าระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์มากกว่า 1,000 เท่า นับถึง..

ใหม่!!: นาซาและ55 ปู · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค

67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค (67P/Churyumov–Gerasimenko) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า 67พี เป็นดาวหางที่มีคาบดาราคติ 6.45 ปี และมีคาบการหมุนรอบตัวเอง 12.4 ชั่วโมง มีความเร็วสูงสุด 135,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง (38 กิโลเมตร/วินาที) ดาวหางมีขนาดราว 4.1 กิโลเมตร เช่นเดียวกับดาวหางอื่น ๆ ดาวหาง 67พี ได้รับการตั้งชื่อตามผู้ค้นพบ ซึ่งคือ คลิม ชูรูย์มอฟและสเวตลานา อีวานอฟนา เกราซีเมนโค นักดาราศาสตร์ชาวโซเวียต ซึ่งค้นพบดาวหางนี้เมื่อวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: นาซาและ67พี/ชูรูย์มอฟ–เกราซีเมนโค · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: นาซาและ7 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 ธันวาคม

วันที่ 7 ธันวาคม เป็นวันที่ 341 ของปี (วันที่ 342 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 24 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ7 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นาซาและ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

90377 เซดนา

วเคราะห์แคระเซดนา อยู่ในวงกลมสีเขียว ภาพจำลองดาวเคราะห์แคระเซดนาที่วาดขึ้นโดยศิลปิน 90377 เซดนา (Sedna) เป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ในบริเวณส่วนนอกของระบบสุริยะ ในปี..

ใหม่!!: นาซาและ90377 เซดนา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

NASAองค์การอวกาศแห่งชาติสหรัฐองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกาองค์การนาซาองค์การนาซ่านาซ่า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »