สารบัญ
13 ความสัมพันธ์: ภาษาอาร์มีเนียรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลามรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามจำนวนประชากร (สหประชาชาติ)รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดสาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคสโมสรฟุตบอลคาราบักคอเคซัสประเทศอาร์มีเนียประเทศอาเซอร์ไบจานเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก
ภาษาอาร์มีเนีย
ภาษาอาร์มีเนีย (Armenian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ที่พูดในเทือกเขาคอเคซัส (โดยเฉพาะในประเทศอาร์มีเนีย) และใช้โดยชุมชนชาวอาร์มีเนียในต่างประเทศ เป็นแขนงย่อยของตัวเองในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยที่ไม่มีภาษาที่ใกล้เคียงที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในปัจจุบัน มีหลายคนเชื่อว่าภาษาอาร์มีเนียเป็นภาษาที่สัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษาฟรีเจียน (Phrygian) ที่สูญพันธุ์ จากภาษาที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ภาษากรีกน่าจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้เคียงทีสุดกับภาษาอาร์มีเนีย ภาษาอาร์มีเนียมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซีย ซึ่งเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนด้วย อาร์มเนเอีย หมวดหมู่:ประเทศอาร์มีเนีย.
ดู นากอร์โน-คาราบัคและภาษาอาร์มีเนีย
รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม
รัฐสมาชิกขององค์การฯ แสดงด้วยสีเขียว รัฐสังเกตการณ์แสดงด้วยสีแดง และรัฐที่ถูกคัดค้านแสดงด้วยสีน้ำเงิน องค์การความร่วมมืออิสลามที่ก่อตั้งเมื่อ..
ดู นากอร์โน-คาราบัคและรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม
รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.
ดู นากอร์โน-คาราบัคและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง
ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.
ดู นากอร์โน-คาราบัคและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง
รายชื่อประเทศตามจำนวนประชากร (สหประชาชาติ)
้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ที่องค์การสหประชาชาติสำรวจไว้ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..
ดู นากอร์โน-คาราบัคและรายชื่อประเทศตามจำนวนประชากร (สหประชาชาติ)
รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).
ดู นากอร์โน-คาราบัคและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัค
นากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh) หรือ อาร์ทซัค (Արցախ) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh Republic) หรือ สาธารณรัฐอาร์ทซัค (Արցախի Հանրապետություն) เป็นสาธารณรัฐแห่งหนึ่งที่ไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ ตั้งอยู่ในแถบเทือกเขาคอเคซัส สหประชาชาติถือว่าภูมิภาคนากอร์โน-คาราบัคเป็นส่วนหนึ่งของอาเซอร์ไบจาน แต่ในทางปฏิบัติ ภูมิภาคดังกล่าวอยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชื้อสายอาร์มีเนีย สาธารณรัฐอาร์ทซัคปกครองดินแดนส่วนใหญ่ของอดีตแคว้นปกครองตนเองนากอร์โน-คาราบัครวมกับพื้นที่ข้างเคียงทางทิศตะวันตก จึงมีพรมแดนจรดอาร์มีเนียทางทิศตะวันตก จรดอิหร่านทางทิศใต้ และจรดดินแดนที่ไม่มีข้อพิพาทของอาเซอร์ไบจานทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ภูมิภาคนากอร์โน-คาราบัค (ซึ่งมีชาวอาร์มีเนียอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ถูกอ้างกรรมสิทธิ์จากทั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาเซอร์ไบจานและสาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 1 เมื่อทั้งสองประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียในปี..
ดู นากอร์โน-คาราบัคและสาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัค
สโมสรฟุตบอลคาราบัก
มสรฟุตบอลคาราบัก หรือรู้จักกันในชื่อ คาราบัก ɡɑɾɑbɑɟ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของประเทศอาเซอร์ไบจาน ปัจจุบันลงเล่นในอาเซอร์ไบจานพรีเมียร์ลีก สโมสรมีจุดเริ่มต้นจากเมืองอักดัม ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นเมืองร้างอันเนื่องจากสงครามนากอร์โน-คาราบัค ทำให้ปัจจุบัน สโมสรนี้ตั้งอยู่ที่บากู เมืองหลวงของประเทศ สโมสรก่อตั้งในปี..
ดู นากอร์โน-คาราบัคและสโมสรฟุตบอลคาราบัก
คอเคซัส
คอเคซัส (อังกฤษ:Caucasus) เป็นเทือกเขาสูงขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยมียอดเขาเอลบรูสที่มีความสูง มียอดสูงสุดคือยอดเขาเอลบรุส สูง 9642 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ได้ชื่อว่าเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปยุโรปสูงกว่ายอดเขามองบลังค์แห่งเทือกเขาแอลป์ในประเทศฝรั่งเศส เทือกเขาคอเคซัสแห่งนี้ยังทำหน้าที่เป็นปราการธรรมชาติแบ่งพรมแดนระหว่างทวีปยุโรปและทวีปเอเชียให้ปรากฎเด่นชัดในสังคมโลก จนทำให้เกิดปรากฏการณ์กลุ่มประเทศสองทวีปขึ้นมาบนโลกใบนี้ภายใต้ร่มเงาของเทือกเขาคอเคซัส ได้แก่ ประเทศมหาอำนาจอย่างรัสเซีย จอร์เจีย อาร์เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน ยอดเขาเอลบรุส หมวดหมู่:ยุโรปตะวันออก หมวดหมู่:ตะวันออกกลาง หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.
ประเทศอาร์มีเนีย
อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู นากอร์โน-คาราบัคและประเทศอาร์มีเนีย
ประเทศอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ.
ดู นากอร์โน-คาราบัคและประเทศอาเซอร์ไบจาน
เส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ
้นขนานที่ 40 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 1 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 20 นาที ในระหว่างเหมายัน.
ดู นากอร์โน-คาราบัคและเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ
เส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก.
ดู นากอร์โน-คาราบัคและเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Nagorno-Karabakh