สารบัญ
27 ความสัมพันธ์: บริการการแพทย์ฉุกเฉินพยาธิวิทยาคลินิกการตรวจการทำงานของตับการตรวจปัสสาวะการตรวจเลือดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.การเจาะหลอดเลือดดำรายชื่อคณะสหเวชศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อคณะเทคนิคการแพทย์ในประเทศไทยรายการสาขาวิชาวิทยา มีวุฒิสมวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพวิทยาเซรุ่มศูนย์โรคหัวใจภาคเหนือตอนล่าง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สำนักงานราชบัณฑิตยสภาสถาบันแคโรลินสกาห้องปฏิบัติการทางการแพทย์อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดลนที ธีระโรจนพงษ์โลหิตวิทยา
บริการการแพทย์ฉุกเฉิน
รถพยาบาลในประเทศอังกฤษ เฮลิคอปเตอร์ในแอฟริกาใต้ บริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency medical services, EMS) คือบริการฉุกเฉินที่ให้การดูแลรักษาอาการป่วยนอกโรงพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่มีอาการป่วยหรือบาดเจ็บเฉียบพลันไม่ให้เคลื่อนย้ายด้วยตนเอง นอกจากนี้ บริการการแพทย์ฉุกเฉินยังเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ให้บริการการแพทย์, ทีมปฐมพยาบาล, ทีมฟาสต์, ทีมฉุกเฉิน, ทีมกู้ภัย, ทีมรถพยาบาล, บริการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย, คณะพยาบาล และทีมกู้ชีวิต.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
พยาธิวิทยาคลินิก
วิทยาคลินิก หรือเวชศาสตร์ชันสูตร (Clinical pathology or Laboratory Medicine) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคโดยอาศัยการวิเคระห์ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์จากสิ่งส่งตรวจเช่นสารน้ำในร่างกาย เลือด หรือปัสสาวะ โดยอาศัยความรู้ทางเคมีคลินิก จุลชีววิทยาคลินิก โลหิตวิทยา และพยาธิวิทยาโมเลกุล (molecular pathology) ซึ่งแพทย์ด้านนี้จะทำงานร่วมกันกับนักเทคนิคการแพทย์ โลหิตวิทยา: สเมียร์เลือดบนสไลด์แก้ว ย้อมสีเพื่อศึกษาใต้กล้องจุลทรรศน์ โลหิตวิทยา: ภาพจุลทรรศน์ของสเมียร์เลือดปกติ แสดง a:เม็ดเลือดแดง, b:นิวโทรฟิล, c:อีโอสิโนฟิล, d:ลิมโฟไซต์.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และพยาธิวิทยาคลินิก
การตรวจการทำงานของตับ
การตรวจการทำงานของตับ (Liver function tests (LFTs หรือ LFs)) คือ กลุ่มของการตรวจทางเคมีคลินิกในเลือดภายในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานะของตับของผู้ป่วย ค่าพารามิเตอร์ที่วัดรวมถึง PT / INR, aPTT, อัลบูมิน (albumin), บิลลิรูบิน (billirubin) และอื่น ๆ แต่บางการทดสอบ เช่น transaminases ของตับ (AST / ALT หรือ SGOT / SGPT) ไม่ถือว่าเป็นการทดสอบการทำงานของตับ แต่เป็น biomarkers สำหรับบ่งบอกการบาดเจ็บของตับในผู้ป่วยซึ่งอาจจะไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานของตับ โรคตับโดยส่วนใหญ่จะแสดงอาการเพียงเล็กน้อยในระยะเริ่มต้น แต่การตรวจพบโรคนี้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้นเป็นสิ่งที่สำคัญมากนักเทคนิคการแพทย์จะเป็นผู้ตรวจวิเคราะห์จากพลาสมาหรือซีรัมของผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์โดยการเจาะเลือด บางการทดสอบจะเกี่ยวกับข้องกับการทำงานของตับ เช่น อัลบูมิน บางการทดสอบจะเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของเซลล์ เช่น transaminase และบางการทดสอบจะเชื่อมโยงกับระบบทางเดินน้ำดี เช่น Gamma - Glutamyl transferase และ alkaline phosphatase การทดสอบทางชีวเคมีต่างๆ มีประโยชน์ในการประเมินผลและการจัดการกับผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ การทดสอบเหล่านี้สามารถนำไปใช้ (1) ตรวจสอบสถานะของโรคตับ, (2) แยกความแตกต่างระหว่างชนิดของความผิดปกติของตับ (3) วัดขอบเขตของความเสียหายของตับ และ (4) ติดตามการตอบสนองต่อการรักษ.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และการตรวจการทำงานของตับ
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจปัสสาวะ (Urinalysis หรือ UA) คือ วิธีการตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ R&M (Routine and Microscopy) เป็นหนึ่งในวิธีการตรวจพื้นฐานสำหรับการวินิจฉัยทางการแพทย์ การตรวจปัสสาวะสามารถหาค่าของสารหรือเซลล์ต่าง ๆ รวมทั้ง คุณสมบัติของปัสสาวะ เช่น ความถ่วงจำเพาะ ได้ โดยสามารถตรวจได้จากแถบตรวจปัสสาวะ (Urine test strip) ซึ่งจะอ่านผลจากการเปลี่ยนแปลงของสีและการตรวจปัสสาวะโดยใช้กล้องจุลทรรศน.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และการตรวจปัสสาวะ
การตรวจเลือด
การเจาะหลอดเลือดดำ การตรวจเลือด คือ การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์จากเลือดซึ่งปกติแล้วได้จากการเก็บสิ่งส่งตรวจโดยการเจาะเก็บเลือดจากหลอดเลือดดำบริเวณแขนหรือปลายนิ้ว การตรวจเลือดใช้สำหรับตรวจสอบสถาวะทางสรีรวิทยาและชีวเคมี เช่น โรค แร่ธาตุ การใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ และการทำงานของอวัยวะต่างๆ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ในการทดสอบสารเสพติด ถึงแม้เราจะใช้คำว่า "การตรวจเลือด" แต่การตรวจเลือดโดยทั่วไป (ยกเว้นทางโลหิตวิทยา) เราจะตรวจจากพลาสมาหรือซีรัมแทนของเซลล์เม็ดเลือ.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และการตรวจเลือด
การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.
ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้เริ่มจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต..
ดู นักเทคนิคการแพทย์และการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.
การเจาะหลอดเลือดดำ
ลากรทางการแพทย์กำลังเจาะเลือดโดยใช้ระบบเก็บเลือดแบบสุญญากาศ ในรูปนี้เป็นอุปกรณ์เก็บเลือดแบบสุญญากาศชนิดใช้ซ้ำซึ่งปัจจุบันไม่มีที่ใช้แล้ว การเจาะหลอดเลือดดำ (venepuncture, venopuncture, venipuncture) เป็นหัตถการทางการแพทย์อย่างหนึ่งซึ่งทำเพื่อทำให้มีทางเชื่อมเข้าสู่หลอดเลือด โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้การรักษาเข้าหลอดเลือด (intravenous therapy) หรือเก็บตัวอย่างเลือดดำ ผู้ทำหัตถการจะเป็นนักเทคนิคการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์ฉุกเฉิน (emergency medical technician) หน่วยกู้ชีพ (paramedic) นักเจาะเลือด (phlebotomist) และบุคลากรทางการพยาบาลอื่นๆ ส่วนใหญ่จะเจาะเลือดที่หลอดเลือดดำ median cubital ที่ข้อพับแขน หลอดเลือดดำเส้นนี้อยู่ในตำแหน่งใกล้ผิวหนัง และไม่มีเส้นประสาทขนาดใหญ่อยู่คู่กัน.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และการเจาะหลอดเลือดดำ
รายชื่อคณะสหเวชศาสตร์ในประเทศไทย
รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มสหสาขาวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข เช่น สาขาวิชา เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด รังสีเทคนิค เป็นต้น.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และรายชื่อคณะสหเวชศาสตร์ในประเทศไทย
รายชื่อคณะเทคนิคการแพทย์ในประเทศไทย
ันอุดมศึกษาในประเทศไทยที่จัดการเรียนการสอนในสาขาเทคนิคการแพทย์ ต้องได้รับการรับรองหลักสูตรจากสภาเทคนิคการแพทย์ถึงจะมีสิทธิ์เข้าสอบใบประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพท.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และรายชื่อคณะเทคนิคการแพทย์ในประเทศไทย
รายการสาขาวิชา
รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และรายการสาขาวิชา
วิทยา มีวุฒิสม
ตราจารย์ ดร. วิทยา มีวุฒิสม ศาสตราจารย์ วิทยา มีวุฒิสม (22 กันยายน 2492 -) เกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานการวิจัยทางด้านจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพโดยเฉพาะการสร้างองค์ความรู้ใหม่และนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม เป็นที่ปรึกษาหลายบริษัทและนักจัดรายการวิทยุ ร่วมดำเนินรายการ "ตอบปัญหาสุขภาพ" ที่สถานีวิทยุ วพท.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และวิทยา มีวุฒิสม
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์สุขภาพ
วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ
วิทยาเซรุ่ม
วิทยาเซรุ่ม หรือวิทยาน้ำเหลือง (serology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับน้ำเลือด โดยทางปฏิบัติแล้วคำนี้หมายถึงการวินิจฉัยโรคโดยการตรวจแอนติบอดีในน้ำเลือด เนื่องจากร่างกายของมนุษย์จะสร้างแอนติบอดีขึ้นมาหลังจากการติดเชื้อเพื่อต่อต้านเชื้อจุลชีพ ต่อต้านโปรตีนที่มาจากภายนอกร่างกาย (เช่นจากการให้โลหิตผิดหมู่เลือด) หรือเป็นการต่อต้านโปรตีนจากร่างกายตัวเอง เช่นในโรคภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเอง (autoimmune disease) แพทย์มักสั่งทำการทดสอบทางวิทยาเซรุ่มเพื่อวินิจฉัยหลังสงสัยการติดเชื้อ ในโรครูมาติก และในสถานการณ์อื่นๆ เช่นการตรวจหมู่เลือด การตรวจเลือดทางวิทยาเซรุ่มยังช่วยวินิจฉัยผู้ป่วยในโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องที่ร่างกายไม่สร้างแอนติบอดี อาทิ X-linked agammaglobulinemia ซึ่งจะแสดงผลการตรวจแอนติบอดีเป็นลบ วิธีการเลือกเทคนิคการทดสอบทางวิทยาเซรุ่มขึ้นกับชนิดของแอนติบอดีที่เราศึกษา วิธีต่างๆ ได้แก่ ELISA, การเกาะกลุ่ม (agglutination), การตกตะกอน (precipitation), การตรึงคอมพลีเมนท์ (complement-fixation), หรือการใช้เทคนิคเรืองแสง fluorescent antibodies การตรวจทางวิทยาเซรุ่มไม่จำกัดเฉพาะการตรวจน้ำเลือดเท่านั้น แต่สามารถทดสอบในสารน้ำในร่างกายอื่นๆ เช่น น้ำอสุจิและน้ำลาย ซึ่งมีคุณสมบัติค่อนข้างใกล้เคียงกับน้ำเหลือง การตรวจทางวิทยาเซรุ่มนอกจากใช้เพื่อวินิจฉัยแล้วยังใช้ในทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อหาตัวผู้กระทำความผิด เช่นการตรวจน้ำอสุจิในคดีข่มขืนกระทำชำเรา เป็นต้น.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และวิทยาเซรุ่ม
ศูนย์โรคหัวใจภาคเหนือตอนล่าง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
ูนย์โรคหัวใจภาคเหนือตอนล่าง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นศูนย์กลางในการศึกษาวิจัยและให้บริการรักษาด้านโรคหัวใจในระดับภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีสถานที่ดำเนินงาน ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และศูนย์โรคหัวใจภาคเหนือตอนล่าง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
สถาบันแคโรลินสกา
ันแคโรลินสกา (สวีเดน: Karolinska Institutet) เป็นสถาบันที่สอนทางด้านแพทย์และศัลยศาสตร์ เป็นโรงเรียนแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในสวีเดน และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป มีชื่อเดิมว่า Royal Caroline Institute http://ki.se/ki/jsp/polopoly.jsp?d.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และสถาบันแคโรลินสกา
ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ คือ ห้องปฏิบัติการสำหรับตรวจสิ่งส่งตรวจ (Specimens) ของผู้เข้ามารับบริการตรวจทางสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสุขภาพร่างกาย สำหรับประเทศไทย ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ อาจจะมีชื่อเรียกได้หลายแบบ ได้แก่ ห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ ห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิค และห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร เป็นต้น.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2544 โดยเป็นการรวมภาควิชาที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก (Pre-clinic) ทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพทุกสาขาเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก และให้การสนับสนุนงานวิจัยกับอาจารย์และนิสิตในคณะกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การแพท.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
ณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Allied Health Sciences, University of Phayao) เป็นหน่วยงานวิชาการระดับคณะวิชา ของมหาวิทยาลัยพะเยา ทำการจัดการศึกษาด้านเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบั.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันเปิดสอนวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา และรังสีเทคน.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้รับการจัดตั้ง เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และจัดการเรียนการสอนในด้านสหเวชศาสตร์ในหลายสาขาวิชาได้แก่ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สาขาวิชารังสีเทคนิค และสาขาวิชากายภาพบำบัด ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาคารคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะเทคนิคการแพทย์คณะแรกของประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดสอนในหลักสูตรเทคนิคการแพทย์และรังสีเทคนิค ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อวงการเทคนิคการแพทย์ และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีการศึกษา 2544 มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ ในปีการศึกษา 2545 ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังความปลาบปลื้มมาสู่คณาจารย์ และนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์อย่างมาก.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
นที ธีระโรจนพงษ์
นที ธีระโรจนพงษ์ นที ธีระโรจนพงษ์ เป็นผู้ที่เคลื่อนไหวทางการเมืองและสังคมในประเด็นเกี่ยวกับเรื่องบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และนที ธีระโรจนพงษ์
โลหิตวิทยา
ลหิตวิทยา เป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาถึงสาเหตุ, การวินิจฉัย, การรักษา, การติดตามผล และการป้องกันโรคทางเลือด ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากผลิตภัณฑ์และองค์ประกอบของเลือดที่ผิดปกติ เช่น จำนวนเม็ดเลือด โปรตีนในเลือด หรือ กระบวนการแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติไป เป็นต้น.
ดู นักเทคนิคการแพทย์และโลหิตวิทยา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ เทคนิคการแพทย์