โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นักบวช

ดัชนี นักบวช

นักบวช หรือ บรรพชิต เป็นผู้สละชีวิตฆราวาสเข้าพิธีบวชตามลัทธิศาสนาต่าง ๆพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

104 ความสัมพันธ์: บริขารบาหลีอากาบาทหลวงชิเนด โอคอนเนอร์บุคคลโสดชีปีโอเน บอร์เกเซฟ. ฮีแลร์ฟรันเชสโก มารีอา เดล มอนเตพระพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 4 รอบ 5 ธันวาคม 2518พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9พระสงฆ์พระไตรปิฎกภาษาบาลีพระเยซูพราหมณ์พาวรีพลับพลากัลมาษบาทการบวชการกำเนิดของยอห์นผู้ให้บัพติศมาการก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลางฐานันดรแห่งราชอาณาจักรภยเภรวสูตรมิโกะมุขนายกมงกุฎพระสันตะปาปายอห์นผู้ให้บัพติศมายัน ฮุสระบอบเก่ารายชื่อตัวละครในอินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงินรายชื่อตัวละครในแฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหารรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญลัทธิอาจาลี่ลัทธิตงปาลุยจี กัลวานีลูอิส แคร์รอลวัชราจารยะวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารวัดคลองโพธิ์วันโกนวันเข้าพรรษาวิลเลียม ลอดวิลเลียมแห่งมาล์มสบรีวงศ์หอยจุกพราหมณ์ศาสนาพุทธแบบเนวารศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่นศาสนาคริสต์ศิษยาภิบาลศีลศีลศักดิ์สิทธิ์...สามเณรสาวกสุสานชุคบาตาร์หนังสือกันดารวิถีหนังสืออพยพหนังสือซามูเอลหนึ่งฟัดหนึ่ง ใหญ่ต่อใหญ่อับราฮัมอาโรนอิมโฮเทปอินุยาฉะ (ตัวละคร)อนุศาสนาจารย์ฮุลดริช ซวิงลีฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีดจีโรลาโม ซาโวนาโรลาจตุปัจจัยทอมัส อไควนัสทูตสวรรค์ดาบสดีกันคากูเระคิริชิตังคำสาปฟาโรห์ (มังงะ)คำนำหน้าชื่อฆราวาสปฏิคาหกประวัติศาสตร์โลกประวัติศาสนาคริสต์ประเทศอินเดียปริพาชกปัญจวัคคีย์ปางโปรดพุทธบิดานักบุญเศคาริยาห์นักพรตนิกายนิกายในศาสนาพุทธนิสัย 4แม่ชีแม็ทธิว แพริสโรมุลุสและแรมุสโจน ออฟ อาร์ค วีรสตรีเหล็กหัวใจทมิฬไฟนอลแฟนตาซี IIIเกมลูกแก้วเกออร์กี กาปอนเยเรมีย์เอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะเผ่าเลวีเจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์เจ้าอาวาสเทวทูตเทวไทเดียรถีย์เนกขัมมะเนตเจราเพเรฟTriple K ขยายดัชนี (54 มากกว่า) »

บริขาร

ริขาร (อ่านว่า บอริขาน) หมายถึงเครื่องใช้ไม้สอยที่จำเป็นของภิกษุซึ่งมี 8 อย่าง เรียกว่าอัฐบริขาร (อ่านว่า -อัดถะ) แปลว่าบริขาร 8 คือสบง (ผ้านุ่ง) จีวร (ผ้าห่ม) สังฆาฏิ (ผ้าซ้อน) บาตร มีดโกน เข็ม ประคดเอว ธมกรก (ที่กรองน้ำ) ซึ่งจำเป็นในการเตรียมการบวช เช่นคำพูดของเพื่อนบ้านถามแม่ของนาคซึ่งเตรียมจะบวชว่า "บวชลูกคราวนี้ไปซื้ออัฐบริขารมาหรือยัง" อัฐบริขาร ในวงการพระจำกันว่า "ผ้า 4 เหล็ก 3 น้ำ 1" ผ้า 4 คือสบง จีวร สังฆาฏิ ประคดคาดเอว เหล็ก 3 คือบาตร มีดโกน เข็ม น้ำ 1 คือธมกรก บางครั้งเรียกบริขารเหล่านี้ว่า สมณบริขาร หมายถึงเครื่องใช้สอยของสมณะหรือนักบวชในพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: นักบวชและบริขาร · ดูเพิ่มเติม »

บาหลีอากา

หลีอากา (Suku Bali Aga) หรือ บาหลีมูลา (Suku Bali Mula) แปลว่า "ชาวบาหลีดั้งเดิม" เป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: นักบวชและบาหลีอากา · ดูเพิ่มเติม »

บาทหลวง

ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.

ใหม่!!: นักบวชและบาทหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ชิเนด โอคอนเนอร์

นด มารี เบอร์นาเดต โอคอนเนอร์ (Sinéad Marie Bernadette O'Connor) เกิดเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1966 เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวไอร์แลนด์ เธอมีชื่อเสียงในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 กับอัลบั้มเปิดตัวที่ชื่อ The Lion and the Cobra ประสบความสำเร็จทั่วโลกกับซิงเกิ้ลในปี ค.ศ. 1990 ที่นำเพลงเก่ามาทำใหม่ ในเพลง "Nothing Compares 2 U" จากนั้นเธอ เริ่มมีปัญหา ขึ้นศาล จากการพูดจาโผงผาง การโกนหัวเป็นสกินเฮด และมุมมองทางด้านศาสนา สิทธิสตรี สงครามและเพศวิถีของเธอ ขณะที่เธอยังคงร้องเพลงอยู่ เธอได้ร่วมงานกับศิลปินอื่นหลายคน และยังปรากฏในคอนเสิร์ตหารายได้การกุศลหลายคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: นักบวชและชิเนด โอคอนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลโสด

ในนิยามทางกฎหมายสำหรับสถานภาพระหว่างบุคคล บุคคลโสด หมายถึง ผู้ที่ไม่อยู่ในความสัมพันธ์หรือมิได้สมรส ในการใช้ทั่วไป คำว่า "โสด" มักใช้เรียกบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องในความสัมพันธ์โรแมนติกจริงจังทุกชนิด ซึ่งรวมถึงการเดต (dating) ระยะยาว การหมั้นหรือการสมรส ทั้งบุคคลโสดและยังไม่สมรสอาจเข้าร่วมในพิธีกรรมการเดตและกิจกรรมอื่นเพื่อหาคู่ระยะยาวหรือคู่สมรส ทว่า ในบางกรณี บุคคลโสดไม่สนใจการสมรส การอยู่กินฉันสามีภรรยา หรือความสัมพันธ์แบบผูกมัดเป็นทางการอื่น ๆ มีหลายสาเหตุที่ทำให้บุคคลยังโสดอยู่ ซึ่งได้แก่ปัญหาการเงินและอารมณ์หรือสุขภาพกาย ความเครียดในครอบครัว ข้อจำกัดด้านเวลา การศึกษา งานอาชีพ ความชอบส่วนบุคคล อายุมากหรือความกลัวสังคม และการอาศัยในสังคมหรือท้องถิ่นซึ่งมีจำนวนบุคคลของเพศที่นิยมสำหรับการดึงดูดโรแมนติกหรือทางเพศไม่เพียงพอ ไม่ควรสันนิษฐานจากข้อข้างต้นว่ามีความจำเป็นต้องระบุสาเหตุแน่นอนที่บางคนเลือกครองโสด การที่บุคคลอยู่ในความสัมพันธ์หรือไม่อยู่นั้น "เป็นธรรมชาติ" เท่า ๆ กัน งานอาชีพและตำแหน่งบางอย่างจำเป็นต้องให้บุคคลครองโสด บางครั้งร่วมกับการอยู่เป็นโสดหรือพรหมจรรย์ ไม่ว่าด้วยเหตุผลทางโลกหรือทางศาสนา เช่น นักบวช ชีและนักพรต สามารถเกิดความโดดเดี่ยวในบางคนที่แสวงแต่ไม่พบผู้ที่ปรารถนาเดตด้วย โดยเฉพาะผู้ที่ประสบการสูญเสียเพื่อนคู่เคียงหลังการหย่าหรือการเสียชีวิต ทว่า บุคคลโสดบางคนถือและสำนึกว่าการปลีกเป็นโอกาส ในบางประเทศ กฎหมายบางอย่างอาจส่งผลเสียโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อบุคคลโสด ตัวอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกา ผลประโยชน์ของม่ายประกันสังคมจะให้เฉพาะบุคคลที่เคยสมรส และบุคคลโสดในสหรัฐจ่ายภาษีรายได้สูงกว่าบุคคลสมรสแล้ว ในหลายประเทศ ทัวร์และผู้จัดการวันหยุดกำหนดโทษ (บางทีสูงถึง 100%) แก่บุคคลที่เที่ยวคนเดียว.

ใหม่!!: นักบวชและบุคคลโสด · ดูเพิ่มเติม »

ชีปีโอเน บอร์เกเซ

ปิโอเน บอร์เกเซ (Scipione Borghese หรือ Scipione Caffarelli; ค.ศ. 1576 - (2 ตุลาคม ค.ศ. 1633) พระคาร์ดินัล สคิปิโอเน บอร์เกเซเป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกและนักสะสมศิลปะของยุคเรอเนสซองซ์และเป็นสมาชิกของตระกูลบอร์เกเซ thumbnail.

ใหม่!!: นักบวชและชีปีโอเน บอร์เกเซ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ. ฮีแลร์

ฟร็องซัว ตูเวอแน อีแลร์ (François Touvenet Hilaire) หรือที่รู้จักในนาม ฟ.ฮีแลร์ (F. Hilaire) หรือ เจษฎาจารย์ฮีแลร์ (18 มกราคม 2424 – 3 ตุลาคม 2511) เป็นนักบวชคณะภราดาเซนต์คาเบรียล เจ้าของสมญานาม "ปราชญ์แห่งอัสสัมชัญ" ได้รับการยกย่องในด้านความแตกฉานภาษาไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากท่านเป็นชาวฝรั่งเศสมาแต่กำเนิด จนเมื่อได้มาอยู่ที่ประเทศไทย ท่านก็ศึกษาภาษาไทยจนแตกฉานและสามารถแต่งหนังสือเรียนภาษาไทยให้เด็กไทยเรียนได้ นามว่า "ดรุณศึกษา" ท่าน ฟ.ฮีแลร์ เป็นหนึ่งในสองบุคคลที่สำคัญที่สุดของโรงเรียนอัสสัมชัญ ร่วมกับ คุณพ่อกอลมเบต์ ปัจจุบัน ณ โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้มีการสร้างอนุสาวรีย์ และสร้างอาคารโดยใช้ชื่อตามภราดา ฟ.ฮีแลร์ เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณงามความดีของท่านทั้งต่อโรงเรียนและต่อประเทศชาติ คำว่า ฟ.ฮีแลร์ เป็นศาสนนามของภราดาฟร็องซัว ตูเวอแน โดย ฟ. มิได้ย่อมาจากนามเดิม หากย่อมาจากภาษาฝรั่งเศส frère ที่ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Brother ซึ่งบัญญัติศัพท์เป็นภาษาไทยว่า "เจษฎาจารย์" หรือ ภร.

ใหม่!!: นักบวชและฟ. ฮีแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันเชสโก มารีอา เดล มอนเต

ฟรันเชสโก มารีอา บอร์โบเน เดล มอนเต (Francesco Maria Borbone Del Monte; 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1549, เวนิส - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1627, โรม) เป็นนักบวชชาวอิตาลีที่มีตำแหน่งเป็นคาร์ดินัล เดล มอนเตเป็นนักการทูตและนักสะสมศิลปะคนสำคัญ ความสำคัญของเดล มอนเตอยู่ที่เป็นหนึ่งในผู้อุปถัมภ์การาวัจโจผู้เป็นจิตรกรยุคบาโรกคนสำคัญของอิตาลี และเป็นผู้สะสมศิลปะที่เป็นงานชิ้นสำคัญ ๆ ในยุคนั้น.

ใหม่!!: นักบวชและฟรันเชสโก มารีอา เดล มอนเต · ดูเพิ่มเติม »

พระ

ระ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: นักบวชและพระ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 4 รอบ 5 ธันวาคม 2518

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 4 รอบ 12 สิงหาคม 2523 พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 4 รอบ ซึ่งจัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เจริญพระชนมายุครบ 4 รอบ 48 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2518 โดยการพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาตามปกติเช่นปีอื่นดังที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กำหนดการพระราชพิธีศุภมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ดังนี้.

ใหม่!!: นักบวชและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 4 รอบ 5 ธันวาคม 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9

ระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีตลอดรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามหมายกำหนดการจากสำนักพระราชวัง.

ใหม่!!: นักบวชและพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

พระสงฆ์

ระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้ พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์ คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะได้บรรลุธรรมตามพระพุทธเจ้าสั่งสอนไว้ ถือเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา พระภิกษุปฏิบัติตามสิกขาบทที่กำหนดไว้จำนวน 227 ข้อ ส่วนพระภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ บางครั้งเรียกว่าสงฆ์ ภิกษุรูปแรกในพระศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าคือพระอัญญาโกณฑัญญ.

ใหม่!!: นักบวชและพระสงฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระไตรปิฎกภาษาบาลี

ปรากฏพระพุทธดำรัสในมหาปรินิพพานสูตรว่า "เมื่อทรงปรินิพานไปแล้ว พระธรรมวินัยที่ได้ทรงสั่งสอนไว้แล้ว จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย"พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. ออนไลน์. เข้าถึงได้จากhttp://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B.

ใหม่!!: นักบวชและพระไตรปิฎกภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: นักบวชและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พราหมณ์พาวรี

ราหมณ์พาวรี เป็นพราหมณ์ผู้เป็นอาจารย์ของพระอชิตเถระซึ่งต่อมาเป็นศิษย์ผู้เป็น 16 ใน 80 พระอสีติมหาสาวกของพระพุทธเจ้.

ใหม่!!: นักบวชและพราหมณ์พาวรี · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลา

ลับพลา (tabernacle) ได้ถูกกล่าวถึงในพระธรรมอพยพ พระเจ้าทรงบัญชาให้โมเสส สร้างสถานนมัสการพระเจ้าขึ้น เป็นเต็นท์ที่ประทับ และจัดทำองค์ประกอบต่าง ๆ ของสถานนมัสการนั้นขึ้น.

ใหม่!!: นักบวชและพลับพลา · ดูเพิ่มเติม »

กัลมาษบาท

ในเทพปกรณัมฮินดู กัลมาษบาท (कल्माषपाद กลฺมาษปาท), เสาทาส (सौदास), มิตรสหะ (मित्रसह), หรือ อมิตรสหะ เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์อิกษวากุ ซึ่งถูกฤษีวสิษฐะสาปให้กลายเป็นรากษส พระเจ้ากัลมาษบาทเป็นต้นวงศ์ของพระรามซึ่งถือกันว่าเป็นอวตารของเทพวิษณุและเป็นวีรบุรุษในมหากาพย์ฮินดูเรื่อง รามายณะ เอกสารหลายฉบับพรรณนาว่า พระเจ้ากัลมาษบาททรงถูกสาปให้สิ้นพระชนม์ถ้าร่วมประเวณีกับพระมเหสี พระองค์จึงขอให้ฤษีวสิษฐะประทานบุตรให้ด้วยวิธีนิโยคอันเป็นวิธีตามประเพณีโบราณที่ชายสามารถขอให้ภริยามีสัมพันธ์กับชายอื่นเพื่อให้เกิดบุตรได้ พระเจ้ากัลมาษบาทยังปรากฏในร้อยกรองเรื่องสำคัญอย่าง ปุราณะ, มหาภารตะ, และ รามายณะMani, p. 377.

ใหม่!!: นักบวชและกัลมาษบาท · ดูเพิ่มเติม »

การบวช

การบวช เป็นศัพท์ที่ใช้ในทางศาสนาโดยมีขั้นตอนที่จะทำให้บุคคลธรรมดาผู้นับถือศาสนาต่างๆ กลายเป็นนักบวชของศาสนาที่ตนนับถือนั้น การบวชมักประกอบไปด้วยพิธีกรรมและแบบพิธีต่าง ๆ ซึ่งขั้นตอนการบวชเองนั้นก็มีความแตกต่างกันไปตามศาสนาและชื่อเรียกขาน ผู้ที่กำลังเตรียมเข้าสู่การบวชเรียกว่า ผู้เตรียมบวช (ordinand).

ใหม่!!: นักบวชและการบวช · ดูเพิ่มเติม »

การกำเนิดของยอห์นผู้ให้บัพติศมา

การกำเนิดของยอห์นผู้ให้บัพติศมา (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือการเกิดของยอห์นผู้ทำพิธีล้าง (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (Nativity of St.) เป็นเหตุการณ์สำคัญเหตุการณ์หนึ่งในศาสนาคริสต์ มีรายละเอียดปรากฏในพระวรสารนักบุญลูกา คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกฉลองเหตุการณ์นี้ในวันที่ 24 มิถุนายนของทุกปี เรียกว่าวันสมโภชนักบุญยอห์น แบปติสต์ บังเกิด (Solemnity of the Birth of St. John the Baptist).

ใหม่!!: นักบวชและการกำเนิดของยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง

มเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพบปะกับคณะผู้ก่อการในการปฏิวัติชาวนา การปฏิวัติของชุมชนในปลายสมัยกลางของยุโรป (Popular revolt in late medieval Europe) โดยทั่วไปเป็นการก่อความไม่สงบหรือการปฏิวัติของเกษตรกรในชนบทหรือชนชั้นกลางในเมืองในการต่อต้านขุนนาง, นักบวช หรือ พระมหากษัตริย์ระหว่างคริสต์ศัตวรรษที่ 14 จนถึงต้นคริสต์ศัตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ“วิกฤติกาลของปลายสมัยกลางของยุโรป”(Crisis of the Late Middle Ages) บางครั้งก็เรียกว่า“กบฏชาวนา”(Peasant revolt) ที่เป็นการปฏิวัติของชุมชนที่ครอบคลุมอย่างกว้างไม่เฉพาะแต่เกษตรกรหรือชาวน.

ใหม่!!: นักบวชและการก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร

นันดรแห่งราชอาณาจักร (estates of the realm) เป็นระเบียบสังคมอย่างกว้างของสังคมซึ่งมีแนวคิดเป็นลำดับชั้น (hierarchically conceived society) รับรองในสมัยกลางและสมัยใหม่ตอนต้นในทวีปยุโรปที่นับถือศาสนาคริสต์ บ้างแยกเป็นสามฐานันดร ได้แก่ นักบวช ชนชั้นขุนนางและสามัญชน และมักกล่าวถึงตามการจัดอันดับความสำคัญในสมัยกลาง (เนื่องจากพระเป็นเจ้าทรงลิขิตลำดับชั้น) เป็นฐานันดรที่หนึ่ง ที่สองและที่สามตามลำดับ ในแผนดังกล่าว พระเป็นเจ้าทรงลิขิตพันธกิจ (ministry) ซึ่งจำเป็นต่อการลิขิตราชนิกุลและชนชั้นขุนนาง ผู้มอบเอกสิทธิ์แก่สามัญชนผู้ทรงเกียรติ คำว่า "ฐานันดรที่สี่" กำเนิดขึ้นภายหลัง โดยอ้างถึงแรงนอกโครงสร้างอำนาจซึ่งเป็นที่ยอมรับ และมักอ้างอิงถึงสื่อมวลชนอิสระมากที่สุด ระหว่างสมัยกลาง บุคคลเกิดในชนชั้นของตัว และแม้การเปลี่ยนแปลงฐานะทางสังคมเป็นไปได้ก็เกิดขึ้นช้า ยกเว้น ศาสนจักรสมัยกลาง ซึ่งเป็นเพียงสถาบันเดียวซึ่งบุรุษสามารถถึงตำแหน่งสูงสุดในสังคมได้ครั้งหนึ่งในชีวิต.

ใหม่!!: นักบวชและฐานันดรแห่งราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ภยเภรวสูตร

รวสูตร เป็นพระสูตรในพระสุตตันตปิฎก หมวดมัชฌิมนิกาย หมวดมูลปัณณาสก์ อยู่ในวรรคชื่อมูลปริยายวรรค สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงพระสูตรนี้ แก่พระภิกษุทั้งหลาย ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ที่สร้างโดยท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีในนครสาวัตถี โดยสมเด็จพระบรมศาสดาทรงแสดงพระสูตรแก่ ชาณุสโสณิพราหมณ์ซึ่งเข้าไปเฝ้า ทั้งนี้ ชาณุสโสณีนั้น ในคัมภีร์ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย ระบุว่า ไม่ใช่ชื่อที่บิดามารดาของพราหมณ์นั้นตั้งให้ แต่ว่าเป็นชื่อที่ได้มาจากการได้ตำแหน่ง ว่ากันว่าตำแหน่งชาณุสโสณีนั้นเป็นตำแหน่งปุโรหิต พระราชาได้พระราชทานตำแหน่งปุโรหิตนั้นให้แก่เขาฉะนั้นคนทั้งหลายจึงเรียกเขาว่า ชาณุสโสณี.

ใหม่!!: นักบวชและภยเภรวสูตร · ดูเพิ่มเติม »

มิโกะ

'''มิโกะ''' (หญิง) และองเมียวจิ (ชาย) จากภาพยนตร์เรื่ององเมียวจิ ปี 2544 มิโกะ (shrine maiden) คือหญิงสาวที่ทำงานอยู่ในศาลเจ้าชินโต ในช่วงก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นเป็นช่วงที่การนับถือเทพเจ้าและธรรมชาติของชาวญี่ปุ่นยังแรงกล้า ชาวบ้านชาวเมืองนับถือเทพเจ้าและเข้าใจว่าเทพเจ้าบันดาลให้สิ่งต่างๆ เกิดขึ้น บางสิ่งที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น เช่น ความแห้งแล้ง ฝนตก น้ำท่วม แผ่นดินไหว ฟ้าผ่า ฯลฯ คนในสมัยก่อนต่างก็เชื่อว่าเป็นสารจากเทพเจ้าที่ส่งมาให้มนุษย์ได้รับรู้ บางครั้งอาจมารูปแบบสิ่งเหนือธรรมชาติก็ได้ ผู้ที่ทำการรับสารนั้นจากเทพเจ้านั้นจะเป็นหญิงสาวบริสุทธิ์ที่เรียกว่า มิโกะ มิโกะในยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นจะไม่ได้แต่งตัวเหมือนกับมิโกะที่เราเห็นในปัจจุบัน ส่วนที่เราเห็นแต่งตัวเหมือนในปัจจุบันนั้นเป็นช่วงเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์แล้ว อย่างที่รู้กันว่าญี่ปุ่นได้ถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของเทพเจ้า ความเชื่อในเทพเจ้าและธรรมชาติ สิ่งศักดิ์สิทธิ์มากมาย ในสมัยนี้อาจเรียกรวมๆ ว่า สร้างขึ้นมาบนพื้นฐานของเทพนิยาย เมื่อเป็นเช่นนั้นการจะรับสารจากเทพเจ้าจำเป็นต้องมีคนกลางระหว่างเทพเจ้าและมนุษย์ธรรมดา เราเรียกมนุษย์ที่ทำหน้าที่รับสารและแปลสารจากเทพเจ้าว่ามิโกะ มิโกะจะเป็นหญิงสาวพรหมจารี (ไม่ข้องแวะกับชายใด).

ใหม่!!: นักบวชและมิโกะ · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายก

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายก บิชอป (Bishop) กรมการศาสนาและราชบัณฑิตยสถานบางครั้งให้เรียกว่ามุขนายก เป็นตำแหน่งการปกครองในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ หรือแม้แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น แองกลิคัน ลูเทอแรน เมทอดิสต.

ใหม่!!: นักบวชและมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระสันตะปาปา

ตราของพระสันตะปาปาที่ใช้สัญลักษณ์มงกุฎพระสันตะปาปา ตราของนครรัฐวาติกันก็เป็นรูปแบบเดียวกันยกเว้นแต่เฉพาะตำแหน่งของกุญแจเงินกับกุญแจทองจะสลับที่กัน มงกุฎพระสันตะปาปา หรือ มงกุฎสามชั้น (Papal Tiara หรือ Triple Tiara, Triregnum, Trirègne, Trirègne) เป็นมงกุฎที่มีอัญมณีตกแต่งสามชั้นที่เป็นมงกุฎประจำตำแหน่งพระสันตะปาปา ที่ว่ากันว่ามีรากฐานมาจากสมัยไบแซนไทน์และเปอร์เซีย ตราอาร์มของพระสันตะปาปามีรูปมงกุฎมาตั้งแต่สมัยโบราณ พร้อมด้วยกุญแจนักบุญซีโมนเปโตร.

ใหม่!!: นักบวชและมงกุฎพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้ให้บัพติศมา

อห์นผู้ให้บัพติศมา (โปรเตสแตนต์เดิมเรียกว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา) ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง(คาทอลิก) หรือนักบุญยอห์น แบปติสต์(คาทอลิก) (John the Baptist; John the Baptizer) เป็นนักเทศน์ชาวยิวในคริสศตวรรษที่ 1 ถือว่าเป็นผู้เผยพระวจนะในสี่ศาสนาคือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ และ “Mandaeanism” ท่านถูกกล่าวถึงในพระวรสาร คัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์ของศาสนาบาไฮ นักบุญยอห์นแบปติสต์บางทีก็รู้จักกันในชื่อ “ยอห์นผู้มาก่อน” (John the Forerunner) เพราะถือกันว่านักบุญยอห์นเป็นผู้มาล่วงหน้าก่อนพระเยซู.

ใหม่!!: นักบวชและยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฮุส

ัน ฮุส ยัน ฮุส (Jan Hus) หรือ จอห์น ฮัส (John Hus, John Huss; ประมาณ ค.ศ. 1369 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1415) เป็นนักปรัชญาและบาทหลวงชาวเช็ก ถือเป็นบุคคลแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการปฏิรูปศาสน.

ใหม่!!: นักบวชและยัน ฮุส · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเก่า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในฐานะ “พระสุริยเทพ” ระบอบเก่า หรือ อองเซียงเรฌีม (Ancien Régime) โดยทั่วไปหมายถึงระบบแบบราชาธิปไตย อภิชนาธิปไตย สังคม และการเมืองที่ใช้ในฝรั่งเศสภายใต้ราชวงศ์วาลัวและราชวงศ์บูร์บงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 18 โครงสร้างทางการบริหารและทางการสังคมของระบอบเก่าเป็นผลมาจากระบบการบริหารของสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในสมัยกลางที่สิ้นสุดในการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1789 ระบอบเก่าของประเทศอื่น ๆ ในยุโรปก็มีประวัติความเป็นมาคล้ายคลึงกัน แต่มีผลบั้นปลายที่แตกต่างกันบางประเทศก็สิ้นสุดลงด้วยระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางประเทศก็แตกแยกออกไปจากสงครามและการปฏิวัติ อำนาจระบอบเก่าอยู่บนพื้นฐานสามประการ ได้แก่ พระมหากษัตริย์ นักบวช และชนชั้นขุนนาง ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร (Estates of the realm) ก็แบ่งออกเป็นสามเช่นกัน คือ ฐานันดรที่หนึ่ง (First Estate) คือนักบวชโรมันคาทอลิก, ฐานันดรที่สอง (Second Estate) คือชนชั้นขุนนาง และ ฐานันดรที่สาม (Third Estate) คือสามัญชน โดยทั่วไปแล้วระบอบเก่าหมายถึงระบอบการปกครองใดใดที่มีลักษณะตามที่กล่าวแล้ว ระบอบเก่ารักษาลักษณะหลายประการของระบบเจ้าขุนมูลนายที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเฉพาะในการใช้อภิสิทธิ์ของขุนนางและชนชั้นเจ้านายที่สนับสนุนโดยปรัชญาเทวสิทธิราชย์ ความแตกต่างอยู่ตรงที่อำนาจการปกครองที่เคยเป็นของเจ้าครองนครต่างๆ มาก่อนกลายเป็นอำนาจของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เพิ่มมากขึ้น วลีนี้ใช้มาตั้งแต่ยุคเรืองปัญญา (พบในเอกสารครั้งแรกในภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1794) ในความหมายในทางลบ เช่นเดียวกับการใช้คำว่า ยุคมืด ที่กลายมาเรียกกันว่า สมัยกลาง แนวคิดของการใช้คำว่าระบอบเก่าเป็นการแฝงความหมายเป็นนัยยะว่าเป็นระบอบที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติ และควรจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น ระบอบใหม่ (New Order) คำว่า ระบอบเก่า คิดขึ้นโดยนักปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อเผยแพร่สร้างความเชื่อถือในเหตุผลของการปฏิวัติและทำลายชื่อเสียงของระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ซึ่งเป็นการใช้ในทางที่มีอคติในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ สำหรับนักประพันธ์บางคนคำนี้เป็นคำที่ทำให้เกิดความรำลึกถึงเหตุการณ์บางอย่าง เช่นที่ตาล์ลีย์รองด์ (Talleyrand) กล่าวว่า: ภาษาสเปนใช้คำว่า “Antiguo Régimen” แต่แม้ว่าสเปนจะได้รับผลกระทบกระเทือนจากการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลที่ตามต่อมาแต่ความเปลี่ยนแปลงในสเปนไม่รุนแรงเท่ากับการเปลี่ยนแปลงในฝรั่ง.

ใหม่!!: นักบวชและระบอบเก่า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในอินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน

;ให้เสียงโดย: อากิโอะ โอสึกะ * อินุโยไค(犬妖怪 "Inu yōkai", Dog demons) สุนัขอสูร "อินุโยไค" คือวงศ์วานอสูรที่อยู่ลำดับบนของเผ่าพันธุ์อสูรซึ่งมีพลังอำนาจมากที่สุดเผ่าพันธุ์หนึ่ง อินุโยไคเป็นตระกูลอสูรที่มีความสามารถเหาะเหิน มีประสาทสัมผัสรับกลิ่นดีเยี่ยม การรักษาตนเองขั้นสูงและสามารถสร้างอาวุธจากพลังภายในร่างกายของตนเอง อินุไทโชเองใช้ประโยชน์จากพลังอสูรที่มีได้คุ้มค่าถึงขีดสุดขั้นหนึ่ง เช่น เล็บ เขี้ยว ใช้สังหารหรือผนึกศัตรู ใช้พลังสร้างเป็นอาวุธหรือสร้างขึ้นเป็น.

ใหม่!!: นักบวชและรายชื่อตัวละครในอินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในแฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหาร

ต่อไปนี้คือ "รายชื่อตัวละครใน แฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหาร"ผลงานการ์ตูนของ ซึ่งประกอบไปด้วย ตัวละครมากมายต่างออกไป ทั้งในโทรทัศน์ และ อะนิเม.

ใหม่!!: นักบวชและรายชื่อตัวละครในแฟรี่เทล ศึกจอมเวทอภินิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: นักบวชและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: นักบวชและรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาจาลี่

วัดซิงเจียว (Xingjiao) ของชาวไป๋ สร้างในยุคราชวงศ์หมิง ลัทธิอาจาลี้ เป็นศาสนาพุทธนิกายวัชรยานรูปแบบหนึ่ง ปฏิบัติในกลุ่มชาวไป๋ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชื่อลัทธิ "อาจาลี้" มาจากคำสันสกฤตว่า "อาจารฺย" (ācārya) ซึ่งเป็นนักบวชตันตระผู้เป็นกุญแจสำคัญของศาสนาสำหรับการใช้คาถาและเวทย์มนตร์ ลัทธิอาจาลี้ก่อตั้งขึ้นโดยจันทรคุปตะ (Candragupta) นักบวชชาวอินเดีย ที่เดินทางเผยแผ่ศาสนาจากทิเบตมาจนถึงอาณาจักรน่านเจ้า (653–902) ในปี..

ใหม่!!: นักบวชและลัทธิอาจาลี่ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิตงปา

ปุโรหิตในลัทธิตงปากำลังเขียนอักษรตงปาในวัดแห่งหนึ่งใกล้เมืองลี่เจียง โทเทมของลัทธิตงปา ลัทธิตงปา (น่าซี: ²dto¹mba; "ผู้มีปัญญา",; "ลัทธิปาแห่งตะวันออก") เป็นลัทธิและเป็นคำเรียกปุโรหิตตามคติความเชื่อของชาวน่าซี ชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน โดยลัทธิตงปามีลักษณะอย่างเดียวกับลัทธิบอนของชาวทิเบต ถือเป็นอัตลักษณ์ด้านวัฒนธรรมและวรรณกรรมของชาวน่าซี.

ใหม่!!: นักบวชและลัทธิตงปา · ดูเพิ่มเติม »

ลุยจี กัลวานี

ลุยจี อาโลอีซีโอ กัลวานี (Luigi Aloisio Galvani, Aloysius Galvani; 9 กันยายน ค.ศ. 1737 – 4 ธันวาคม ค.ศ. 1798) เป็นนักฟิสิกส์และแพทย์ชาวอิตาลี เป็นผู้บุกเบิกการศึกษาแม่เหล็กไฟฟ้าชีว.

ใหม่!!: นักบวชและลุยจี กัลวานี · ดูเพิ่มเติม »

ลูอิส แคร์รอล

ลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน (27 มกราคม ค.ศ. 1832 - 14 มกราคม ค.ศ. 1898) หรือที่ผู้คนรู้จักกันในนามปากกา ลูอิส แคร์รอล เขาเป็นทั้งนักเขียนนวนิยาย นักคณิตศาสตร์ ชาวอังกลิคัน และช่างภาพ ผลงานเด่นที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาคือ อลิซผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย์ และภาคต่อที่ชื่อ Through the Looking-Glass นอกจากนี้ยังมีผลงานอื่นอีก เช่น "The Hunting of the Snark" และ "Jabberwocky" ซึ่งทั้งหมดเป็นวรรณกรรมแนว "literary nonsense" จุดเด่นในวรรณกรรมของชาลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน คือการเล่นคำ, ตรรกะ, และ แฟนตาซี ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของเด็กๆ, และยิ่งกว่านั้นงานเขียนของเขาได้ฝังลึกเข้าไปในวัฒนธรรมสมัยนิยม, และมีอิทธิพลโดยตรงกับนักเขียนจำนวนมากในเวลาถัดม.

ใหม่!!: นักบวชและลูอิส แคร์รอล · ดูเพิ่มเติม »

วัชราจารยะ

วัชราจารยะหรือพัชราจารยะ วัชราจารยะ หรือ พัชราจารยะ (Vajracharya, Bajracharya) เป็นปุโรหิตในคติศาสนาพุทธแบบเนวารซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของนิกายวัชรยาน ถือกำเนิดขึ้นหลังการเสื่อมโทรมของกฎเกณฑ์ที่พระสงฆ์ที่ถือพรหมจรรย์ และการก่อกำเนิดขึ้นของนิกายวัชรยาน ชาวเนวารจะเรียกบรรพชิตนี้ว่า คุรุ-ชุ (Guru-ju) หรือ คุ-ภาชุ (Gu-bhāju) ที่ย่อจากมาจากคำว่า คุรุภาชุ (Guru Bhāju) ซึ่งคำว่า "คุรุ" เป็นคำสันสกฤตแปลว่า ครูหรือผู้สั่งสอน ทั้งนี้วัชราจารยะหรือพัชราจารยะถือเป็นวรรณะสูงสุดของชาวเนวารที่นับถือศาสนาพุทธ ก่อนจะเป็นคุรุชุขั้นสูง คนวรรณะวัชราจารยะจะต้องผ่านพิธีกรรมหลายประการ หนุ่มวัชราจารยะจะต้องผ่านพิธีกรรมเบื้องต้นที่เรียกว่า "พัชรวิเศขะ" (Bajravishekha) ต้องปลงผม บิณฑบาตอย่างน้อยเจ็ดวันในสถานที่ต่าง ๆ ตามอย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในหนังสือ กำเนิดใหม่พุทธศาสนา: นิกายเถรวาทในเนปาลช่วงศตวรรษที่ 20 (Rebuilding Buddhism: The Theravada Movement in Twentieth-century Nepal) พบความสัมพันธ์ด้านวินัยสงฆ์ระหว่างชายสกุลวัชราจารยะกับสกุลศากยะ "ต่างจากวัชราจารยะ ชายศากยะจะไม่เป็นปุโรหิตสำหรับใคร ๆ แต่ผู้ชายวัชราจารยะจะเป็นสมาชิกในอารามศาสนาพุทธแบบเนวารที่เรียกอย่างสมเกียรติว่า 'วิหาร' และถูกเรียกขานว่า 'พหะ' (baha) หรือ 'พหี' (bahi) ตราบเท่าที่ชายศากยะและวัชราจารยะยังมีบทบาทในอาราม พวกเขาเป็นนักบวช แต่ในทางปฏิบัติแล้วพวกเขาสมรสและเป็นนักบวชแค่บางเวลาเท่านั้น" ทั้งนี้นักวิชาการพุทธศาสนาสมัยใหม่ในเนปาลเป็นวัชราจาร.

ใหม่!!: นักบวชและวัชราจารยะ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระบรมธาตุวรมหาวิหาร หรือ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: นักบวชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดคลองโพธิ์

วัดคลองโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงแห่งแรกของจังหวัดอุตรดิตถ์ วัดคลองโพธิ์ ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลบ้านเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันวัดคลองโพธิ์เป็นวัดจำพรรษาของเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ และมีสำนักเรียนพระปริยัติธรรมซึ่งถือได้ว่า เป็นสำนักเรียนของคณะสงฆ์ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ มีการศึกษาทั้งแผนกนักธรรม แผนกบาลี โรงเรียนศึกษาผู้ใหญ่ และโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิต.

ใหม่!!: นักบวชและวัดคลองโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

วันโกน

วันโกน คือ วันขึ้น 7 ค่ำกับ 14 ค่ำ และวันแรม 7 ค่ำกับ 14 ค่ำ ของทุกเดือน (หรือ วันแรม 13 ค่ำ หากตรงกับเดือนขาด) ซึ่งเป็นวันก่อนวันพระ 1 วัน, วันโกน-วันพร.

ใหม่!!: นักบวชและวันโกน · ดูเพิ่มเติม »

วันเข้าพรรษา

ประกอบความดีในช่วงนี้อีกด้วย วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, Vassa, เขมร: វស្សា, พม่า: ဝါဆို) เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือภาษาปากว่า จำพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า "บวชเอาพรรษา" นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 รัฐบาลได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็น "วันงดดื่มสุราแห่งชาติ" โดยในปีถัดมา ยังได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็นวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้เพื่อรณรงค์ให้ชาวไทยตั้งสัจจะอธิษฐานงดการดื่มสุราในวันเข้าพรรษาและในช่วง 3 เดือนระหว่างฤดูเข้าพรรษา เพื่อส่งเสริมค่านิยมที่ดีให้แก่สังคมไท.

ใหม่!!: นักบวชและวันเข้าพรรษา · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ลอด

วิลเลียม ลอด (William Laud) (7 ตุลาคม ค.ศ. 1573 - (10 มกราคม ค.ศ. 1645) เป็นอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีระหว่างปี ค.ศ. 1633 ถึงปี ค.ศ. 1645 ผู้สนับสนุนนิกายแองกลิคันและเป็นปฏิปักษ์ต่อการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มพิวริตัน วิลเลียม ลอดสนับสนุนนโยบายทางศาสนาของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลทำให้ถูกประหารชีวิตระหว่างสงครามการเมืองอังกฤษที่หอคอยแห่งลอนดอน วิลเลียม ลอด เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1573ที่เรดดิงในบาร์คเชอร์ ในครอบครัวที่ไม่มีฐานะทางสังคม บิดาของลอดเป็นพ่อค้าผ้า ได้รับการศึกษาที่โรงเรียนเรดดิงและวิทยาลัยเซนต์จอห์น (มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด อ๊อกซฟอร์ด) วิลเลียม ลอดเข้าพิธีบัพติศมาที่โบสถ์เซนต์ลอเรนซ์ที่เรดดิง.

ใหม่!!: นักบวชและวิลเลียม ลอด · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียมแห่งมาล์มสบรี

วิลเลียมแห่งมาล์มสบรี (William of Malmesbury; ราวระหว่าง ค.ศ. 1080/ค.ศ. 1095 - ค.ศ. 1143) วิลเลียมแห่งมาล์มสบรีเป็นนักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษจากวิลท์เชอร์ของคริสต์ศตวรรษที่ 12 บิดาของวิลเลียมเป็นชาวนอร์มันส่วนมารดาเป็นชาวอังกฤษ วิลเลียมใช้ชีวิตส่วนใหญ่เป็นนักบวชอยู่ที่แอบบีมาล์มสบรีในวิลท์เชอร.

ใหม่!!: นักบวชและวิลเลียมแห่งมาล์มสบรี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์หอยจุกพราหมณ์

วงศ์หอยจุกพราหมณ์ หรือ วงศ์หอยสังข์ทะนาน (Volute, วงศ์: Volutidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสคา ชั้นหอยฝาเดี่ยว (Gastopoda) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Volutidae เป็นหอยที่พบในทะเลเท่านั้น มีจุดเด่น คือ ที่ปลายของเปลือกหรือก้นหอย ขมวดเป็นเกลียวกลมคล้ายมวยผมของพราหมณ์ นักบวชในศาสนาฮินดู หอยจุกพราหมณ์ เป็นหอยที่กินหอยจำพวกอื่นเป็นอาหาร มีขนาดของเปลือกยาวตั้งแต่ 9-500 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ไม่มีท่อน้ำออก พบในเขตร้อนและเขตขั้วโลก.

ใหม่!!: นักบวชและวงศ์หอยจุกพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธแบบเนวาร

ูปในวัดสวยัมภูนาถ ศาสนสถานที่มีชื่อของพุทธศาสนิกชนเนวาร วัชราจารยะ ขณะประกอบพิธีทางศาสนา ศาสนาพุทธแบบเนวาร (Newar Buddhism) คือพุทธศาสนานิกายวัชรยานรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในหมู่ชาวเนวาร ชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณหุบเขากาฐมาณฑุในประเทศเนปาล ซึ่งพัฒนากลมกลืนเป็นส่วนหนึ่งในวิถีของชาวเนวาร มีเอกลักษณ์พิเศษคือไม่มีสังคมสงฆ์ มีการจัดชั้นวรรณะและมีลำดับการสืบสายบิดาตามแบบชาวเนวาร แม้ศาสนาพุทธแบบเนวารจะไม่มีพระสงฆ์แต่จะมีปุโรหิตที่เรียกว่าคุรุชุเป็นสื่อกลางในการประกอบพิธีกรรม บุคคลที่มาจากตระกูลวัชราจารยะหรือพัชราจารยะ (Vajracharya, Bajracharya) จะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาแก่ผู้อื่น และตระกูลศากยะ (Shakya) จะประกอบพิธีกรรมที่ส่วนใหญ่มักทำภายในครอบครัว โดยศาสนาจะได้รับการอุปถัมภ์จากคนวรรณะอุราย (Uray) และคนในวรรณะดังกล่าวยังอุปถัมภ์ศาสนาพุทธแบบทิเบต นิกายเถรวาท หรือแม้แต่นักบวชญี่ปุ่นด้วย ศาสนาพุทธแบบเนวารเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในช่วงศตวรรษที่ 15 อันเป็นช่วงเวลาที่ศาสนาพุทธในกัศมีร์และอินโดนีเซียเสื่อมโทรม แม้ปัจจุบันศาสนาพุทธแบบเนวารจัดเป็นศาสนาดั้งเดิมที่ถือปฏิบัติในหุบเขากาฐมาณฑุ มีศาสนิกชนเนวารคิดเป็นร้อยละ 15.31 จากจำนวนชาวเนวารทั้งหมด แต่ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทได้กลับมามีบทบาทในเนปาลอีกครั้งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นักบวชและศาสนาพุทธแบบเนวาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น

ระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นโดยผ่านเกาหลี ในหนังสือประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นชื่อ นิฮงโชคิ ได้บันทึกไว้ว่า วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 1095 (ในยุคอาซึกะ) เป็นปีที่ 13 ของรัชกาลจักรพรรดิคินเม จักรพรรดิองค์ที่ 29 พระพุทธศาสนาได้เข้าสู่ญี่ปุ่น โดยพระเจ้าซองกษัตริย์อาณาจักรแพคเจส่งราชทูตมายังราชสำนักจักรพรรดิคินเม พร้อมด้วยพระพุทธรูป ธง คัมภีร์พุทธธรรม และพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ที่จะขอให้จักรพรรดิคินเมรับนับถือพระพุทธศาสนา จักรพรรดิคินเมทรงรับด้วยความพอพระทัย แม้จักมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจากอินเดียผ่านจีนเข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึกนิฮงโชคิพงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์ พระพุทธศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานในวิถีชีวิตของชาวญี่ปุ่นมาร่วมสหัสวรรษ และในพันปีกว่านี้ชาวญี่ปุ่นยังได้เชื่อมโยงความเชื่อของพุทธศาสนาบางส่วนเข้าผสมผสานกับปรัชญาหลักคำสอนของศาสนาชินโตพื้นบ้าน เช่น ความเชื่อในเรื่องของพระโพธิสัตว์และทวยเทพในศาสนาพุทธ ซึ่งได้ผนวกเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการเคารพนับถือในศาสนาชินโต ความเชื่อมโยงนี้ซึมซับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแกนรากทางวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นมาเนิ่นนานหลายศตวรรษ.

ใหม่!!: นักบวชและศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: นักบวชและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิษยาภิบาล

ษยาภิบาล (Pastor) เป็นคำจากภาษาสันสกฤตแปลว่า ผู้ดูแลศิษย์ (ศิษฺย+อภิปาล) ส่วนคำว่า pastor นั้นมาจากภาษาละติน pascere ซึ่งแปลว่าคนเลี้ยงแกะ (shepherd) ชาวโรมันคาทอลิกแปลคำนี้ว่า "ผู้อภิบาล" ศิษยาภิบาลเป็นตำแหน่งในการปกครองคริสตจักร ในปัจจุบันใช้ในคริสตจักรฝ่ายโปรเตสแตนต์ นอกจากนี้ยังพบการใช้คำว่าผู้อภิบาล (pastor) เพื่อหมายถึงมุขนายกและอธิการโบสถ์ในคริสตจักรอื่น ๆ ด้วย ได้แก่ คริสตจักรโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และออเรียนทัลออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: นักบวชและศิษยาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ศีล

ีล (บาลี: สีล) คือข้อปฏิบัติตนขั้นพื้นฐานในทางพระพุทธศาสนา เพื่อควบคุมความประพฤติทางกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงามมีความปกติสุข เพื่อให้เป็นกติกาข้อห้ามที่ใช้แก้ปัญหาขั้นพื้นฐาน 5 ปัญหาหลัก ซึ่งทำให้เกิดความสงบสุข และ ไม่มีการเบียดเบียนซึ่งกันและกันในสังคม ประโยชน์ของศีลในขั้นพื้นฐานคือทำให้กาย วาจา ใจ สงบไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ทำให้สามารถที่จะทำให้จิตสงบได้ง่ายในการทำสมาธิ ในระดับของบรรพชิต ศีลจะมีจำนวนมาก เพื่อกำกับให้พระภิกษุสงฆ์สามเณรสามารถครองตนในสมณภาวะได้อย่างสมบูรณ์ และเอื้อต่อการประพฤติพรหมจรรย์ในขั้นสูงต่อไปได้ ความหมายของศีลนั้นแปลได้หลายความหมาย โดยศัพท์แปลว่า ความปกติกายวาจา กล่าวคือความปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่สะอาดปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการเว้นจากความชั่ว, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกายวาจาให้ดียิ่งขึ้น, ความสุจริตทางกายวาจาและอาชีพ และยังมักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า "อธิศีลสิกขา" อันได้แก่ข้อปฏิบัติขั้นต้นเพื่อการฝึกตนในทางพระพุทธศาสนาด้ว.

ใหม่!!: นักบวชและศีล · ดูเพิ่มเติม »

ศีลศักดิ์สิทธิ์

''7 ศีลศักดิ์สิทธิ์'' (''The Seven Sacraments'') โดย โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน, ราว ค.ศ. 1448 ศีลศักดิ์สิทธิ์ เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ (Sacraments) ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นเครื่องหมายภายนอกที่แสดงว่าผู้รับศีลศักดิ์สิทธิ์นั้นเป็นคริสต์ศาสนิกชน.

ใหม่!!: นักบวชและศีลศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สามเณร

ผู้ที่จะบรรพชาเป็นสามเณรได้ต้องมีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป และจะบวชอยู่เป็นสามเณรตลอดชีวิตก็ได้ สามเณร และ สามเณรี แปลว่า เหล่ากอของสมณะ, หน่อเนื้อของสมณะ หมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ถ้าเป็นนักบวชหญิงอายุน้อยเรียกว่า สามเณรี คำว่า สามเณร สามเณรี เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไป ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณรสามเณรีได้นั้นทางพระวินัยกำหนดอายุอย่างต่ำไว้ประมาณ 7 ขวบซึ่งพอช่วยเหลือตัวเองได้ พระวินัยระบุว่าพอจะไล่กาไล่ไก่ได้ ส่วนสูงไม่มีกำหนดไว้ ผู้มีอายุไม่เกิน 20 ปีจะบวชเป็นสามเณรตลอดไป ไม่บวชเป็นภิกษุก็ได้.

ใหม่!!: นักบวชและสามเณร · ดูเพิ่มเติม »

สาวก

วก แปลว่า ผู้ฟัง คือผู้ฟังตามครูบาอาจารย์ผู้สั่งสอนหลักธรรม ใช้สำหรับบุรุษ ถ้าเป็นสตรีใช้ว่า สาวิกา สาวก ในคำวัดใช้หมายถึงผู้ฟังโอวาทนุสาสนี หรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าโดยเคารพ ใช้เรียกทั้งที่เป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์ เช่นใช้ว่า พระอรหันตสาวก พระสงฆ์สาวก ภิกษุสาวก ภิกษุณีสาวิกาและใช้หมายถึงลูกศิษย์ของศาสดาอื่นๆ ด้วย เช่นวสาวกของนิครนถ์นาฏบุตร สาวกของพราหมณ์พาวรี สาวก ในคำไทยใช้หมายรวมไปถึงลูกศิษย์ ลูกน้อง ผู้ติดตามนักบวชนักบุญผู้มีชื่อเสียงตลอดถึงผู้มีอำนาจ เช่นใช้ว.

ใหม่!!: นักบวชและสาวก · ดูเพิ่มเติม »

สุสานชุคบาตาร์

ทำเนียบรัฐบาล ค.ศ. 2005 สุสานชุคบาตาร์ เป็นสถานที่ฝังศพของแดมดิน ชุคบาตาร์ ผู้นำการปฎิวัติมองโกลเลีย ค.ศ. 1921, และ คอร์ลูจีน ชอยบาลซาน, หัวหน้ารัฐบาลคอมมิวนิสต์ช่วงทศวรรษ 1930 เสียชีวิตเมื่อ ค.ศ. 1952 ที่กรุงอูลานบาตอร์, ทิศเหนือติดกับจตุรัสชุคบาตาร์ ด้านหน้าทำเนียบรัฐบาล.

ใหม่!!: นักบวชและสุสานชุคบาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือกันดารวิถี

หนังสือกันดารวิถี (Book of Numbers; במדבר; Αριθμοί) เป็นหนังสือเล่มที่ 4 ในเบญจบรรณ เนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของวงศ์วานอิสราเอลที่ต่อเนื่องมาจากหนังสืออพยพ หนังสือกันดารวิถีแปลมาจากคัมภีร์ฮีบรู (במדבר ba-midbar) ซึ่งแปลว่า "ในถิ่นทุรกันดาร..." ซึ่งเป็นคำแรกของคัมภีร์ฉบับนี้ แต่ในภาษาอังกฤษ ใช้ชือว่า The Book of Numbers เนื่องจากหนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงการทำสำมะโนประชากรอิสราเอลถึงสองครั้ง ที่ภูเขาซีนาย และที่โมอับ ในขณะที่ภาษาไทยใช้ชื่อว่า "หนังสือกันดารวิถี" เนื่องจากหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงพงศาวดารของอิสราเอลช่วงที่ต้องใช้ชีวิตในถิ่นทุรกันดาร (ทะเลทราย) เป็นเวลา 40 ปี ก่อนจะได้เข้าสู่แผ่นดินคานาอัน เนื้อหาในหนังสือกันดารวิถีนี้ จะแบ่งส่วนสำคัญออกได้เป็น ส่วน.

ใหม่!!: นักบวชและหนังสือกันดารวิถี · ดูเพิ่มเติม »

หนังสืออพยพ

หนังสืออพยพ (Exodus; ואלה שמות; Ἔξοδος) เป็นหนังสือเล่มที่สองในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และเป็นเล่มที่สองในหมวดเบญจบรรณ ซึ่งเชื่อกันว่าโมเสสเป็นผู้เขียนขึ้น คำว่า "อพยพ" แปลจากภาษาอังกฤษซึ่งแปลอีกทอดจากภาษากรีก โดยหมายถึง การแยกออกจากกัน แต่ในภาษาฮีบรู มาจากคำขึ้นต้นซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "ต่อไปนี้เป็นชื่อของ..." หนังสืออพยพประกอบด้วยเนื้อหาที่อาจสรุปย่อได้ดังนี้.

ใหม่!!: นักบวชและหนังสืออพยพ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือซามูเอล

หนังสือซามูเอล (Books of Samuel) แบ่งออกเป็น 2 ฉบับ ได้แก.

ใหม่!!: นักบวชและหนังสือซามูเอล · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งฟัดหนึ่ง ใหญ่ต่อใหญ่

หนึ่งฟัดหนึ่ง ใหญ่ต่อใหญ่ (The Forbidden Kingdom; 功夫之王) เป็นภาพยนตร์ที่เฉินหลงร่วมแสดงกับเจท ลีเป็นครั้งแรก โดยเฉินหลงรับบทเป็นไอ้หนุ่มหมัดเมาและชายชรา ส่วนเจท ลีรับบทเป็นซุนหงอคงกับนักบวชนอกลัทธิ (เป็นร่างแยกของซุนหงอคงซึ่งเป่าเส้นผมแยกร่างก่อนที่ร่างตัวเองจะกลายเป็นหิน) โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ ผู้จัดทำได้ดัดแปลงเนื้อหาบางส่วนจากวรรณกรรมอมตะของจีนเรื่องไซอิ๋วด้วยนั่นเอง.

ใหม่!!: นักบวชและหนึ่งฟัดหนึ่ง ใหญ่ต่อใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม

ทูตสวรรค์ยับยั้งอับราฮัม ขณะกำลังจะถวายอิสอัคแด่พระยาห์เวห์ อับราฮัม(ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิบรอฮีม (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Abraham; אברהם; إبراهيم) เป็นบุคคลสำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม เรื่องราวของท่านถูกบันทึกไว้ในหนังสือปฐมกาล บทที่ 11 ถึง บทที่ 25 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ และคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามก็ถืออับราฮัมเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ด้วย อับราฮัม เดิมชื่อ "อับราม" เป็นบุตรของ เทราห์ สืบเชื้อสายมาจาก เชม บุตรของโนอาห.

ใหม่!!: นักบวชและอับราฮัม · ดูเพิ่มเติม »

อาโรน

อาโรน (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ ฮารูน (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Aaron; אַהֲרֹן Ahărōn; هارون Hārūn) เป็นพี่ชายของโมเสส และเป็นผู้เผยพระวจนะของพระยาห์เวห์ ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นปุโรหิตประจำเผ่าเลวี และเป็นมหาปุโรหิตองค์แรกของวงศ์วานอิสราเอล เมื่อโมเสสยังศึกษาอยู่ในราชสำนักอียิปต์จนกระทั่งลี้ภัยไปอยู่มีเดียน อาโรนกับมีเรียมพี่สาวยังอาศัยอยู่กับญาติที่ภาคตะวันออกของอียิปต์และเริ่มมีชื่อเสียงมากจากการใช้วาทศิลป์ เมื่อคราวที่โมเสสขอให้ฟาโรห์ปล่อยตัวชาวอิสราเอลจากการเป็นเชลย อาโรนก็ได้ทำหน้าที่เป็นนบี (โฆษก) ให้กับพี่ชายของตนเมื่อต้องพูดกับชาวอิสราเอลและเจรจากับฟาโรห์ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดนักว่าอาโรนมีชีวิตอยู่เมื่อใด แต่คาดว่าราว 1600 ถึง 1200 ก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: นักบวชและอาโรน · ดูเพิ่มเติม »

อิมโฮเทป

อิมโฮเทป อิมโฮเทป (Imhotep) เป็นหนึ่งในมนุษย์เทพของ ตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต.

ใหม่!!: นักบวชและอิมโฮเทป · ดูเพิ่มเติม »

อินุยาฉะ (ตัวละคร)

อินุยาฉะ ดูบทความหลัก: เทพอสูรจิ้งจอกเงิน อินุยาฉะ ออกเสียงตามอักษรโรมันว่า Inuyasha) คือ พระเอกในหนังสือการ์ตูน (มังงะ) และภาพยนตร์ชุดการ์ตูนแอนิเมชัน (อะนิเมะ) เรื่อง "อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน" สร้างสรรค์โดย รูมิโกะ ทาคาฮาชิ (Rumiko Takahashi) อินุ แปลว่า สุนัข และ ยาฉะ ต้นกำเนิดคำนี้คือ ยักษา แต่จะไม่ใช้คำแปลตรงตัวนี้โดยตรงเพราะระหว่างขั้นตอนกลมกลืนของการรับวัฒนธรรมนั้นมีการปรับปรุงทำให้คำๆนี้ส่วนหนึ่งแปรจากความหมายเดิม แต่ ยาฉะ คำนี่มีจุดร่วมที่ได้ความหมายเป็นสถานะในชั้นภูมิของเผ่าพันธุ์ คือ “อสูรกึ่งเทพ” หรือ “เทพอสูร” ดังนั้น คำว่า อินุยาฉะ อนุมานแปลได้ว่า "สุนัขอสูรกึ่งเทพ" หรือ "เทพอสูรสุนัข" ในปี 2001 การ์ตูนเรื่อง อินุยาฉะ ชนะรางวัล Animage Grand Prix สาขาตัวละครฝ่ายชายยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: นักบวชและอินุยาฉะ (ตัวละคร) · ดูเพิ่มเติม »

อนุศาสนาจารย์

อนุศาสนาจารย์ (Chaplain) หมายถึง อาจารย์ผู้อบรมศีลธรรมของหน่วยราชการ.

ใหม่!!: นักบวชและอนุศาสนาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุลดริช ซวิงลี

ลดริช ซวิงลี ฮุลดริช ซวิงลี (Huldrych Zwingli; 1 มกราคม ค.ศ. 1484 – 11 ตุลาคม ค.ศ. 1531) หรือ อุลริช ซวิงลี (Ulrich Zwingli) เป็นศิษยาภิบาลและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์ชาวสวิส และเป็นผู้นำในการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ในสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: นักบวชและฮุลดริช ซวิงลี · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีด

อาริสตีดพบปะกับบิล คลินตันที่ทำเนียบขาว ในปี 1994 ฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีด (Jean-Bertrand Aristide) เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: นักบวชและฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีด · ดูเพิ่มเติม »

จีโรลาโม ซาโวนาโรลา

รลาโม ซาโวนาโรลา (Girolamo Savonarola) (21 กันยายน ค.ศ. 1452 - 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1498) จิโรลาโม ซาโวนาโรลาเป็นนักบวชลัทธิโดมินิกันชาวอิตาลีและผู้นำของฟลอเรนซ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นักบวชและจีโรลาโม ซาโวนาโรลา · ดูเพิ่มเติม »

จตุปัจจัย

ปัจจัย ในคำวัดหมายถึงเครื่องอาศัยของบรรพชิต คือสิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็นสำหรับดำรงชีพของภิกษุสามเณร เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นิสสัย มีสี่อย่างจึงได้ชื่อว่า จตุปัจจัย หรือปัจจั.

ใหม่!!: นักบวชและจตุปัจจัย · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส อไควนัส

นักบุญทอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas (ค.ศ. 1225-1274) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกสังกัดคณะดอมินิกัน เกิดในตระกูลขุนนางชาวอิตาลี สนใจศึกษาสิ่งต่าง ๆ อย่างละเอียดลึกซึ้ง อไควนัสได้พัฒนาแนวความคิดของเขาโดยได้รับอิทธิพลจากอาริสโตเติล ในขณะที่นักคิดคนอื่นมีความเห็นตรงกันข้าม อควีนาสได้ดำเนินการศึกษา สรุปผลที่เป็นแบบตรรกศาสตร์ที่สมบูรณ์ โดยไม่มีข้อสงสัยหรือข้อขัดแย้ง ตามแนวความคิดของอไควนัส ระเบียบวิธีดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่ออควีนาสเริ่มหันมาสนใจศึกษาค้นคว้าแนวความคิดของอาริสโตเติล และได้มีอิทธิพลตลอดชีวิตการทำงานของอไควนัส จุดมุ่งหมายอีกประการหนึ่งของอไควนัสคือ การผสมผสานเทววิทยาศาสนาคริสต์ให้เข้ากับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ในที่สุดแนวความคิดของอาริสโตเติลก็กลับมามีชื่อเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง นักคิดชาวตะวันตกก็เริ่มหันมาศึกษางานของอริสโตเติลกันมากขึ้น มีผู้กล่าวว่าอาริสโตเติลเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ที่มีความรอบรู้ พระเจ้าพึงพอใจยอมอนุญาตให้เป็นผู้สรุปความรู้ทุกสาขาวิชา เท่ากับยอมรับว่าอาริสโตเติลเป็นเหมือนคัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นนักบวชของศาสนา เป็นตัวบทกฎหมาย และเป็นนักวินัยทางศาสนา เปรียบเสมือนเป็นผู้ที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ กำหนดความรู้ทุกสาขาวิชา งานเขียนของอไควนัส ในระยะนี้พยายามอธิบายสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา และพระผู้เป็นเจ้า อไควนัสพยายามกำหนดความสำคัญและหน้าที่ใหม่ของศาสนาที่มีต่อสังคม โดยให้ศาสนายังคงมีอำนาจทางธรรมตามคำสอนของศาสนา อไควนัสก็เหมือนกับนักปราชญ์คนอื่น คือมีความเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตอยู่ในสังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีความสามารถกำหนดควบคุมการกระทำของตนเองได้ด้วยสติปัญญา มนุษย์จะตกอยู่ในอันตราย ถ้าไม่ยอมรับระบบสังคม อไควนัสจึงเน้นเอกภาพในสังคมมนุษย์ที่มีพลังอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกภาพทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สังคมมีเอกภาพอย่างสันติไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น วิธีการดังกล่าวเปรียบเสมือนมนุษย์ได้รับการอบรมทางจิต จิตที่อบรมแล้ว จะสั่งการให้ร่างกายกระทำสิ่งต่าง ๆ ตามหน้าที่ในสังคม ดังนั้น การปกครองโดยรัฐบาลที่มีผู้นำเพียงคนเดียวจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด กษัตริย์อันเป็นราชาแห่งปราชญ์คนเดียวจะปกครองประชาชนอย่างยุติธรรม โครงสร้างทางสังคมก็เหมือนกับธรรมชาติที่พระเจ้าปกครอง คนในสังคมจะทำหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสัมคมมีเอกภาพโดยมีผู้นำเพียงคนเดียว.

ใหม่!!: นักบวชและทอมัส อไควนัส · ดูเพิ่มเติม »

ทูตสวรรค์

''บทเพลงของทูตสวรรค์'' โดย บูเกอโร, 1825–1905. ทูตสวรรค์ หรือ เทวทูต (angel) คือชาวสวรรค์จำพวกหนึ่งตามความเชื่อทางศาสนาและในเทพปกรณัมต่าง ๆ โดยมีหน้าที่เป็นผู้แจ้งข่าวสารจากสวรรค์มายังโลก บ้างก็ทำหน้าที่อารักขา แนะนำ หรือมอบหมายภารกิจแก่มนุษย์ คำนี้แปลมาจากคำว่า ἄγγελος ในภาษากรีก ซึ่งตรงกับคำว่า מלאך (มลัก) ในคัมภีร์ฮีบรู (ทานัค) และเป็นคำเดียวกับคำว่า ملائكة (มลาอิกะฮ์) ที่ปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอาน ศัพท์เดิมในภาษาฮีบรูและภาษากรีกนี้แปลว่า ผู้แจ้งข่าว ซึ่งอาจเป็นมนุษย์ (ทั้งผู้เผยพระวจนะ ปุโรหิต และคนสามัญ) หรืออมนุษย์ก็ได้แล้วแต่บริบทในคัมภีร์ ที่เป็นอมนุษย์นั้นเป็นได้ทั้ง ผู้แจ้งข่าวจากพระเจ้า ลักษณะเฉพาะด้านของพระเจ้า (เช่น กฎจักรวาล) หรือแม้แต่พระเป็นเจ้าเองที่ทรงเป็นผู้แจ้งข่าว (theophanic angel) คำว่า "ทูตสวรรค์" ยังถูกใช้หมายถึงวิญญาณในศาสนาอื่น ๆ ด้วย นอกจากการแจ้งข่าวแล้ว ทูตสวรรค์ยังมีหน้าที่ปกป้องและนำทางมนุษย์ รวมถึงปฏิบัติหน้าที่ตามที่พระเจ้ามอบหมายให้สำเร็จลุล่วง เทววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับทูตสวรรค์เรียกว่า “วิทยาการทูตสวรรค์” (angelology) ในงานศิลปะทูตสวรรค์มักปรากฏภาพเป็นชายมีปีก ซึ่งอาจมาจากหนังสือวิวรณ์เรื่องสัตว์สี่ตัว (4:6-8) และคัมภีร์ฮีบรูเรื่องเครูบและเสราฟิม แต่คัมภีร์ไบเบิลระบุว่าเครูบและเสราฟิมมีปีก ไม่เคยกล่าวถึงทูตสวรรค์ว่ามีปีกด้ว.

ใหม่!!: นักบวชและทูตสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาบส

แปลว่า ผู้บำเพ็ญตบะคือเผากิเลส, ผู้บำเพ็ญพรตเพื่อเผากิเลส ได้แก่ ฤษี ถ้าเป็นสตรี ใช้ว่า ดาบสินี ดาบส ทั่วไปใช้หมายถึงนักบวชหรือนักพรตนอกพระพุทธศาสนาที่ออกบวชแล้วบำเพ็ญตบะในรูปแบบต่างๆ ตามลัทธินิยมในสมัยนั้น เช่นทรมาน ลงโทษตนเอง เพื่อฝึกฝนควบคุมตนเองจนบรรลุถึงความสำเร็จคือสามารถมีอำนาจเหนือจิตใจตนเองได้ บางพวกบำเพ็ญตบะจนได้ฌานและมีฤทธิ์มากสามารถแสดงฤทธิ์ได้ต่างๆ จนเข้าใจผิดคิดว่าตนเองได้บรรลุคุณธรรมสูงสุดแล้วจึงไม่พยายามทำความเพียรเพื่อบรรลุธรรมให้สูงขึ้นไปอีก แม้พระพุทธเจ้าก่อนที่จได้ตรัสรู้ก็เคยอยู่กับดาบสสองท่าน คือ อาฬารดาบส กับ อุทกดาบส จนได้บรรลุฌาน 8 ซึ่งเป็นฌานขั้นสูงสุดและหมดภูมิของอาจารย์ทั้งสอง.

ใหม่!!: นักบวชและดาบส · ดูเพิ่มเติม »

ดีกัน

ันธบริกรคาทอลิกในชุดดัลมาติก (Dalmatic) ซึ่งเป็นเครื่องแบบในศาสนพิธี ดีกันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 201 (deacon) เป็นตำแหน่งหนึ่งในการบริหารคริสตจักร พบได้ในทุกนิกาย แต่มีการกำหนดหน้าที่และคุณสมบัติไว้แตกต่างกัน นิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทยใช้คำว่าสังฆานุกร.

ใหม่!!: นักบวชและดีกัน · ดูเพิ่มเติม »

คากูเระคิริชิตัง

แม่พระและพระกุมารตามคติของคากูเระคิริชิตังที่พรางตามอย่างเทพีในพุทธศาสนา รูปปั้นพระแม่มารีย์อำพรางในรูปลักษณ์ของเจ้าแม่กวนอิม คากูเระคิริชิตัง เป็นศัพท์ภาษาญี่ปุ่นสมัยใหม่ที่ใช้อ้างอิงถึงชาวญี่ปุ่นที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอย่างลับ ๆ หลังเกิดเหตุการณ์กบฏชิมาบาระในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1630 ที่เวลาต่อมาความเชื่อของพวกเขาได้พัฒนาต่างออกไปจากเดิมโดยมีการผสานความเชื่อนอกศาสนาเข้ามาเนื่องจากขาดการติดต่อกับโลกภายนอก ปัจจุบันผู้สืบเชื้อสายคากูเระคิริชิตังได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกตามครรลองที่ควรจะเป็น แต่มีคากูเระคิริชิตังบางส่วนยังยึดถือแนวทางการปฏิบัติที่สืบทอดตามอย่างบรรพบุรุษต่อซึ่งถูกเรียกว่า ฮานาเระคิริชิตัง หรือ "คริสตังแปลกแยก" ปัจจุบันเหลืออยู่ในหมู่เกาะโกโต.

ใหม่!!: นักบวชและคากูเระคิริชิตัง · ดูเพิ่มเติม »

คำสาปฟาโรห์ (มังงะ)

ำสาปฟาโรห์ (Crest of the Royal Family) เป็นการ์ตูน วาดโดย จิเอโกะ โฮโซคาวะ โดยใช้ แครอล เป็นตัวถ่ายทอด เธอได้ตกลงไปในห้วงอดีต 3000 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยไอซิส จนพบกับ เมมฟิส ฟาโรห์แห่งอียิปต์ในยุคนั้น การ์ตูนดังกล่าวได้รับรางวัลโชกากุกันมังงะอะวอร์ด ครั้งที่ 36 ของโชโจะ และใน..

ใหม่!!: นักบวชและคำสาปฟาโรห์ (มังงะ) · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าชื่อ

ำนำหน้าชื่อ หรือ คำนำหน้านาม คือคำที่ใส่เพิ่มไปในชื่อของบุคคลเพื่อบ่งบอกถึงสถานภาพ เช่น การศึกษา ยศตำแหน่ง หรือบรรดาศักดิ์ อาทิ นาย นาง นางสาว ศาสตราจารย์ พันเอก เจ้าชาย กษัตริย์ จักรพรรดิ ฯลฯ ในบางวัฒนธรรมอาจใช้คำแทรกระหว่างชื่อตัวกับนามสกุล เช่น Graf ในชุมชนภาษาเยอรมัน หรือ พระคาร์ดินัลในตำแหน่งบาทหลวงโรมันคาทอลิก แต่เดิมประเทศไทย ไม่มีการใช้คำนำหน้าชื่อเป็นกิจลักษณะ ต่อมาเมื่อมีการประกาศพระบรมราชโองการให้ใช้ พระราชบัญญัติให้ใช้คำนำหน้าชื่อชนต่าง ๆ (ณ วันพุธ เดือน 10 ขึ้น 7 ค่ำ ปีระกาตรีศก) ซึ่งกำหนดคำนำหน้าชื่อ อยู่สำหรับ หญิงและชาย ซึ่งเป็นสามัญชนไว้เพียง 3 คำ ได้แก่ นาย อ้าย และ อี.

ใหม่!!: นักบวชและคำนำหน้าชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ฆราวาส

ราวาส (อ่านว่า คะราวาด) นัยแรกแปลว่า การอยู่ครองเรือน, การอยู่ในเรือน, การเป็นอยู่แบบชาวบ้าน เช่น "ฆราวาสเป็นที่คับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี บรรพชาเป็นทางปลอดโปร่ง...." ฆราวาส นัยที่สองแปลว่า ผู้ครองเรือน, ผู้อยู่ในเรือน ได้แก่ชาวบ้านทั่วไปที่มิใช่นักบวช เป็นคำที่มีความหมายเดียวกับคำว่า คฤหัสถ์ เช่น "ฆราวาสธรรมเป็นธรรมสำหรับผู้ครองเรือนจะพึงประพฤติปฏิบัติ" "เมื่อเรายังเป็นฆราวาสอยู่ ได้ตกแต่งร่างกายนุ่งห่มเสื้อผ้าอันงาม ทัดทรงดอกไม้ ลูบไล้ด้วยจุรณจันทน....." ฆราวาส มักพูดหรืออ่านเพี้ยนไปว่า ฆราวาส (คาระวาด).

ใหม่!!: นักบวชและฆราวาส · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิคาหก

ปฏิคาหก แปลว่าผู้รับ คู่กับคำว่า ทายก ที่แปลว่า ผู้ให้ ปฏิคาหก หมายถึงผู้รับทาน, ผู้รับของถวายจากทายก ปกติใช้กับนักพรต นักบวช หรือบรรพชิต เช่นภิกษุสามเณร ในบุคคลทั่วไปก็มีใช้บ้างในกรณีที่เป็นผู้เข้าไปรับทานจากทายกผู้ใจบุญ เช่นพระเวสสันดรให้ทานก็มีปฏิคาหกที่เป็นคนทั่วไปมารับทานกันมาก ปฏิคาหก ที่เป็นพระอริยบุคคลและเป็นผู้ทรงศีลทรงธรรมถือว่าเป็นปฏิคาหกผู้ยอดเยี่ยม นำให้ทายกผู้ถวายได้รับบุญอานิสงส์มาก เพราะเป็นปฏิคาหกผู้หมดกิเลสแล้วหรือเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ เป็นผู้ปฏิบัติธรรม.

ใหม่!!: นักบวชและปฏิคาหก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: นักบวชและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาคริสต์

ระวิหารศักดิ์สิทธิ์ของศาสนายูดาห์ เป็นจุดเริ่มต้นของศาสนาคริสต์และเป็นศาสนสถานที่สำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม ซึ่งตั้งอยู่บนเขาพระวิหาร (Temple Mount) ในกรุงเยรูซาเลม (ภาพถ่ายจากฝั่งตะวันออกเฉียงใต้) ปี ค.ศ.600 ศาสนาคริสต์เกิดขึ้นบริเวณดินแดนเลแวนต์ ซึ่งปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์ ในช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 1 ศาสนาคริสต์ได้เริ่มเผยแผ่ครั้งแรกจากกรุงเยรูซาเลม ตลอดจนดินแดนตะวันออกกลาง เช่น ประเทศซีเรีย อัสซีเรีย เมโสโปเตเมีย ฟินิเชีย อานาโตเลีย ประเทศจอร์แดน และประเทศอียิปต์ ในช่วงคริสศตวรรษที่ 4 ศาสนาคริสต์ได้รับเลือกให้เป็นศาสนาประจำชาติโดยราชวงศ์อาร์เมเนียในปี..

ใหม่!!: นักบวชและประวัติศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: นักบวชและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปริพาชก

ปริพาชะกะ ปริพาชิกา ปริพาชก แปลว่า ผู้ท่องเที่ยวไป, ผู้จาริกไป หมายถึงนักบวชหรือนักพรตผู้ถือการท่องเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ ปริพาชกใช้เรียกนักบวชชาย หากเป็นนักบวชหญิงใช้ว่า ปริพาชิกา ปริพาชก ปกติใช้เรียกนักบวชนอกพระพุทธศาสนาเท่านั้น เช่น สัญชัยปริพาชก สุปปิยปริพาชก ไม่ใช้เรียกเรียกภิกษุในพระพุทธศาสนา พระสาวกสาวิกาของพระพุทธเจ้าที่เคยบวชเป็นปริพาชกปริพาชิกามาก่อนมีจำนวนมาก ที่สำคัญเช่น พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ พระกุณฑลเกสีเถรี.

ใหม่!!: นักบวชและปริพาชก · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจวัคคีย์

ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ปัญจวัคคีย์ คือ กลุ่มนักบวชที่ตั้งขึ้นมา เป็นนักบวชที่ปรากฏอยู่ในศาสนาพุทธในฐานะภิกษุชุดแรกที่เข้ามาบวชเป็นสาวก มีทั้งหมด 5 รูป ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ แต่เดิมปัญจวัคคีย์เป็นนักบวชที่ออกบวชติดตามปรนนิบัติพระพุทธเจ้าตั้งแต่เสด็จออกผนวชใหม่ ๆ ทั้งหมดเป็นชาวกรุงกบิลพัสดุ์ เป็นกลุ่มบุคคลที่ได้ฟังปฐมเทศนาเป็นรุ่นแรก ได้เป็นภิกษุรุ่นแรกและได้เป็นพระอรหันต์รุ่นแรกในพระพุทธศาสนา เฉพาะโกณฑัญญะเป็นผู้เคยทำนายลักษณะพระพุทธเจ้าตั้งแต่ตอนประสูติใหม่ ส่วนอีก 4 ท่าน เป็นบุตรของพราหมณ์ที่ทำนายลักษณะของพระพุทธเจ้าร่วมกับโกณฑัญญะ เพราะมีความเชื่อว่าเจ้าชายสิทธัตถะจะต้องได้เป็นพระพุทธเจ้าจึงได้ออกบวชตาม ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 พระพุทธองค์ได้แสดงปฐมเทศนาคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โกณฑัญญะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม บรรลุโสดาบัน โกณฑัญญะได้รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ให้เป็นเอตทัคคะในด้านรัตตัญญู เรียกว่า มีราตรีนาน คือเป็นผู้รู้ธรรมก่อนใคร และได้บวชก่อนผู้อื่นในพระพุทธศานา จากนั้นพระพุทธองค์ทรงประทาน ปกิณณกเทศนา สั่งสอนที่เหลืออีก 4 ท่าน ให้บรรลุโสดาบันแล้วประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาให้ ในวันแรม 5 ค่ำ เดือน 8 พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมเทศนาอนัตตลักขณสูตร ซึ่งมีใจความดังนี้ ขณะสดับพระธรรมเทศนา พระภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ส่งจิตไปตามกระแสพระธรรมเทศนา จิตก็หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง ไม่ยึดมั่น ถือมั่นด้วยอุปาทาน สามารถละสังโยชน์ครบ 10 ประการ ได้บรรลุพระนิพพานเป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้ง 5 รูป.

ใหม่!!: นักบวชและปัญจวัคคีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปางโปรดพุทธบิดา

ปางโปรดพุทธบิดา เป็นพระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายอยู่ในท่าประคองบาตร พระหัตถ์ขวายกขึ้นจีบนิ้วพระหัต.

ใหม่!!: นักบวชและปางโปรดพุทธบิดา · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเศคาริยาห์

ริยาห์ (Zechariah; Ζαχαρίας) หรือที่ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญเศคาริยาห์ เป็นปุโรหิตในศาสนายูดาห์ เกิดเมื่อศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล และเสียชีวิตราวคริสต์ศตวรรษที่ 1 ตามคัมภีร์ไบเบิล เศคาริยาห์เป็นบิดาของยอห์นผู้ให้บัพติศมา เป็นปุโรหิตในตระกูลของอาโรน ได้แต่งงานกับเอลีซาเบธซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้องของมารีย์ (มารดาพระเยซู).

ใหม่!!: นักบวชและนักบุญเศคาริยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

นักพรต

นักพรต (monk)กีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 131 คือผู้บำเพ็ญพรต หรือผู้ประพฤติตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกาย ใจ ของตนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: นักบวชและนักพรต · ดูเพิ่มเติม »

นิกาย

นิกายในศาสนา (Religious denomination) หมายถึง หมู่ หรือพวกคณะนักบวชในศาสนาเดียวกัน ที่แยกออกไปเป็นพวก.

ใหม่!!: นักบวชและนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

นิกายในศาสนาพุทธ

นิกายในศาสนาพุทธ (Schools of Buddhism) หมายถึง หมวด, หมู่, พวก นิยมใช้ใน 2 ความหมาย คือความหมายหนึ่งเป็นชื่อเรียกคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกที่แยกออกเป็น 5 หมวด คือ ฑีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย ขุททกนิกาย อีกความหมายหนึ่ง เป็นชื่อเรียกคณะนักบวชในศาสนาเดียวกัน แต่แยกไปเป็นพวกๆ ตามความเห็นที่ไม่ตรงกันซึ่งมีในทุกศาสนา ในพุทธศาสนาก็อย่างมหานิกาย กับธรรมยุตินิกาย ทักษิณนิกาย กับ อุตรนิก.

ใหม่!!: นักบวชและนิกายในศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

นิสัย 4

นิสสัย​ 4 คือ เครื่องอาศัยของบรรพชิต หรือ สิ่งที่บรรพชิตพึงปฏิบัติ เพื่อการยังชีพ ประกอบด้วย 1.

ใหม่!!: นักบวชและนิสัย 4 · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชี

แม่ชีในกรุงเทพ นางชี หรือ แม่ชี เป็นนักพรตหญิงในศาสนาพุทธฝ่ายเถรวาท นุ่งขาวห่มขาว โกนศีรษะ ถือศีลแปด อาศัยในวัดเช่นเดียวกับภิกษุ แต่มิได้อุปสมบท บางแห่งจึงถือว่าแม่ชีไม่ใช่นักบวช แต่เป็นอุบาสิกาในพุทธบริษัทสี่เท่านั้น อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการก่อตั้งสำนักชีโดยเฉพาะเพื่อจะได้ไม่ปะปนกับพระภิกษุซึ่งเป็นเพศชาย บางแห่งมีบทบาทจนเป็นที่ยอมรับในสังคม และบางสำนักนางชีสามารถออกบิณฑบาตรได้เช่นเดียวกับพระสงฆ์ นอกจากนี้ยังมีอุบาสิกาที่ถือศีลแปด เช่นกันแต่มิได้ปลงผม เรียกว่า ชีพราหมณ.

ใหม่!!: นักบวชและแม่ชี · ดูเพิ่มเติม »

แม็ทธิว แพริส

แม็ทธิว แพริส (Matthew Paris) (ราว ค.ศ. 1200 - (ค.ศ. 1259) แม็ทธิว แพริสเป็นนักบวชเบ็นนาดิคติน, นักบันทึกพงศาวดาร (Chronicler) ของยุคกลาง, จิตรกรหนังสือวิจิตร, นักเขียนแผนที่ชาวอังกฤษผู้จำวัดอยู่ที่สำนักสงฆ์เซนต์อัลบันในฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ แม็ทธิวเขียนงานหลายชิ้น ส่วนใหญ่เป็นงานเชิงประวัติศาสตร์ที่แม็ทธิวคัด (scribe) และวาดภาพวิจิตร (illuminate) ประกอบด้วยตนเอง งานส่วนใหญ่จะวาดบางส่วนด้วยสีน้ำที่บางครั้งก็เรียกว่า “tinted drawings” งานเขียนบางชิ้นก็เขียนเป็นภาษาละติน, บางชิ้นก็เป็นภาษาอังกฤษ-นอร์มัน หรือภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง บันทึกประวัติศาสตร์ “Chronica Majora” ที่แม็ทธิวเขียนเป็นหนังสือที่ได้รับการใช้ในการอ้างอิงบ่อยครั้ง แม้ว่านักประวัติศาสตร์สมัยใหม่จะทราบว่าเป็นงานเขียนที่ไม่ค่อยน่าเชื่อถือเท่าใดนักก็ตาม แม็ทธิวมักจะสรรเสริญสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์อย่างเลิศลอย และจะหนักไปในทางประณามพระสันตะปาป.

ใหม่!!: นักบวชและแม็ทธิว แพริส · ดูเพิ่มเติม »

โรมุลุสและแรมุส

รูปหล่อสำริดแสดงโรมุลุสและแรมุสซึ่งมีแม่หมาป่าเป็นผู้เลี้ยงดู แผ่นเงินรูปโรมุลุสและแรมุส สมัยศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช โรมุลุส (Romvlvs; 771 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 717 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และ แรมุส (Remvs; 771 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 753 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นบุคคลในเรื่องปรัมปราเกี่ยวกับการก่อตั้งกรุงโรม ทั้งสองเป็นบุตรชายฝาแฝดของเรอา ซิลวิอา นักบวชหญิงพรหมจรรย์ กับมาร์ส เทพเจ้าแห่งสงคราม ตำนานการก่อตั้งกรุงโรมปรากฏอยู่ในบันทึกของพลูทาร์ก นักปราชญ์กรีก และลิวี นักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน โดยตำนานกล่าวว่า โรมุลุสและแรมุสถูกทิ้งไว้ริมแม่น้ำไทเบอร์มาตั้งแต่แบเบาะ และเติบโตขึ้นจากการเลี้ยงดูของหมาป่า เมื่ออายุ 18 ปี โรมุลุสและแรมุสออกเดินทางจากหมู่บ้านเพื่อไปตั้งหมู่บ้านใหม่ หมู่บ้านของโรมุลุสชื่อ "โรม" หมู่บ้านของแรมุสชื่อ "รีมอเรีย" (ปัจจุบัน ไม่มีผู้ใดทราบตำแหน่งที่แน่นอนของหมู่บ้านนี้แล้ว) ต่อมาทั้งคู่เกิดขัดแย้งกันและได้ประลองกำลังกันเมื่อวันที่ 21 เมษายน 753 ปีก่อนคริสต์ศักราช และแรมุสเสียชีวิตในการประลองครั้งนั้น ต่อมาโรมุลุสได้เป็นกษัตริย์องค์แรกของโรม โรมุลุสปกครองกรุงโรมอยู่เป็นเวลา 38 ปี และหายสาบสูญไปหลังจากเกิดพายุอย่างกะทันหัน ตำนานกล่าวว่า โรมุลุสไปเกิดใหม่บนสวรรค์ในนามของ "กวิรีนุส" (Qvirinvs).

ใหม่!!: นักบวชและโรมุลุสและแรมุส · ดูเพิ่มเติม »

โจน ออฟ อาร์ค วีรสตรีเหล็กหัวใจทมิฬ

น ออฟ อาร์ค วีรสตรีเหล็กหัวใจทมิฬ (The Messenger: The Story of Joan of Arc, Jeanne d'Arc) ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์สงครามสัญชาติฝรั่งเศส นำแสดงโดย มิลา โยโววิช, จอห์น มัลโควิช, เฟย์ ดันนาเวย์, แว็งซอง กาสแซล, เตกี การ์โย และ ดัสติน ฮอฟฟ์แมน กำกับการแสดงโดย ลุค เบซอง.

ใหม่!!: นักบวชและโจน ออฟ อาร์ค วีรสตรีเหล็กหัวใจทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี III

หน้าปกของเกม ไฟนอลแฟนตาซี III รุ่นเครื่องเกมแฟมิคอม ไฟนอลแฟนตาซี III (Final Fantasy III) เป็นเกมเล่นตามบทละคร หนึ่งในเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีถูกพัฒนาครั้งแรกและวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2533 โดยบริษัทสแควร์สำหรับเล่นในเครื่องเกมแฟมิคอม ตัวละครในเรื่องออกแบบโดยโยะชิทะกะ อะมะโนะ และเพลงออกแบบโดย โนะบุโอะ อุเอะมัตสึ เหมือนในภาคก่อนหน้า โดยก่อนหน้านี้ทางบริษัทได้มีโครงการที่จะพัฒนาเกมลงเครื่องวันเดอร์สวอนแต่ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมาได้มีการพัฒนาอีกครั้งและวางจำหน่ายในปี 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 สำหรับเครื่องเกมนินเทนโด ดีเอส จากทางสแควร์เอนิกซ์ โดยในเกมที่ทำใหม่นั้นได้ปรับปรุงระบบภาพเป็นกราฟิกส์ 3 มิติ ทั้งหมด และมีระบบการเชื่อมต่อระบบวายฟายเพิ่มเข้ามา การดำเนินเรื่องของเกมเกี่ยวกับเด็กกำพร้าสี่คนได้บังเอิญมาเจอกับคริสตัลในถ้ำแห่งหนึ่ง และได้รับคำชี้แนะของทางคริสตัลว่าแท้จริงแล้วพวกเขาคือนักรบแห่งแสงสว่าง ที่จะมาช่วยกู้โลกจากความมืด หลังจากนั้นเด็กทั้งสี่ได้ผจญภัยไปในโลกกว้าง และได้รับความช่วยเหลือจากคนอื่นตลอดการเดินทางเผื่อปราบมารร้ายซันเด และนำความสงบกลับคืนมาสู่โลก ในสหรัฐอเมริกา ไฟนอลแฟนตาซี III มักจะถูกเรียกสับสนกับเกมไฟนอลแฟนตาซี VI ซึ่งเป็นเกมที่วางจำหน่ายในอเมริกาเป็นเกมลำดับที่ 3.

ใหม่!!: นักบวชและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

เกมลูกแก้ว

กมลูกแก้ว (Das Glasperlenspiel; The Glass Bead Game) เป็นผลงานชิ้นเอกและผลงานชุดสุดท้ายของแฮร์มัน เฮสเส ซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวเยอรมัน โดยเริ่มเขียนใน..

ใหม่!!: นักบวชและเกมลูกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี กาปอน

ทหลวงเกออร์กี กาปอน เกออร์กี อะปอลโลโนวิช กาปอน (Георгий Аполлонович Гапон; George Apollonovich Gapon; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2413 — 10 เมษายน พ.ศ. 2459) เป็นนักบวชชาวยูเครน ผู้นำชนชั้นแรงงาน และผู้ก่อตั้งสมัชชาแรงงานรัสเซีย (Assembly of Russian Factory and Workshop Workers) ในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ใน..

ใหม่!!: นักบวชและเกออร์กี กาปอน · ดูเพิ่มเติม »

เยเรมีย์

ผู้เผยพระวจนะเยเรมีย์บนเพดานในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโล เยเรมีย์ (Jeremiah, יִרְמְיָהוּ: - Yirməyāhū, ความหมาย "Yhwh will raise"; Ἰερεμίας) เป็นหนึ่งในผู้เผยพระวจนะใหญ่ในคัมภีร์ฮีบรู เป็นบุตรของฮิลคิยะห์ (Hilkiah) นักบวชจากอนาโธธ และเป็นผู้เขียนหนังสือเยเรมีย์ เยเรมีย์เป็นหนึ่งในหมู่ปุโรหิตเมืองอานาโธทในแผ่นดินของเผ่าเบนยามิน เยเรมีย์ผู้เผยพระวจนะ มีชีวิตอยู่ในช่วงหลังของศตวรรษที่เจ็ดต่อเนื่องถึงช่วงแรกของศตวรรษที่หกก่อนคริตส์ศักราช ในระหว่างการทำพันธกิจอันยาวนาน เยเรมีย์เตือนประชากรของพระเจ้าถึงวิบัติภัยที่จะเกิดแก่ชาติเนื่องด้วยพวกเข้ากราบไหว้รูปเคารพและทำบาป เยเรมีย์มีชีวิตอยู่จนได้เห็นคำพยากรณ์นี้เกิดขึ้นจริงเมื่อกรุงเยรูซาเลมล่มสลายด้วยมือเนบูคัดเนสซาร์กษัตริย์บาบิโลน ทั้งนครกับพระวิหารในกรุงเยรูซาเลมถูกทำลาย และกษัตริย์กับคนยูดาห์จำนวนมากตกไปเป็นเชลยที่บาบิโลน เยเรมีย์ได้ทำนายด้วยว่าในที่สุดประชาชนจะกลับมาจากการเป็นเชลยและฟื้นฟูบูรณะชาติขึ้นใหม่ หนังสือเยเรมีย์อาจแบ่งเป็นส่วน ๆ ได้ดังนี้ 1) ข่าวสารจากพระเจ้าถึงชาติยูดาห์กับบรรดาผู้นำระหว่างรัชสมัยของโยสิยาห์ เยโฮยาคิม เยโฮยาคีน และเศเดคียาห์ 2) เนื้อหาจากบันทึกของบารุคผู้เป็นเลขานุการของเยเรมีย์ รวมทั้งการเผยพระวจนะและเหตุการณ์สำคัญต่างๆ จากชีวิตของเยเรมีย์ 3) ข่าวสารจากองค์เจ้านายเกี่ยวกับประเทศอื่นๆ 4) ภาคผนวกเชิงประวัติศาสตร์ เล่าเรื่องราวการล่มสลายของกรุงเยรูซาเลมและการเป็นเชลยของบาบิโลน เยเรมีย์เป็นคนละเอียดอ่อน ท่านรักประชาชนในชาติอย่างลึกล้ำ และเกลียดที่จะต้องประกาศการพิพากษาซึ่งจะเกิดแก่พวกเขา ในข้อพระคัมภีร์หลายตอนเยเรมีย์พูดจากความรู้สึกลึก ๆ ถึงความทุกข์อันเนื่องมาจากการที่พระเจ้าทรงเรียกให้ท่านเป็นผู้เผยพระวจนะ พระวจนะขององค์เจ้านายเหมือนไฟเผาหัวใจจนท่านไม่อาจเก็บถ้อยคำเหล่านั้นไว้ได้ พระวจนะที่ยิ่งใหญ่บางตอนในพระธรรมชี้ไปไกลกว่ายุคสมัยอันทุกข์ยากวุ่นวานของเยเรมีย์เอง ชี้ถึงวันเวลาที่จะมีพันธสัญญาใหม่ เป็นพันธสัญญาที่ประชากรของพระเจ้าจะถือรักษาโดยไม่ต้องมีธรรมมาจารย์มาคอยเตือน เพราะพันธสัญญานั้นจารึกบนหัวใจของเขาเอง.

ใหม่!!: นักบวชและเยเรมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ

อภยะ จรณารวินทะ บัคธิเวดันธะ สวะมิ พระบุพาดะ (เบงกาลี:অভয চরণারবিন্দ ভক্তিবেদান্ত স্বামীপ্রভুপাদ, สันสกฤต:अभय चरणारविन्द भक्तिवेदान्त स्वामी प्रभुपादः,อภย จรณาวินท บัคธิเวดันทะ สวะมิ พระบุพาดะ) (1 กันยายน ค.ศ. 1896 - 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1977) เป็นผู้ก่อตั้ง สมาคมนานาชาติเพื่อคริชณะจิตสำนึก (ฮะเร คริชณะ) หรือ ISKCON และนำวัฒนธรรมทางจิตวิญญาณของชาวอินเดียเผยแพร่ไปในวัฒนธรรมตะวันตก และก่อตั้งสมาคม ISKCON ขึ้นที่ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยก่อนหน้านี้ ท่านได้จบการศึกษามาจาก วิทยาลัยสก๊อตครูสต์ และได้แต่งงานกับเด็กหญิงคนหนึ่ง และเปิดร้านขายยาเล็กๆ แต่ในปี ค.ศ. 1959 ท่านได้สละชีวิตทางโลก และบวชเป็นนักบวชในลัทธิ ไวษณพนิกาย และออกเผยแพร่คำสอนของ พระคริชณะ และคัมภีร์พระเวท ภควัต-คีตา โดยได้เดินทางไปที่ นิวยอร์ก และเผยแพร่คำสอน และก่อตั้ง สมาคมนานาชาติคริชณะเพื่อจิตสำนึกขึ้น ท่านได้เริ่มต้นวัฒนธรรมศาสนาผ่านทางวัยรุ่นชาวตะวันตกนับพันในยุคนั้น แม้มีกลุ่มต่อต้านท่าน แต่ท่านก็ยังได้รับการต้อนรับอย่างดีเมื่อมาที่สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นผู้นำที่มีความสามารถในการเผยแพร่ มีผู้นับถือ และเป็นศิษย์มากมายทั้งในอเมริกา, ยุโรป, อินเดีย และที่อื่นๆ หลังจากการมรณภาพของท่าน ISKCON ได้เติบโตและเป็นที่ยอมรับในอินเดีย และทั่วโลกจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: นักบวชและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าเลวี

ผ่าเลวี (Levites) เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของวงศ์วานอิสราเอล ตามบันทึกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โทราห์ของศาสนายูดาห์ เลวีมาจากชื่อของบุตรชายคนที่ 3 ของยาโคบ (อิสราเอล) กับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรก เลวีเป็นเผ่าเดียวที่พระยาห์เวห์ทรงยกเว้นไม่ให้ได้รับมรดกจากแผ่นดินคานาอัน แต่ให้มีหน้าที่เป็นปุโรหิตและผู้ปฏิบัติงานในสถานนมัสการ.

ใหม่!!: นักบวชและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์

ซอร์ เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์ (James George Frazer; 1 มกราคม ค.ศ. 1854 – 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นนักมานุษยวิทยาสังคมชาวสกอตแลนด์ เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิชามานุษยวิทยา และริเริ่มการศึกษาปรัมปราวิทยาและศาสนาเปรียบเที.

ใหม่!!: นักบวชและเจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

ใหม่!!: นักบวชและเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เทวทูต

ทวทูต หมายถึง ทูตของเทพ ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนให้ระลึกถึงธรรมดาของชีวิต จนเกิดความสังเวชแล้วเร่งทำความดี ใน "ทูตสูตร" พระโคตมพุทธเจ้าตรัสว่าเทวทูตมี 3 จำพวก ได้แก.

ใหม่!!: นักบวชและเทวทูต · ดูเพิ่มเติม »

เทวไท

เทวไท หรือเทพไท เป็นบุคคลประเภทหนึ่งทำหน้าที่คล้ายพราหมณ์ หรือปุโรหิต ในลัทธิฟ้าหลวงของชาวอาหม ซึ่งเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ให้แก่ชาวบ้านชาวเมือง พร้อมกันนั้นก็ ทำหน้าที่ เป็นผู้จารึก และทำตำนานของอาหมด้วย บุคคลประเภทนี้เรียกว่า "เทวไท" หรือ "เทพไท" นี้ซึ่งยังมีเหลืออยู่ในปัจจุบันนี้ และเทวไทบางคนยังสามารถพูด หรือสื่อสารด้วยภาษาอาหม ภาษาของชาวอาหมเองซึ่งสูญหายไปนานแล้ว หมวดหมู่:ไทอาหม.

ใหม่!!: นักบวชและเทวไท · ดูเพิ่มเติม »

เดียรถีย์

ียรถีย์ (tīrthika; ติตฺถิย) แปลว่า ผู้มีลัทธิดังท่าน้ำอันเป็นที่ข้าม ใช้หมายถึง นักบวชนอกศาสนาพุทธในประเทศอินเดียสมัยพุทธกาล มีหลายพวก เช่น ปริพาชก นิครนถ์ ดาบส อเจลก (ชีเปลือย) ปัจจุบันคำนี้ถูกนำมาใช้เรียกผู้ทำนอกเรื่องหรือนอกรีตนอกรอย ประพฤตินอกธรรมนอกพระวินัยว่า พวกเดียรถีย์ ซึ่งถือเป็นคำดูถูกหรือคำ.

ใหม่!!: นักบวชและเดียรถีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เนกขัมมะ

นกขัมมะ แปลว่า การออก, การออกบวช, และ ละเว้นจากการทำบาป ใช้คำว่า เนกขัม ก็มี เนกขัมมะ หมายถึงการละเหย้าเรือนออกไปบวชเป็นพระเป็นนักบวช, การละชีวิตทางโลกไปสู่ชีวิตอันบริสุทธิ์ เป็นการปลดเปลื้องตนจากโลกียวิสัยไปบำเพ็ญเพียรเพื่อความปลอดจากการทำบาป ปกติใช้เรียกการออกบวชของนักบวชทุกประเภทและใช้ได้ทั้งชายและหญิง เนกขัมมะ ในพระพุทธศาสนาจัดเป็นบารมีอย่างหนึ่งเรียกว่า เนกขัมมบารมี คือบารมีที่เกิดจากการออกบว.

ใหม่!!: นักบวชและเนกขัมมะ · ดูเพิ่มเติม »

เนตเจราเพเรฟ

นตเจราเพเรฟ เป็นพระนามของเจ้าชายและเป็นมหาปุโรหิตแห่งอียิปต์โบราณ พระองค์มีพระชนม์ชีพและทรงงานอยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลงระหว่างราชวงศ์ที่สามถึงราชวงศ์ที่สี่ ในช่วงระยะเวลาของยุคอาณาจักรเก่าAidan Dodson, Dyan Hilton: The Complete Royal Families of Ancient Egypt.

ใหม่!!: นักบวชและเนตเจราเพเรฟ · ดูเพิ่มเติม »

Triple K

Triple K (ทริปเปิ้ล เค) เป็นการ์ตูนที่ยังไม่ได้นำมาฉายในเครือข่ายโทรทัศน์เป็นการ์ตูนแนวแอนิเมชันของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: นักบวชและTriple K · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

บรรพชิตปุโรหิต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »