โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นรนิติ เศรษฐบุตร

ดัชนี นรนิติ เศรษฐบุตร

ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และ ภายหลังได้รับเลือกจากสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญให้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถานอีกด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วุฒิบัตรด้านโซเวียตศึกษา จากมหาวิทยาลัย Fribourg สวิตเซอร์แลนด์, ปริญญาโทด้านการทูต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และรัสเซียศึกษา จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นคณบดี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง..

32 ความสัมพันธ์: ชาญวิทย์ เกษตรศิริพรรคเสรีมนังคศิลาพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520กบฏเสนาธิการกลุ่มงูเห่าการอภิปรายไม่ไว้วางใจการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ของประเทศไทยรางวัลครุฑทองคำวิลาศ โอสถานนท์วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557หลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)จิ๊ด เศรษฐบุตรควง อภัยวงศ์คืนหมาหอนคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประยูร ภมรมนตรีแปลก พิบูลสงครามเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและชาญวิทย์ เกษตรศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีมนังคศิลา

รรคเสรีมนังคศิลา เป็นพรรคการเมืองในลำดับแรกประเทศไทย จดทะเบียนเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2498 หลังจากมี พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พุทธศักราช 2498 ออกมาใช้ ซึ่งถือว่าเป็นกฎหมายที่เปิดให้จดทะเบียนพรรคการเมืองได้เป็นครั้งแรกของประเทศไทย มีหัวหน้าพรรค คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เลขาธิการพรรคคือ พลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ มีรองหัวหน้าพรรคได้แก่ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์, พลตรีประภาส จารุเสถียร เป็นต้น มีที่ทำการพรรคอยู่ที่บ้านมนังคศิลา อันเป็นที่มาของชื่อพรรคโดยได้มีพิธีเปิดป้ายที่ทำการพรรคเมื่อวันที่ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและพรรคเสรีมนังคศิลา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)

ันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) อดีตนายทหารบก ผู้เป็นแกนหลักในเหตุการณ์กบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. 2476 พระยาศรีสิทธิสงคราม มีชื่อเดิมว่า ดิ่น ท่าราบ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2434 ในครอบครัวคหบดีชาวสวน ที่ตำบลท่าราบ อำเภอคลองกระแชง (ปัจจุบัน คือ อำเภอเมืองเพชรบุรี) จังหวัดเพชรบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก ด้วยการสอบได้ที่ 1 จึงได้ทุนการศึกษาไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเยอรมัน ร่วมรุ่นเดียวกับ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) และพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) โดยทั้ง 3 สนิทสนมกันมาก จนได้รับฉายาจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ว่าเป็น "สามทหารเสือ" เช่นเดียวกับ สามทหารเสือ ในนวนิยายชื่อเดียวกันของอเล็กซังเดรอ ดูมาส์ นักเขียนชาวฝรั่งเศส พระยาศรีสิทธิสงคราม ได้ศึกษาที่ประเทศเยอรมันนานถึง 10 ปี ก่อนจะเดินทางกลับมายังประเทศไทย มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการอย่างรวดเร็ว โดยได้รับยศเป็น พันเอก (.อ.) ตั้งแต่อายุ 37 ปี และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น พระยา เมื่ออายุได้ 40 ปี ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกชักชวนให้เข้าร่วมด้วย แต่พระยาศรีสิทธิสงครามไม่ขอเข้าร่วม เนื่องจากยึดมั่นในคำถวายสัตย์ แต่ก็ไม่ต่อต้าน โดยในวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกันนั้นที่เกิดเหตุการณ์ ตัวของพระยาศรีสิทธิสงครามก็ได้ซ่อนตัวอยู่ในบ้านพักของพระยาพหลพลหยุหเสนาทั้งวัน จากนั้น พระยาศรีสิทธิสงคราม จึงถูกย้ายไปรับราชการในกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน) ต่อมาเมื่อเกิดความขัดแย้งกันในหมู่คณะราษฎร เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี ปิดรัฐสภา และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ซึ่งเป็นชนวนเหตุให้พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี (ลอย) ก็เป็นพระยาศรีสิทธิสงครามที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน และได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้ากรมยุทธการทหารบก แต่ก็อยู่ในตำแหน่งได้เพียง 2 วันเท่านั้น ก็เกิดการรัฐประหารเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยกลุ่มของ พระยาพหลพลพยุหเสนา และหลวงพิบูลสงคราม พระยาศรีสิทธิสงครามจึงถูกย้ายไปรับราชการที่กระทรวงธรรมการอีกครั้ง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเหตุให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เกิดความขุ่นข้องหมองพระทัย และได้ก่อเหตุการณ์กบฏบวรเดชขึ้นในเดือนตุลาคม ปีเดียวกันนั้น โดยพระยาศรีสิทธิสงครามเข้าร่วมด้วย มีฐานะเป็นแม่ทัพ รับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง จนเมื่อทางฝ่ายกบฏเพลี่ยงพล้ำต่อรัฐบาล ในเวลาพลบค่ำของวันที่ 23 ตุลาคม ปีเดียวกัน พระยาศรีสิทธิสงครามได้เป็นผู้เดินไปเจรจากับทหารฝ่ายรัฐบาล เพื่อขอให้หยุดยิง แต่ปรากฏว่า พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกยิงเสียชีวิต ที่สถานีรถไฟหินลับ จังหวัดสระบุรี โดยร้อยโท ตุ๊ จารุเสถียร (ประภาส จารุเสถียร) จากนั้นร่างของพระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกส่งกลับกรุงเทพมหานคร โดยทำการฌาปนกิจอย่างเร่งด่วนที่วัดอภัยทายาราม หรือวัดมะกอก โดยที่ทางครอบครัวไม่ได้รับรู้มาก่อนเลย และกว่าจะได้อัฐิกลับคืนก็เป็นเวลาล่วงไป 3-4 ปีแล้ว อีกทั้งยังถูกคุกคามต่าง ๆ นานา ตลอดสมัยรัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ชีวิตครอบครัวของพระยาศรีสิทธิสงคราม สมรสกับคุณหญิงศรีสิทธิสงคราม (ตลับ ท่าราบ - นามสกุลเดิม อ่ำสำราญ) มีบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ได้แก่ นางอัมโภช จุลานนท์ (มารดาของพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์), แพทย์หญิงโชติศรี ท่าราบ, นางอารีพันธ์ ประยูรโภคราช และนายชัยสิทธิ์ ท่าร.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)

4 ทหารเสือ (จากซ้าย) พ.อ.พระยาทรงสุรเดช, พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา, พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์ และ พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2435 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516) เป็น 1 ใน 4 ทหารเสือที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นผู้ที่วางแผนการยึดอำนาจทั้งหมด เป็นผู้ได้รับการสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ไม่ได้เป็น และถูกกล่าวหาว่าคิดก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในกบฏพระยาทรงสุรเดช ถูกเนรเทศไปอยู่ในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชาจนเสียชีวิตเมื่อ..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) · ดูเพิ่มเติม »

พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)

ลตรี พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น) เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ นายทหารบกชั้นผู้ใหญ่ ระดับเสนาธิการและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนา, พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ โดยพระประศาสน์พิทยายุทธ ถือเป็นทหารเสือที่อาวุโสน้อยที่สุด ด้วยวัยวุฒิ, ยศ และบรรดาศักดิ์ พระประศาสน์พิทยายุทธ มีชื่อเดิมว่า วัน ชูถิ่น เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและพระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520

กบฏ 26 มีนาคม..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและกบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

กบฏเสนาธิการ

กบฏเสนาธิการ หรือ กบฏนายพล หรือ กบฏ 1 ตุลาคม เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491 เมื่อนายทหารระดับเสนาธิการของกองทัพ เช่น พลตรีสมบูรณ์ ศรานุชิต และ พล.ต.เนตร เขมะโยธิน เป็นหัวหน้าคณะนายทหารกลุ่มหนึ่ง วางแผนที่จะเข้ายึดอำนาจการปกครอง และปรับปรุงกองทัพจากความเสื่อมโทรม และได้ให้ทหารเล่นการเมืองต่อไป แต่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทราบแผนการล่วงหน้าและทำการจับกุมผู้คิดก่อการได้ การกบฏครั้งนี้ เกิดหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 ที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นหัวหน้าคณะรัฐประหาร ยึดอำนาจจากรัฐบาลพลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ประมาณหนึ่งปี และหลังจากกบฏเสนาธิการไม่ถึงหนึ่งปี ก็เกิดกบฏซ้ำอีกครั้ง คือ กบฏวังหลวง เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 และหลังจากนั้นอีกครั้ง คือ กบฏแมนฮัตตัน เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและกบฏเสนาธิการ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มงูเห่า

กลุ่มงูเห่า เป็นชื่อเรียก ส.ส. กลุ่มหนึ่งที่เคยสังกัดพรรคประชากรไทย มีที่มาจากคำเปรียบเปรยของ นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรคประชากรไทย ในขณะนั้น ที่เปรียบตัวเองเป็นเหมือนชาวนาที่ถูกงูเห่ากัดในนิทานอีสป เหตุการณ์เกิดขึ้น หลังการลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ของ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ปลายปี..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและกลุ่มงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและการอภิปรายไม่ไว้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500

ประชาชนและบรรดานักศึกษาประท้วงการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501

รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ของประเทศไทย

right รายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ของประเทศไทย เรียงจากปีล่าสุดไปถึงปีแรกโดยนักเขียนและผลงานที่ได้รับรางวัลจะเขียนด้วยตัวหนังสือหนาที่ตำแหน่งบนสุดของแต่ละปี ข้อมูลหนังสือแต่ละเล่มเรียงจาก นามนักประพันธ์, ชื่อวรรณกรรม และสำนักพิมพ์เจ้าของลิขสิทธิ์ในเวลาที่หนังสือได้รางวัล อนึ่ง คณะกรรมการคัดเลือก (Selection Committee) มีหน้าที่รับเรื่องที่มีผู้เสนอเข้าพิจารณา และพิจารณาคัดเลือกให้เหลือไม่เกิน 10 เรื่อง เสนอต่อคณะกรรมการตัดสิน (มีการปรับเพิ่มจำนวนผลงานรอบสุดท้าย จาก 7 เล่มเป็น 10 เล่ม ในปีพ.ศ. 2548) และ คณะกรรมการตัดสิน (Board of Juries) มีหน้าที่พิจารณาเรื่องที่คณะกรรมการคัดเลือกเสนอ และตัดสินให้ได้รับรางวัลซีไรต์เพียง 1 เรื่อง หมายเหตุ: ในช่วงแรกของรางวัลซีไรต์ กล่าวคือ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและรายนามนักประพันธ์และรายชื่อวรรณกรรมที่เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลครุฑทองคำ

รางวัลครุฑทองคำ หรือรางวัลผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น เป็นรางวัลที่สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย มอบให้แก่ผู้บริหารราชการพลเรือน จำนวน 9 คน เพื่อประกาศเกียรติคุณบุคคลที่มีผลงานสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สังคมและระบบราชการ โดยเริ่มต้นโครงการในปี พ.ศ. 2529.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและรางวัลครุฑทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ โอสถานนท์

ันตรี วิลาศ โอสถานนท์ หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 อดีตประธานพฤฒสภาและประธานรั.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและวิลาศ โอสถานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 (22 มีนาคม พ.ศ. 2539 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2543) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ มีจำนวน 260 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

หลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)

ณะราษฎรสายทหารบก ที่สนามหญ้าหน้าวังปารุสกวันในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (หลวงทัศนัยนิยมศึก - ทัศนัย มิตรภักดี คือ คนที่ 2 จากซ้ายแถวกลาง) พันตรี หลวงทัศนัยนิยมศึก มีชื่อตัวว่า ทัศนัย มิตรภักดี (22 กันยายน พ.ศ. 2443–10 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) อดีตนายทหารม้าชาวไทย และผู้ร่วมก่อตั้งคณะราษฎรชุดแรก (7 คนแรก) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และทำการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและหลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี) · ดูเพิ่มเติม »

จิ๊ด เศรษฐบุตร

thumb ศาสตราจารย์จิ๊ด เศรษฐบุตร (18 มกราคม 2449 — 19 มกราคม 2538) เป็นตุลาการ นักนิติศาสตร์ และนักการทูตชาวไท.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและจิ๊ด เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คืนหมาหอน

ืนหมาหอน หมายถึง คืนสุดท้ายก่อนวันเลือกตั้ง มีความสำคัญในแง่ว่าเป็นคืนที่จะมีการทุจริตการเลือกตั้งสูงมาก โดยเฉพาะการตระเวนตามบ้านเรือนทุกหลังคาเรือนเพื่อซื้อเสียงครั้งสุดท้าย อันเป็นการจ่ายเงินที่หวังผลกำไรสูงมาก เพราะหากประเมินแล้วว่าคะแนนตนยังไม่ถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ หรือเสียงที่ซื้อไปก่อนหน้านี้ถูกซื้อไปด้วยเงินที่สูงกว่า ก็จะต้องรีบซื้อเสียงหรือแจกเงินเพิ่ม นับว่าเป็นโอกาสสุดท้ายที่จะพลิกสถานการณ์ เป็นการวัดดวงหรือทิ้งทวนครั้งสุดท้ายก็ว่าได้ นอกจากนี้ การแจกเงินซื้อเสียงที่จะมีอิทธิพลต่อผู้ไปลงคะแนนนั้น หากทำในวันใกล้เลือกตั้งมากที่สุดก็อาจช่วยให้เป็นที่จดจำได้ง่ายด้วย เนื่องจากปฏิบัติการดังกล่าวกระทำในเวลากลางคืนด้วยลักษณะหลบ ๆ ซ่อน ๆ และมีพิรุธ สุนัขเฝ้าบ้านจึงพากันเห่าหอนเกรียวกราว คืนนั้นจึงเรียก "คืนหมาหอน" ราชบัณฑิตยสถานลงคำนี้ไว้ใน พจนานุกรมคำใหม่ ว่า "คืนหมาหอน น. คืนสุดท้ายก่อนวันเลือกตั้งซึ่งหัวคะแนนเดินไปตามบ้านต่าง ๆ เพื่อจ่ายเงินซื้อเสียง เช่น กกต.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและคืนหมาหอน · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)

ณะกรรมการกฤษฎีกา (Council of State) เป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาแห่งประเทศไทย ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจพิจารณาร่างกฎหมายและยกร่างกฎหมาย กับทั้งให้ความเห็นทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการกฤษฎีกามีสำนักงานเลขานุการคือ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนสมาชิกฝ่ายรัฐบาล สีแดงคือจำนวนสมาชิกฝ่ายค้านรัฐบาล การจัดตั้งรัฐบาล คณะรัฐมนตรี คณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนฝ่ายรัฐบาล และ สีแดงคือจำนวนฝ่ายค้านในสภา คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 – 13 มีนาคม พ.ศ. 2518) คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 รัฐบาลของ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช จัดตั้งหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร ภมรมนตรี

รองอำมาตย์เอก นายพลโท ประยูร ภมรมนตรี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ฝ่ายพลเรือน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเหลนของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลที่๓ เป็นบุตรของ พันตรี พระชำนาญคุรุวิทย์ (แย้ม ภมรมนตรี) ทูตทหารประจำจักรวรรดิเยอรมัน กับมารดาที่เป็นชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นครูสอนภาษาเยอรมันให้กับนักเรียนในจักรวรรดิเยอรมันขณะนั้น2475: สองฝั่งประชาธิปไตย, สารคดี: ทีวีไทย พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ชื่อ แพทย์หญิงแอนเนลี ไฟร์ พลโท ประยูร ภมรมนตรี เป็นผู้เสนอจัดตั้งโรงแรมขนาดใหญ่ เพื่อรองรับความเจริญของกรุงเทพมหานคร หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อปี..

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและประยูร ภมรมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

ตราจารย์เกียรติคุณ เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม (11 กันยายน พ.ศ. 2480) ราชบัณฑิต และนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, อดีตคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.เกริกเกียรติ ได้ชื่อว่าเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง ทั้งยังยึดมั่นในความเป็นนักวิชาการ ไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เช่นเดียวกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ผู้เป็นที่เคารพ ในอดีตได้เคยปฏิเสธการดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี อาทิรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งคำชักชวนร่วมงานการเมืองอื่น.

ใหม่!!: นรนิติ เศรษฐบุตรและเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »