สารบัญ
35 ความสัมพันธ์: บัตรเดินทางในลอนดอนบาร์กเชอร์บิชอปแห่งลอนดอนพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012การคมนาคมในลอนดอนการแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้รัฐสภาแบร์โบนราชวงศ์ทิวดอร์รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรรายชื่อธงในประเทศอังกฤษรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากรลอนดอนลอนดอน (แก้ความกำกวม)สวนปริศนาสะพานลอนดอนหอคอยแห่งลอนดอนอัสแซสซินส์ครีด ซินดิเคทอาสนวิหารนักบุญเปาโลผลต่อสุขภาพจากเสียงทอมัส มอร์คริสโตเฟอร์ เรนนิวเดลีนครบรัสเซลส์นครเวสต์มินสเตอร์เกรเทอร์ลอนดอนเรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์เรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์เวสต์มินสเตอร์เศรษฐยาธิปไตยเทศมณฑลของอังกฤษเดอะ บีเอ็มเจFleet Street1 E+6 m²30 เซ็นต์แมรีแอกซ์
บัตรเดินทางในลอนดอน
ัตรเดินทางวันเดียวของรถไฟใต้ดินลอนดอน '' (ด้านหน้า) '' ด้านหลังของบัตร (แถบแม่เหล็กอยู่บนด้านนี้) บัตรเดินทางวันเดียวของระบบรถไฟแห่งชาติ บัตรเดินทางในลอนดอน หรือ ทราเวลการ์ด (London Travelcard/Travelcard - สำหรับบัตรเดินทางปกติใช้ว่า Travel card) เป็นบัตรกระดาษ (ตั๋ว) สำหรับใช้ในระบบขนส่งมวลชนในกรุงลอนดอน ซึ่งมีอายุแตกต่างกันตั้งแต่หนึ่งวันถึงหนึ่งปี บัตรเดินทางเหล่านี้ถูกผลิตโดยองค์การคมนาคมสำหรับลอนดอน (TfL) และระบบรถไฟแห่งชาต.
ดู นครลอนดอนและบัตรเดินทางในลอนดอน
บาร์กเชอร์
ร์กเชอร์ (Berkshire) บางทีก็เรียกว่า “ราชมณฑลบาร์กเชอร์” เพราะเป็นที่ตั้งของ พระราชวังวินด์เซอร์ การเรียกนี้ทำกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นที่ยอมรับโดยสมเด็จพระราชินีในปี..
บิชอปแห่งลอนดอน
อปแห่งลอนดอน (Bishop of London) เป็นตำแหน่งมุขนายกของมุขมณฑลลอนดอนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาคแคนเทอร์เบอรีในคริสตจักรแห่งอังกฤษ มุขมณฑลนี้มีพื้นที่ราว 458 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 17 บุรีในเกรเทอร์ลอนดอนทางตอนเหนือของแม่น้ำเทมส์และบางส่วนของเทศมณฑลเซอร์รีย์ ศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่อาสนวิหารนักบุญเปาโลภายในนครลอนดอน ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อปี..
ดู นครลอนดอนและบิชอปแห่งลอนดอน
พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ.
ดู นครลอนดอนและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จฯ ทรงเป็นประธานในพิธีเปิด "เกาะมหัศจรรย์" (The Isle of Wonder) คือแนวคิดหลักของพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 พิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 จัดขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม..
ดู นครลอนดอนและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
การคมนาคมในลอนดอน
ัญลักษณ์ของ ''องค์การคมนาคมสำหรับลอนดอน'' การคมนาคมในลอนดอน อยู่ในรูปแบบของถนน ระบบรถไฟ และการคมนาคมทางอากาศในกรุงลอนดอน เมืองหลวงของอังกฤษและสหราชอาณาจักร เป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อนและกว้างใหญ่ และเป็นระบบที่มีทั้งการบริหารโดยรัฐบาลท้องถิ่นและการบริหารโดยเอกชน ซึ่งเป็นรากฐานของระบบถนนและรถไฟของประเทศ นอกจากนี้ลอนดอนยังมีสนามบินอีกหลายสนามบิน เช่น ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ เป็นต้น และท่าเรือลอนดอน บนฝั่งแม่น้ำเทมส์ที่ใช้ในการคมนาคมกับทะเลเหนือ การคมนาคมภายในลอนดอนเป็นหนึ่งในสี่ของนโยบายที่นายกเทศมนตรีลอนดอนจักต้องรับผิดชอบ และหน่วยงานที่บริหารระบบการคมนาคมมีชื่อว่า องค์การการคมนาคมสำหรับลอนดอน (Transport for London หรือย่อว่า TfL) TfL ควบคุมขนส่งมวลชนในพื้นที่ รวมทั้ง รถไฟใต้ดิน รถเมล์ท้องถิ่น แทรมลิงก์ และรถไฟเบาสายดอคแลนดส์ (Docklands Light Railway หรือย่อว่า DLR) แต่ขณะนี้ TfL ไม่มีอำนาจในการบริหารระบบรถไฟแห่งชาติที่ให้บริการภายในเขตนครลอนดอนและปริมณฑล ซึ่งเป็นหน้าที่ของกระทรวงคมนาคม นอกจากนี้ TfL ยังมีหน้าที่ควบคุมถนนสายหลักแต่มิได้มีหน้าที่ในการคุมถนนสายย่อยซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บริหารส่วนท้องถิ่น (ดูรายละเอียดด้านล่าง).
ดู นครลอนดอนและการคมนาคมในลอนดอน
การแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้
การแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้ (illusion of control) เป็นแน้วโน้มที่เรามีในการประเมินค่าสูงเกินไปว่า สามารถควบคุมเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ คือ เราอาจจะคิดว่าเราควบคุมเหตุการณ์อะไรบางอย่างได้ แม้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเราจะไม่ได้มีส่วนควบคุม ชื่อของปรากฏการณ์นี้ตั้งขึ้น.ญ.
ดู นครลอนดอนและการแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้
รัฐสภาแบร์โบน
รัฐสภาแบร์โบนส์ (Barebone's Parliament, Nominated Assembly หรือ Parliament of Saints; 14 เมษายน ค.ศ. 1653 – 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1653) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษรัฐสภาหนึ่งที่เรียกประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ.
ราชวงศ์ทิวดอร์
ราชวงศ์ทิวดอร์ (อังกฤษ: Tudor, เวลส์: Tudur) เป็นเชื้อพระวงศ์ชาวเวลส์ มีกษัตริย์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.
ดู นครลอนดอนและรายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
รายชื่อธงในประเทศอังกฤษ
หน้านี้คือรายการธงต่างๆ ที่มีการใช้อยู่ในประเทศอังกฤษ สำหรับธงอื่นๆ ที่มีการใช้ในอังกฤษและสหราชอาณาจักร ดูเพิ่มเติมที่ ธงในสหราชอาณาจักร สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.
ดู นครลอนดอนและรายชื่อธงในประเทศอังกฤษ
รายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร
รายชื่อของเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป จัดอันดับจากจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองนั้น ๆ นับจากเมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 3 แสนคนขึ้นไป ในรายชื่อนี้เมืองบางเมืองอาจจะแคบมาก บางเมืองอาจจะใหญ่มาก รายชื่อที่จัดอันดับมานี้อาจจะมีข้อถกเถียง เช่น เขตมหานครลอนดอนและเขตมหานครปารีส (รวมปริมณฑล) เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป แต่ขอบเขตของเมืองปารีสที่แท้จริงมีขนาดเล็กกว่าลอนดอน ดังนั้นจึงมีอันดับน้อยกว่าในตารางด้านล่าง.
ดู นครลอนดอนและรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร
ลอนดอน
ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.
ลอนดอน (แก้ความกำกวม)
ลอนดอน เป็นเมืองหลวงของสหราชอาณาจักรและประเทศอังกฤษ คำว่า ลอนดอน ยังอาจหมายถึง.
ดู นครลอนดอนและลอนดอน (แก้ความกำกวม)
สวนปริศนา
วนปริศนา หรือ สวนลับ หรือ ในสวนศรี หรือ ในสวนลับ (The Secret Garden) เป็นวรรณกรรมเด็กของนางฟรานเซส ฮอดจ์สัน เบอร์เนทท์ ที่เดิมพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารเริ่มตั้งแต่ปี..
สะพานลอนดอน
นลอนดอน (London Bridge) เป็นสะพานที่เชื่อมระหว่างนครหลวงลอนดอนและซัทเธิร์คในลอนดอนข้ามแม่น้ำเทมส์ ตั้งอยู่ระหว่างสะพานรถไฟแคนนอนสตรีท และ สะพานทาวเออร์ ทางด้านใต้ของสะพานเป็นที่ตั้งของมหาวิหารซัทเธิร์คและสถานีสะพานลอนดอน ทางด้านเหนือเป็นอนุสาวรีย์เพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในกรุงลอนดอนและสถานีแบ้งค์และมอนิวเมนท์ สะพานลอนดอนเป็นสะพานข้ามแม่น้ำเทมส์สะพานเดียวทางตอนใต้ของคิงสทันอัพพอนเทมส์จนกระทั่งเมื่อสะพานพัทนีมาเปิดขึ้นในปี ค.ศ.
หอคอยแห่งลอนดอน
หอคอยแห่งลอนดอน (Tower of London) เป็นพระราชวังหลวงและป้อมปราการตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเทมส์ในกรุงลอนดอนในอังกฤษ เป็นพระราชวังที่เดิมสร้างโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ.
ดู นครลอนดอนและหอคอยแห่งลอนดอน
อัสแซสซินส์ครีด ซินดิเคท
อัสแซสซินส์ครีด ซินดิเคท (Assassin's Creed Syndicate) เป็นเกมแนวอิงประวัติศาสตร์ แอ็คชั่น ผจญภัย ซึ่งพัฒนาโดย ยูบิซอฟท์ควิเบก และเป็นเกมชุดที่เก้าในซีรีส์เกมอัสแซสซินส์ครีด มีการกำหนดวางจำหน่ายวันที่ 23 ตุลาคม 2015 สำหรับเครื่องเล่น PlayStation 4,Xbox One และ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2015 สำหรับระบบไมโครซอฟท์วินโดว์ เนื้อเรื่องจะอยู่ที่กรุงลอนดอนในปี 1868 ช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งจะกล่าวถึงการต่อสู้ของสองพี่น้องแฝดชายหญิง Jacob Frye และ Evie Frye กับองค์กรเทมพลาร์ที่ต้องการจะควบคุมลอนดอนในยุควิคตอเรีย เกมยังคงดำเนินในมุมมองบุคคลที่สาม และมีระบบการขับขี่พาหนะเพิ่มเข้ามา และไม่มีระบบการเล่นแบบหลายผู้เล่น.
ดู นครลอนดอนและอัสแซสซินส์ครีด ซินดิเคท
อาสนวิหารนักบุญเปาโล
“อาสนวิหารนักบุญเปาโลเดิม” ก่อน ค.ศ. 1561 ที่ยังมีมณฑป อาสนวิหารนักบุญเปาโล (St Paul's Cathedral) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรแห่งอังกฤษ และเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งบิชอปแห่งลอนดอน สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่นักบุญเปาโลอัครทูต ตั้งอยู่ในนครลอนดอน ประเทศอังกฤษ อาสนวิหารที่เห็นในปัจจุบันสร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเชื่อกันว่าเป็นอาสนวิหารที่ 5 ตั้งแต่สร้างอาสนวิหารกันมา ณ ที่ตั้งนี้แต่อาจจะสูงกว่านั้นถ้านับการบูรณะเข้าไปด้ว.
ดู นครลอนดอนและอาสนวิหารนักบุญเปาโล
ผลต่อสุขภาพจากเสียง
การจราจรเป็นแหล่งมลภาวะทางเสียงหลักในเมือง ผลต่อสุขภาพจากเสียง (Noise health effects) เป็นผลต่าง ๆ จากการได้รับเสียงดังจากที่ทำงานหรือที่อื่น ๆ ซึ่งอาจทำให้การได้ยินพิการ เกิดความดันสูง โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ความรำคาญ และปัญหาในการนอน นอกจากนั้น ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน และความพิการของทารกแรกเกิด อาจมีเหตุจากเสียงดัง แม้ว่า หูตึงเหตุสูงอายุ (presbycusis) ก็อาจเกิดตามธรรมชาติได้เหมือนกัน แต่ว่าในประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ ปัญหาสะสมจากเสียงก็พอสร้างความเสียหายต่อประชากรเป็นจำนวนมากภายในชั่วชีวิตแล้ว การได้รับเสียงดังยังก่ออาการเสียงในหู (tinnitus) ความดันสูง การตีบของหลอดเลือด (vasoconstriction) และปัญหาทางหัวใจหลอดเลือดอื่น ๆ นอกจากผลเหล่านี้ เสียงดังยังสามารถทำให้เครียด เพิ่มอัตราอุบัติเหตุในที่ทำงาน และก่อความก้าวร้าวและพฤติกรรมต้านสังคมอื่น ๆ แหล่งเสียงที่สำคัญที่สุดคือจากรถยนต์กับเครื่องบิน การฟังเสียงดนตรีดัง ๆ บ่อย ๆ และเสียงจากอุตสาหกรรม ในประเทศนอร์เวย์ เสียงจราจรพบว่า เป็นเหตุต่อความรำคาญเสียงถึง 88% ที่รายงาน เสียงอาจจะมีผลให้เกิดโรคจิตอีกด้วย เช่น เสียงประทัดอาจทำทั้งสัตว์เลี้ยงสัตว์ป่า หรือบุคคลที่ได้รับความบอบช้ำทางจิตใจให้แตกตื่น (คนที่บอบช้ำทางจิตใจรวมทั้งคนที่ผ่านสงครามมา) แต่เพียงแค่กลุ่มคนเสียงดังก็อาจจะก่อการร้องทุกข์หรือปัญหาพฤติกรรมอื่น ๆ แล้ว แม้ทารกก็ตื่นเสียงได้ง่ายอีกด้วย ค่าเสียหายทางสังคมเนื่องจากเสียงจราจรในประเทศยุโรป 22 ประเทศอาจมีค่าถึง 4 หมื่นล้านยูโรต่อปีโดยปี 2550 (ประมาณ 1.5 ล้านล้านบาท) โดยรถโดยสารและรถบรรทุกเป็นเหตุหลักของปัญหา เสียงจราจรอย่างเดียวทำให้สุขภาพของคนเกือบ 1/3 ในเขตยุโรปเสียหาย โดยประชากรยุโรป 1 ใน 5 จะได้รับเสียงตอนกลางคืนเป็นปกติในระดับที่อาจทำให้สุขภาพเสียหายอย่างสำคัญ เสียงยังเป็นอัตรายต่อระบบนิเวศทั้งทางบกและทางน้ำอีกด้ว.
ดู นครลอนดอนและผลต่อสุขภาพจากเสียง
ทอมัส มอร์
ทอมัส มอร์ (Thomas More) คริสตจักรโรมันคาทอลิกเรียกว่านักบุญทอมัส มอร์ เป็นนักกฎหมาย นักปรัชญาสังคม นักเขียน รัฐบุรุษ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษตั้งแต่เดือนตุลาคม..
คริสโตเฟอร์ เรน
ซอร์ คริสโตเฟอร์ เรน (Sir Christopher Wren) (20 ตุลาคม ค.ศ. 1632 - 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1723) เป็นสถาปนิกอังกฤษที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ เขารับหน้าที่ปรับปรุงโบสถ์ 51 แห่ง ในนครหลวงลอนดอน หลังเกิดเหตุเพลิงใหม้ครั้งใหญ่ ในปี..
ดู นครลอนดอนและคริสโตเฟอร์ เรน
นิวเดลี
นิวเดลี (New Delhi; नई दिल्ली) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดี.
นครบรัสเซลส์
นครบรัสเซลส์ (ฝรั่งเศส: Bruxelles-Ville หรือ Ville de Bruxelles, ดัตช์: Stad Brussel) คือเขตเทศบาลที่มีขนาดที่ใหญ่ที่สุดในเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ และยังถือเป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม คล้ายคลึงกับในกรณีของนครลอนดอน ซึ่งต่างจากกรุงลอนดอน นครบรัสเซลส์ก็ต่างจากกรุงบรัสเซลส์เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการขยายตัวของเขตตัวเมืองออกไปจากนครบรัสเซลส์นั้นได้หยุดลงในภายหลังโดยกินอาณาเขตถึงปริมณฑลคือ ฮาเริน, ลาเคิน และเนเดอร์-โอเวอร์-เฮมเบกทางทิศเหนือ และจรดเขตถนนหลุยส์ และสวนสาธารณะ บัว เดอ ลา คอมบร์ ทางทิศใต้ นครบรัสเซลส์มีจำนวนประชากรประมาณ 144,784 คน โดยมีบริเวณพื้นที่ทั้งหมด 32.61 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนความหนาแน่นของประชากรได้ถึง 4,400 คน ต่อ ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ จากการสำรวจพบว่าประชากรกว่า 50,000 คนที่อาศัยอยู่ในนครบรัสเซลส์นั้นเป็นผู้ที่ถือสัญชาติอื่น.
นครเวสต์มินสเตอร์
นครเวสต์มินสเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: City of Westminster) เป็นนครของลอนดอนที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของนครลอนดอนและเหนือฝั่งแม่น้ำเทมส์ และเป็นส่วนหนึ่งของใจกลางลอนดอน อาณาบริเวณของนครเวสต์มินสเตอร์รวมทั้งบริเวณเวสต์เอ็นด์เกือบทั้งหมดและเป็นที่ตั้งของรัฐบาลของสหราชอาณาจักร, พระราชวังเวสต์มินสเตอร์, พระราชวังบัคคิงแฮม, พระราชวังไวท์ฮอลล์ และ Royal Courts of Justice ในปี..
ดู นครลอนดอนและนครเวสต์มินสเตอร์
เกรเทอร์ลอนดอน
ริเวณที่ตั้งของเกรเทอร์ลอนดอน ศาลาเทศบาลประจำเกรเทอร์ลอนดอน เกรเทอร์ลอนดอน (Greater London) เป็นเทศมณฑลพิธีและภาคการปกครองหนึ่งของประเทศอังกฤษ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน..
เรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์
รื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์ (Madoff investment Scandal) เกิดเป็นคดีกลฉ้อฉลหุ้นและหลักทรัพย์ใหญ่ที่ค้นพบเมื่อปลายปี 2551 ในเดือนธันวาคมปีนั้น เบอร์นาร์ด แมดอฟฟ์ อดีตประธานแนสแด็กและผู้ก่อตั้งบริษัทวอลล์สตรีต บริษัท หลักทรัพย์ลงทุนเบอร์นาร์ด แอล.
ดู นครลอนดอนและเรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์
เรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์
รขลักษณ์ หรือ เรขลักษณ์มาตรฐาน (Ordinary หรือ honourable ordinary) ในมุทราศาสตร์ “เรขลักษณ์” คือองค์ประกอบหนึ่งของตราอาร์มที่เป็นรูปทรงเรขาคณิตง่ายๆ ที่อยู่ในกรอบของเส้นตรงและแล่นจากด้านหนึ่งของตราไปยังอีกด้านหนึ่ง หรือจากตอนบนลงมายังตอนล่างของโล่ นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มเครื่องหมายที่เรียกว่า “เรขลักษณ์พิเศษ” (subordinary) ที่ให้ความสำคัญรองลงมาโดยนักวิชาการทางมุทราศาสตร์บางคน แต่เครื่องหมายในกลุ่มนี้ก็ใช้กันมานานพอกับเรขลักษณ์มาตรฐาน เรขลักษณ์มาตรฐานตามทฤษฎีแล้วจะใช้เนื้อที่หนึ่งในสามของโล่ แต่ตามความเป็นจริงแล้วก็จะใช้เนื้อที่แตกต่างกันไป นอกจากเมื่อเรขลักษณ์เป็นสิ่งเดียวที่ใช้เป็นเครื่องหมาย เช่นในตราแผ่นดินของออสเตรียก็จะมีขนาดต่างออกไป คำว่า “เรขลักษณ์มาตรฐาน” และคำว่า “เรขลักษณ์พิเศษ” เป็นคำที่สร้างความขัดแย้งในหมู่นักมุทราศาสตร์ เพราะเป็นการใช้เรขลักษณ์ที่ไม่มีมาตรฐานและการใช้ก็ไม่ตรงกัน ฉะนั้นการใช้คำทั้งสองจึงไม่ได้รับการสนับสนุนโดยนักวิชาการทางด้านมุทราศาสตร์ อาร์เธอร์ ชาร์ลส์ ฟ็อกซ์-เดวีส์ (Arthur Charles Fox-Davies) ในหนังสือ Complete Guide to Heraldry (คู่มือมุทราศาสตร์ฉบับสมบูรณ์) ที่เขียนในปี..
ดู นครลอนดอนและเรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์
เวสต์มินสเตอร์
วสต์มินสเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: Westminster) เป็นบริเวณในใจกลางลอนดอน (Central London) ภายในนครเวสต์มินสเตอร์ ที่ตั้งอยู่เหนือของฝั่งแม่น้ำเทมส์ทางตะวันตกเฉียงใต้ของนครหลวงลอนดอน และ 1 กิโลเมตรจากชาริงครอสส์ เวสต์มินสเตอร์เป็นบริเวณที่มีสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์และสิ่งที่น่าสนใจสำหรับนักท่องเที่ยวที่มาชมลอนดอนรวมทั้งพระราชวังบัคคิงแฮม, แอบบีเวสต์มินสเตอร์ และบริเวณเวสต์เอ็นด์ของลอนดอน (West End of London) เวสต์มินสเตอร์เดิมเป็นส่วนหนึ่งของมิดเดิลเซ็กซ์ที่เป็นมลฑลในประวัติศาสตร์ของอังกฤษ (Historic counties of England) คำว่า “เวสต์มินสเตอร์” เป็นคำบรรยายโบราณของบริเวณรอบแอบบีเวสต์มินสเตอร์ –– “เวสต์” + “มินสเตอร์” (บริเวณทางตะวันตกของมหาวิหาร) เวสต์มินสเตอร์เป็นที่ตั้งของ รัฐบาลแห่งอังกฤษมาร่วมหนึ่งพันปี ตั้งแต่การก่อตั้งในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เวสต์มินสเตอร์ก็เป็นที่ตั้งของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ซึ่งเป็นมรดกโลกและเป็นที่ตั้งของรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร.
เศรษฐยาธิปไตย
รษฐยาธิปไตย หรือ ธนาธิปไตย (πλοῦτος,, 'ความมั่งคั่ง' + κράτος,, 'ปกครอง' - plutocracy, plutarchy) เป็นระบอบการปกครองที่คนมีเงินเป็นผู้ถือครองอำนาจทางการเมือง โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของคณาธิปไตย และสามารถนิยามด้วยว่า เป็นสังคมที่ปกครองหรือควบคุมโดยประชาชนที่มั่งคั่งที่สุดส่วนน้อย เป็นการเมืองเพื่ออำนาจ เพื่อผลประโยชน์ และสิทธิพิเศษ ของกลุ่มคนที่มีอำนาจทางการเมือง โดยต้องใช้เงินเป็นองค์ประกอบหลัก มีการใช้คำทำนองนี้เป็นครั้งแรกในปี..
เทศมณฑลของอังกฤษ
มณฑลการปกครองของอังกฤษ เป็นการแบ่งการเขตการปกครองหนึ่งในระดับการปกครองท้องถิ่นของอังกฤษเพื่อใช้ในทางการบริหาร, ทางการเมือง และในการแบ่งเขตการปกครองทางภูมิศาสตร์ มณฑลในปัจจุบันมีรากฐานมาจากการแบ่งเขตการปกครองของระบบการปกครองในประวัติศาสตร์เช่นในสมัยแองโกล-แซ็กซอน คำว่ามณฑลที่ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า “County” ซึ่งมาจากบริเวณเขตการปกครองของขุนนางระดับเคานท์ แต่ในอังกฤษตำแหน่ง “เคานท์” เท่ากับตำแหน่ง เอิร์ล ของแซ็กซอนโบราณ แต่ภรรยาของเอิร์ลยังคงมีตำแหน่งเป็น “เคานเทส” ชื่อ, เขตแดน และลักษณะการบริหารของเขตการปกครองของมณฑลเปลี่ยนแปลงไปมากจากที่เป็นมาในอดีตกาล และการปฏิรูปเขตการปกครองต่างๆ ที่เกิดเริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมาทำให้ความหมายคำว่า “มณฑล” ที่ใช้กันในอังกฤษค่อนข้างจะสับสนและกำกวม ฉะนั้นคำว่า “มณฑลของอังกฤษ” โดยทั่วไปจึงมิได้หมายถึงหน่วยเขตการปกครองที่แจ่มแจ้งเช่นในความหมายอย่างเป็นทางการของคำว่า “มณฑล” ตามที่เข้าใจกัน เช่นในการใช้คำว่า “มณฑล” สำหรับกรณีอื่นๆ นอกไปจากการบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่นเช่น มณฑลภูมิศาสตร์ (Ceremonial counties), มณฑลลงทะเบียน (Registration county), มณฑลในประวัติศาสตร์ (Historic counties) หรือมณฑลไปรษณีย์ (Postal counties) เป็นต้น.
ดู นครลอนดอนและเทศมณฑลของอังกฤษ
เดอะ บีเอ็มเจ
The BMJ เป็นวารสารการแพทย์รายสัปดาห์ที่มีการทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน โดยเป็นวารสารการแพทย์ทั่วไปที่เก่าที่สุดวารสารหนึ่งในโลก โดยดั้งเดิมเรียกว่า British Medical Journal ซึ่งย่อลงเหลือ BMJ ในปี 2531 และเปลี่ยนเป็น The BMJ ในปี 2557 เป็นวารสารที่ตีพิมพ์โดย BMJ Group ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของสมาคมการแพทย์อังกฤษ (British Medical Association) หัวหน้าบรรณาธิการคนปัจจุบันคือ พญ.
Fleet Street
Fleet Street road sign Fleet Street เป็นถนนในกรุงลอนดอน อังกฤษ ตั้งชื่อตามแม่น้ำฟลีทซึ่งปัจจุบันไหลอยู่ข้างใต้ถนน ถนนฟลีตเป็นที่ตั้งของสำนักงานหนังสือพิมพ์ต่างๆ จนถึงทศวรรษที่ 1980 แม้ว่าสำนักงานของสื่อมวลชนรายใหญ่แห่งสุดท้ายคือ Reuters จะย้ายออกไปตั้งแต่ พ.ศ.
1 E+6 m²
ประเทศโมนาโก 1 E+6 m² หรือ 1 ตารางกิโลเมตร ((อังกฤษ) square kilometre, (สหรัฐ) square kilometer) เป็นอันดับของขนาด ของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 1 ถึง 10 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 1 ตารางกิโลเมตร ----.
30 เซ็นต์แมรีแอกซ์
ตึก 30 เซ็นต์แมรีแอกซ์ ด้วยความสูง 180 เมตร ทำให้เป็นตึกที่สูงอันดับ 6 ในลอนดอน 30 เซ็นต์แมรีแอกซ์ (30 St Mary Axe) ตึกระฟ้าในนครลอนดอน สหราชอาณาจักร สูง 180 เมตร (590 ฟุต) ออกแบบโดย นอร์มัน ฟอสเตอร์ และคู่หู เคน ชัตเติลเวิร์ธ ตึก 30 เซ็นต์แมรีแอกซ์ รู้จักกันในชื่อของ Swiss Re Tower ตามชื่อของบริษัท Swiss Re บริษัทประกันภัยชั้นนำของโลกที่เป็นเจ้าของพื้นที่ส่วนใหญ่ในตึก และรู้จักในชื่อไม่เป็นทางการว่า เกอร์คิน (Gherkin) ซึ่งเป็นแตงกวาประเภทหนึ่งตามรูปทรงของตัวตึก ตัวอาคารออกแบบโดยบริษัทสถาปนิก ฟอสเตอร์แอนด์พาร์ตเนอร์ส โดยออกแบบในลักษณะรูปทรงโคนเพื่อให้ลู่ลม ก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ.
ดู นครลอนดอนและ30 เซ็นต์แมรีแอกซ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ City of Londonซิตีออฟลอนดอน