เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ธีรยุทธ บุญมี

ดัชนี ธีรยุทธ บุญมี

ตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นนักวิชาการ นักวิจารณ์การเมือง และนักเขียนรางวัลศรีบูรพา อดีตเลขาธิการ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา เคยเป็นอาจารย์ประจำ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ สาขามานุษยวิทยา ในปี..

สารบัญ

  1. 29 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2493พิภพ ธงไชยกรณีมายาเกซการจัดการปกครองการเมืองใหม่กาแลคซี (นิตยสาร)รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรางวัลศรีบูรพาลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วันปรีดี พนมยงค์ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยสมชาย วงศ์สวัสดิ์สามัคคีสมาคมสุรยุทธ์ จุลานนท์สง่า กิตติขจรอะกูป์ฟอร์เดอะริชทักษิณ ชินวัตรคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนเดือนตุลาตุลาการภิวัตน์ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหาแก้วสรร อติโพธิเสกสรรค์ ประเสริฐกุลเหตุการณ์ 14 ตุลา100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและพ.ศ. 2493

พิภพ ธงไชย

งไชย พิภพ ธงไชย เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ที่ อ.ป่าโมก.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและพิภพ ธงไชย

กรณีมายาเกซ

กรณีมายาเกซ (Mayaguez incident) เป็นปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐอเมริกาที่รวดเร็ว และเกิดขึ้นเพียง 3 วัน ระหว่างวันที่ 13-15 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและกรณีมายาเกซ

การจัดการปกครอง

การจัดการปกครอง (Governance) เป็นคำศัพท์ที่เกิดขึ้นพร้อมกับการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงบทบาทของรัฐช่วงทศวรรษ 1990 เป็นการวางแนวทางและจัดความสัมพันธ์ในการปกครองของภาครัฐใหม่เพื่อให้ระบบการเมืองเปิดกว้าง และกระจายอำนาจมากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้ตัวแสดงนอกภาครัฐสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากยิ่งขึ้น และเปลี่ยนแปลงจากอำนาจที่รวมศูนย์อยู่ที่รัฐบาล ให้กระจายออกไปตามท้องถิ่นต่างๆ เพื่อให้เกิดองค์กรท้องถิ่นที่ปกครองตัวเอง และลดขนาดของภาครัฐให้เล็กลงเพื่อความคล่องตัว (เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา, 2550: 134-135).

ดู ธีรยุทธ บุญมีและการจัดการปกครอง

การเมืองใหม่

การเมืองใหม่ เป็นแนวความคิดและเป็นคำนิยามที่นายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและผู้ก่อตั้งสื่อในเครือผู้จัดการใช้นิยามเปรียบเทียบระหว่างการเมืองไทยในยุคปัจจุบันว่าเป็น การเมืองเก่า เพราะประชาชนไม่มีสิทธิมีเสียงในการตรวจสอบหรือถ่วงดุลอำนาจรัฐ มีสิทธิก็เพียงแค่ 4 วินาทีตอนเลือกตั้งเท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นระบบเลือกตั้งโดยการเลือก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนของประชาชนในสภา เป็นเพียงการเมืองผ่านตัวแทน ในช่วงการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและการเมืองใหม่

กาแลคซี (นิตยสาร)

กาแลคซี เป็นนิตยสารรวมเรื่องสั้นจัดทำโดย ชุมนุมวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและกาแลคซี (นิตยสาร)

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รางวัลศรีบูรพา

รางวัลศรีบูรพา เป็นรางวัลที่มอบสำหรับศิลปิน นักคิดนักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ ผู้มีผลงานอันทรงคุณค่ามีชีวิตที่เป็นแบบอย่าง เป็นกิจกรรมหนึ่งของ "กองทุนศรีบูรพา" ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติประวัติของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและรางวัลศรีบูรพา

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ดู ธีรยุทธ บุญมีและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

วันปรีดี พนมยงค์

วันปรีดี พนมยงค์ ตรงกับวันที่ 11 พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวันรำลึกถึงวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ซึ่งเป็นวันเกิดของ นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้นำการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและวันปรีดี พนมยงค์

ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย

ูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ย่อ: ศนท.) เป็นขบวนการทางการเมืองในประเทศไทยในอดีต.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและสมชาย วงศ์สวัสดิ์

สามัคคีสมาคม

ตราสัญลักษณ์ของสามัคคีสมาคมสามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Thai Students’ Association in UK)ได้ถือกำเนิดครึ่งในปี..

ดู ธีรยุทธ บุญมีและสามัคคีสมาคม

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและสุรยุทธ์ จุลานนท์

สง่า กิตติขจร

ลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมั.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและสง่า กิตติขจร

อะกูป์ฟอร์เดอะริช

อะกูป์ฟอร์เดอะริช (A Coup for the Rich; รัฐประหารเพื่อคนรวย) เป็นหนังสือภาษาอังกฤษเกี่ยวกับวิกฤตการณ์การเมืองช่วง พ.ศ. 2548-2549 และการรัฐประหาร ที่เขียนโดย รศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและอะกูป์ฟอร์เดอะริช

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและทักษิณ ชินวัตร

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Sociology and Anthropology Thammasat University) เป็นคณะวิชาด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะแรกในประเทศไท.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและคนเดือนตุลา

ตุลาการภิวัตน์

ตุลาการภิวัตน์ (judicial activism) ใช้เรียกกรณีที่อำนาจตุลาการต้องสงสัยว่าบังคับใช้กฎหมายตามความเชื่อส่วนบุคคลหรือการเมือง แทนที่จะอิงตามกฎหมายที่บัญญัติไว้ พจนานุกรมกฎหมายของแบล็ค ให้คำจำกัดความไว้ว่า "แนวคิดที่ตุลาการให้ความเชื่อส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน นอกเหนือไปจากปัจจัยอื่น ๆ มาชี้นำการตัดสินของตน" ("philosophy of judicial decision-making whereby judges allow their personal views about public policy, among other factors, to guide their decisions.") คำจำกัดความของตุลาการภิวัตน์นั้น สามารถสืบต้นกำเนิดไปได้ถึงทอมัส เจฟเฟอร์สันซึ่งวิจารณ์ตุลาการอย่างจอห์น มาร์แชลว่ามี "พฤติกรรมแบบเผด็จการ" (despotic behaviour) ส่วนผู้ใช้คำนี้เป็นคนแรกคืออาเธอร์ เชลสซิงเจอร์ จูเนียร์ โดยใช้วิจารณ์ศาลผ่านบทความชื่อ The Supreme Court: 1947.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและตุลาการภิวัตน์

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา (Substantive Democracy) เป็นรูปแบบหนึ่งของประชาธิปไตยที่เน้นเรื่องของผลลัพธ์ (outcome) ของกระบวนการและกลไกต่างๆ ในระบอบประชาธิปไตย โดยเกณฑ์หรือมาตรวัดความเป็นประชาธิปไตยเชิงเนื้อหามักประกอบด้ว.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา

แก้วสรร อติโพธิ

นายแก้วสรร อติโพธิ สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน นายแก้วสรรเป็นพี่น้องฝาแฝดกับ นายขวัญสรวง อติโพธิ บิดาคือ นาย ศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธาน ปปป.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและแก้วสรร อติโพธิ

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและเหตุการณ์ 14 ตุลา

100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

รงการ 100 เล่มหนังสือดีวิทยาศาสตร์ (พ.ศ. 2537-2548) เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้ประกาศยกย่อง หนังสือวิทยาศาสตร์ไทย 88 เล่ม ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู ธีรยุทธ บุญมีและ100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย