สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: การรวมราชบัลลังก์กางเขนยูเนียนแจ็กรายชื่อธงในสหราชอาณาจักรรายชื่อธงในประเทศอังกฤษรายชื่อธงในประเทศแคนาดารายชื่อตัวละครในโค้ด กีอัส ภาคการปฏิวัติของลูลูชสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)ธงชาติสหพันธรัฐอินเดียตะวันตกธงชาติจอร์เจียธงชาติจาเมกาธงชาตินิวซีแลนด์ธงชาติแทนซาเนียตราสัญลักษณ์ของกาชาดตราแผ่นดินของจาเมกา
การรวมราชบัลลังก์
ตราอาร์มของพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2146 - 2168) แสดงให้เห็นองค์ประกอบหลายอย่างจากการรวมราชบัลลังก์ของทั้งสามอาณาจักร เช่น ตราสิงห์สามตัวแห่งอังกฤษ ตราสิงห์แดงในกรอบดอกลิลลีแห่งสกอตแลนด์ และตราฮาร์พเกลลิคแห่งไอร์แลนด์ การรวมราชบัลลังก์ (Union of the Crowns; Aonadh nan Crùintean; Union o the Crouns) คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มีนาคม..
ดู ธงชาติอังกฤษและการรวมราชบัลลังก์
กางเขน
กางเขนแบบที่ง่ายที่สุดเรียกว่ากางเขนละติน หรือ “crux ordinaria” ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตรึงพระเยซูที่กางเขนตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา กางเขน (Cross) เป็นเครื่องหมายทรงเรขาคณิตที่ประกอบด้วยแกนสองแกนตัดเป็นมุมฉากกัน ตามปกติแล้วแกนจะเป็นแนวตั้งขวางกับแนวนอน แต่ถ้าตัดทแยงกันก็จะเรียกว่ากางเขนไขว้ หรือ กางเขนนักบุญอันดรูว์ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้โดยมนุษย์ และใช้เป็นสัญลักษณ์ศาสนาหลายศาสนาที่รวมทั้งคริสต์ศาสนา กางเขนบ่อยครั้งจะเป็นสัญลักษณ์ของธาตุหลักทั้ง 4 ของโลก (เชวาลิเย์, ค.ศ.
ยูเนียนแจ็ก
งสหภาพ (Union Flag) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ยูเนียนแจ็ก (Union Jack) เป็นธงชาติสหราชอาณาจักร ทั้งยังได้รับการใช้อย่างเป็นทางการและกึ่งทางการในรัฐสมาชิกเครือจักรภพบางรัฐ เช่น ในประเทศแคนาดาที่ซึ่งธงนี้มีนามตามกฎหมายว่า "ราชธวัชสหภาพ" (Royal Union Flag) ธงสหภาพยังใช้อย่างเป็นทางการในดินแดนโพ้นทะเลบางดินแดนของอังกฤษ ทั้งยังปรากฏในธงของบางประเทศซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นอังกฤษด้วย ธงสหภาพมีกำเนิดย้อนหลังไปถึงปี 1603 เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ เสวยราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ เป็นอันรวมแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์เป็นสหภาพหนึ่งเดียว กระนั้น แต่ละรัฐยังคงดำรงเอกราชอยู่มิได้ขึ้นแก่กัน วันที่ 12 เมษายน 1606 จึงมีการตราพระราชกฤษฎีกาให้มีธงใหม่เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ระหว่างประเทศอังกฤษและประเทศสกอตแลนด์ พระราชกฤษฎีกานี้ให้รวมธงอังกฤษ (ธงพื้นขาวมีกางเขนสีชาดซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญจอร์จ" อยู่ตรงกลาง) เข้ากับธงสกอตแลนด์ (ธงพื้นน้ำเงินมีกางเขนไขว้สีขาวซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญแอนดรูว" อยู่ตรงกลาง) เรียกว่า "ธงแห่งบริเตนใหญ่" ซึ่งก็คือ ธงผืนแรกแห่งสหภาพ รูปแบบปัจจุบันของธงสหภาพมีขึ้นในสหภาพบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เมื่อปี 1801, from the Flag Institute site.
รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.
ดู ธงชาติอังกฤษและรายชื่อธงในสหราชอาณาจักร
รายชื่อธงในประเทศอังกฤษ
หน้านี้คือรายการธงต่างๆ ที่มีการใช้อยู่ในประเทศอังกฤษ สำหรับธงอื่นๆ ที่มีการใช้ในอังกฤษและสหราชอาณาจักร ดูเพิ่มเติมที่ ธงในสหราชอาณาจักร สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.
ดู ธงชาติอังกฤษและรายชื่อธงในประเทศอังกฤษ
รายชื่อธงในประเทศแคนาดา
นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงต่างๆ ที่มีการใช้ในประเทศแคน.
ดู ธงชาติอังกฤษและรายชื่อธงในประเทศแคนาดา
รายชื่อตัวละครในโค้ด กีอัส ภาคการปฏิวัติของลูลูช
รายชื่อตัวละครในการ์ตูนญี่ปุ่น เรื่อง โค้ด กีอัส ภาคการปฏิวัติของลูลู.
ดู ธงชาติอังกฤษและรายชื่อตัวละครในโค้ด กีอัส ภาคการปฏิวัติของลูลูช
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู ธงชาติอังกฤษและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
ธงชาติสหพันธรัฐอินเดียตะวันตก
หพันธรัฐอินเดียตะวันตก เป็นอดีตรัฐอธิปไตยในภูมิภาคแคริบเบียน ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง พ.ศ. 2501 - พ.ศ. 2505 ธงชาติของประเทศนี้มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ในพื้นธงมีริ้วคดสีขาวพาดตามแนวนอน ตรงกลางธงนั้นมีรูปวงกลมสีเหลืองทอง ความกว้างเท่ากับระยะขอบนอกสุดของริ้วคดสีขาวสองริ้วตอนใน รูปสัญลักษณ์ดังกล่าวนี้หมายถึงทะเลแคริบเบียนและดวงอาทิตย์ทีฉายแสงเหนือท้องทะเล ธงนี้ออกแบบโดย เอ็ดนา มาร์เลย์ (Edna Manley) คำบรรยายลักษณะของธงอย่างเป็นทางการ ปรากฏในวารสาร West Indies Gazette ดังนี้ คำว่าสีฟ้า (blue) ในเอกสารดังกล่าวนั้นมิได้ระบุว่าเป็นสีฟ้าแบบใด แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงสีฟ้าเข้มอย่างสีน้ำเงินในธงบลูเอนไซน์ (Blue Ensign) ของสหราชอาณาจักร สำเนาของภาพธงที่ยังคงหลงเหลืออยู่นั้นปรากฏว่าใช้สีฟ้าหลากหลายระดับทั้งสีอ่อนและสีแก่ ส่วนธงของกองทัพเรือ ใช้ธงเซนต์จอร์จ (ธงพื้นขาวมีรูปกากบาทแดง) มีรูปธงสหพันธรัฐที่มุมธงบนด้านคันธง เช่นเดียวกับธงราชนาวี วันที่กำหนดให้ประดับธงชาติได้แก่วันที่ 3 มกราคม (วันที่ระลึกแห่งการชักธงชาติบริเตนและธงชาติสหพันธรัฐ) วันที่ 23 กุมภาพันธ์ (วันสหพันธรัฐ) และวันที่ 22 เมษายน (วันที่ระลึกการเปิดประชุมรัฐสภาสหพันธรัฐ) อาคารต่างๆ ซึ่งมีเสาธงสองเสาจะต้องชักธงชาติสหราชอาณาจักรและธงชาติสหพันธรัฐไว้ร่วมกันในวันที่ระลึกและวันสหพันธรัฐ โดยธงชาติสหราชอาณาจักรจะต้องอยู่ทางด้านซ้ายเมื่อผู้ดูหันหน้าเข้าหาอาคาร สำหรับอาคารที่มีเสาธงเสาเดียวจะชักเพียงแต่ธงชาติสหราชอาณาจักรในวันที่ระลึกและวันสหพันธรั.
ดู ธงชาติอังกฤษและธงชาติสหพันธรัฐอินเดียตะวันตก
ธงชาติจอร์เจีย
งชาติจอร์เจีย (საქართველოს სახელმწიფო დროშა., sakartvelos sakhelmtsipo drosha) ที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ธงที่มีชื่อเรียกว่า "ธงห้ากางเขน" หรือ "ธงห้ากากบาท" (The five-cross flag) ซึ่งได้นำมาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.
ดู ธงชาติอังกฤษและธงชาติจอร์เจีย
ธงชาติจาเมกา
งชาติจาเมกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งเป็น 4 ส่วนด้วยกากบาททแยงสีทอง ช่องสามเหลี่ยมช่องบนและช่องล่างเป็นสีเขียว ส่วนช่องซ้ายและช่องขาวเป็นพื้นสีดำ แบบธงที่ใช้อยู่นี้เป็น แบบที่ชนะเลิศการประกวดธงชาติจาเมกา และเริ่มใช้อย่างเป็นทางการหลังประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ธงชาติอังกฤษและธงชาติจาเมกา
ธงชาตินิวซีแลนด์
งชาตินิวซีแลนด์ มัลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน มีภาพธงชาติสหราชอาณาจักรที่มุมธงบนด้านคันธง ที่ด้านปลายธงมีรูปดาวห้าแฉกสีแดงขอบขาวรวม 4 ดวง เรียงเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้ ตามที่ปรากฏบนท้องฟ้าของประเทศนิวซีแลน.
ดู ธงชาติอังกฤษและธงชาตินิวซีแลนด์
ธงชาติแทนซาเนีย
งชาติแทนซาเนีย มีใช้ขึ้นเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2507 หลังจากการรวมกันของแทนกันยีกาและแซนซิบาร์ เข้าเป็นสหสาธารณรัฐแทนซาเนีย ธงดังกล่าวนี้ได้รวมเอาสีธงของทั้งสองประเทศเดิมไว้ด้วยกัน กล่าวคือ สีเขียวและสีน้ำเงินจากธงแซนซิบาร์ถูกคั่นกลางด้วยแถบสีดำที่ขนาบด้วยแถบสีทองจากธงแทนกันยีกาในรูปแบบทแยงมุม ส่วนธงนาวีของกองทัพเรือ ใช้ตามอย่างธงแสดงสัญชาติสีขาว กล่าวคือ เพิ่มรูปธงชาติแทนซาเนียลงบนมุมบนด้านคันธงของธงเซนต์จอร์จ (ธงพื้นขาวมีรูปกากบาทแดง).
ดู ธงชาติอังกฤษและธงชาติแทนซาเนีย
ตราสัญลักษณ์ของกาชาด
ัญลักษณ์ของขบวนการ “กางเขนแดง” และ “เสี้ยววงเดือนแดง” ที่พิพิธภัณฑ์สภากาชาดในเจนีวา ตราสัญลักษณ์ของขบวนการกากบาทแดงและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือ ตราสัญลักษณ์ของกาชาด (Emblems of the International Red Cross and Red Crescent Movement หรือ Emblems of the Red Cross) ตราสัญลักษณ์ของขบวนการกางเขนแดงและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่ากาชาด ภายใต้อนุสัญญาเจนีวาเป็นตราสัญลักษณ์ที่ใช้ประทับบนยานพาหนะ และสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการบรรเทาทุกข์ของมนุษยชนเพื่อป้องกันจากการถูกโจมตีทางทหารในสมรภูมิ ตราสัญลักษณ์ของกาชาดมีด้วยกันสามตรา “ตรากางเขนแดง”, “ตราเสี้ยววงเดือนแดง” และ “ตราเพชรแดง” ส่วน “ตราสิงห์และอาทิตย์แดง” เคยเป็นตราที่ได้รับการอนุมัติ แต่ในปัจจุบันไม่มีการใช้ นอกจากนั้นก่อนหน้านั้นก็ยังมีข้อโต้แย้งในการใช้ดาราแห่งเดวิดแดง โดยหน่วยปฐมพยาบาลมาเกนเดวิดอาดอม (Magen David Adom-MDA) ซึ่งเป็นสมาคมหน่วยปฐมพยาบาลของอิสราเอล “ตราเพชรแดง” จึงได้สร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองข้อโต้แย้งและทำให้รับหน่วยปฐมพยาบาลมาเกนเดวิดอาดอมเข้ามาในขบวนการได้.
ดู ธงชาติอังกฤษและตราสัญลักษณ์ของกาชาด
ตราแผ่นดินของจาเมกา
ตราอาร์มแห่งจาเมกา เป็นตราอาร์มที่สืบทอดมาจากตราอาร์มสมัยภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร โดยตราแบบดั้งเดิมที่สุดนั้นเริ่มใช้เมื่อ ค.ศ.
ดู ธงชาติอังกฤษและตราแผ่นดินของจาเมกา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Flag of England