สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: ชายแดนมาเลเซีย-ไทยการบินไทยสมายล์มาลินโดแอร์มาเลเซียแอร์ไลน์มาเลเซียแอร์ไลน์ซิสเต็ม เที่ยวบินที่ 653รายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์สายการบินสกู๊ตอำเภอเบตงอินโดนีเซียแอร์เอเชียจุดหมายปลายทางของการบินไทยจุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิคจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ท่าอากาศยานภูเก็ตท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานดอนเมืองท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินท่าอากาศยานนานาชาติกูชิงท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวีท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลูดิอะเมซิ่งเรซ 16แอร์ฮ่องกงแอร์เอเชียไทยแอร์เอเชีย
ชายแดนมาเลเซีย-ไทย
นตรวจคนเข้าเมืองช่องสะเดา ถ่ายจากฝั่งมาเลเซีย (เกอดะฮ์) พรมแดนมาเลเซีย-ไทย มีทั้งชายแดนระหว่างประเทศทั้งบนบกผ่านคาบสมุทรมลายู และทางน้ำทางช่องแคบมะละกา รวมไปถึง อ่าวไทย/ทะเลจีนใต้ มาเลเซียทอดตัวอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศไทย มีแม่น้ำโก-ลกเป็นพรมแดนระหว่างประเทศ ที่มีความยาวประมาณ 95 กิโลเมตรกั้นประเทศไทยและมาเลเซีย โดยประเทศไทยอยู่ทางเหนือ และประเทศมาเลเซียอยู่ทางใต้ พรมแดนระหว่างประเทศนี้ได้ใช้ร่วมกันมาตั้งแต่ 1909 ระหว่างไทย (ซึ่งในตอนนั้นมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่าสยาม) กับอังกฤษซึ่งเริ่มเข้ามามีบทบาทในตอนเหนือของมาเลเซีย ซึ่งก็คือ เกอดะฮ์ (ไทรบุรี) กลันตัน ปะลิส และตรังกานูในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในสมัยก่อนทั้งสี่รัฐนี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของสยามมาก่อน และเป็นรัฐพรมแดนระหว่างประเทศของมาเลเซีย ซึ่งได้แก่ (เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) ปะลิส เกอดะฮ์ เประก์ และกลันตัน กับ 4 จังหวัดพรมแดนระหว่างประเทศของไทย (เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) คือ จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิว.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและชายแดนมาเลเซีย-ไทย
การบินไทยสมายล์
การบินไทยสมายล์ เป็นสายการบินในประเทศไทยและต่างประเทศ ซึ่งดำเนินการโดยบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด (มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจตาม พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและการบินไทยสมายล์
มาลินโดแอร์
Oasis Damansara, which houses the Malindo Air head office สายการบินมาลินโดแอร์ มีฐานการบินในประเทศมาเลเซีย,และสำนักงานในเปตาลิงจายา สายการบินต้นทุนต่ำที่เกิดจากการร่วมทุนระหว่างอุตสาหกรรมการบินและกลาโหมแห่งชาติมาเลเซีย (NADI) (51%) และสายการบินไลออนแอร์ของอินโดนีเซีย (49%) โดยชื่อของสายการบินมาลินโดนั้นเป็นการรวมชื่อประเทศของสองประเทศรวมกันคือ: มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย สายการบินมาลินโดแอร์เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2556 โดยในอนาคตจะเปิดให้บริการอาคาร 2 ที่จะเปิดในอนาคต โดยตอนเริ่มเปิดให้บริการนั้นเน้นเที่ยวบินในประเทศเป็นหลัก.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและมาลินโดแอร์
มาเลเซียแอร์ไลน์
Malaysia Airlines head office มาเลเซียแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของมาเลเซีย ให้บริการเดินทางทั้งในและนอกทวีป เคยเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับโดยสกายแทรกซ์ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาว มาเลเซียแอร์ไลน์เคยเป็นหนึ่งในสายการบินที่มีผู้คนยอมรับมากที่สุดในโลกตะวันออก จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของเที่ยวบินที่ 370 สูญหายระหว่างทำการบินในเดือนมีนาคม..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและมาเลเซียแอร์ไลน์
มาเลเซียแอร์ไลน์ซิสเต็ม เที่ยวบินที่ 653
มาเลเซียแอร์ไลน์ซิสเต็ม เที่ยวบินที่ 653 (MH653) เป็นเที่ยวบินภายในประเทศมาเลเซียของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ซิสเต็ม มีกำหนดเดินทางจากปีนังถึงกรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและมาเลเซียแอร์ไลน์ซิสเต็ม เที่ยวบินที่ 653
รายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์
รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายทางการให้บริการของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและรายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์
สายการบินสกู๊ต
การบินสกู๊ต เป็นสายการบินต้นทุนต่ำ ในเครือสิงคโปร์แอร์ไลน์ส โดยวางตัวเป็นสายการบินต้นทุนต่ำระยะไกล และมีเส้นทางบินระยะกลางถึงระยะไกลจาก ท่าอากาศยานนานาชาติชางงี สาธารณรัฐสิงคโปร์ โดยมีแผนการบินที่จะเปิดเส้นทางบินไปยัง ประเทศออสเตรเลีย และ ประเทศจีน ใดยใช้เครื่องบินแบบโบอิ้ง 777 สายการบินสกู๊ตเป็นอีกหนึ่งความพยายามของบริษัทแม่อย่างสิงคโปร์แอร์ไลน์ส ที่จะจับกลุ่มลูกค้าซึ่งต้องการบินในราคาประหยัด โดยสามารถบรรเทาปัญหาค่าเชื้อเพลิงที่พุ่งสูงลิบไปพร้อมๆ กัน โดยเริ่มให้บริการเที่ยวบินแรกจากสิงคโปร์ไปยังนครซิดนีย์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2555.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและสายการบินสกู๊ต
อำเภอเบตง
ตง เป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่ในจังหวัดยะลา นับเป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศไทย โดยมีลักษณะเป็นหัวหอกยื่นเข้าไปในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ในแนวเทือกเขาสันกาลาคีรี มีเนื้อที่ประมาณ 1,328 ตารางกิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองยะลาประมาณ 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 1,220 กิโลเมตร ด้วยภูมิประเทศของอำเภอเบตงส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงจึงทำให้เบตงมีอากาศดี และมีหมอกตลอดปี ดังคำขวัญประจำอำเภอที่ว่า “เมืองในหมอก ดอกไม้งาม ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน”.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและอำเภอเบตง
อินโดนีเซียแอร์เอเชีย
An Indonesia AirAsia Boeing 737-300 taxies at Ngurah Rai International Airport อินโดนีเซียแอร์เอเชีย (Indonesia AirAsia) เป็นสายการบินต้นทุนต่ำ ที่อยู่ในประเทศอินโดนีเซีย ให้บริการเที่ยวบินในประเทศอินโดนีเซีย และ ระหว่างประเทศ โดยมีฐานบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติ ซูการ์โนฮัตตา จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ณ วันที่ 15 เมษายน 2552 เที่ยวบินภายในประเทศทั้งหมด ของอินโดนีเซียแอร์เอเชียจาก ท่าอากาศยานนานาชาติ ซูการ์โนฮัตตา จาการ์ตาได้เริ่มปฏิบัติการจาก อาคารเทอร์มินอล 3 แต่เที่ยวบินระหว่าประเทศยังคงปฏิบัติการจาก อาคารเทอร์มินอล 2D ก่อนที่จะย้ายไปอาคารเทอร์มินอล 3 ในเวลาต่อมา อินโดนีเซียแอร์เอเชียได้รับการจัดอันดับจากการบินพลเรือนของอินโดนีเซียให้อยู่ในอันดับที่ 1 ทางด้านความปลอดภัยของอากาศยานและสายการบิน และ ยังครองส่วนแบ่งการตลาดภายในประเทศ มากถึงร้อยละ 41.50.ด้ว.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและอินโดนีเซียแอร์เอเชีย
จุดหมายปลายทางของการบินไทย
โบอิง 747-400 ของการบินไทยกำลังบินขึ้น ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 การบินไทย ได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 64 แห่ง ใน 35 ประเทศ (รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศไทย) ครอบคลุม 3 ทวีป ดังรายการต่อไปนี้ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา เมืองเวียนนา เป็นท่าอากาศยานที่ 64 ที่ทำการบินไทยทำการบินประจำ ในปี..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและจุดหมายปลายทางของการบินไทย
จุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิค
Cathay Pacific operates services to the following destinations (at February 2009, this does not include codeshare destinations): Destinations marked as cargo only, are served by Cathay Pacific Cargo.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและจุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิค
จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์
ประเทศจุดหมายปลายทางของโคเรียนแอร์ แอร์บัส เอ 380 ของสายการบินโคเรียนแอร์ โคเรียนแอร์ ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 13 แห่งในประเทศ และ 115 แห่งใน 50 ประเทศใน 5 ทวีป เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์
จุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์
หมายปลายทางของสายการบินไชนาแอร์ไลน.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและจุดหมายปลายทางของสายการบินไชน่าแอร์ไลน์
จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์
หน้านี้คือรายชื่อจุดหมายปลายทางของเที่ยวบินต่าง ๆ ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์
ท่าอากาศยานภูเก็ต
ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ เหนือสุดของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง มีเที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ บินมาลงทุกวัน ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีมาตรฐานทั้งในด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ตั้งอยู่เลขที่ 222 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4026 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 94,800 ตารางเมตร แท๊กซี่เวย์ 8 จุด ทิศเหนือเป็นภูเขา ทิศใต้เป็นสวนยางพารา ทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 6,500,000 คนต่อปี โดยในปี..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานภูเก็ต
ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ ในปี พ.ศ.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานดอนเมือง
แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานดอนเมือง
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ หรือ สนามบินกระบี่ (Krabi International Airport) ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม ตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ระหว่างอำเภอเมืองกระบี่กับอำเภอเหนือคลอง ไปทางจังหวัดตรัง เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน
ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (Guangzhou Baiyun International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน จากสถิติในปี 2014 สนามบินแห่งนี้มีปริมาณผู้โดยสารมากสุดเป็นอันดับสองของจีนรองจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง และเป็นอันดับ 16 ของโลก สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนสนามบินแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ซึ่งในปัจจุบันได้ปิดใช้งานแล้ว สนามบินแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าสนามบินเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงสนามบินแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว" นอกจากนี้ สนามบินแห่งใหม่ยังอยู่ใกล้ตัวเมืองมากกว่าสนามบินแห่งเก่า สนามบินแห่งนี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี แต่ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารก็มากเกินศักยภาพ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ขนาด 531,000 ตารางเมตรที่มีขนาดเท่ากับอาคารผู้โดยสารในปัจจุบันกำลังดำเนินการอยู่ คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จภายในปี 2018 ซึ่งจะทำให้สนามบินมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน
ท่าอากาศยานนานาชาติกูชิง
ท่าอากาศยานนานาชาติกูชิง (KIA) เป็นสนามบินตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย อยู่ห่างจากใจกลางเมืองกูชิง ไปทางทิศใต้ นอกจากนี้ยังเป็นฐานทัพของทหาร No.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานนานาชาติกูชิง
ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า
ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า (จีนตัวเต็ม: 澳門國際機場, โปรตุเกส: Aeroporto Internacional de Macau) เป็นท่าอากาศยานแห่งเดียวในเขตบริหารพิเศษมาเก๊า ประเทศจีน ตั้งอยู่ปลายสุดของเกาะไทปา เปิดใช้งานเมื่อปี..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า
ท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี
ท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี เป็นท่าอากาศยานนานาชาติบนเกาะลังกาวี รัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองปาดังมัตซิราต ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางระหว่างท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี–ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประมาณ 1 ชั่วโมง ท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี นับว่าเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งบนเกาะลังกาวี เพราะมักถูกใช้เป็นสถานที่จัดงานนิทรรศการเรือ การบินและอวกาศนานาชาติ สถิติปี..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานนานาชาติลังกาวี
ท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลู
ท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลู (KKIA) เป็นสนามบินตั้งอยู่ในรัฐซาบะฮ์ ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองโกตากีนาบาลู ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นเป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย รองจากท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ เนื่องจากมีผู้โดยสารมาใช้บริการถึง 6.9 ล้านคนต่อปี อาคารผู้โดยสาร 1 มีเคาน์เตอร์เช็ค-อิน 64 ที่ ให้บริการสายการบินทั้งภายในและระหว่างประเทศ มีหลุมจอดเครื่องบิน 17 หลุม อาคารผู้โดยสารนี้รับผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 3,200 คน ส่วนอาคารผู้โดยสาร 2 หรืออาคารหลังใหม่ รับเครื่องบินได้ 12 ลำ โถงผู้โดยสารขาออก มียอดเสาเป็นลายแบบ "วากิด" ซึ่งในทางวัฒนธรรมของซาบะฮ์แล้ว วากิดเป็นสิ่งที่แสดงถึงความรื่นเริงและสนุกสนาน โถงมีพื้นที่ใช้สอยในชั้นที่หนึ่ง 24,128 ตารางเมตร ชั้นที่สอง 18,511.4 ตารางเมตร และชั้นที่สาม 22,339 ตารางเมตร.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานนานาชาติโกตากีนาบาลู
ดิอะเมซิ่งเรซ 16
อะเมซิ่ง เรซ 16 (The Amazing Race 16) เป็นฤดูกาลที่ 16 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและดิอะเมซิ่งเรซ 16
แอร์ฮ่องกง
แอร์ฮ่องกง เป็นสายการบินขนส่งสินค้าสัญชาติฮ่องกง เป็นบริษัทลูกของคาเธ่ย์แปซิฟิค มีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง ให้บริการขนส่งสินค้า 12 จุดหมายปลายทาง ใน 9 ประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น มาเลเซีย ไต้หวัน สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และไทย สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่บนชั้น 4 ของอาคารสำนักงานคาเธ่ย์แปซิฟิคด้านทิศใต้ แอร์ฮ่องกงก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและแอร์ฮ่องกง
แอร์เอเชีย
การบินแอร์เอเชีย เป็นสายการบินต้นทุนต่ำที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศมาเลเซีย และเป็นสายการบินที่ให้บริการด้วยค่าโดยสารที่ถูกที่สุดในเอเชีย กลุ่มแอร์เอเชีย ดำเนินการให้บริการเที่ยวบินทั่งในประเทศ และ ระหว่างประเทศ โดยมีจุดหมายปลายทางมากกว่า 400 เมืองใน 25 ประเทศ และมีท่าอากาศยานหลักคือ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ โดยให้บริการที่อาคารผู้โดยสาร อาคาร KLIA2 และยังมี สายการบินไทยแอร์เอเชีย, สายการบินอินโดนีเซียแอร์เอเชีย เข้ามาใช้บริการร่วมด้วย แอร์เอเชียมาเลเซีย มีสำนักงานจดทะเบียนตั้งอยู่ที่เปอตาลิงจายา, รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย และมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ แอร์เอเชียมีแผนจะเปิดสำนักงานใหญ่ประจำภูมิภาคอาเซียนในจาการ์ตา ในปี..
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและแอร์เอเชีย
ไทยแอร์เอเชีย
ทยแอร์เอเชีย (IATA: FD, ICAO: AIQ, Callsign: THAI ASIA) ด้วยสโลแกนหลัก ใคร ใคร...ก็บินได้ (Now Everyone Can Fly) เป็นแรงจูงใจและกระตุ้นให้ผู้โดยสารที่ไม่เคยเดินทางโดยเครื่องบิน ได้เดินทางด้วยราคาที่เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการนำเสนอคือ การเดินทางแบบเรียบง่าย การเดินทางในระยะสั้นตั๋วค่าโดยสารไม่ถูกบวกเพิ่มด้วยอาหาร และเครื่องดื่ม สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความโดดเด่น เนื่องจากเป็นสายการบินที่มีราคาเหมาะสม จากต้นทุนได้ถูกควบคุมในทุกวิธีการ อีกทั้งวัฒนธรรมทางองค์กรที่มีการบริหารงานอย่างมืออาชีพ ทำให้สายการบินไทยแอร์เอเชีย เติบโตได้อย่างรวดเร็วมากภายในระยะเวลาไม่กี่ปี สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความแปลกใหม่ และเน้นการใช้เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก โดยลดต้นทุนจากการใช้งานบุคลากรให้ใช้งานผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วมากกว่า พร้อมทั้งจ่ายด้วยบัตรเครดิตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยการจองที่นั่งผ่านทางระบบออนไลน์ ไทยแอร์เอเชียยังเป็นสายการบินผู้ให้การสนับสนุนคณะกรรมการผู้ตัดสินฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 2012 อย่างเป็นทางการ และ ทีมฟุตบอลต่างๆ ที่สังกัดสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยอีกด้ว.
ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและไทยแอร์เอเชีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Penang International Airport