เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ดัชนี ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 36 ความสัมพันธ์: การบินไทยมาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804จังหวัดวาล-ดวซจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของการบินไทยจุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์จุดหมายปลายทางของสายการบินเนปาลแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ทีดับเบิลยูเอ เที่ยวบินที่ 800ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานดอนเมืองท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอีท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกท่าอากาศยานนานาชาติอัลมาตีท่าอากาศยานนานาชาติอาชกาบัตท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัดท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโนดิอะเมซิ่งเรซ 16ตาลิสแอร์บัส เอ380แอร์ฟรานซ์แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์ไซปรัสแอร์เวย์เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส

การบินไทย

ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและการบินไทย

มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370

มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370 (MH370) เป็นเที่ยวบินโดยสารระหว่างประเทศที่สูญหายเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2557 ระหว่างบินจากท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ไปท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง ประเทศจีน เที่ยวบินดังกล่าวติดต่อด้วยเสียงครั้งสุดท้ายกับศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศเมื่อเวลา 01:19 MYT ของวันที่ 8 มีนาคม (17:19 UTC ของวันที่ 7 มีนาคม) ขณะบินเหนือทะเลจีนใต้ไม่ถึงชั่วโมงหลังนำเครื่องขึ้น อากาศยานหายจากจอเรดาร์ของผู้ควบคุมจราจรทางอากาศเมื่อเวลา 01:22 MYT เรดาร์ทหารของมาเลเซียยังติดตามอากาศยานขณะที่เครื่องเบี่ยงจากเส้นทางการบินตามแผนและข้ามคาบสมุทรมลายู เครื่องพ้นรัศมีของเรดาร์ทหารมาเลเซียเมื่อเวลา 02:22 ขณะบินเหนือทะเลอันดามัน ห่างจากปีนังทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศมาเลเซียไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 200 ไมล์ทะเล (370 กิโลเมตร) อากาศยานดังกล่าว ซึ่งเป็นโบอิง 777-200 อีอาร์ บรรทุกสมาชิกลูกเรือชาวมาเลเซีย 12 คน และผู้โดยสาร 227 คนจาก 15 ชาติ เริ่มความพยายามค้นหานานาชาติในอ่าวไทยและทะเลจีนใต้ ที่ซึ่งมองเห็นสัญญาณของเที่ยวบินครั้งสุดท้ายบนเรดาร์สอดส่องดูแลทุติยภูมิ และไม่นานก็ขยายไปช่องแคบมะละกาและทะเลอันดามัน การวิเคราะห์การสื่อสารดาวเทียมระหว่างอากาศยานและเครือข่ายคมนาคมดาวเทียมอินมาร์แซทได้ข้อสรุปว่าเที่ยวบินดำเนินไปจนอย่างน้อย 08:19 และบินลงใต้เข้าสู่มหาสมุทรอินเดียใต้ แม้ยังไม่สามารถกำหนดตำแหน่งแม่นยำได้ ออสเตรเลียรับผิดชอบความพยายามค้นหาเมื่อวันที่ 17 มีนาคม เมื่อการค้นหาย้ายไปมหาสมุทรอินเดียใต้ วันที่ 24 มีนาคม รัฐบาลมาเลเซียสังเกตว่าตแหน่งสุดท้ายที่กำหนดจากการสื่อสารดาวเทียมอยู่ไกลกว่าที่ลงจอดใด ๆ ที่เป็นไปได้ และสรุปว่า "เที่ยวบิน MH370 สิ้นสุดในมหาสมุทรอินเดียใต้" การค้นหาระยะปัจจุบัน ซึ่งเป็นการค้นหาที่ใหญ่และแพงที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน คือ การสำรวจพื้นสมุทรอย่างครอบคลุมประมาณ 1,800 กิโลเมตร (970 ไมล์ทะเล) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเพิร์ธ เวสเทิร์นออสเตรเลีย ซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม 2557 ไม่พบอากาศยานจนวัที่ 29 กรกฎาคม 2558 เมื่อมีชิ้นส่วนกองเศษทะเลถูกพัดขึ้นฝั่งเกาะเรอูนียง ซึ่งต่อมามีการยืนยันว่าเป็นแฟลปเพอรอน (flaperon) จากเที่ยวบินที่ 370 ยังไม่สามารถระบุตำแหน่งลำตัวเครื่องได้ ทำให้เกิดทฤษฎีจำนวนมากเกี่ยวกับการสาบสูญ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและมาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ

นี่คือ รายชื่อท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเท.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804

อียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804 (MS804/MSR804) เป็นเที่ยวบินโดยสารระหว่างประเทศจากท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล ไปยังท่าอากาศยานนานาชาติไคโร ดำเนินการโดยอียิปต์แอร์ ซึ่งตกไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและอียิปต์แอร์ เที่ยวบินที่ 804

จังหวัดวาล-ดวซ

วาล-ดวซ (Val-d'Oise) เป็นจังหวัดในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดวาล-ดวซตั้งตามชื่อแม่น้ำอวซ ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝรั่งเศสโดยมีปงตวซ (Pontoise) เป็นเมืองหลวง บางส่วนของท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลตั้งอยู่ในรัวซี-อ็อง-ฟร็องส์ (Roissy-en-France) ซึ่งเป็นเมืองในวาล-ดวซ วาล-ดวซก่อตั้งขึ้นเมื่ออดีตจังหวัดแซนและแซเนอวซ (Seine-et-Oise) แบ่งออกเป็นหกจังหวัดในปี..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและจังหวัดวาล-ดวซ

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

จุดหมายปลายทางของการบินไทย

โบอิง 747-400 ของการบินไทยกำลังบินขึ้น ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 การบินไทย ได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 64 แห่ง ใน 35 ประเทศ (รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศไทย) ครอบคลุม 3 ทวีป ดังรายการต่อไปนี้ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา เมืองเวียนนา เป็นท่าอากาศยานที่ 64 ที่ทำการบินไทยทำการบินประจำ ในปี..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและจุดหมายปลายทางของการบินไทย

จุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์

รายชื่อสนามบินจุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์ The new CEO of ANA has laid out a future expansion plan, including new services to the Philippines, Indonesia, the Russian Far East and resuming services to Malaysia.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและจุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์

จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

ประเทศจุดหมายปลายทางของโคเรียนแอร์ แอร์บัส เอ 380 ของสายการบินโคเรียนแอร์ โคเรียนแอร์ ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 13 แห่งในประเทศ และ 115 แห่งใน 50 ประเทศใน 5 ทวีป เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

จุดหมายปลายทางของสายการบินเนปาลแอร์ไลน์

รื่องบิน โบอิง 757-200 ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย จุดหมายปลายทางของสายการบิน เนปาลแอร์ไลน์ มีดังต่อไปนี้ (ข้อมูลเดือนมกราคม ค.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและจุดหมายปลายทางของสายการบินเนปาลแอร์ไลน์

จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

หน้านี้คือรายชื่อจุดหมายปลายทางของเที่ยวบินต่าง ๆ ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

ทีดับเบิลยูเอ เที่ยวบินที่ 800

ทรานส์เวิลด์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 800 (ทีดับเบิลยูเอ 800) เป็นเครื่องบินโบอิง 747-100 ที่ระเบิดและตกสู่มหาสมุทรแอตแลนติกใกล้อีสต์มอริตชิส รัฐนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2539 เมื่อเวลาประมาณ 20:31 EDT หลังนำเครื่องขึ้นจากท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและทีดับเบิลยูเอ เที่ยวบินที่ 800

ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์

ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์ (Aéroport de Marseille Provence) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานมาร์แซย์-มารีญาน (Marseille-Marignane Airport) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ห่างจากเมืองมาร์แซย์ในแคว้นพรอว็องซาลโกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร เปิดให้บริการเมื่อ..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ ในปี พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานดอนเมือง

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (Guangzhou Baiyun International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน จากสถิติในปี 2014 สนามบินแห่งนี้มีปริมาณผู้โดยสารมากสุดเป็นอันดับสองของจีนรองจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง และเป็นอันดับ 16 ของโลก สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนสนามบินแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ซึ่งในปัจจุบันได้ปิดใช้งานแล้ว สนามบินแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าสนามบินเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงสนามบินแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว" นอกจากนี้ สนามบินแห่งใหม่ยังอยู่ใกล้ตัวเมืองมากกว่าสนามบินแห่งเก่า สนามบินแห่งนี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี แต่ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารก็มากเกินศักยภาพ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ขนาด 531,000 ตารางเมตรที่มีขนาดเท่ากับอาคารผู้โดยสารในปัจจุบันกำลังดำเนินการอยู่ คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จภายในปี 2018 ซึ่งจะทำให้สนามบินมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

ท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี

ท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei International) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในเมืองปิซา อิตาลี เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของแคว้นทัสกานี โดยอีกแห่งหนึ่งคือท่าอากาศยานเปเรโตลาในฟลอเรนซ์ ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตามกาลิเลโอ กาลิเลอี นักวิทยาศาสตร์ชาวเมืองปิซาที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ในย่านซานจุสโต ห่างจากสถานีรถไฟกลางไม่ถึง 2 กิโลเมตร ค่อนข้างใกล้กับศูนย์กลางของเมือง ท่าอากาศยานแห่งนี้เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟกลางด้วยรถไฟและรถประจำทาง และยังเชื่อมต่อไปถึงสถานีรถไฟซานตามาเรียโนเวลลา ในฟลอเรนซ์อีกด้วย นอกจากจะใช้ในกิจการพลเรือนแล้ว ท่าอากาศยานแห่งนี้ยังถูกใช้เป็นฐานจอดเครื่องบิน C-130 Hercules และ C-27J Spartan ของกองทัพอากาศอิตาลี.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี

ท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

Lufthansa Regional Embraer E195 ท่าอากาศยานมิวนิก (Munich International Airport) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ท่าอากาศยานมิวนิก ฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ (Flughafen München Franz Josef Strauß) เพื่อเป็นเกียรติต่อฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ อดีตผู้ว่าการรัฐบาวาเรีย ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่มิวนิก เยอรมนี ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 28 กิโลเมตร (17.5 ไมล์) มิวนิกเป็นท่าอากาศที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเยอรมนี รองจากท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงค์เฟิร์ต และเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

ท่าอากาศยานนานาชาติอัลมาตี

ท่าอากาศยานนานาชาติอัสมาตี (Халықаралық Алматы Әуежайы, Xalıqaralıq Almatı Äwejayı, حالىقارالىق الماتى أۋەجايى, Международный Аэропорт Алматы, Mezhdunarodnyy Aeroport Almaty) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติของคาซัคสถาน ห่างจากกรุงอัลมาตีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าอากาศยานนานาชาติมีการขนส่งผู้โดยสารถึงร้อยละ 68 ในคาซัคสถาน ในปี 2012 ท่าอากาศยานนานาชาติได้รองรับผู้โดยสารเป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 4,003,004 คน.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติอัลมาตี

ท่าอากาศยานนานาชาติอาชกาบัต

ท่าอากาศยานนานาชาติอาชกาบัต หรือชื่อเดิม Saparmurat Türkmenbaşy International Airport เป็นหนึ่งในสามท่าอากาศยานนานาชาติในเติร์กเมนิสถานอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอาชกาบัต.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติอาชกาบัต

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด (مطار حمد الدولي) เป็น ท่าอากาศยานนานาชาติ ตั้งอยูในโดฮา เมืองหลวงของประเทศกาตาร์ สร้างขึ้นใหม่เพื่อใช้แทน ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา เพื่อเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ เป็นสนามบินที่รู้จักกันในชื่อเดิมว่า ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮาแห่งใหม่ (NDIA), ท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด เดิมมีกำหนดเปิดให้บริการในปี 2009 แต่ก็เกิดความล่าช้าเรื่องค่าใช้จ่ายทำให้ท่าอากาศยานเปิดใช้จริงในวันที่ 30 เมษายน 2014 โดยเครื่องบินของกาตาร์แอร์เวย์ บินจากท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา ผู้ให้บริการหลักอย่าง กาตาร์แอร์เวย์ และผู้ให้บริการรายอื่นๆ ทั้งหมดย้ายมาอย่างเป็นทางการมายังสนามบินใหม่แห่งนี้เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2014.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม

ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม (Birmingham International Airport) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองเบอร์มิงแฮมไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 5.5 nautical mile ที่หมู่บ้าน Bickenhill ใน Metropolitan Borough of Solihull มณฑล West Midlands อังกฤษ ใน..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน (Aeroporto Leonardo da Vinci di Fiumicino) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ท่าอากาศยานฟีอูมีชีโน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 35,226,351 คนใน พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ดิอะเมซิ่งเรซ 16

อะเมซิ่ง เรซ 16 (The Amazing Race 16) เป็นฤดูกาลที่ 16 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและดิอะเมซิ่งเรซ 16

ตาลิส

280px รถไฟตาลิส 4346 ในเมืองโคโลญ ประเทศเยอรมนี ตาลิส (Thalys) เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงระหว่างประเทศ วิ่งระหว่างกรุงปารีสกับกรุงบรัสเซลส์ ใช้ระบบรางร่วมกับรถไฟยูโรสตาร์และรถไฟเตเฌเว (TGV) รถไฟตาลิสให้บริการถึงอัมสเตอร์ดัมและโคโลญด้วย รถไฟตาลิสบริหารงานโดยตาลิสแอ็งแตร์นาซียอนาล (Thalys International) ซึ่งเป็นการร่วมทุนกันของบริษัทระหว่างประเทศ 4 ประเทศคือ ฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และเยอรมนี.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและตาลิส

แอร์บัส เอ380

รื่องบิน แอร์บัส A380 เป็นเครื่องบินห้องโดยสารสองชั้นขนาดใหญ่ ผลิตโดยแอร์บัสแอสอาแอส เครื่องบินสี่เครื่องยนต์ลำนี้สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 800 คน หรือ 500 คนถ้าวางที่นั่งแบบ 3 ชั้นผู้โดยสารตามเครื่องบินพาณิชย์ปกติ เครื่องบินรุ่นนี้ได้ผ่านกำหนดการทดสอบการบินเที่ยวแรกในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและแอร์บัส เอ380

แอร์ฟรานซ์

แอร์ฟรานซ์ (Air France) (Compagnie Nationale Air France) เป็นสายการบินหนึ่งของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม (Air France-KLM) แอร์ฟรานซ์เป็นสายการบินประจำชาติของฝรั่งเศส ปัจจุบันได้เข้าร่วมกิจการกับสายการบินเคแอลเอ็ม (KLM) สายการบินประจำชาติของเนเธอร์แลนด์ โดยใช้ชื่อว่า "แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม" และแอร์ฟรานซ์เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบินสกายทีม.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและแอร์ฟรานซ์

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 เป็นเที่ยวบินที่บินจากท่าอากาศยานรีโอเดอจาเรโน กาเลโอ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล สู่ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ลส์ เดอ โกลล์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่หายไปจากจอเรดาร์ขณะบินอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดกับสายการบินแอร์ฟรานซ์ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 เดินทางจากปารีส ไปนิวยอร์ก ด้วยเครื่องบินคองคอร์ด ขณะเครื่องบินกำลังบินขึ้น เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินได้แจ้งนักบินว่าเห็นเพลิงไหม้ที่ด้านท้ายเครื่อง นักบินได้ตรวจสอบแล้วแจ้งว่า เกิดปัญหากับเครื่องยนต์หมายเลข 1 อีก 4 วินาทีต่อมานักบินได้แจ้งว่าเกิดปัญหากับเครื่องยนต์หมายเลข 2 ด้วย สัญญาณเตือนไฟไหม้ดังขึ้นในห้องนักบิน นักบินพยายามนำเครื่องไปร่อนลงที่สนามบินใกล้เคียงข้าง เครื่องบินสูญเสียความเร็ว ดิ่งหัวลงสู่โรงแรม เกิดไฟไหม้อย่างรุนแรง มีผู้เสียชีวิต 113 คน เป็นผู้โดยสาร 100 คน ลูกเรือ 9 คน และผู้ที่อยู่ในโรงแรมที่คองคอร์ดตกใส่อีก 4 คน จากผลการสอบสวนสรุปว่าสาเหตุการตก เกิดจากมีชิ้นส่วนโลหะที่หลุดออกมาจากเครื่องบินดีซี-10 ของคอนติเนนตัลแอร์ไลน์ ซึ่งบินขึ้นก่อนหน้านั้น 4 นาที กระแทกกับยางล้อด้านซ้ายของคองคอร์ด ขณะกำลังเร่งเครื่องเพื่อเทคออฟ ยางล้อเกิดระเบิดและมีชิ้นส่วนของยางกระเด็นไปกระแทกถังน้ำมัน และสายไฟ และเกิดไฟลุกไหม้ขึ้น หน่วยงานความปลอดภัยทางการบินได้สั่งระงับคองคอร์ดทุกเที่ยวบินเพื่อสอบสวนหาสาเหตุและแก้ไข คองคอร์ดเที่ยวบินแรกหลังอุบัติเหตุ ทำการบินทดสอบเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590

โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์

ออลนิปปอนแอร์เวย์ โบอิ้ง 787-8 โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์ เป็นเครื่องบินโดยสารเจ็ตขนาดกลางลำตัวกว้างพิสัยไกล แบบใช้เครื่องยนต์คู่ ออกแบบโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง รองรับผู้โดยสารได้ลำละ 210 ถึง 290 คน ขึ้นอยู่กับรุ่น โบอิ้งแถลงว่า เครื่องบินดังกล่าวเป็นเครื่องบินโดยสารที่ประหยัดเชื้อเพลิงที่สุดของบริษัท และเป็นเครื่องบินโดยสารสำคัญแบบแรกของโลกที่ใช้วัสดุผสมในการก่อสร้างเป็นส่วนใหญ่ โบอิง 787 บริโภคเชื้อเพลิงน้อยกว่าโบอิง 767 ที่มีขนาดเท่ากันถึง 20% ลักษณะที่แตกต่างที่สุดมีทั้งที่กันลมสี่แผง เชฟรอนลดเสียงบนส่วนแยกเครื่องยนต์ (engine nacelle) และเส้นระดับเสียง (nose contour) ที่เรียบขึ้น ชื่อเดิมของเครื่องบินที่กำหนดคือ 7E7 ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นอย่างในปัจจุบันในเดือนมกราคม..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและโบอิง 787 ดรีมไลเนอร์

ไซปรัสแอร์เวย์

ซปรัสแอร์เวย์ (Κυπριακές Αερογραμμές, Kypriakés Aerogrammés - CY) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศไซปรัส มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นิโคเซีย ให้บริการใน 28 จุดหมายปลายทางในทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง ทวีปแอฟริกา และกลุ่มประเทศบริเวณอ่าวเปอร์เซีย มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติลาร์นากา เมืองลาร์นากา ประเทศไซปรั.

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและไซปรัสแอร์เวย์

เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส

รื่องบินแอร์บัส เอ 310-200F เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11F เครื่องบินเอทีอาร์ 42 เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส (อังกฤษ: FedEx Express) เป็นสายการบินขนส่งสินค้าของเฟดเอกซ์ คอร์ปอเรชั่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองเมมฟิส ในรัฐเทนเนสซี สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลและเฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Paris Charles de Gaulle AirportParis-Charles de Gaulleท่าอากาศยานชาร์ลส์เดอโกลล์ท่าอากาศยานชาลส์เดอโกลท่าอากาศยานนานาชาติ ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ลส์ เดอ โกลล์ท่าอากาศยานนานาชาติชาลส์เดอโกล