สารบัญ
27 ความสัมพันธ์: บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์การสะสมแสตมป์วันแรกจำหน่ายวิมัยบัตรศูนย์สื่อมวลชนโอลิมปิกลอนดอนสหประชาชาติสถานีบางนาสถานีพระโขนงสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีสามย่านสถานีทองหล่อธนาณัติท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ของที่ระลึกเนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีตราประทับตู้ ปณ.ตู้ไปรษณีย์ป้ายลงทะเบียนแสตมป์แผ่นแสตมป์ไปรษณียาคารไปรษณีย์ไปรษณีย์ไทยไปรษณีย์ไทย (บริษัท)เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่นเจ้าอินทยงยศโชติเทศบาลตำบลไม้ยา
บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์
ัญลักษณ์เดิมของบีอีซี-เทโรฯ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เป็นนิติบุคคลซึ่งเกิดจากบริษัท บีอีซีเวิลด์ จำกัด (มหาชน) เข้าร่วมทุนกับไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์ โดยประกอบกิจการ และรับจ้างบริการ ที่เกี่ยวเนื่องกับสื่อประสม, จัดการแสดงหรือกิจกรรมบันเทิง/กีฬาครบวงจร รวมถึงบริการจำหน่ายบัตรผ่านประตู ทั้งนี้บริษัทฯ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากความเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ การประกวดนางงาม เวทีมิสไทยแลนด์เวิลด์ และเป็นเจ้าของสโมสรฟุตบอลบีอีซี-เทโรศาสน ปัจจุบันมีสำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่ชั้น 21-22 และ 25-28 อาคารมาลีนนท์ทาวเวอร์ เลขที่ 3199 ถนนพระรามที่ 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร และมีคำขวัญว่า "เชื่อมติดทุกชีวิตบันเทิง" (Passion United) ในเว็บไซต.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และบีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์
การสะสมแสตมป์
ร้านขายแสตมป์ในงานแสดงตราไปรษณียากรแห่งชาติ การสะสมแสตมป์ คือ การเก็บสะสมและรวบรวมแสตมป์ ตลอดจนสิ่งสะสมอื่น ๆ เช่น ซองจดหมาย ถือเป็นงานอดิเรกที่นิยมมาก.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และการสะสมแสตมป์
วันแรกจำหน่าย
วันแรกจำหน่าย (first day of issue) คือวันแรกที่วางจำหน่ายแสตมป์ชุดหนึ่ง ๆ ให้กับนักสะสมและผู้สนใจ แสตมป์สามารถหาซื้อได้ในวันดังกล่าวจากที่ทำการไปรษณีย์ต่าง ๆ ที่มีเคาน์เตอร์จำหน่ายแสตมป์สำหรับการสะสม หรือจากร้านจำหน่ายแสตมป์ที่ไปรษณีย์จัดในงานต่าง ๆ เช่น งานกาชาด หรือ งานสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย เป็นต้น ในกรณีที่วันแรกจำหน่ายตรงกับวันหยุดราชการ ไปรษณีย์บางแห่งจะเปิดทำการเป็นพิเศษสำหรับจำหน่ายแสตมป์โดยเฉพาะ แต่ไม่เปิดให้บริการด้านไปรษณีย์หรือบริการอื่น.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และวันแรกจำหน่าย
วิมัยบัตร
วิมัยบัตร (Coupon-Réponse International (CRI)international reply coupon (IRC) หรือ international postage voucher) เป็นบัตรที่สามารถใช้แลกเป็นแสตมป์ค่าจดหมายไปต่างประเทศหนักไม่เกิน 20 กรัม วิมัยบัตรสามารถหาซื้อและแลกเป็นแสตมป์ได้จากไปรษณีย์ที่เป็นสมาชิกสหภาพสากลไปรษณีย์ทั่วโลก จุดประสงค์การใช้วิมัยบัตรคือ การส่งจดหมายไปยังผู้รับต่างประเทศพร้อมทั้งค่าส่งกลับ ซึ่งถ้าหากเป็นจดหมายในประเทศก็เพียงสอด แสตมป์ หรือซองเปล่าติดแสตมป์ไปพร้อมกับจดหมาย แต่กรณีจดหมายต่างประเทศ การหาซื้อแสตมป์ของประเทศผู้รับปลายทางจะไม่สะดวก จึงใช้วิธีซื้อวิมัยบัตรและสอดไปพร้อมกับจดหมาย ผู้รับปลายทางก็สามารถนำวิมัยบัตรไปแลกเป็นแสตมป์ได้ที่ที่ทำการไปรษณีย์เพื่อติดบนจดหมายตอบกลับ วิมัยบัตรมีประโยชน์หลายด้าน.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และวิมัยบัตร
ศูนย์สื่อมวลชนโอลิมปิกลอนดอน
ทางอากาศเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 ศูนย์สื่อมวลชนโอลิมปิกลอนดอน (London Olympics Media Center) เป็นสิ่งก่อสร้าง (Complex) ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของกรุงลอนดอน ซึ่งจัดทำขึ้นเป็นพิเศษสำหรับโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 อาคารหลังนี้เป็นศูนย์กลางของสื่อมวลชน ซึ่งเปิดทำการตลอด 24 ชั่วโมง และรองรับเจ้าหน้าที่ของผู้รับสิทธิกระจายเสียงแพร่ภาพการแข่งขัน ช่างภาพและนักข่าว จำนวนมากกว่า 20,000 คน เพื่ออำนวยความสะดวกในการถ่ายทอดวิทยุและโทรทัศน์ สู่ประชาชนทั่วโลกทั้ง 4,000 ล้านคน อาคารที่มีความยาวถึง 275 เมตรหลังนี้ ตั้งอยู่บริเวณหัวมุมทางตะวันตกเฉียงเหนือของอุทยานโอลิมปิกลอนดอน ใช้ทุนสำหรับการก่อสร้าง 355 ล้านปอนด์ การก่อสร้างเริ่มขึ้นเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และศูนย์สื่อมวลชนโอลิมปิกลอนดอน
สหประชาชาติ
หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และสหประชาชาติ
สถานีบางนา
นีบางนา เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสะพานข้ามคลองบางนา เป็นสถานีที่สี่ของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.52 กิโลเมตร.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และสถานีบางนา
สถานีพระโขนง
นีพระโขนง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกพระโขนง.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และสถานีพระโขนง
สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)
นีพหลโยธิน เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร บริเวณห้าแยกลาดพร้าว.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)
สถานีสามย่าน
นีสามย่าน (รหัส SAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกสามย่าน มีทำเลอยู่ใจกลางเมือง ใกล้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และย่านธุรกิจบริเวณสามย่าน สี่พระยา และสุรวง.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และสถานีสามย่าน
สถานีทองหล่อ
นีทองหล่อ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณปากซอยสุขุมวิท 55 (ซอยทองหล่อ).
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และสถานีทองหล่อ
ธนาณัติ
นาณัติ (postal order, money order) เป็นเอกสารหรือตราสารซึ่งที่ทำการไปรษณีย์ต้นทาง หรือธนาคารในบางประเทศ ออกเป็นสำคัญว่าได้รับเงินพร้อมค่าธรรมเนียมแล้ว ผู้ขอออกสามารถส่งให้ผู้รับนำไปขึ้นเงิน ณ ที่ทำการไปรษณีย์ปลายทางหรือธนาคารได้ การส่งธนาณัติจะกระทำด้วยวิธีไปรษณีย์ภาคพื้น วิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีอื่นที่ปลอดภัยก็ได้ ธนาณัติมีลักษณะคล้ายตั๋วสัญญาใช้เงิน เว้นแต่แทนที่สัญญาจะจ่ายเงิน ก็จะเป็นบังคับให้ที่ทำการไปรษณีย์ปลายทางจ่ายเงินตามจำนวนที่กำหนดตราบที่ธนาณัตินั้นยังไม่สิ้นสภาพ ธนาณัติมีความคล้ายคลึงกับเช็คที่ออกโดยธนาคารหรือแคชเชียร์เช็ค ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร รูปแบบของธนาณัติที่ออกโดยไปรษณีย์จะคล้ายคลึงกับเช็ค คือสามารถจ่ายให้แก่ผู้รับที่มีชื่ออยู่ หรือตัวผู้ฝากเองก็ได้หากต้องการไถ่ถอน นอกจากนี้สามารถสั่งมิให้จ่ายเป็นเงินสดโดยการขีดเส้นขนานไว้บนธนาณัตินั้น ธนาณัติฉบับใดมีเส้นขนานขีดไว้ ต้องโอนเงินเข้าสู่บัญชีเงินฝากของผู้รับหรือใช้ชำระหนี้ค่าสาธารณูปโภคที่ไปรษณีย์ก็ได้ อย่างไรก็ตามไม่มีตัวเลือกนี้ในประเทศไทยเนื่องจากความซับซ้อนของการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ ธนาณัติมักจำกัดจำนวนเงินฝากส่งอย่างสูงไว้เพื่อความปลอดภัย ตามไปรษณียนิเทศ จำนวนนี้เป็นไปตามที่บริษัทไปรษณีย์ไทยจำกัด (ปณท.) กำหนดไว้ คือ 50,000 บาท ในขณะที่บริษัทไปรษณีย์อังกฤษกำหนดไว้ที่ 250 ปอนด์สเตอร์ลิง ส่วนบริษัทไปรษณีย์สหรัฐกำหนดไว้ที่ 1,000 ดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ ธนาณัติไทยมีข้อกำหนดในเรื่องอายุของธนาณัติที่จะนำไปขึ้นเงินได้ คือ ธนาณัติที่มีอายุไม่เกิน 4 เดือน นับถัดจากเดือนที่ออก สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินได้ทันที หากเกินกว่านั้น ปณท.
ท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์
ท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ - มุมมองจากที่จอดรถ ท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ (မန္တလေး အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာ လေဆိပ်), อยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ ไปทางตอนใต้ 35 กิโลเมตร เป็น 1 ใน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติของ ประเทศพม่า สร้างแล้วเสร็จในปี..
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์
ของที่ระลึกเนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
องที่ระลึก เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 มีการจัดทำขึ้นมากมายโดยหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาล และเอกชน ซึ่งในที่นี้จะรวบรวมรายละเอียดของที่ระลึกที่สำคัญดังนี้.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และของที่ระลึกเนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
ตราประทับ
ตราประทับเครื่อง รูปลูกคลื่น ตราประทับ (postal marking) ในทางไปรษณีย์ หมายถึงการทำเครื่องหมายต่าง ๆ ลงบนซองจดหมาย หรือ สิ่งอื่นที่ส่งทางไปรษณีย์ มีหลายประเภท มีทั้งตราที่ใช้ในงานไปรษณีย์ และตราสำหรับประทับเป็นที่ระลึกในการสะสมแสตมป.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และตราประทับ
ตู้ ปณ.
ตู้ ปณ.
ตู้ไปรษณีย์
ตู้ไปรษณีย์ บริเวณสำนักงานไปรษณีย์นครหลวงเหนือ ตู้ไปรษณีย์ เป็นตู้สำหรับให้ประชาชนนำจดหมายซึ่งติดแสตมป์ค่าส่งแล้ว มาหยอดเข้าไปในตู้ และจะมีบุรุษไปรษณีย์มารวบรวมจดหมายตามเวลาที่กำหนด เพื่อส่งเข้าระบบไปรษณีย์ต่อไป มีการนำมาใช้ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และตู้ไปรษณีย์
ป้ายลงทะเบียน
แบบใช้กระดาษติด จาก พ.ศ. 2531 แบบที่ใช้ตรายาง จาก พ.ศ. 2532 แบบรหัสแท่ง จาก พ.ศ. 2548 ป้ายลงทะเบียน (registry label) เป็นสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนจดหมายที่ส่งแบบลงทะเบียน กล่าวคือ มีการจดบันทึกไว้เป็นหลักฐานโดยไปรษณีย์ทั้งตอนส่งและตอนรับจดหมายเพื่อป้องกันการสูญหายของจดหมาย ป้ายลงทะเบียนอาจเป็นกระดาษหรือสติกเกอร์ติด หรือใช้วิธีประทับตรายางลงไปก็ได้ โดยบนสัญลักษณ์จะมีหมายเลข และตัวอักษร R ขนาดใหญ่ตามข้อตกลงของสหภาพสากลไปรษณีย์ (Universal Postal Union) เนื่องจากป้ายลงทะเบียนมักระบุถึงที่ทำการไปรษณีย์ที่ใช้ฝากส่งจดหมาย จึงมีการสะสมป้ายจากที่ทำการไปรษณีย์ต่าง ๆ นอกจากนี้ในกรณีที่นักสะสมแสตมป์สะสมตราประจำวัน หรือ ซองจดหมาย ป้ายลงทะเบียนที่ปรากฏบนจดหมายช่วยให้ซองมีคุณค่ามากขึ้น โดยเฉพาะในการศึกษาการไปรษณีย์ในสมัยต่าง ๆ ปัจจุบันไปรษณีย์ประเทศต่าง ๆ หันมาใช้ป้ายทะเบียนที่มีรหัสแท่ง (barcode) อยู่บนป้าย ทำให้สามารถใช้เครื่องอ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรงโดยไม่ต้องบันทึกเป็นกระดาษหรือพิมพ์เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยมือ ข้อดีประการหนึ่งของการบันทึกเข้าระบบคอมพิวเตอร์คือ สามารถทำระบบออนไลน์ให้ผู้ฝากส่งสามารถตรวจสอบสถานะของจดหมายได้จากทางอินเทอร์เน็ต เช่น ของไทยสามารถตรวจที่ หมวดหมู่:ไปรษณีย์.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และป้ายลงทะเบียน
แสตมป์
แสตมป์ฝรั่งเศส ที่ใช้ในจักรวรรดิออตโตมัน ช่วงปี พ.ศ. 2445-2463 แสตมป์ หรือ ตราไปรษณียากร (Postage stamp หรือ Stamp) เป็นหลักฐานการชำระค่าบริการไปรษณีย์ มักเป็นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมเพื่อติดบนซองจดหมาย แสตมป์ที่มีรูปร่างหรือทำจากวัสดุอื่นก็มีปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง แสตมป์มักพิมพ์ออกเป็นแผ่น ประกอบด้วยแสตมป์หลายดวง ปกติอยู่ระหว่าง 20 ถึง 120 ดวง มีการปรุรู รอบดวงแสตมป์เพื่อเพิ่มความสะดวกในการฉีก รอยฉีกที่ได้เรียกว่า ฟันแสตมป์ ด้านหลังแสตมป์มีกาวเคลือบอยู่ กระดาษที่ใช้พิมพ์มักมีสิ่งพิเศษไว้เพื่อป้องกันการปลอมแปลง เช่น ลายน้ำ (watermark) หรือ ด้ายสี หากติดแสตมป์เพื่อใช้งานบนซองแล้ว ต้องมีการประทับตราทุกครั้ง เพื่อป้องกันการนำกลับมาใช้อีก การสะสมแสตมป์เป็นงานอดิเรกอย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมาก.
แผ่นแสตมป์
แผ่นแสตมป์คละแบบ รอบ ๆ แสตมป์มีข้อมูลเช่นโรงพิมพ์ หมายเลขแผ่น เป็นต้น แผ่นแสตมป์ (หรือ แสตมป์เต็มแผ่น) แผ่นกระดาษที่ประกอบไปด้วยแสตมป์อยู่ภายในและยังไม่ได้ฉีกแยกออกมา ในหนึ่งแผ่นอาจมีแสตมป์ 20, 25, 50 หรือ 100 ดวงหรือต่างจากนี้ขึ้นกับความต้องการของไปรษณีย์ของประเทศนั้น ๆ ในอดีต แสตมป์ทุกดวงในแผ่นจะเป็นแบบเดียวกันหมด แต่ในระยะหลัง มีการพิมพ์แผ่นที่มีแสตมป์หลายแบบในแผ่นเดียวกัน เรียกว่า แผ่นแสตมป์คละแบบ (composite sheet) โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อการสะสม แสตมป์บางชุดมีการพิมพ์ทั้งแผ่นธรรมดาและแผ่นคละแบบ และแสตมป์บางชุดทุกดวงในแผ่นก็มีแบบไม่ซ้ำกันอีกด้ว.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และแผ่นแสตมป์
ไปรษณียาคาร
ปรษณียาคาร ที่สร้างขึ้นใหม่ (ภาพเมื่อปี พ.ศ. 2554) ไปรษณียาคาร เดิมสะกดว่า ไปรสะนียาคาร เป็นอาคารที่ตั้งเดิมของกรมไปรษณีย์ และที่ทำการไปรษณีย์แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ปากคลองโอ่งอ่าง ฝั่งพระนคร อยู่ทางทิศใต้ของสะพานพุทธ ตึกไปรสะนียาคาร สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และไปรษณียาคาร
ไปรษณีย์
ในที่ทำการไปรษณีย์ โดยในภาพเป็นที่ทำการไปรษณีย์นาหว้า อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม ไปรษณีย์ เป็นคำที่มีความหมายได้หลายอย่าง อาจหมายถึง จดหมาย (mail) บริการรับส่งจดหมายและพัสดุภัณฑ์ (postal service) รวมทั้งเป็นคำเรียกย่อ ๆ ของ ที่ทำการไปรษณี.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และไปรษณีย์
ไปรษณีย์ไทย
ที่ทำการไปรษณีย์ในสมัยต่าง ๆ บนชีทที่ระลึก ปณฝ. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เคาน์เตอร์บริการไปรษณีย์ไทย งานด้านไปรษณีย์ของไทยขึ้นกับ บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท.) ในอดีตเคยขึ้นกับเป็น กรมไปรษณีย์โทรเลขและการสื่อสารแห่งประเทศไท.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทย (บริษัท)
ริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการไปรษณีย์ของประเทศไทย ซึ่งแปรรูปมาจาก การสื่อสารแห่งประเทศไทย (ก.ส.ท.).
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และไปรษณีย์ไทย (บริษัท)
เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น
ตะขอเข็มขัด ตอกและสลักด้วยการออกแบบตามหลักของสัตว์และนกในตำนาน ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนในยุคโบราณ ปรากฏช่วงเวลาที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและถดถอยที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราชวงศ์ฮั่นเหนือ (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น
เจ้าอินทยงยศโชติ
้าอินทยงยศโชติ (110px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 9 ในราชวงศ์ทิพย์จักร.
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และเจ้าอินทยงยศโชติ
เทศบาลตำบลไม้ยา
ทศบาลตำบลไม้ยา ได้รับการประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2551 ให้เป็นเทศบาลตำบลไม้ยา ตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม 2551 เป็นต้นมา บ้านห้วยก้าง ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ยาได้เปิดทำการมาตั้งแต่ปี..
ดู ที่ทำการไปรษณีย์และเทศบาลตำบลไม้ยา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ที่ทำการไปรษณีย์ชั่วคราว