สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์นมหาวิทยาลัยราชธานีรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหารวัดสามัคคีอุปถัมภ์วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 2 (มุกดาหาร–สะหวันนะเขต)สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ)สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนืออำเภอบุ่งคล้าอำเภอเมืองบึงกาฬอำเภอเลิงนกทาองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบจังหวัดบึงกาฬจังหวัดอำนาจเจริญถนนมิตรภาพถนนนิตโยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 223ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 231ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24ทางหลวงเอเชียสาย 121ทางหลวงเอเชียสาย 15ทางหลวงเอเชียสาย 16แยกหนองคายโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น
มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น (The Eastern University of Management and Technology) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ถึงระดับปริญญาเอก ตั้งอยู่ที่ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น
มหาวิทยาลัยราชธานี
มหาวิทยาลัยราชธานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ตั้งอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวิทยาเขต 1 แห่ง ที่จังหวัดอุดรธานี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และมหาวิทยาลัยราชธานี
รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2
ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วยเลข 2 สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางส่วนในภาคเหนือ และภาคกลาง.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2
วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร
วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร ปัจจุบันมี พระเทพวรมุนี เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ ปี..
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร
วัดสามัคคีอุปถัมภ์
วัดสามัคคีอุปถัมภ์ หรือ วัดภูกระแต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดย พระญาณสิทธาจารย์ (วิ.) เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนที่อาศัยอยู่ ณ บริเวณนั้น และจะทำให้ประชาชนได้หันกลับมาเข้าวัดกันอีกครั้ง หลังจากตกเป็นเครื่องมือของพวกคอมมิวนิสต์ เมื่อหลวงปู่ทองพูล สิริกาโม มาถึงบริเวณภูกระแต ในคืนแรกท่านจำวัดใต้ต้นบก และ 3 - 4 วันต่อมา ชาวบ้านได้ทำเพิงพักนั่งร้าน และกุฎิชั่วคราวแบบง่ายๆ ทำด้วยไม้ไผ่ป่า จากนั้นหลวงปู่ทองพูล สิริกาโมจึงได้พัฒนาวัดเรือยมาจวบจนถึงวันมรณภาพ โดยได้รับแรงศรัทธาสามัคคีร่วมใจจากคณะลูกศิษย์ลูกหาทั้งที่เป็นพระภิกษุ สามเณร และอุบาสก อุบาสิกา ทั้งในจังหวัด ต่างจังหวัดและต่างประเท.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และวัดสามัคคีอุปถัมภ์
วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑
วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย เป็นศูนย์กลางอำนวยการของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑ ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย และเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑
สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 2 (มุกดาหาร–สะหวันนะเขต)
อีกมุมหนึ่งของสะพาน การเปลี่ยนจากการขับรถทางซ้ายเป็นทางขวา สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 2 (Second Thai–Lao Friendship Bridge; ຂົວມິດຕະພາບ ລາວ-ໄທ ແຫ່ງທີສອງ) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำโขง เชื่อมต่อจังหวัดมุกดาหารของประเทศไทย เข้ากับแขวงสุวรรณเขตของประเทศลาว เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเศรษฐกิจตะวันตกตะวันออก ซึ่งเริ่มจากพม่า ผ่าน ไทย ลาวและสิ้นสุดที่เวียดนาม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขงของธนาคารการพัฒนาแห่งเอเชีย ซึ่งมีความยาวทั้งหมด 1,600 เมตร มีความกว้าง 12 เมตร และมีช่องการจราจร 2 ช่อง มูลค่าการก่อสร้างประมาณ 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยแหล่งทุนในการก่อสร้างเป็นเงินกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำจากรัฐบาลญี่ปุ่นให้กับรัฐบาลลาว 4,011 ล้านเยน และให้กับรัฐบาลไทย 4,079 ล้านเยน ใช้เวลาก่อสร้างตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และสะพานมิตรภาพไทย–ลาว 2 (มุกดาหาร–สะหวันนะเขต)
สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ)
นมิตรภาพ 5 (บึงกาฬ-บอลิคำไซ) (5th Thai-Lao Friendship Bridge; ຂົວມິດຕະພາບ ລາວ-ໄທ 5) เป็นโครงการสะพานข้ามแม่น้ำโขงเพื่อเชื่อมมิตรภาพระหว่างไทยกับลาว เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และสะพานมิตรภาพไทย–ลาว 5 (บึงกาฬ–บอลิคำไซ)
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงหนือ เดิมมีชื่อว่า ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และสถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อำเภอบุ่งคล้า
อำเภอบุ่งคล้า เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบึงกาฬ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และอำเภอบุ่งคล้า
อำเภอเมืองบึงกาฬ
อำเภอเมืองบึงกาฬ เป็นอำเภอซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการบริหารราชการของจังหวัดบึงกาฬ มีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง มีน้ำตก มีภูเขา เป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดกับแม่น้ำโขง และอีกฝั่งตรงข้ามแม่น้ำโขงจะเป็นประเทศเพื่อนบ้าน (ลาว) มีการคมนาคมสะดวก.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และอำเภอเมืองบึงกาฬ
อำเภอเลิงนกทา
ลิงนกทา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร ตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของจังหวัด มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 1 และมีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 รองจากอำเภอเมืองยโสธร และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 รองจากอำเภอเมืองยโสธร อีกทั้งมีสนามบินเก่าในช่วงสมัยสงครามเวียดนาม ก่อสร้างโดยกองทัพสหรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลโคกสำราญ ขณะนี้อยู่ในช่วงกำลังปรับปรุงสนามบินเพื่อให้เป็นสนามบินพาณิชย์ และในอนาคตจะสามารถพัฒนาเป็นสนามบินนานาชาติได้ และโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายบ้านไผ่ - มหาสารคาม - ร้อยเอ็ด - มุกดาหาร - นครพนม ซึ่งผ่านพื้นที่อำเภอเลิงนกทา โดยกำหนดสถานีรถไฟและป้ายหยุดรถไฟคือ สถานีรถไฟเลิงนกทา และป้ายหยุดรถไฟบ้านห้องแซง.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และอำเภอเลิงนกทา
องค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ
มื่อปี..
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ
จังหวัดบึงกาฬ
ึงกาฬ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนสุดของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 765 กิโลเมตร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และจังหวัดบึงกาฬ
จังหวัดอำนาจเจริญ
อำนาจเจริญ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานจากการค้นพบแหล่งชุมชนโบราณ โบราณสถาน และโบราณวัตถุตามที่กรมศิลปากรค้นพบและสันนิษฐานไว้ตามหลักฐานทางโบราณคดี (ใบเสมาอายุราว 1,000 ปี) และได้ตั้งเป็นเมืองมานานหลายร้อยปี ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และจังหวัดอำนาจเจริญ
ถนนมิตรภาพ
นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และถนนมิตรภาพ
ถนนนิตโย
นนนิตโย หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 สายอุดรธานี–นครพนม เริ่มจากบริเวณวงห้าแยกเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็นถนนทหาร และถนนอุดรดุษฎี ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี (เส้นเดียวกับถนนโพศรี) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่านอำเภอหนองหาน อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง และเข้าสู่เขตจังหวัดสกลนครที่อำเภอสว่างแดนดิน ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน อำเภอพังโคน อำเภอพรรณานิคม อำเภอเมืองสกลนคร เทศบาลตำบลท่าแร่ อำเภอกุสุมาลย์ และเข้าสู่เขตจังหวัดนครพนมที่อำเภอเมืองนครพนมไปบรรจบเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 240.746 กิโลเมตร ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และถนนนิตโย
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 สายแม่สอด (เขตแดน)–มุกดาหาร เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญที่เชื่อมระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย สายทางเริ่มต้นที่สะพานมิตรภาพไทย-พม่า อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และสิ้นสุดที่อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 793.391 กิโลเมตร อีกทั้งรัฐบาลยังวางแผนให้เป็นหนึ่งในถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก ที่เชื่อมระหว่างเมืองเมาะลำเลิง ประเทศพม่า และเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม นอกจากนี้เส้นทางหลวงแผ่นดินสายนี้ยังถือเป็นทางหลวงสายเอเชีย ได้แก่ ทางหลวงเอเชียสาย 1 และทางหลวงเอเชียสาย 16 อีกด้ว.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 สายชัยภูมิ–เขมราฐ เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก-ตะวันออก มีระยะทางตลอดทั้งสาย 380.653 กิโลเมตร ผ่านจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222 สายพังโคน–บึงกาฬ เป็นทางหลวงในแนวเหนือ-ใต้ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดสกลนครกับจังหวัดบึงกาฬ มีระยะทางตลอดทั้งสาย 128.756 กิโลเมตร.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 223
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 223 สายสกลนคร–บ้านต้อง เป็นทางหลวงแนวตะวันตก-ตะวันออกที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดสกลนครกับอำเภอทางตอนใต้ของจังหวัดนครพนม มีระยะทางตลอดทั้งสาย 65.052 กิโลเมตร ทางหลวงสายนี้มีเส้นทางเชื่อมต่อมาจากถนนมัธยมจันทร์ ในเขตเทศบาลนครสกลนคร อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร มีเส้นทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านอำเภอโคกศรีสุพรรณ แล้วเข้าสู่จังหวัดนครพนม ผ่านอำเภอนาแก และสิ้นสุดที่อำเภอธาตุพนม บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 แต่เดิมทางหลวงเส้นนี้คือ "ทางหลวงสายสกลนคร-นาแก-ธาตุพนม" ได้รับการขนานนามว่า "ถนนมัธยมจันทร์" ในสมัยจอมพล ป.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 223
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 231
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 231 หรือ ถนนวงแหวนรอบเมืองอุบลราชธานี เป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทางทั้งหมด 46.142 กม.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 231
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 สายทางต่างระดับสีคิ้ว–อุบลราชธานี หรือ ถนนเดชอุดม เดิมเรียก "ถนนโชคชัย-เดชอุดม" ก่อนมีก่อนขยายเส้นทางเริ่มมาจากทางแยกต่างระดับสีคิ้ว (จากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201) รวมระยะทางทั้งสิ้น 420.145 กิโลเมตร โดยถนนเส้นนี้อยู่ในส่วนหนึ่งของแผนงานการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร ระยะที่ 2 (โครงข่ายที่ 7 สาย อำเภอสัตหีบ-อำเภอพนมสารคาม-อำเภอกบินทร์บุรี-อำเภอปักธงชัย-อำเภอโชคชัย-อำเภอนางรอง-อำเภอปราสาท-อุบลราชธานี-มุกดาหาร (รวม อำเภอสีคิ้ว-อำเภอโชคชัย)) รวมระยะทาง 834 กม.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24
ทางหลวงเอเชียสาย 121
ทางหลวงเอเชียสาย 121 คือถนนเครือข่ายทางหลวงสายเอเชียประเภทสายรอง เริ่มต้นจากพรมแดนประเทศลาว ที่สะพานมิตรภาพ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) ใน อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ลงมาทางทิศใต้ตามเส้นทางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 (ถนนชยางกูร) เลี้ยวขวาไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2116 ผ่านอำเภอเลิงนกทา เลี้ยวซ้ายไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2169 ผ่านเข้าอำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร จากนั้นจึงเข้าสู่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 เข้าเขต จังหวัดร้อยเอ็ด ผ่าน อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภอเกษตรวิสัย เลี้ยวซ้ายไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 219 ใน อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย เข้าเขต อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ แล้วใช้เส้นทาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 218 เข้าเขต อำเภอนางรอง แล้วเลี้ยวขวาใช้ถนน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 แล้วเลี้ยวซ้ายไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 348 ในเขตเทศบาลเมืองนางรอง ผ่าน อำเภอปะคำ อำเภอโนนดินแดง ลงเขาช่องตะโก เข้าสู่เขตอำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว เลี้ยวขวาใช้เส้นทางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3486 ที่แยกบ้านใหม่ เลี้ยวขวาใช้เส้นทางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3395 ที่แยกโคคลาน แล้วเลี้ยวขวาใช้เส้นทางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3462 ที่สี่แยกช่องกุ่ม ตำบลช่องกุ่ม อำเภอวัฒนานคร ไปบรรจบทางหลวงเอเชียสาย 1 (AH 1) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 ที่ตัวเมืองจังหวัดสระแก้ว รวมระยะทาง 458.5 กิโลเมตร.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงเอเชียสาย 121
ทางหลวงเอเชียสาย 15
ทางหลวงเอเชียสาย 15 (AH15) เป็นถนนในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย มีระยะทางตลอดทั้งสาย เส้นทางเริ่มต้นที่เมืองวิญ ประเทศเวียดนาม และสิ้นสุดที่อุดรธานี ประเทศไทย เชื่อมต่อระหว่างทางหลวงเอเชียสาย 1 ไปยังทางหลวงเอเชียสาย 12.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงเอเชียสาย 15
ทางหลวงเอเชียสาย 16
ทางหลวงเอเชียสาย 16 (AH16) เป็นถนนเครือข่ายทางหลวงสายเอเชียประเภทสายรอง ระยะทางรวม 1,031 กิโลเมตร โดยผ่านประเทศไทย 688.5 กิโลเมตร เส้นทางแยกมาจากทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 1 ฝั่งตะวันตก ในจังหวัดตาก ประเทศไทย ผ่านประเทศลาว และสิ้นสุดในเมืองดองฮา จังหวัดกว๋างจิ ประเทศเวียดนาม โดยเชื่อมต่อกับทางหลวงเอเชียสาย 1 ฝั่งตะวันตกไปยังเมืองเว้ และเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และทางหลวงเอเชียสาย 16
แยกหนองคาย
แยกหนองคาย เป็นสี่แยกจุดตัดของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 233, ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 243 ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนอง.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และแยกหนองคาย
โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
รงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี (Assumption College Ubonratchathani) เป็นสถาบันการศึกษาในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ลำดับที่ 10 และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา คณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทยได้นำภราดาเข้ามาดูแลโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง มีการจัดการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชน อบรมสั่งสอนเยาวชน ให้มีความรู้อย่างลึกซึ้ง เพื่อสามารถนำความรู้ ไปประกอบอาชีพและเป็นบุคคลที่ดีต่อประเทศชาต.
ดู ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212และโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ถนนชยางกูร