เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ทางพิเศษอุดรรัถยา

ดัชนี ทางพิเศษอุดรรัถยา

ทางพิเศษอุดรรัถยา หรือ ทางด่วนสายบางปะอิน–ปากเกร็ด เป็นทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ระยะทางรวม 32 กิโลเมตร มีปลายทางทิศใต้ที่ปลายทางทิศเหนือของทางพิเศษศรีรัชส่วน C บริเวณจุดตัดกับถนนแจ้งวัฒนะ ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และมีปลายทางทิศเหนือบนถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันตก ในอำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

สารบัญ

  1. 20 ความสัมพันธ์: กรุงเทพมหานครการทางพิเศษแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรีรถไฟฟ้าสายสีชมพูศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานีสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซียอำเภอสามโคกอำเภอเมืองปทุมธานีอุดรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาถนนกาญจนาภิเษกถนนศรีสมานถนนแจ้งวัฒนะทางพิเศษศรีรัชทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3214ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346ทางด่วนในประเทศไทยเอ็กซ์โป 2020

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและกรุงเทพมหานคร

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: กทพ.; EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและการทางพิเศษแห่งประเทศไทย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี

รายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและรายชื่อทางแยกในจังหวัดนนทบุรี

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและรถไฟฟ้าสายสีชมพู

ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี

ูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี (IMPACT Arena, Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani) เป็นศูนย์จัดแสดงสินค้าและการประชุมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ของเมืองทองธานี ในเขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยในแต่ละปีจะมีการจัดงานอีเวนท์ต่างๆ มากกว่า 400 งาน และมีผู้เยี่ยมชมมากกว่า 15 ล้านรายต่อปี.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

ันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

อำเภอสามโคก

มโคก เป็นอำเภอที่มีขนาดเล็กที่สุดของจังหวัดปทุมธานี มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่ากลางอำเภอ.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและอำเภอสามโคก

อำเภอเมืองปทุมธานี

อำเภอเมืองปทุมธานี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี มีประชากรจำนวนกว่า 1.9 แสนคน ประกอบด้วยตำบล 14 ตำบล และเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการของจังหวัดปทุมธานีอีกด้วย อำเภอเมืองปทุมธานีเป็นอำเภอมีความหนาแน่นเฉลี่ยของประชากรสูงถึง 1,421 คนต่อตารางกิโลเมตร และมีความเจริญกระจายตัวอย่างทั่วถึงทั้งอำเภอ ตรงกลางอำเภอมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่ากลางอำเภอ.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและอำเภอเมืองปทุมธานี

อุดร

อุดร หรือ อุตระ (อุด-ตะ-ระ) สามารถหมายถึง.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและอุดร

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและถนนกาญจนาภิเษก

ถนนศรีสมาน

แนวถนนศรีสมาน (เส้นสีน้ำเงิน) ถนนศรีสมาน (Thanon Si Saman) เป็นถนนคอนกรีตสี่ช่องทางมีเกาะกลางในเขตตำบลบ้านใหม่ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลนครปากเกร็ด เริ่มตั้งแต่ทางแยกสวนสมเด็จฯ ที่ถนนติวานนท์ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับทางพิเศษอุดรรัถยา และไปสิ้นสุดที่ทางแยกถนนสรงประภาตัดกับถนนประชาชื่น-ปากเกร็ด รวมระยะทางประมาณ 2.6 กิโลเมตร.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและถนนศรีสมาน

ถนนแจ้งวัฒนะ

นนแจ้งวัฒนะ ถนนแจ้งวัฒนะ (Thanon Chaeng Watthana) เป็นถนนสายหนึ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เขตหลักสี่ และเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายชลอ แจ้งวัฒนะ อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางกรุงเทพที่ 2 กรมทางหลวง ซึ่งเป็นนายช่างที่ควบคุมการก่อสร้างถนนสายนี้ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและถนนแจ้งวัฒนะ

ทางพิเศษศรีรัช

ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและทางพิเศษศรีรัช

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3214

Thai Highway shield (3214) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3214 สายต่างระดับเชียงรากใหญ่ - คลองห้า หรือที่นิยมเรียกกันว่า ถนนคลองหลวง (ในช่วงทางต่างระดับคลองหลวงถึงคลองห้า) และ ถนนเชียงราก (ตั้งแต่ทางต่างระดับเชียงรากใหญ่ถึงทางต่างระดับคลองหลวง) เริ่มตั้งแต่ทางแยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 ตรงทางแยกต่างระดับเชียงรากใหญ่ ลอดทางพิเศษอุดรรัถยา (บางปะอิน-ปากเกร็ด) ข้ามทางรถไฟชานเมืองสายเหนือ ผ่านสนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต ข้ามถนนพหลโยธิน ผ่านสถานีตำรวจภูธรคลองหลวง ผ่านวัดพระธรรมกาย ข้ามถนนกาญจนาภิเษก สิ้นสุดที่สะพานคลองห้า จุดตัดทางหลวงชนบท ปท.3010 รวมระยะทาง 15.033 กิโลเมตร.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3214

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 สายต่างระดับรังสิต–พนมทวน เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี, จังหวัดนนทบุรี, จังหวัดนครปฐม และจังหวัดกาญจนบุรี ต้นทางอยู่ที่ทางแยกต่างระดับรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี และปลายทางอยู่ที่แยกพนมทวน อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ถนนสายนี้เริ่มจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ที่ทางแยกต่างระดับรังสิต มาทางทิศตะวันตก เข้าสู่เขตอำเภอเมืองปทุมธานี และตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 (ติวานนท์-รังสิต) ที่แยกบางพูน แล้วผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3309 ผ่านทางพิเศษอุดรรัถยา แล้วตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 (ติวานนท์) ที่แยกบ้านกลาง แล้วโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 (ปทุมธานี-บางปะหัน) ที่แยกเทคโนปทุมธานี ข้ามสะพานปทุมธานี ตัดผ่านตัวจังหวัดปทุมธานี ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 (ปทุมสามโคก) ที่แยกสันติสุข แล้วโค้งไปทางใต้ ตัดกับถนนปทุมลาดหลุมแก้วที่แยก อ.ปทุมธานี ออกไปทางถนนกาญจนาภิเษกและตัดกันที่ทางแยกต่างระดับลาดหลุมแก้ว เข้าสู่อำเภอลาดหลุมแก้ว ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 (บางบัวทอง-สุพรรณบุรี) ทีแยกนพวงศ์ จากนั้นข้ามคลองลากค้อน เข้าเขตอำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับทางหลวงชนบท น.3004 และทางหลวงท้องถิ่นสายบ้านไทรน้อย-บ้านคลองนาหมอนที่แยกไทรน้อย เข้าสู่อำเภอบางเลน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม เข้าสู่อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี สิ้นสุดเส้นทาง.

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346

ทางด่วนในประเทศไทย

ทางด่วนในประเทศไทย เป็นถนนที่เก็บค่าผ่านทาง มีการควบคุมจุดเข้าออกของรถยนต์ แบ่งออกเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่กำกับดูแลโดยกรมทางหลวง และทางพิเศษที่กำกับดูแลโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ดำเนินงานโดยบริษัททางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและทางด่วนในประเทศไทย

เอ็กซ์โป 2020

อ็กซ์โป 2020 เป็นการแสดงนิทรรศการนานาชาติที่จะจัดขึ้นในปี..

ดู ทางพิเศษอุดรรัถยาและเอ็กซ์โป 2020