โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทักษิณ ชินวัตร

ดัชนี ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

567 ความสัมพันธ์: ชฎิล เทพวัลย์ชมรมคนรักอุดรชยาภา วงศ์สวัสดิ์บรรหาร ศิลปอาชาบรรณวิทย์ เก่งเรียนชวรัตน์ ชาญวีรกูลชวลิต ยงใจยุทธชวน หลีกภัยชัชวาลย์ ชมภูแดงบัญญัติ บรรทัดฐานชัยยะ ศิริอำพันธ์กุลชัยสิทธิ์ ชินวัตรชัยอนันต์ สมุทวณิชชัยนันท์ เจริญศิริชัยเกษม นิติสิริบัณฑิต ศิริพันธุ์บัณฑูร ล่ำซำบัณฑูร สุภัควณิชชาญชัย ลิขิตจิตถะชิดชัย วรรณสถิตย์ชินวรณ์ บุณยเกียรติชินวัฒน์ หาบุญพาดชินวัตรชินณิชา วงศ์สวัสดิ์บึงกะโล่บุญยอด สุขถิ่นไทยบุญคลี ปลั่งศิริชูชีพ หาญสวัสดิ์ชูศักดิ์ ศิรินิลชนาพัทธ์ ณ นครช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านจันทร์ส่องหล้าบ้านเลขที่ 111ฟองสนาน จามรจันทร์พ.ศ. 2492พ.ศ. 2499พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พรรคชาติไทยพรรคพลังธรรมพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคพลังใหม่พรรคมหาชน...พรรคอนาคตใหม่พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทยพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระยาธรรมลังกาพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546พระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)พระเจ้ามโหตรประเทศพฤศจิกายน พ.ศ. 2548พฤษภาคม พ.ศ. 2548พฤษภาคม พ.ศ. 2549พฤณท์ สุวรรณทัตพัลลภ ปิ่นมณีพันศักดิ์ วิญญรัตน์พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพายัพ ชินวัตรพานทองแท้ ชินวัตรพิชัย รัตตกุลพิชาญเมธ ม่วงมณีพิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะพิจิตร กุลละวณิชย์พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์พินิจ จารุสมบัติพินทองทา คุณากรวงศ์พิเชษฐ สถิรชวาลพจมานพจมาน ณ ป้อมเพชรพีรพันธุ์ เปรมภูติพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคพงศพัศ พงษ์เจริญพงศกร เลาหวิเชียรพงศ์เทพ เทพกาญจนาพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาลกร ทัพพะรังสีกรพจน์ อัศวินวิจิตรกรกฎาคม พ.ศ. 2548กระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)กระทรวงในประเทศไทยกระแส ชนะวงศ์กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ปกรณีตากใบกลุ่ม 40 ส.ว.กลุ่มรักเชียงใหม่ 51กลุ่มวังน้ำเย็นกลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการกลุ่มคนเสื้อน้ำเงินกลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์กลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์กล้านรงค์ จันทิกกษิต ภิรมย์กองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกองทัพบกไทยกันยายน พ.ศ. 2548กันยายน พ.ศ. 2549กันตธีร์ ศุภมงคลกาญจนาภา หงษ์เหินการบินไทย เที่ยวบินที่ 114การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดินการยุบสภาผู้แทนราษฎรไทยการลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548การศึกษาในประเทศไทยการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554การทุจริตทางการเมืองการทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตรการตรวจพิจารณาในประเทศไทยการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550การเมืองไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ตุลาคม พ.ศ. 2549การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555กิจจา ทวีกุลกิจกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549กุเทพ ใสกระจ่างกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 20กปปส.ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยาภูมิธรรม เวชยชัยมกราคม พ.ศ. 2547มกราคม พ.ศ. 2549มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเคนทักกีมหาวิทยาลัยแซมฮิวสตันสเตตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (จอมทอง)มหาประชาชนสุดสัปดาห์มาร์ก ฮิวส์มานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยานมิถุนายน พ.ศ. 2547มิถุนายน พ.ศ. 2548มิถุนายน พ.ศ. 2549มิ่งขวัญ แสงสุวรรณมีนาคม พ.ศ. 2549ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุทธศักดิ์ ศศิประภายงยุทธ ติยะไพรัชระบอบทักษิณรัชดา ธนาดิเรกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540รัฐประหารในประเทศไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รัตนพล ส.วรพินรากหญ้ารายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทยรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทยรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ป.ภ.รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทยรุ่ง แก้วแดงรู้ทันทักษิณรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มลัทธิอำนาจนิยมลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์วรชัย เหมะวรัญชัย โชคชนะวราเทพ รัตนากรวัชระ พรรณเชษฐ์วัยเป้งง นักเลงขาสั้นวัฒนา เมืองสุขวันมูหะมัดนอร์ มะทาวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)วิชิต ปลั่งศรีสกุลวิกรม คุ้มภัยโรจน์วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557วิระยา ชวกุลวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์วิศาล ดิลกวณิชวิษณุ เครืองามวินัย ภัททิยกุลวินัย สมพงษ์วินัย ทองสองวิโรจน์ เปาอินทร์วิเชษฐ์ เกษมทองศรีวิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์วิเศษ จูภิบาลวีรพงษ์ รามางกูรวงกต มณีรินทร์ศรัณย์รัชต์ ดีนศักดิ์ เตชาชาญศันสนีย์ นาคพงศ์ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองศาสนาพุทธในประเทศไทยศิริโชค โสภาศิธา ทิวารีศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินสกุลชินวัตรสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สภาปฏิรูปแห่งชาติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557สภาโจ๊กสมบัติ บุญงามอนงค์สมบัติ ยะสินธุ์สมบัติ อุทัยสางสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมชาย สุนทรวัฒน์สมชาย นีละไพจิตรสมภารเซ้งโบสถ์สมยศ เชื้อไทยสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลสมศักดิ์ เทพสุทินสมัคร สุนทรเวชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมาน ศรีงามสมิทธ ธรรมสโรชสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สมเกียรติ อ่อนวิมลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสรยุทธ สุทัศนะจินดาสรรเสริญ สมะลาภาสรอรรถ กลิ่นประทุมสัมพันธ์ บุญญานันต์สายัณห์ สัญญาสาวเบียร์ช้างสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินสิริกร มณีรินทร์สิทธิ เศวตศิลาสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยสิงหาคม พ.ศ. 2548สิงหาคม พ.ศ. 2549สุชัย เจริญรัตนกุลสุชาติ เชาว์วิศิษฐสุชาติ เหมือนแก้วสุกำพล สุวรรณทัตสุภิญญา กลางณรงค์สุรพล นิติไกรพจน์สุรพันธ์ ชินวัตรสุรพงษ์ สืบวงศ์ลีสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลสุรยุทธ์ จุลานนท์สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสุริยา ลาภวิสุทธิสินสุรินทร์ ปาลาเร่สุรนันทน์ เวชชาชีวะสุรเกียรติ์ เสถียรไทยสุวรรณ วลัยเสถียรสุวรรณภูมิมหานครสุวัจน์ ลิปตพัลลภสุวิทย์ คุณกิตติสุธรรม แสงประทุมสุธาวัลย์ เสถียรไทยสุทธิชัย หยุ่นสุขุมพงศ์ โง่นคำสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุนทร คงสมพงษ์สุเมธ โพธิ์มณีสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถาพร มณีรัตน์สถานการณ์ฉุกเฉินสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีสถิรพันธุ์ เกยานนท์สดศรี สัตยธรรมสนธยา คุณปลื้มสนธิ บุญยรัตกลินสนธิ ลิ้มทองกุลสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี ฤดูกาล 2007-08หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุลหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชหัวใจทรนงหนึ่งอำเภอหนึ่งทุนหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์อภิวันท์ วิริยะชัยอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรทัย ฐานะจาโรอลงกรณ์ พลบุตรอัญชะลี ไพรีรักอัศวิน ขวัญเมืองอัษฎาวุธ วัฒนางกูรอันดับมหาเศรษฐีไทยอันโตนีโอ กรัมชีอาชญากรรมในประเทศไทยอาศิส พิทักษ์คุมพลอาจารียา พรหมพฤกษ์อาทิตย์ อุไรรัตน์อาคม เอ่งฉ้วนอาเซ็มยูธเกมส์ 2005อำเภอสันกำแพงอิสระมุนีอินทัช โฮลดิ้งส์อุทกภัยและโคลนถล่ม 5 จังหวัดในเขตภาคเหนือตอนล่าง พ.ศ. 2549อุไรวรรณ เทียนทองอดิศร เพียงเกษอดิศัย โพธารามิกองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์องค์การนักศึกษาในประเทศไทยอนันต์ เหล่าเลิศวรกุลอนุพงษ์ เผ่าจินดาอนุรักษ์ จุรีมาศอนุสรณ์ อมรฉัตรอนุทิน ชาญวีรกูลผัน จันทรปานผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศผู้แทนการค้าไทยผดุง ลิ้มเจริญรัตน์จรัญ ภักดีธนากุลจรัญ มะลูลีมจรัญ หัตถกรรมจรัล มโนเพ็ชรจักรพันธุ์ ยมจินดาจักรภพ เพ็ญแขจังหวัดเชียงใหม่จาตุรนต์ ฉายแสงจำลอง ศรีเมืองจำลอง ครุฑขุนทดจำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์จุมพล มั่นหมายจุมพล ณ สงขลาจตุพร พรหมพันธุ์ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยาธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ธันวาคม พ.ศ. 2548ธาริต เพ็งดิษฐ์ธิดา ถาวรเศรษฐธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีทรูวิชันส์ทรงกลด ชื่นชูผลทรงกิตติ จักกาบาตร์ทองหล่อ พลโคตรทัชชกร ยีรัมย์ทักษิณทักษิโณมิกส์ทัศนัย บูรณุปกรณ์ทางพิเศษสาย S1ทำเนียบรัฐบาลไทยทุนทางสังคมทีมฟุตบอลที่สุดในประเทศไทยทนง พิทยะท่าอากาศยานสุวรรณภูมิขยัน วิพรหมชัยขัตติยะ สวัสดิผลณหทัย ทิวไผ่งามณัฐวุฒิ ใสยเกื้อดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันคริสต์ทศวรรษ 2000ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทยความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยคุรุสภาคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551คดีที่ดินรัชดาฯคงศักดิ์ วันทนาคตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทยคน ผี ปีศาจคนไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพลงานวันวิสาขบูชาโลกตำบล (ประเทศไทย)ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ตุลาคม พ.ศ. 2546ต่อพงษ์ ไชยสาส์นปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549ประชา มาลีนนท์ประชา ประสพดีประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ประพันธ์ คูณมีประมวล รุจนเสรีประยุทธ มหากิจศิริประยุทธ์ จันทร์โอชาประวัฒน์ อุตโมทประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประวิช รัตนเพียรประสาร ไตรรัตน์วรกุลประสงค์ สุ่นศิริประแสง มงคลศิริประเสริฐ นาสกุลประเทศจีนประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2543ประเทศไทยใน พ.ศ. 2544ประเทศไทยใน พ.ศ. 2545ประเทศไทยใน พ.ศ. 2546ประเทศไทยใน พ.ศ. 2547ประเทศไทยใน พ.ศ. 2548ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549ประเทศไทยใน พ.ศ. 2552ปราโมทย์ นาครทรรพปรีชา เลาหพงศ์ชนะปรีชา เอี่ยมสุพรรณปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยาปรีดา พัฒนถาบุตรปองพล อดิเรกสารปานปรีย์ พหิทธานุกรปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ปานเทพ กล้าณรงค์ราญปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ปณิธาน วัฒนายากรนพดล ปัทมะนายกรัฐมนตรีไทยนิกร จำนงนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาลนิสิต สินธุไพรนิตย์ พิบูลสงครามนที ขลิบทองแพทองธาร ชินวัตรแก๊งออฟโฟร์ (ประเทศไทย)แม้วแสนชัยแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิสแผนฟินแลนด์แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตยแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติโกวิท วัฒนะโภคิน พลกุลโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยโรงเรียนสันป่าตองวิทยาคมโรงเรียนสามัคคีวิทยาคมโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรีโรงเรียนสุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรงเรียนเตรียมทหารโว๊กว๊ากโสภณ พรโชคชัยโอภาส อรุณินท์โทรทัศน์ในประเทศไทยโทรคมนาคมในประเทศไทยโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าไชยยศ สะสมทรัพย์ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ไบรโอนี่ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณไอทีวีไทกร พลสุวรรณไทยคู่ฟ้าไตรรงค์ อินทรทัตเบญจา หลุยเจริญเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริเชียรช่วง กัลยาณมิตรเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีเชียงใหม่เวิลด์เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์เพลงชาติไทยเกษม วัฒนชัยเกาะสเวตินิโกลาเมษายน พ.ศ. 2548เมษายน พ.ศ. 2549เมืองไทยรายสัปดาห์เยาวภา วงศ์สวัสดิ์เยาวลักษณ์ ชินวัตรเยาวเรศ ชินวัตรเรืองโรจน์ มหาศรานนท์เรืองไกร ลีกิจวัฒนะเลิศ ชินวัตรเศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจไทยเสริมศักดิ์ พงษ์พานิชเสริมสุข กษิติประดิษฐ์เสรี วงษ์มณฑาเสถียร จันทิมาธรเสนาะ เทียนทองเหวง โตจิราการเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546เหตุเฮลิคอปเตอร์ซูเปอร์พูม่าตกที่จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. 2540เหตุเครื่องบินฝึกของกองทัพอากาศไทยตกที่จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2549เอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซเอกยุทธ อัญชันบุตรเอนก เหล่าธรรมทัศน์เอเอสทีวีผู้จัดการเจ้ามูลเมืองเจ้านายฝ่ายเหนือเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)เขตการปกครองของประเทศไทยเดช บุญ-หลงเดอะคิงเนเวอร์สไมลส์เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่เด๋อ ดอกสะเดาเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหารเครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยามเฉลิมชัย มหากิจศิริเฉลิมเดช ชมพูนุทเฉิ่มเปรม ติณสูลานนท์เปรียว อวอร์ดเนวิน ชิดชอบ1 กุมภาพันธ์11 กุมภาพันธ์19 กันยายน19 สิงหาคม2 ธันวาคม21 มิถุนายน21 สิงหาคม23 มกราคม24 สิงหาคม26 กรกฎาคม26 กุมภาพันธ์28 กุมภาพันธ์29 กันยายน29 มิถุนายน3 มีนาคม3 สิงหาคม4 กุมภาพันธ์5 มิถุนายน6 กุมภาพันธ์7 พฤศจิกายน7 เมษายน9 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (517 มากกว่า) »

ชฎิล เทพวัลย์

นายชฎิล เทพวัลย์ เป็นนักหนังสือพิมพ์ อดีตบรรณาธิการข่าวของหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เป็นผู้ได้รับการยกย่องจากสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็น นักข่าวเกียรติยศ ประจำปี 2549 เนื่องในวันนักข่าว ครั้งที่ 52 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2550 ชฎิล เป็นบรรณาธิการข่าวผู้รับผิดชอบ กรณีข่าวที่เขียนโดยเสริมสุข กษิติประดิษฐ์ ซึ่งรายงานว่าผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา ยืนยันว่ารันเวย์ของสนามบินสุวรรณภูมิแตกร้าว ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ฉบับวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และเป็นข่าวไปทั่วโลก ส่งผลให้กระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ยื่นฟ้องหมื่นประมาทหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เรียกค่าเสียหายหนึ่งพันล้านบาท ผลจากการฟ้องร้องของกระทรวงคมนาคม ส่งผลให้ทางหนังสือพิมพ์กดดันให้ ชฎิลและเสริมสุข ลาออกจากงานเพื่อเป็นการรับผิดชอ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชฎิล เทพวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชมรมคนรักอุดร

ตราสัญลักษณ์ของชมรม ชมรมคนรักอุดร เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมือง ของผู้สนับสนุน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ต่อต้านการรัฐประหาร พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และพรรคประชาธิปัตย์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดย นายขวัญชัย ไพรพนา นักจัดรายการวิทยุเพลงลูกทุ่งจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชมรมคนรักอุดร · ดูเพิ่มเติม »

ชยาภา วงศ์สวัสดิ์

วงศ์สวัสดิ์ (ชื่อเล่น: เชอรี่) อดีตข้าราชการอัยการชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นนักร้อง ในสังกัดเมกเกอร์เฮด เครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชยาภา วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

บรรณวิทย์ เก่งเรียน

ล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน พลเรือเอก บรรณวิทย์ เก่งเรียน อดีตประธานที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบรรณวิทย์ เก่งเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 หลังนายสมชายพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและถูกตัดสิทธิทางการเมืองจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชนเป็นเวลา 5 ปี ด้วยคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชวรัตน์ ชาญวีรกูล · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชวลิต ยงใจยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชัชวาลย์ ชมภูแดง

ัชวาลย์ ชมภูแดง อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตหัวหน้าพรรคพลังสังคมประชาธิปไตย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชัชวาลย์ ชมภูแดง · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบัญญัติ บรรทัดฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ชัยยะ ศิริอำพันธ์กุล

ลตำรวจเอก ชัยยะ ศิริอำพันธ์กุล (เกิด 27 มีนาคม 2500) ประธานคณะกรรมการประธานคณะกรรมการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน คณะกรรมการคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ อดีตเลขาธิการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ อดีตจเรตำรวจแห่งชาติ อดีตรองจเรตำรวจแห่งชาติและอดีตจเรตำรวจ พลตำรวจเอกชัยยะเกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2500 จบการศึกษาระดับ รัฐประศาสนบัณฑิต จาก โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่น 34 (นรต. 34) และระดับ รัฐประศาสนมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือ นิด้า วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 พลตำรวจเอกชัยยะขณะมียศเป็น พลตำรวจโท และดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 ได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งจเรตำรวจ (สบ 8) วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 พลตำรวจโทชัยยะจเรตำรวจได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองจเรตำรวจแห่งชาติ (สบ 9) วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 พลตำรวจโทชัยยะรองจเรตำรวจแห่งชาติได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษา (สบ 10) (ด้านสืบสวน) พร้อมกับรับพระราชทานยศ พลตำรวจเอก วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 พลตำรวจเอกชัยยะที่ปรึกษา (สบ 10) ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งจเรตำรวจแห่งชาติ ต่อมาในวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 พลตำรวจเอกชัยยะได้พ้นจากตำแหน่งจเรตำรวจแห่งชาติเพราะถูกโอนย้ายมาเป็นข้าราชการพลเรือนในตำแหน่งรักษาราชการแทน เลขาธิการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน แทนพันตำรวจเอก สีหนาท ประยูรรัตน์ ที่เกษียณอายุราชการโดยไม่ต้องสรรหาตามคำสั่งหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 24/2559 เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่ง ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2559 ในวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ได้มีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการสามัญพิจารณาประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของพลตำรวจเอกชัยยะในการดำรงตำแหน่งเลขาธิการ ปปง. เมื่อ สน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชัยยะ ศิริอำพันธ์กุล · ดูเพิ่มเติม »

ชัยสิทธิ์ ชินวัตร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชัยสิทธิ์ ชินวัตร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2488 —) เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด, อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตนายกสมาคมฟันดาบแห่งประเทศไทย ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชัยสิทธิ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ชัยอนันต์ สมุทวณิช

ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 เป็นบุตรของ พล.ต.ต.ชนะ สมุทวณิช นามสกุล "สมุทวณิช" เป็นนามสกุลพระราชทาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ศาสตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช หรือ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมรสกับ นางสุภาธร สมุทวณิช (สกุลเดิม สาครบุตร) มีบุตร 3 คนคือ นายพชร สมุทวณิช ผู้บริหารหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ,พลอย จริยะเวช นักเขียน นักแปล (สมรสกับ พันโทธีระ จริยะเวช กรมยุทธบริการ กองบัญชาการทหารสูงสุด) และ นายพลาย สมุทวณ.ดร.ชัยอนันต์ ไม่ใช่เด็กเรียนดีมาก่อน จบมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากวชิราวุธวิทยาลัย ด้วยคะแนนเพียง 57.3% แต่พยายามจนสอบเข้า คณะรัฐศาสตร์ แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้สำเร็จ เรียนอยู่ 1 ปีสามารถสอบชิง ทุนโคลัมโบ ไปเรียนปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย ประเทศนิวซีแลนด์ ต่อมาสำเร็จปริญญาโท และ ปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชัยอนันต์ สมุทวณิช · ดูเพิ่มเติม »

ชัยนันท์ เจริญศิริ

ลเอก ชัยนันท์ เจริญศิริ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชัยนันท์ เจริญศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยเกษม นิติสิริ

ตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอัยการสูงสุด อดีตอัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) สำนักงานอัยการสูงสุด ประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับตลาดหลักทรัพย์หลักประเทศไทย ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อความยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) กรรมการและประธานกรรมการบริหารธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยเนชั่น กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น กรรมการสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)อดีตกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตกรรมการบริษัทปตท. จำกัด (มหาชน) อดีตกรรมการบริหารบริษัท การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จำกัด อดีตกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชัยเกษม นิติสิริ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต ศิริพันธุ์

นายบัณฑิต ศิริพันธุ์ ทนายความและนักกฎหมายที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2484 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา, โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร, นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาธรรมศาสตร์ (ร่วมรุ่นเดียวกับ นายชวน หลีกภัย และ นายสมัคร สุนทรเวช), เนติบัณฑิตไทย จากสำนักงานอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LL.M) จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ทำงานครั้งแรกด้วยการเป็นทนายความฝึกหัดของสำนักงานกฎหมายเสนีย์ ปราโมช ของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษา จึงใกล้ชิดและสนิทสนมกับ ม.ร.ว.เสนีย์ และบุคคลในพรรคประชาธิปัตย์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 และเป็นหัวหน้าสำนักงานกฎหมายแห่งนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 หลังจาก ม.ร.ว.เสนีย์ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งกรรมการรัฐวิสาหกิจหลายแห่ง อาทิ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน), บริษัท ขนส่งจำกัด (บ.ข.ส.), องค์การค้าของคุรุสภา, องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) เป็นต้น และยังเป็นรองประธานคณะกรรมการมรรยาททนายความของสภาทนายความ 2 สมัย เป็นสมาชิกวุฒิสภาระหว่างปี พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2539 นายบัณฑิตได้ชื่อว่าเป็นทนายความที่มีชื่อเสียงและความสามารถอย่างมากโดยเฉพาะในคดีหมิ่นประมาทและคดีแพ่ง เคยรับว่าความให้กับนักการเมืองหลายคน อาทิ คดีที่ภริยาและบุตรนายดำรง ลัทธพิพัฒน์ ฟ้องหมิ่นประมาท นายสมัคร สุนทรเวช, คดีที่ น.ต.ประสงค์ สุ่นศิริ ถูกฟ้องหมิ่นประมาทจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, คดียุบพรรคประชาธิปัตย์และยุบพรรคไทยรักไทย หรือ คดีที่ นายสามารถ ราชพลสิทธิ์ ฟ้องหมิ่นประมาท นายสมัคร สุนทรเวช และ นายดุสิต ศิริวรรณ เป็นต้น จากความที่ใกล้ชิดกับนักการเมืองหลายคนมาตั้งแต่ต้น ทำให้มีผู้ชักชวนให้เล่นการเมือง แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธเนื่องจาก ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้ขอไว้ ปัจจุบัน รับเป็นหนึ่งในทีมทนายความว่าความคดียุบพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นที่ปรึกษาของ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีทางด้านกฎหม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบัณฑิต ศิริพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑูร ล่ำซำ

ัณฑูร ล่ำซำ (15 มกราคม พ.ศ. 2496) โลโก้ใหม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบัณฑูร ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑูร สุภัควณิช

ัณฑูร สุภัควณิช (13 เมษายน พ.ศ. 2492 -) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบัณฑูร สุภัควณิช · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชาญชัย ลิขิตจิตถะ · ดูเพิ่มเติม »

ชิดชัย วรรณสถิตย์

ลตำรวจเอก นายกองใหญ่ ดร.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดอุบลราชธานี) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี (คนที่ 1) สมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร พ้นจากตำแหน่งเนื่องจาก รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ในอดีตได้รับราชการเป็นรองผู้บัญชาการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชิดชัย วรรณสถิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชินวรณ์ บุณยเกียรติ

นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เหรัญญิกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..นครศรีธรรมราช 6 สมัย มีผลงานทั้งด้านการเมือง และนิติบัญญัติมากม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชินวรณ์ บุณยเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

ชินวัฒน์ หาบุญพาด

นายชินวัฒน์ หาบุญพาด อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกสมาคมพิทักษ์ผลประโยชน์ผู้ขับรถแท็กซี่ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ขับรถแท็กซี่ ที่ชื่นชอบ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ผู้ก่อตั้งและผู้จัดรายการของสถานีวิทยุชุมชนคนแท็กซี่ เอฟเอ็ม 92.75 เมกกะเฮิร์ทซ์ และ เอฟเอ็ม 107.5 เมกกะเฮิร์ทซ์ และแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ รุ่นที่ 2.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชินวัฒน์ หาบุญพาด · ดูเพิ่มเติม »

ชินวัตร

นวัตร เป็นชื่อ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์

นางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2524 —) ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอ็ม ลิงก์ เอเชีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นบุตรสาวของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี กับนางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ อดีตแกนนำพรรคไทยรักไทย และยังเป็นหลานสาวของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กับนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนที่ 28 ของไทย ปัจจุบันศึกษาปริญญาเอก คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บึงกะโล่

ึงกะโล่ หรือ บึงทุ่งกะโล่ เป็นแหล่งเก็บกักน้ำขนาดใหญ่เพื่อการเกษตรของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่บนพื้นที่สาธารณประโยชน์ ในเขตตำบลป่าเซ่า ครอบคลุมบางส่วนถึงตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่รวมประมาณ 7,500 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ มีพื้นที่เก็บกักน้ำถูกขุดลอกเพื่อใช้ในภาคการเกษตรและอุปโภคบริโภคอยู่ด้านทิศตะวันออก บึงกะโล่ ในอดีตก่อนการสร้างเขื่อนสิริกิติ์ เป็นพื้นที่รองรับน้ำล้นตลิ่งจากแม่น้ำน่านไหลผ่านเข้ามาเก็บกักไว้ในช่วงหน้าฝน ปัจจุบันเป็นแหล่งที่พักอาศัยของนกน้ำประจำถิ่นและนกน้ำอพยพตามฤดูกาลจำนวนมาก และเป็นแหล่งดูนกหายากที่สำคัญแห่งหนึ่งของภาคเหนือ ในอนาคต ทางราชการมีโครงการพัฒนาพื้นที่โดยรอบบึงแห่งนี้เพื่อขยายสถาบันการศึกษาและสร้างศูนย์ราชการแห่งใหม่ เนื่องจากพื้นที่ตัวเมืองอุตรดิตถ์เก่าเริ่มคับแคบและเสี่ยงต่อปัญหาอุทกภั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบึงกะโล่ · ดูเพิ่มเติม »

บุญยอด สุขถิ่นไทย

ญยอด สุขถิ่นไทย เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้ประกาศข่าว และอดีตนักจัดรายการวิทยุชาวไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบุญยอด สุขถิ่นไทย · ดูเพิ่มเติม »

บุญคลี ปลั่งศิริ

ญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บูญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารระดับสูง ที่ถูกยกย่องให้เป็นผู้บริหารที่อยู่แถวหน้าของไทย การวิเคราะห์แต่ละอย่างได้ลงในหนังสือพิมพ์อยู่บ่อยครั้ง เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยน บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ให้กลายมาเป็น Conglomerate รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในช่วงการดูแลกิจการของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้ขยายงานออกไปสายธุรกิจอื่น เช่น สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, แอร์เอเชีย, Capital OK, Shinee.com และอื่น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบุญคลี ปลั่งศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ชูชีพ หาญสวัสดิ์

นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ (30 กันยายน 2487 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี ปัจจุบันต้องโทษจำคุกในเรือนจำพิเศษกรุงเท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชูชีพ หาญสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูศักดิ์ ศิรินิล

รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชูศักดิ์ ศิรินิล · ดูเพิ่มเติม »

ชนาพัทธ์ ณ นคร

นาพัทธ์ ณ นคร นายชนาพัทธ์ ณ นคร หรือ "เตมูจิน" อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สมัยรัฐบาล พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ นายชนาพัทธ์ เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2514 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นผู้ที่ตอบกระทู้ต่าง ๆ ในเว็บไซต์พันทิปดอตคอม โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวกับการเมือง โดยใช้นามแฝงว่า เตมูจิน ต่อมานายชนาพัทธ์ เป็นผู้นำของขบวนการภาคประชาชนที่ใช้ชื่อว่า กลุ่มประชาชนผู้รักประชาธิปไตย ที่มีการเคลื่อนไหวในลักษณะที่สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทย และต่อต้านผู้ที่ต่อต้าน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ภายหลังการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 นายชนาพัทธ์เริ่มมีท่าทีที่เปลี่ยนไป โดยเริ่มเป็นผู้เปิดประเด็นเปิดโปงขบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของฝ่ายรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ที่ต่อต้านฝ่ายที่กระทำการรัฐประหาร เช่น เป็นผู้ออกมาเปิดโปงว่า นายเนวิน ชิดชอบ เป็นผู้จ้างวานให้มีการชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐบาลหลังการรัฐประหารและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) หรือกล่าวหากลุ่มเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร เป็นต้น วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ศาลอาญาพิพากษาคดีที่นายชนาพัทธ์ ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน เมื่อวันที่ 1..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและชนาพัทธ์ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

บ้านจันทร์ส่องหล้า

้านจันทร์ส่องหล้า คือ บ้านพักส่วนตัวของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 ของไทย กับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ตั้งอยู่ที่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 69 เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้คำว่า "บ้านจันทร์ส่องหล้า" ที่ใช้เรียกในหนังสือพิมพ์ หรือในวงการเมืองไทย อาจหมายถึง กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย ที่สังกัดโดยตรงต่อ พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ซึ่งเป็นมุ้งทางการเมือง (Fraction) ในพรรคไทยรักไทย บ้านจันทร์ส่องหล้าเคยเป็นสถานที่รับรองนายจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช อดีตประธานาธิบดีคนที่ 41 ของสหรัฐอเมริกา เมื่อครั้งมาเยือนประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบ้านจันทร์ส่องหล้า · ดูเพิ่มเติม »

บ้านเลขที่ 111

้านเลขที่ 111 เป็นคำศัพท์ทางการเมืองไทย ที่ใช้เรียกอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย จำนวน 111 คน ที่ถูกเพิกถอนสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ตามคำวินิจฉัยในคดียุบพรรคการเมือง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ที่ได้รับการแต่งตั้งโดย คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ซึ่งกระทำรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและบ้านเลขที่ 111 · ดูเพิ่มเติม »

ฟองสนาน จามรจันทร์

ฟองสนาน จามรจันทร์ ฟองสนาน จามรจันทร์ อดีตนักจัดรายการวิทยุของกรมประชาสัมพันธ์ สังกัดสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) จัดเป็นสื่อมวลชนฝีปากกล้าที่ถูกอำนาจรัฐคุกคาม ปัจจุบันเป็นนักจัดการวิทยุและสื่อมวลชนอิสระ รวมถึงเป็นนักโหราศาสตร์สมัครเล่นอีกด้วย ฟองสนาน เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและฟองสนาน จามรจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังธรรม

รรคพลังธรรม เป็นพรรคการเมืองขนาดกลาง หัวหน้าพรรคคนแรก คือ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคพลังธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

รรคพลังประชาชน (อักษรย่อ: พปช. People Power Party) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ช่วงก่อนการเข้าร่วมของกลุ่มไทยรักไทย เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 นางสาวสุภาพร เทียนแก้ว เป็นหัวหน้าพรรค, นางสาวปิยะรัตน์ เทียนแก้ว เป็นเลขาธิการพรรค และ พันตำรวจโทกานต์ เทียนแก้ว เป็นประธานกรรมการบริหารพรรค ก่อนการยุบพรรค นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรค นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เป็นเลขาธิการพรรค มี นายยงยุทธ ติยะไพรัช เป็นรองหัวหน้าพรรคคนที่ 1 และมี นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เป็นหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ ต่อมาเดือนเมษายน พ.ศ. 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เพื่อพิจารณากรณี พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ได้ลงมติ 4 ต่อ 1 เห็นชอบตามที่นายอภิชาติ สุขัคคานนท์ ประธาน กกต.ในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมืองเสนอให้ส่งเรื่องถึงอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาเสนอต่อศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยยุบพรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย โดยมติเสียงข้างน้อย 1 เสียง คือ นายสมชัย จึงประเสริฐ กกต.ฝ่ายกิจการสอบสวนสอบสวน ในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย และตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารของแต่ละพรรคเป็นเวลา 5 ปี อันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งของนายยงยุทธ ติยะไพรั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังใหม่

รรคพลังใหม่ เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งและดำเนินกิจกรรมการเมืองหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองเลขที่ 17/2517 เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคพลังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมหาชน

รรคมหาชน (Mahachon Party ตัวย่อ: MCP. พมช.) เป็นพรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 โดยใช้ชื่อว่า "พรรคราษฎร" และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อพรรคมหาชน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เป็นพรรคการเมืองที่มีจำนวนสมาชิกมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากพรรคประชาธิปัตย์ มีจำนวนสมาชิกกว่า 1.18 ล้านคน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอนาคตใหม่

รรคอนาคตใหม่ (Future Forward Party Future_Forward_Party, ชื่อย่อ:FWP, อ.น.ค.) เป็นกลุ่มการเมืองที่ได้ยื่นจดแจ้งจัดตั้งพรรคต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคอนาคตใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระยาธรรมลังกา

ระยาธรรมลังกา หรือพระญาธัมมลังกา (120px) (พ.ศ. 2289- พ.ศ. 2365) หรือ พระยาเชียงใหม่ช้างเผือก เป็นพระยาเชียงใหม่องค์ที่ 2 ในราชวงศ์ทิพย์จักร และเป็นราชบุตรในเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว โดยพระองค์ได้ร่วมกับพระเชษฐา และพระอนุชาในการต่อสู้อริราชศัตรูจนได้รับสมัญญานามว่า "เจ้าเจ็ดตน".

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพระยาธรรมลังกา · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546

ระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549

ระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม เป็นส่วนหนึ่ง ใน พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต โดยมีพิธีการดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ระหว่าง วันพฤหัสบดีที่ 8 — วันอังคารที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

ระธรรมวิสุทธิมงคล นามเดิม บัว โลหิตดี ฉายา ญาณสมฺปนฺโน หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบัว หรือ หลวงตาบัว (12 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 30 มกราคม พ.ศ. 2554...เป็นพระภิกษุคณะธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดป่าบ้านตาด (วัดเกษรศีลคุณ) เป็นวิปัสสนาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย ศิษย์ของพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต ซึ่งมีโอกาสอุปฐากรับใช้หลวงปู่มั่นในช่วงปัจฉิมวัยและเป็นผู้หนึ่งที่ได้บันทึกประวัติของหลวงปู่มั่นโดยละเอียดในเวลาต่อมา หลวงตามหาบัวเป็นที่รู้จักในฐานะพระนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานผู้มีปฏิปทาที่มั่นคง แน่วแน่ เด็ดขาด และจริงจัง บรรดาศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่มั่นต่างนับถือกันว่าท่านเป็นลูกศิษย์องค์หนึ่งที่มีปฏิปทาที่คล้ายคลึงกับหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต การกล่าวขวัญถึงท่านในหมู่ผู้ศรัทธามีหลายเรื่องค่อนไปในเชิงอภินิหาร เช่น การล่วงรู้วาระจิตของบุคคลอื่น การที่เศษผม เศษเล็บ และชานหมากของท่านกลายเป็นพระธาตุไปตั้งแต่ครั้งท่านยังมีชีวิตอยู่เป็นต้น หลังวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 หลวงตามหาบัวได้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้นทั้งในและนอกประเทศ จากการที่ท่านได้ดำเนินการทอดผ้าป่าทองคำและเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ภายใต้ชื่อ "โครงการผ้าป่าช่วยชาติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน" เพื่อใช้เป็นทุนสำรองของประเทศไทย ซึ่งโครงการดังกล่าวนี้ได้ดำเนินการมาโดยตลอดในช่วงปัจฉิมวัยของท่าน อย่างไรก็ตาม ในช่วงปัจฉิมวัยนี้เองได้มีเหตุการณ์ที่ทำให้ท่านตกเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่าท่านเข้ามายุ่งเกี่ยวทางการเมืองจากนักวิชาการและนักสื่อสารมวลชนจำนวนหนึ่ง เช่น ประเด็นการคัดค้านการรวมบัญชีเงินทุนสำรองของประเทศโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ประเด็นการคัดค้านการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสงฆ์ฉบับใหม่ และการเทศนาวิพากษ์วิจารณ์ทักษิณ ชินวัตร ครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีช่วง พ.ศ. 2548 เป็นต้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามโหตรประเทศ

ระเจ้ามโหตรประเทศ (100px) (พระนามเดิม เจ้าหนานมหาวงศ์) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงครองราชย์ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพระเจ้ามโหตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพฤษภาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พฤณท์ สุวรรณทัต

ลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชุดที่ 3 อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพฤณท์ สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

พัลลภ ปิ่นมณี

ล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี พลเอก พัลลภ ปิ่นมณี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองผู้อำนวยการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ฝ่ายการเมือง (กอ.รมน.) และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2479 ที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีชื่อเดิมว่า อำนาจ ปิ่นมณี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร แล้วเข้าศึกษาต่อโรงเรียนเตรียมนายร้อยทหารบก รุ่นที่ 14 และจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.7 รุ่นเดียวกับ พลตรีจำลอง ศรีเมือง, พล.ต.มนูญกฤต รูปขจร, พันเอก (พิเศษ) ประจักษ์ สว่างจิตร) และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 49.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพัลลภ ปิ่นมณี · ดูเพิ่มเติม »

พันศักดิ์ วิญญรัตน์

นายพันศักดิ์ วิญญรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านโยบายเศรษฐกิจ ในรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นผู้อยู่เบื้องหลังนโยบายสำคัญหลายนโยบายในรัฐบาลทักษิณ 1 และทักษิณ 2 เช่น นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจแบบคู่ขนาน (Dual Track) หรือที่เรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "ทักษิโณมิกส์" ในช่วงปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพันศักดิ์ วิญญรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พายัพ ชินวัตร

นายพายัพ ชินวัตร (เกิด 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นผู้ดูแลภาคอีสานของพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ น้องชายคนเดียวของ ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพายัพ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

พานทองแท้ ชินวัตร

นทองแท้ ชินวัตร ชื่อเล่น: โอ๊ค (2 ธันวาคม พ.ศ. 2522) นักธุรกิจชาวไทย บุตรชายของทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีไทย กับคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ เกิดที่เมืองฮันต์สวิลล์ ในรัฐเท็กซัสของสหรัฐอเมริกา มีน้องสาวสองคน คือพินทองทา และแพทองธาร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพานทองแท้ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพิชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิชาญเมธ ม่วงมณี

ลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 และอดีตที่ปรึกษาพิเศษ กองทัพบก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพิชาญเมธ ม่วงมณี · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ (สกุลเดิม: ศกุนตาภัย; เกิด: 5 สิงหาคม พ.ศ. 2507) อาจารย์ประจำภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภรรยาอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย และหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตร กุลละวณิชย์

ลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 —) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 นายกสภาวิทยาลัยสันตพล, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกและรองผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพิจิตร กุลละวณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์

นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ จารุสมบัติ

นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดยใช้ชื่อจัดตั้งว่า สหายพนัส ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มวังพญานาค พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพินิจ จารุสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พินทองทา คุณากรวงศ์

นทองทา คุณากรวงศ์ (ชื่อเมื่อเกิด พิณทองทา ชินวัตร, ชื่อเล่น: เอม) เกิดวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพินทองทา คุณากรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิเชษฐ สถิรชวาล

ษฐ อับดุรฺรอชีด สถิรชวาล อดีต ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้แทนการค้าไทย อดีตแกนนำพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมและอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในรัฐบาล ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพิเชษฐ สถิรชวาล · ดูเพิ่มเติม »

พจมาน

มาน เป็นชื่อบุคคลชาวไทย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพจมาน · ดูเพิ่มเติม »

พจมาน ณ ป้อมเพชร

ณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร (สกุลเดิม: ดามาพงศ์; เกิด: 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499) เป็นอดีตภริยาของ ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพจมาน ณ ป้อมเพชร · ดูเพิ่มเติม »

พีรพันธุ์ เปรมภูติ

ล.ต.ต.พีรพันธุ์ เปรมภูติ เกิดวันที่ ที่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สมรสกับ นางจิตรา เปรมภูติ มีธิดาด้วยกัน 2 คน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพีรพันธุ์ เปรมภูติ · ดูเพิ่มเติม »

พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

พงศพัศ พงษ์เจริญ

ลตำรวจเอก พงศพัศ พงษ์เจริญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) และประธานคณะอนุกรรมการ กลั่นกรองการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ในเขตกรุงเทพมหานคร, อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ 10) ฝ่ายความมั่นคงและกิจการพิเศษ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, อดีตโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้แทนพรรคเพื่อไทย ในการลงสมัครเข้ารับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 อดีตที่ปรึกษาการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพงศพัศ พงษ์เจริญ · ดูเพิ่มเติม »

พงศกร เลาหวิเชียร

งศกร เลาหวิเชียร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ชุดแรก) และอดีตอธิบดีกรมการขนส่งทางบก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพงศกร เลาหวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์เทพ เทพกาญจนา

งศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพงศ์เทพ เทพกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล

งษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล (เกิด: 16 กันยายน พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

กร ทัพพะรังสี

นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกร ทัพพะรังสี · ดูเพิ่มเติม »

กรพจน์ อัศวินวิจิตร

กรพจน์ อัศวินวิจิตร อดีตกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกรพจน์ อัศวินวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)

กระทรวงพลังงาน เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและกำกับดูแลให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงานแก่ประเท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงในประเทศไทย

กระทรวงในประเทศไทย เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย จัดตั้งขึ้นโดยการตราพระราชบัญญัติ ปัจจุบันมีกระทรวงหรือเทียบเท่าจำนวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกระทรวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป

กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 ระหว่างการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สองของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ ได้ขายหุ้นที่ครอบครองอยู่ทั้งหมดในกลุ่มบริษัท ชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (ชินคอร์ป) ให้แก่บริษัทเทมาเส็ก โฮลดิ้งส์ (พีทีอี) จำกัด (เทมาเส็ก) หรือ กองทุนเพื่อการลงทุนของรัฐบาลสิงคโปร์ ผ่านบริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำนวน 1,487,740,000 หุ้น (49.595% ของจำนวนหุ้นทั้งหมด) มูลค่าหุ้นละ 49.25 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 73,271,200,910 บาท ซึ่งเป็นการขายหุ้นที่มีมูลค่าสูงที่สุดในประเทศไทย ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในสังคมไท.ต.ท. ทักษิณ ชี้แจงว่า เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นจุดที่ทำให้ การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ขยายตัวออกไปในวงกว้าง ซึ่งนำไปสู่การยุบสภาผู้แทนราษฎรในที่สุด เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป · ดูเพิ่มเติม »

กรณีตากใบ

กรณีตากใบ เป็นเหตุการณ์ความรุนแรงที่อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2547 มีผู้เสียชีวิตรวมยอดสูงถึง 107 ศพ บาดเจ็บ 6 คน ถูกจับกุม 17 คน ขณะที่เจ้าหน้าที่เสียชีวิต 5 นาย บาดเจ็บ 15 นาย และวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกรณีตากใบ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่ม 40 ส.ว.

กลุ่ม 40.ว. เป็นการรวมตัวของสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ทั้งที่มาจากการสรรหาและจากการเลือกตั้ง.ว. กลุ่มนี้ถูกมองว่าเป็นฝ่ายตรงข้ามกับ กลุ่ม 24 ตุลา 51 ที่มี.ว. ที่เป็นสมาชิกจำนวน 64 คน สนับสนุนการแก้ไขรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกลุ่ม 40 ส.ว. · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มรักเชียงใหม่ 51

กลุ่มรักเชียงใหม่ 51 เป็นกลุ่มมวลชนที่ให้การสนับสนุน นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และเป็นสมาชิกกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ที่มีการเคลื่อนไหวทางการเมืองในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ อาทิ นายเพชรวรรต วัฒนพงศ์ศิริกุล อดีตผู้สมัคร..จังหวัดลำพูน.ต.ท.สุพล ฟูมูลเจริญ.ต.พิชิต ตามูล พระครูสุเทพสิทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง แล.ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกลุ่มรักเชียงใหม่ 51 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มวังน้ำเย็น

กลุ่มวังน้ำเย็น หมายถึง กลุ่มของนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง นำโดย เสนาะ เทียนทอง ตั้งชื่อตามชื่อ ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นฐานธุรกิจ และการเมืองดั้งเดิมของนายเสนาะ (เดิม อ.วังน้ำเย็น อยู่ใน จังหวัดปราจีนบุรี ก่อนจะแยกออกมาพร้อม อ.อรัญประเทศ, อ.ตาพระยา, อ.วัฒนานคร และ อ.คลองหาด เพื่อจัดตั้งเป็น จังหวัดสระแก้ว) "กลุ่มวังน้ำเย็น" เดิมเป็นสมาชิก พรรคชาติไทย ซึ่งมี นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นหัวหน้าพรรค เนื่องจากมีจำนวน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกลุ่มวังน้ำเย็น · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ

ัญลักษณ์คนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ กลุ่มคนวันเสาร์ ไม่เอาเผด็จการ เป็นกลุ่มทางการเมืองของเว็บบอร์ดราชดำเนิน เว็บไซต์พันทิป ประกอบด้วยผู้สนับสนุน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร และกลุ่มผู้ต่อต้านรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 กลุ่มคนวันเสาร์ ไม่เอาเผด็จการได้จัดการชุมนุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน

กลุ่มคนเสื้อน้ำเงินระหว่างปะทะกับกลุ่มคนเสื้อแดงที่พัทยา นายเนวิน ชิดชอบ สวมเสื้อสีน้ำเงินที่พัทยา จนถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้บงการกลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน กลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน เป็นกลุ่มคนที่สวมเสื้อสีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ เป็นกลุ่มที่เคลื่อนไหวทางการเมืองในช่วงต้นปี พ.ศ. 2552 มีลักษณะการเคลื่อนไหวเป็นการต่อต้านกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือ กลุ่มคนเสื้อแดง กลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน ปรากฏบทบาทครั้งแรกที่จังหวัดบุรีรัมย์ โดยทำการสกัดกั้นการเคลื่อนไหวของกลุ่ม นป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์

กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มคนเพื่อกดดันขับไล่ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 โดยมีแกนนำประกอบด้ว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อหลากสี ที่ลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่ เมื่อวันที่ 21 เมษายน กลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หรือ เครือข่ายพลเมืองอาสาปกป้องแผ่นดิน หรือที่นิยมเรียกกันว่า กลุ่มคนเสื้อหลากสี เป็นการรวมตัวของประชาชนเพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยกับการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ. 2553 จากการชุมนุมบริเวณแยกราชประสงค์ และให้กำลังใจรัฐบาลที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และทหาร โดยการชุมนุมเป็นไปในลักษณะไม่มีสีเสื้อเป็นสัญลักษณ์อย่างพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) มี ผ.น.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ เป็นผู้นำการชุมนุม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้านรงค์ จันทิก

กล้านรงค์ จันทิก เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายยนต์ และนางศรีสว่าง จันทิก สมรสกับนางพันทิพา จันทิก มีบุตรธิดา 3 คน นายกล้านรงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการ ป.ป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกล้านรงค์ จันทิก · ดูเพิ่มเติม »

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2487 เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ นางจุนเจือ ภิรมย์ (สกุลเดิม "มุสิกะภุมมะ") นายกษิตสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีสาขาวิเทศสัมพันธ์ (International Affairs) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) สหรัฐอเมริกา รุ่นเดียวกับประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา และประธานาธิบดี กลอเรีย อาร์โรโย แห่งฟิลิปปินส์ และ ศึกษาต่อ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ที่ Institute of Social Studies เนเธอร์แลนด์ ก่อนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ยาวนานกว่า 30 ปี เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ โดยตำแหน่งสุดท้ายก่อนการเกษียณอายุราชการ คือ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ระหว่างการรับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ นายกษิตได้รับการทาบทามจาก นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อนร่วมรุ่นรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของน้องชายของนายกษิต ให้เข้าร่วมในคณะทำงานของ นายชวน หลีกภัย ขณะดำรงตำแหน่ง รมว.พาณิชย์ และ รมว.เกษตรและสหกรณ์ และมี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขานุการรัฐมนตรี โดยนายกษิตได้รับมอบหมายให้ดูแลการติดต่อกับต่างประเทศ และการต้อนรับบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกษิต ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43

กองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43 หรือ พตท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43 · ดูเพิ่มเติม »

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หรือ กอ.รมน. (อังกฤษ: Internal Security Operations Command) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานกลาง เพื่อต่อต้านภัยคุกคามที่มุ่งทำลายผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ผอ.รมน.) โดยตำแหน่ง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2548

อห์น โรเบิร์ต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกันยายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกันยายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กันตธีร์ ศุภมงคล

ร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกันตธีร์ ศุภมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนาภา หงษ์เหิน

นางกาญจนาภา หงษ์เหิน เลขานุการส่วนตัวของคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ที่ได้รับความไว้วางใจมาเป็นเวลาหลายปี นางกาญจนาเป็นผู้ที่ได้รับความไว้วางใจให้ดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารกฎหมายต่างๆ รวมทั้งเกี่ยวกับการโอน และซื้อขายหุ้น บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด บริษัท เอสซี แอสเสท จำกัด สนามกอล์ฟอัลไพน์ ในส่วนของคุณหญิงพจมาน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายพานทองแท้ ชินวัตร นางสาวพิณทองทา ชินวัตร เป็นต้น ด้านประวัติครอบครัว นางกาญจนาภา เป็น บุตรี นางเกศินี จิปิภพ นางกาญจนาภา เป็น กรรมการบริหาร ของหลายบริษัท ในเครือชินคอร์ป เช่น เอสซี ออฟฟิซ พาร์ค ซึ่งดูแลบริหาร อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 1,2 นางกาญจนาภา สมรสกับ นายวันชัย หงษ์เหิน ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ห้องค้าหลักทรัพย์ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ภัทรธนกิจ ซึ่งเป็นตัวแทนดำเนินการซื้อขายหุ้น ของตระกูลชินวัตร หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 นาง กาญจนาภา ถูกคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อรัฐ เรียกเข้าให้การ ในกรณีการหลีกเลี่ยงภาษี ในกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป พร้อมกับนายพานทองแท้ และนางสาวพิณทองทา หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ในวันที่ 24 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่ง ฉบับที่ 13/2557 เรียกให้ นางกาญจนาภา รายงานตัว โดยเขาขอเลื่อนรายงานตัว แต่ได้มารายงานตัวในวันหลัง ในวันที่ 17 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกาญจนาภา หงษ์เหิน · ดูเพิ่มเติม »

การบินไทย เที่ยวบินที่ 114

การบินไทย เที่ยวบินที่ 114 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเครื่องบินโบอิง 737-4D7 ของการบินไทย เดินทางจากท่าอากาศยานดอนเมือง ไปท่าอากาศยานเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2544 เวลา 14:48 น. 35 นาทีก่อนกำหนดการบิน ขณะที่เครื่องจอดอยู่ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองได้เกิดการระเบิดขึ้น ผลการสอบสอบสวนพบว่าเกิดการสันดาปที่ถังน้ำมันส่วนกลาง ซึ่งอยู่ใกล้กับระบบปรับอากาศซึ่งทำงานอย่างต่อเนื่อง และมีความร้อนสูง ขณะเกิดเหตุยังไม่มีผู้โดยสารอยู่บนเครื่อง มีเพียงเจ้าหน้าที่จำนวน 8 คน ในจำนวนนี้เสียชีวิต 1 คน เที่ยวบินนี้มีบุคคลสำคัญหลายคนเดินทางไปด้วย รวมทั้งพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น และพานทองแท้ ชินวัตร บุตร ซึ่งจะเดินทางไปจังหวัดเชียงใหม่ หลังเกิดเหตุ พันตำรวจโท ทักษิณ แถลงว่า การระเบิดนี้เป็นการก่อวินาศกรรมเพื่อหวังลอบสังหารตนเอง โดยฝีมือของผู้เสียผลประโยชน์ชาวต่างชาติ (ว้าแดง) เนื่องจากนโยบายปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาล หลังจากที่เจ้าหน้าที่พิสูจน์หลักฐานของไทยตรวจพบหลักฐานที่เชื่อว่าอาจเป็นร่องรอยของระเบิดซีโฟร์หรือเซมเท็กซ์ (Semtex) อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 11 เมษายน 2544 คณะกรรมการความปลอดภัยในการขนส่งแห่งชาติของสหรัฐ (National Transportation Safety Board) ที่ส่งผู้เชี่ยวชาญเดินทางเข้ามาร่วมสอบสวนด้วย แถลงว่า ได้นำชิ้นส่วนไปทดสอบที่ห้องทดลองของเอฟบีไอแล้วไม่พบร่องรอยของวัตถุระเบิด และว่ากรณีนี้คล้ายกับการระเบิดของเครื่องโบอิง 737 ของสายการบินฟิลิปปินส์ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2543 ซึ่งเกิดจากความบกพร่องของถังน้ำมันเชื้อเพลิง ภายหลังการระเบิด ท่าอากาศยานในประเทศไทยได้กำหนดมาตรการตรวจสอบผู้โดยสารรัดกุมขึ้น มีการตรวจสอบบัตรประจำผู้โดยสารทุกคนก่อนขึ้นเครื่อง มีการเอ็กซเรย์กระเป๋า และสำนักนายกรัฐมนตรีได้จัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดซื้อเครื่องบินประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี "ไทยคู่ฟ้า".

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการบินไทย เที่ยวบินที่ 114 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน

ตราสัญลักษณ์รายการความจริงวันนี้ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน เป็นการชุมนุมทางการเมือง ที่ผู้บริหารและผู้จัดรายการทางสถานีประชาธิปไตยร่วมกันจัดขึ้น โดยพัฒนามาจากงานครอบครัวความจริงวันนี้สัญจร ที่จัดโดยกลุ่มผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ เพื่อพบปะกับผู้ชมรายการ รวมถึงย้อนรำลึกถึงบรรยากาศ ในการชุมนุมต่อต้านเผด็จการทหาร ในนามของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย

การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย คือ การทำให้ความเป็นสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยสิ้นสุดลง โดยนายกรัฐมนตรีเสนอให้พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นผลให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งปวงพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ทั้งนี้ เพื่อจัดการเลือกตั้งใหม่ การยุบสภาเป็นมาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ทำให้มีการคานอำนาจกันระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร อาจนำมาใช้แก้ปัญหาทางตันทางการเมือง นอกจากทางอื่น เช่น รัฐบาลลาออก อนึ่ง เหตุผลในการยุบสภานั้น หาได้มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดบัญญัติไว้ไม่ ดังนี้ จึงเป็นไปตามประเพณีการปกครองตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศในขณะนั้น อาทิ เกิดความขัดแย้งรุนแรงในรัฐสภาหรือระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล การใช้เป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง เช่น ขณะที่ตนมีคะแนนนิยมสูงมาก การที่สภาวการณ์ต่าง ๆ สุกงอมพอสมควรที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งก่อนครบอายุสภา เช่น ดำเนินการตามรัฐธรรมนูญได้เสร็จสิ้นแล้ว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

การลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผล

มื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548

.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ใน พ.ศ. 2548 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548 หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีในตำแหน่งที่ว่างลง หลังจากที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งครบวาระ 4 ปี โดยนายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร เปิดสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ โดยจะเปิดโอกาสให้..เสนอชื่อบุคคลมี่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้กำหนดวิธีลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีแบบเปิดเผยด้วยการขานชื่อ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การศึกษาในประเทศไทย

การศึกษาในประเทศไทย เป็นการศึกษาที่จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทย โดยภาครัฐจะเข้ามาดูแลโดยตรงและเปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา สำหรับการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยนั้นได้กำหนดให้พลเมืองไทยต้องจบการศึกษาอย่างน้อยที่สุดในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และต้องเข้ารับการศึกษาอย่างช้าสุดเมื่ออายุ 7 ปี ซึ่งการศึกษาภาคบังคับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งแบ่งออกเป็นระดับชั้นประถมศึกษา 6 ปีและมัธยมศึกษา 6 ปี นอกจากนี้แล้วการศึกษาขั้นพื้นฐานยังรวมถึงการศึกษาปฐมวัยอีกด้วย ทั้งนี้รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายตามความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส่วนการบริหารและการควบคุมการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งเป็นแผนกหนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ในปัจจุบันการศึกษาในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาของประเทศไทยนั้นถูกมองว่าล้าหลังและล้มเหลวเสมอมา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยเมื่อเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การทุจริตทางการเมือง

การทุจริตทางการเมือง (political corruption, ภาษาปากในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า "คอร์รัปชัน") คือการใช้ตำแหน่งหรืออำนาจทางราชการและการเมือง หรือในองค์กรของเอกชน เพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ หรือการฉ้อโกงเอาเงินสาธารณะมาเป็นของตนและพรรคพวก หรือหาประโยชน์อื่นๆ ซึ่งการทุจริตนี้อาจมิใช่เป็นตัวเงิน วิธีการที่ใช้อาจจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิดก็ได้ แต่เป็นพฤติกรรมซึ่งสาธารณชนจะไม่พอใจหรือผิดจากจารีตประเพณีนิยม เนื่องจากเป็นการกระทำที่ขัดกับความคาดหวังของสาธารณชน เรื่องมาตรฐานจริยธรรมและพฤติกรรมที่ดีของบุคคลสาธารณะ (ข้าราชการและนักการเมืองหรือองค์กรเอกชน) คำจำกัดความส่วนหลังนี้ เขียนไว้เพื่อเปิดช่องให้มีการตีความพฤติกรรมการทุจริตที่อาจจะแตกต่างกันในแต่ละสังคม หรือแม้แต่ในสังคมเดียวกัน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการทุจริตทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

การทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นับตั้งแต่เริ่มต้นโครงการก่อสร้างเป็นต้นมา ก็ได้มีข้อกล่าวหาการทุจริตในโครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยตลอด โดยข้อกล่าวหาการทุจริตเริ่มขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1970 ภายหลังการจัดซื้อที่ดินของรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร ซึ่งกินเวลามาจนถึงรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งมีความคืบหน้าของการก่อสร้างท่าอากาศยานมากที่สุด จนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีองค์การใดที่สามารถพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการทุจริตในโครงการก่อสร้างได้เลย ในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 กองทัพไทยอาศัยข้อกล่าวหาการทุจริตในโครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหนึ่งในข้ออ้างรัฐประหาร ส่วนความล่าช้าในการซ่อมแซมและปัญหาท่าอากาศยานที่พบในภายหลังนั้น คณะรัฐประหารเองก็ได้กล่าวหารัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตรมากขึ้นอีก ใน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544–2549 ระหว่างดำรงตำแหน่ง ทักษิณริเริ่มหลายนโยบายซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สาธารณสุข การศึกษา พลังงาน ยาเสพติดและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาชนะการเลือกตั้งถล่มทลายถึงสองสมัยProtesters Jam Bangkok, but Rural Thais Love the Leader.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

การตรวจพิจารณาในประเทศไทย

การตรวจพิจารณาในประเทศไทยมีประวัติอย่างยาวนาน การก่อกวน การชักใยและการควบคุมข่าวการเมืองอย่างเข้มงวดเป็นเรื่องปกติในรัฐบาลทุกสมัย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประกันเสรีภาพในการพูด และการประกันเสรีภาพดังกล่าวดำเนินต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กลไกในการตรวจพิจารณารวมถึงกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่เข้มงวด การควบคุมโดยตรงของรัฐบาลหรือทหารต่อสื่อแพร่สัญญาณ และการใช้แรงกดดันทางเศรษฐกิจและการเมือง การวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์ถูกห้ามตามรัฐธรรมนูญ แม้คดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยส่วนใหญ่มุ่งไปยังคนต่างด้าว หรือคู่แข่งของผู้นำการเมือง สังคมและพาณิชย์ที่เป็นชาวไทย ในการสำรวจดัชนีเสรีภาพสื่อทั่วโลก จัดโดยผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 59 จาก 167 ประเทศในปี 2547 แล้วร่วงลงเป็นอันดับที่ 107 ในปี 2548 และไปอยู่อันดับที่ 153 จาก 178 ประเทศในปี 2554 แล้วค่อยขึ้นมาอยู่อันดับที่ 137 จาก 179 ประเทศในปี 2555.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการตรวจพิจารณาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ ปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองไทย

การเมืองไทยปัจจุบันอยู่ในระบอบเผด็จการทหารในพฤตินัย ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นผู้ใช้อำนาจบริหารและเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ตุลาคม พ.ศ. 2549

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ตุลาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย แถลงข่าวในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ถึงการคว่ำบาตรการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

กิจจา ทวีกุลกิจ

กิจจา ทวีกุลกิจ (เกิด ?) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หมอนิด เป็น หมอดูชาวไทยมีชื่อเสียงมาจากการทำนายทายทักดวงเมืองและเหตุการณ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกิจจา ทวีกุลกิจ · ดูเพิ่มเติม »

กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่

นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า แม่แดง มีชื่อเดิมว่า กิ่งกาญจน์ โกไศยกานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย และอดีตกรรมการบริหารพรรคความหวังใหม่ และเป็นภรรยาของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กุเทพ ใสกระจ่าง

ร้อยโท ดร.กุเทพ ใสกระจ่าง (15 สิงหาคม พ.ศ. 2495 - 18 กันยายน พ.ศ. 2555) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศรีสะเกษ เขต 2 เป็นอดีตโฆษกพรรคพลังประชาชน และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกุเทพ ใสกระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 20

การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 20 จังหวัดสุโขทัย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 20 ซึ่งกำหนดให้มีการแข่งขันระหว่างวันที่ 20-31 มีนาคม พ.ศ. 2547 โดยมีนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานกรรมการจัดการแข่งขัน มีการแข่งขันกีฬารวม 24 ประเภท คือ กรีฑา แบดมินตัน บาสเกตบอล มวยสากลสมัครเล่น จักรยาน ลีลาศ ฟุตบอล กอล์ฟ ยิมนาสติก แฮนด์บอล ยูโด เทนนิส รักบี้ฟุตบอล มวยไทยสมัครเล่น เปตอง ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส เทควันโด เซปักตะกร้อ วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก มวยปล้ำ ยิงปืน และสนุกเกอร์ มีนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน 5 ภาค จำนวน 5,478 คน รวมนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ทั้งสิ้น 7,000 คน หมวดหมู่:กีฬาเยาวชนแห่งชาติ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

กปปส.

กปป. มีชื่อเต็มว่า คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ ชื่อเดิม คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า People's Democratic Reform Committee, แปลตามตัวอักษร คณะกรรมการประชาชนปฏิรูปประชาธิปไตย, ย่อ: PDRC) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย โดยมุ่งหมายขจัดอิทธิพลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จากการเมืองไทย และการจัดตั้งสภาประชาชนที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อควบคุมการปฏิรูปการเมือง กลุ่มดังกล่าวมีบทบาทสูงในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 ในสถานะของผู้จัดกิจกรรมชุมนุมประท้วงขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร สุเทพ เทือกสุบรรณ ผู้นำการประท้วงและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ ก่อตั้งกลุ่มดังกล่าวตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 และแต่งตั้งตนเองเป็นเลขาธิการ ขบวนการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากหลายองค์การ รวมถึงพรรคประชาธิปัตย์ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กลุ่มนักเคลื่อนไหวนักศึกษา สหภาพแรงงานของรัฐ และกลุ่มนิยมทหาร การสนับสนุนของ กปป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและกปปส. · ดูเพิ่มเติม »

ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา

ลตำรวจเอก ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง)รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง อดีตที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตว่าที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค5 อดีตกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ. 10) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2495จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล สำเร็จปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์จากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ (นรต.) รุ่นที่ 28 ร่วมรุ่นกับ พล.ต.อ.ปานศิริ ประภาวัต และ พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) และปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พล.ต.อ.ภาณูพงศ์ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบคนหนึ่ง โดยเมื่อครั้งติดยศ ร้อยตำรวจโท (ร.ต.ท.) ที่ สน.เตาปูน เคยเป็นหัวหน้าสายสืบที่ร่วมปราบจอมโจรชื่อดังแห่งยุค คือ ตี๋ใหญ่ มาแล้ว จากนั้นจึงได้เลื่อนยศและพื้นที่นครบาลเหนือ และโยกย้ายไปสู่ตำแหน่งต่าง ๆ ซึ่งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 เมื่อครั้งที่ติดยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้กำกับการตำรวจภูธรภาค 7 ได้เป็นหัวหน้าชุดตำรวจที่วิสามัญฆาตกรรมนักโทษชาวพม่าที่แหกเรือนจำมหาชัยเสียชีวิตทั้งหมด 9 คนมาแล้ว โดยในเหตุการณ์ครั้งนี้ได้เป็นที่กล่าวขานเนื่องจาก ช่อง 9 ได้ทำการถ่ายทอดรายงานข่าวที่เกิดขึ้นอย่างสด ๆ ในปี พ.ศ. 2547 เป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 มีผลงานเด่นคือ การกวาดล้างยาเสพย์ติดและอาชญากรรม ในพื้นที่ภาคเหนือ จนได้รับรางวัลจาก สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้เป็นองค์กรยอดเยี่ยมป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ประจำปี พ.ศ. 2548 แต่จากผลงานด้านนี้ ทำให้ถูกบางส่วนมองว่าเป็นไปเพื่อรับใช้.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ซึ่งมีนโยบายทำสงครามกับยาเสพย์ติด ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้เลื่อนขึ้นเป็น ผู้ช่วย ผ.ตร.รับผิดชอบฝ่ายปราบปราม มีผลงานคดีสำคัญระดับชาติต่าง ๆ จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2553 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษ.10 ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ารอง ผ.ตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิธรรม เวชยชัย

นายภูมิธรรม เวชยชัย เลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฎิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร และอดีตรองเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและภูมิธรรม เวชยชัย · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมกราคม พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมกราคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเคนทักกี

ัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเคนทักกี มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเคนทักกี (Eastern Kentucky University) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลตั้งอยู่ในเมืองริชมอนด์ ในรัฐเคนทักกี สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2417 (ค.ศ. 1874) นอกจากแคมปัสหลักที่เมืองริชมอนด์แล้ว มหาวิทยาลัยยังมีอีก 3 แคมปัสอื่นอยู่ที่เมือง คอร์บิน แดนวิลล์ และแมนเชสเตอร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเคนทักกี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแซมฮิวสตันสเตต

มหาวิทยาลัยแซมฮิวสตันสเตต (Sam Houston State University) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง ฮันตส์วิลล์ ใน รัฐเทกซัส ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2422 ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษาประมาณ 15,300 คน มหาวิทยาลัยแซมฮิวสตันสเตต มีชื่อเสียงในสาขาครุศาสตร์ดนตรี และประวัติศาสตร์ดนตรี โดยในปัจจุบัน แซมฮิวสตันสเตต เปิดสอนในระดับปริญญาตรี 84 ภาควิชา ระดับปริญญาโท 47 ภาควิชา และ ปริญญาเอก 4 ภาคว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมหาวิทยาลัยแซมฮิวสตันสเตต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (จอมทอง)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่ (จอมทอง) เป็นสถานที่จัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สังกัดเขตพื้นที่ภาคพายัพเชียงใหม่ เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ 21 ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ 50160 มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2548 โดย พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธี และมี นายสุรพล เกียรติไชยากร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (ตำแหน่งขณะนั้น) ร่วมในพิธีด้ว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (จอมทอง) · ดูเพิ่มเติม »

มหาประชาชนสุดสัปดาห์

มหาประชาชน ฉบับ ความจริงวันนี้ เป็นหนังสือพิมพ์รายสามวัน รูปแบบวิเคราะห์เจาะลึก โดยเฉพาะข่าวการเมืองในประเทศ เน้นเป้าหมายที่กลุ่มคนเสื้อแดงเป็นหลัก ออกฉบับปฐมฤกษ์ ระหว่างการชุมนุมแดงทั้งแผ่นดินสัญจร ที่ท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยกลุ่มผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ “ความจริงวันนี้” มีที่ปรึกษาประกอบด้วย สมหวัง อัสราษี, พล.ต.ท.ชัจจ์ กุลดิลก และ นายชลธิล มณีรัตน์ อนึ่ง ก่อนหน้านี้ ระหว่างวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ถึงราวสิ้นปีดังกล่าว กลุ่มเพื่อนพ้องน้องพี่ ซึ่งประกอบด้วย นายวีระ มุสิกพงศ์, นายจตุพร พรหมพันธุ์, นายจักรภพ เพ็ญแข, นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ, นายก่อแก้ว พิกุลทอง เป็นต้น ร่วมกันเปิดตัวนิตยสารข่าวรายสัปดาห์เชิงวิเคราะห์ ในชื่อว่า วาไรตี้นิวส์ ฉบับ มหาประชาชน มาแล้ว ต่อมา เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ออกคำสั่งที่ 71/2553 ตามอำนาจของ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พุทธศักราช 2548 ห้ามมิให้หนังสือพิมพ์ มหาประชาชน ฉบับ ความจริงวันนี้ เสนอข่าวสาร หรือทำให้ปรากฏแพร่หลายซึ่งข่าวสาร ที่มีข้อความและเนื้อหา ที่กระทบกระเทือนต่อความมั่นคง และความสงบเรียบร้อย ภายในราชอาณาจักร อันทำให้เกิดความปั่นป่วน หรือกระด้างกระเดื่องในหมู่ประชาชน และบั่นทอนความเป็นปึกแผ่น แน่นแฟ้นของคนในชาติ หากฝ่าฝืน ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553 กลับมาอีกครั้งของ หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ ชื่อว่า มหาประชาชนสุดสัปดาห์ ได้เริ่มวางจำหน่ายแล้ว ฉบับละ 20 บาท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมหาประชาชนสุดสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ฮิวส์

ลสลี มาร์ก ฮิวส์ (Leslie Mark Hughes) มีชื่อเล่นในวงการฟุตบอลว่า สปาร์กี้ เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติเวลส์ และปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมเซาแทมป์ตัน ผลงานในการรับใช้ชาติของเขาคือการลงเล่นให้ทีมชาติเวลส์ 72 นัด และยิงประตูได้ 16ประตู ในช่วงชีวิตการเป็นนักฟุตบอลของเขานั้นผู้คนจดจำเขาได้เป็นอย่างดีจากการลงเล่นให้แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดทั้ง2ช่วง แต่เขากลับไม่ประสบความสำเร็จนักเมื่อต้องออกไปค้าแข้งในต่างแดนกับบาร์เซโลน่า ในสเปนและ บาร์เยิร์น มิวนิค ในเยอรมันตะวันตก นอกจากนี้ที่อังกฤษเขายังเคยเล่นให้สโมสรเชลซี,เซาแทมป์ตัน,เอฟเวอร์ตัน และสโมสรสุดท้ายที่เขาลงเล่นคือแบล็คเบิร์นโรเวอร์ส ก่อนที่เขาจะเลิกเล่นอย่างเป็นทางการในปี 2002.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมาร์ก ฮิวส์ · ดูเพิ่มเติม »

มานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน

ีค มานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน เกิดเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970 เป็นนักการเมืองของ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งมานซูร์มีบทบาททางการเมืองของ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 โดยทำงานร่วมกับ ซาอีฟ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน รองนายกรัฐมนตรีคนที่สอง แล้วในวงการฟุตบอลยุโรปก็รู้จักเขาเป็นอย่างดีโดยในนามเจ้าของกิจการสโมสรฟุตบอล โดยมานซูร์เป็นเจ้าของกิจการ สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี้ ใน พรีเมียร์ลีก ประเทศอังกฤษ โดยเขามีทรัพย์สินมากกว่า สี่หมื่นล้านปอน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมิถุนายน พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมิถุนายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมิถุนายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและมีนาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและยุทธศักดิ์ ศศิประภา · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบทักษิณ

ระบอบทักษิณ (Thaksinocracy) เป็นคำที่นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์และรัฐศาสตร์บางส่วนนิยามการปกครองประเทศไทยในสมัยที่ ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีพื้นฐานเป็นประชานิยม มีคนยากจนจำนวนมากได้ประโยชน์จากนโยบายต่าง ๆ นำไปสู่ความนิยมจนเป็นฐานเสียงในการเลือกตั้ง ทำให้ได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งทุกครั้ง จนสามารถบริหารประเทศได้ด้วยเสียงของพรรคเดียว บ้างก็เรียกแบบการปกครองนี้ว่า "ทักษิณาธิปไตย" "ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก" และ "ระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์จากการเลือกตั้ง" ซึ่งบางส่วนมาจากคำจำกัดความของระบอบทักษิณ ซึ่งได้เป็นการเพิ่มความชอบธรรมให้กับการขับไล่ทักษิณ ชินวัตรให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและระบอบทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

รัชดา ธนาดิเรก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชดา ธนาดิเรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 33 (บางพลัด บางกอกน้อย) พรรคประชาธิปัตย์ อดีตอาจารย์ประจำ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัชดา ธนาดิเรก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 102 ก ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 มี 39 มาตรา เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวที่หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หลังจากที่ได้กระทำการรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษร ฉบับที่ 16 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วยการรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้ออกประกาศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ทั้งนี้คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549 ไว้ภายหลัง รัฐธรรมนูญฉบั..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย

ณะรัฐประหารของไทยที่ก่อการสำเร็จ มักจะเรียกตนเองหลังก่อการว่า "คณะปฏิรูป" หรือ "คณะปฏิวัติ" เพื่อให้มีความหมายไปในเชิงบวก อย่างไรก็ตาม มีผู้เสนอว่าการ "ปฏิวัติ" หรือ "อภิวัฒน์" (revolution) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองนั้น เกิดขึ้นกับประเทศไทยเพียงครั้งเดียว จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) เป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 แต่ความเห็นอีกด้านหนึ่งกล่าวว่า เหตุการณ์ดังกล่าวมีลักษณะผสมผสาน ระหว่างการปฏิวัติกับการรัฐประหาร เนื่องจากมีการใช้กำลังทหาร ในการควบคุมบังคับ เพื่อระงับอำนาจของรัฐบาล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ก่อการรัฐประหารในประเทศไทยเป็นผลสำเร็จ ส่วนใหญ่เกิดจากฝ่ายกองทัพบก ส่วนทหารเรือเคยพยายามก่อรัฐประหารมาแล้ว ในกรณีกบฏวังหลวง เมื่อปี พ.ศ. 2492 และกบฏแมนฮัตตัน เมื่อปี พ.ศ. 2494 แต่กระทำการไม่สำเร็จ แล้วหลังจากนั้น ทหารเรือก็เสียอำนาจในการเมืองไทยไป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐประหารในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รัตนพล ส.วรพิน

รัตนพล.วรพิน อดีตแชมป์โลกในรุ่นมินิมั่มเวท (105 ปอนด์) ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรัตนพล ส.วรพิน · ดูเพิ่มเติม »

รากหญ้า

รากหญ้า (grassroots) เป็นขบวนการอย่างหนึ่ง (มักใช้ในบริบทของขบวนการทางการเมือง) ที่ขับเคลื่อนด้วยการเมืองของชุมชนท้องถิ่น คำดังกล่าวเป็นการแสดงนัยว่าการสร้างขบวนการและกลุ่มที่สนับสนุนขบวนการดังกล่าวเป็นธรรมชาติและเกิดขึ้นเอง อันเป็นการเน้นความแตกต่างระหว่าง "รากหญ้า" กับขบวนการซึ่งจัดตั้งขึ้นตามโครงสร้างอำนาจแบบเก่า ขบวนการรากหญ้ามักเกิดในระดับท้องถิ่น โดยมีอาสาสมัครจำนวนมากในชุมชนเสียสละเวลาเพื่อสนับสนุนพรรคในท้องถิ่น ซึ่งสามารถนำไปสู่การช่วยเหลือพรรคในระดับชาติได้ ยกตัวอย่างเช่น ขบวนการรากหญ้าสามารถนำไปสู่การลงคะแนนเสียงให้แก่พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งอย่างสำคัญ ซึ่งจะช่วยรัฐและพรรคการเมืองระดับชาต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรากหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย

รายชื่อพรรคการเมืองไทย ปัจจุบันมีพรรคการเมืองในประเทศไทยทั้งหมด 69 พรรคที่จดทะเบียนและยังมีสถานะเป็นพรรคการเมืองอยู่ ณ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 นอกเหนือจากนั้นเป็นพรรคที่ยกเลิกการดำเนินงาน หรือยุบเพื่อรวมกับพรรคอื่น หรือถูกสั่งให้ยุบโดยคำวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย หมายถึง กลุ่มที่มีความมุ่งหมายทางการเมืองร่วมกัน จับมือกันเป็นวิธีบรรลุเป้าหมายและผลักดันวาระและฐานะของพวกตน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ป.ภ.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ (The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 เพื่อพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ป.ภ. · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามคู่สมรสของนายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เริ่มแต่งตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รุ่ง แก้วแดง

รุ่ง แก้วแดง (1 มิถุนายน พ.ศ. 2487 -) นักการศึกษาชาวไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 ถึง 19 กันยายน พ.ศ. 2549).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรุ่ง แก้วแดง · ดูเพิ่มเติม »

รู้ทันทักษิณ

รู้ทันทักษิณ เป็นหนังสือที่วิพากษ์วิจารณ์การทำงานของ พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยเสนอในรูปแบบของมุมมอง ความคิดเห็นของนักวิชาการชั้นนำหรือคนที่รู้จักทักษิณผ่านบทวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ เพี่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในยุคทักษิณ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม โดยมีบรรณาธิการคือ รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรู้ทันทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอำนาจนิยม

อำนาจนิยม (authoritarianism) เป็นรูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมซึ่งมีลักษณะของการอ่อนน้อมต่ออำนาจหน้าที่ ตามปกติมักตรงข้ามกับปัจเจกนิยมและอิสรนิยม ในทางการเมือง รัฐบาลอำนาจเป็นรัฐบาลซึ่งอำนาจหน้าที่ทางการเมืองกระจุกตัวอยู่กับนักการเมืองกลุ่มเล็ก อำนาจนิยม เป็นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในการธำรงไว้ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ การรักษาอำนาจของตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ กล่าวได้ว่า ระบอบอำนาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที่ใช้แพร่หลายมากที่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด ในประวัติศาสตร์การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี้ “อำนาจนิยม” เป็นคำที่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที่สุด เมื่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของระบอบอำนาจนิยม คือ การกระทำและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจำกัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู่อย่างจำกัด กล่าวอีกนัยหนึ่ง สิทธิทางการเมืองของประชาชน หากมีอยู่บ้าง ก็จำกัดเต็มที ด้วยเหตุที่ผู้ปกครองอำนาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที่เข้มงวด เพื่อจำกัดกิจกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมมักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใดๆ ยกเว้น กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากอำนาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทางการเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที่ทำได้ ในขณะที่เสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนที่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งคำถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมีมาตรการลงโทษ อำนาจนิยมมีลักษณะของอำนาจที่เข้มข้นและรวมเข้าสู่ศูนย์กลางอย่างมาก ซึ่งรักษาไว้โดยการปราบปรามทางการเมืองและการกีดกันคู่แข่งที่เป็นไปได้ รัฐบาลอำนาจนิยมใช้พรรคการเมืองและองค์การมวลชนเพื่อระดมคนมารอเป้าหมายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตประจำวันในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื่อทางศาสนาที่เข้มงวด ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือคนละส่วนกับอำนาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้ ประเทศที่จัดได้ว่าเป็นระบอบอำนาจนิยม เช่น อิหร่าน สหภาพเมียนมาร์ (พม่า--Union of Myanmar) ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ภายใต้นายพลซูฮาร์โต เป็นต้น ข้อมูลที่น่าสนใจ คือ ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา นำมาสู่คำเรียกขาน “ระบอบราชการอำนาจนิยม” (bureaucratic authoritarianism) ที่ใช้อธิบายประเทศจำนวนหนึ่งที่เคยเป็นประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที่สุดระบอบประชาธิปไตยต้องล่มสลาย และถูกแทนที่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที่ทำการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นนำที่ประกอบด้วย ทหาร ข้าราชการพลเรือน นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำดำเนินนโยบายที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขันในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการอำนาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทุนนิยมแบบพึ่งพา ประเทศที่จัดว่าใช้ระบอบราชการอำนาจนิยม เช่น บราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี ในยุคปัจจุบันที่ปรากฏมากที่สุดคือ “อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) หรือระบอบอำนาจนิยมที่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศแถบตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (Linz, 2000: 34; Badie, 2011: 107) ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันสำคัญและจำเป็นกระบวนการหนึ่งที่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที่จะทำให้ประชาชนเจ้าของอำนาจได้แสดงออกซึ่งเจตจำนงเสรีของแต่ละบุคคล ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอำนาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัยกระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ทำให้เกิดอำนาจนิยมแบบใหม่ที่เรียกว่า อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที่ “จำเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย เส้นแบ่งใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอำนาจนิยมที่แฝงเร้นอยู่ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู่ที่มิติด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, and transparent election) ที่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ อาทิ การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบงำ หรือจำกัดคู่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่เพียงพอและจำเป็นที่จะนำไปสู่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง (Badie, 2011: 112-114) และเมื่อได้ชัยชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนทำลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจนำไปสู่อำนาจนิยมซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เสื้อคลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอำนาจนิยมและประชาธิปไตยที่สำคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลักนิติธรรมที่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและลัทธิอำนาจนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์

นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ที่เป็นสตรีคนแรกของประเทศไทยในคณะรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตผู้ประกาศข่าวช่อง 11.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วรชัย เหมะ

นายวรชัย เหมะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไทย และแนวร่วมคนสำคัญของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือกลุ่มคนเสื้อแดง ประจำจังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวรชัย เหมะ · ดูเพิ่มเติม »

วรัญชัย โชคชนะ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งนายวรัญชัยได้เบอร์ 2 นายวรัญชัย โชคชนะ นักการเมืองไทย และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เป็นสีสัน เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายสมัย และลงสมัครในการเลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเลยสักครั้ง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวรัญชัย โชคชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วราเทพ รัตนากร

ร.วราเทพ รัตนากร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 สมัยจากจังหวัดกำแพงเพชรและแบบบัญชีรายชื่อตามลำดับ อดีตแกนนำ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวราเทพ รัตนากร · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ พรรณเชษฐ์

วัชระ พรรณเชษฐ์ ​อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน และเป็นทายาทกลุ่มสิทธิผล ผู้จำหน่ายรถยนต์รายใหญ่ของไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวัชระ พรรณเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัยเป้งง นักเลงขาสั้น

วัยเป้งง นักเลงขาสั้น เป็นภาพยนตร์ไทยกำกับโดยพจน์ อานนท์ ในสังกัดพระนครฟิล์ม ออกฉายวันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวัยเป้งง นักเลงขาสั้น · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนา เมืองสุข

วัฒนา เมืองสุข (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวัฒนา เมืองสุข · ดูเพิ่มเติม »

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวันมูหะมัดนอร์ มะทา · ดูเพิ่มเติม »

วันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)

วันเด็กแห่งชาติ ในไทย ตรงกับวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมของทุกปี เป็นวันหยุดราชการที่ไม่ได้ชดเชยในวันทำงานถัดไป มีการให้คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต ปลั่งศรีสกุล

นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คณะทำงานของพรรคไทยรักไทย และเป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง และทีมกฎหมายของพรรคไทยรักไทย และทนายความของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นเลขาธิการมูลนิธิ 111 ไทยรักไทย และที่ปรึกษากฎหมายพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิชิต ปลั่งศรีสกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิกรม คุ้มภัยโรจน์

ร.วิกรม คุ้มภัยโรจน์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ดร.วิกรม จบการศึกษาปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตท ใน รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา มีผลงานวิทยานิพนธ์เรื่องปัญหาสิทธิของชาวต่างชาติในประเทศไทย โดยปัญหาที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการสูญเสียดินแดนของประเทศไทย ให้กับประเทศมหาอำนาจอย่างอังกฤษและฝรั่งเศส หลังจบการศึกษา ดร.วิกรม เคยเป็นอาจารย์พิเศษสอนนักศึกษาระดับปริญญาโทอยู่ที่ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.วิกรม เป็นหนึ่งในบอร์ดสโมสรฟุตบอล แมนเชสเตอร์ ซิตี ของ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ดร.วิกรม สมรสกับ นางศศิน มองวัวแซงค์ ซึ่งเป็นผู้ร่วมถือหุ้นในบริษัท ยูเค สปอร์ตส อินเวสเมนท์ จำกัด ที่ประกอบกิจการผลิตและจำหน่ายเสื้อผ้าของสโมสรฟุตบอล แมนเชสเตอร์ ซิตี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิกรม คุ้มภัยโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิระยา ชวกุล

ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล (ชื่อเล่น: น้อย; เกิด: 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นกรรมการของมูลนิธิในพระราชินูปถัมภ์หลายแห่ง และปรากฏบทบาททางการเมือง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิระยา ชวกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์

ตราจารย์ วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการในคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นกรรมการในหน่วยงานต่างๆ อีกหลายหน่วยงาน ท่านเป็นผู้พิการทางสายตา ที่มีบทบาทในการเป็นแกนนำรณรงค์เพื่อประโยชน์ของผู้พิการในหลายด้าน และได้รับรางวัลและการยกย่องจากหลายๆ หน่วยงาน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศาล ดิลกวณิช

วิศาล ดิลกวณิช พิธีกรรายการบ่ายนี้มีคำตอบ ทางช่อง 9 MCOT HD เกิดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2513 วิศาลทำงานสื่อมวลชนมาหลายรูปแบบ เคยเป็นผู้สื่อข่าววิทยุ สังกัดศูนย์ข่าวแปซิฟิก และสถานีวิทยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ เอเอ็ม 1008, ผู้ประกาศข่าวภาคเที่ยง ผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี, พิธีกรข่าว รายการเช้าวันใหม่ (คู่กับนิธินาฎ ราชนิยม หรือปราย ธนาอัมพุช), ครอบครัวข่าวเช้า ช่วง ไขประเด็นดัง, เที่ยงวันทันเหตุการณ์ (ช่วงเกาะประเด็นร้อน แกะประเด็นลึก) ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเขาเป็นผู้นำคนหนึ่งของกลุ่มพนักงานฝ่ายข่าวไอทีวี ที่เคลื่อนไหวคัดค้านการเข้าถือหุ้นใหญ่ใน บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) ของกลุ่มชินคอร์ป ซึ่งพนักงานกลุ่มดังกล่าวเชื่อว่า มีความเกี่ยวข้องกับ ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ต่อมากลุ่มพนักงานดังกล่าว เป็นที่รู้จักในชื่อ กบฏไอทีวี นอกจากงานประจำแล้ว ปัจจุบันวิศาลยังมีกิจการผลิตรายการโทรทัศน์ ในนามบริษัท เมไกแมสมีเดีย จำกัดอีกด้ว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิศาล ดิลกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วินัย ภัททิยกุล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วินัย ภัททิยกุล (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491-) ประธานกรรมการ บริษัท สบายดี แอร์เวย์ส จากัด อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ อดีตเลขาธิการ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหมและเป็นหนึ่งในผู้ดูแลการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวินัย ภัททิยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วินัย สมพงษ์

ันเอกวินัย สมพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นนักการเมืองที่มีความซื่อสัตย์ จนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า นายไม้บรรทัด และเป็นผู้ยกเลิกโครงการโฮบเวลล์ และริเริ่มโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวินัย สมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย ทองสอง

ลตำรวจเอก วินัย ทองสอง รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติและนายตำรวจราชสำนัก อดีตรองจเรตำรวจแห่งชาติ (สบ9) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2500 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 32 (นรต.32) เริ่มรับราชการด้วยการเป็นนายเวรผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 จังหวัดยะลา จนกระทั่งดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกองปราบปราม ในปี พ.ศ. 2547 ด้วยยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในยุครัฐบาลที่มีพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี พล.ต.ท.วินัย ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจที่มีความสนิทสนมและเกี่ยวพันกับตระกูลชินวัตร เนื่องจากภริยามีศักดิ์เป็นหลานสาวของ คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ภริยาของ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งในคืนวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ขณะที่เกิดการรัฐประหารเกิดขึ้น พล.ต.ท.วินัย ซึ่งในขณะนั้นมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับการกองปราบฯ ได้รับคำสั่งทางสายโทรศัพท์จาก.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่นครนิวยอร์ก ให้นำกองกำลังเข้าทำการควบคุมตัว พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ถึงที่บ้านสี่เสาเทเวศร์ อันเป็นบ้านพักส่วนตัว แต่ยังมิทันได้ดำเนินการ เนื่องมีกองกำลังทหารและรถถังเข้าอารักขาไว้หมดแล้ว และในคืนวันนั้น พล.ต.ท.วินัย เองก็ถูกควบคุมตัวด้วย ต่อมาในกลางปี พ.ศ. 2554 พล.ต.ท.วินัย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล แทนที่ พล.ต.ท.จักรทิพย์ ชัยจินดา ที่ได้รับคำสั่งโยกย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9 แทน ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2555 พลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้มีคำสั่งให้ พล.ต.ท.วินัย ย้ายไปช่วยราชการที่สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นระยะเวลา 4 เดือน พร้อมกับมอบให้ พล.ต.ท.คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 เข้ามารักษาราชการ และปฏิบัติหน้าที่แทน โดยให้มีผลทันที เชื่อว่าเป็นผลมาจากการควบคุมการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และเครือข่ายพลเมืองอาสาปกป้องแผ่นดิน (เสื้อหลากสี) ที่บริเวณหน้าอาคารรัฐสภาไม่ได้ ซึ่งชุมนุมคัดค้านการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแห่งชาติ (พ.ร.บ.นิรโทษกรรม) ของรัฐบาล จากนั้นก็ได้มีการเลื่อนยศ พล.ต.ต.คำรณวิทย์ ให้เป็น พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) และดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาล ขณะที่ พล.ต.ท.วินัย ย้ายไปเป็น ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 และต่อมาก็ได้ย้ายเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ดูแลงานด้านกองบัญชาการตำรวจนครบาล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวินัย ทองสอง · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ เปาอินทร์

ลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอ่างทอง พรรคชาติไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิโรจน์ เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิเชษฐ์ เกษมทองศรี

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิเชษฐ์ เกษมทองศรี · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์

ลตำรวจโท ดร.วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) และเป็นรุ่นพี่ที่ใกล้ชิด เคยเป็นพี่เลี้ยงของทักษิณ ชินวัตร ในครั้งที่ไปศึกษาต่อต่างประเท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิเศษ จูภิบาล

นายวิเศษ จูภิบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้ว่าการการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวิเศษ จูภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวีรพงษ์ รามางกูร · ดูเพิ่มเติม »

วงกต มณีรินทร์

ลตำรวจเอก วงกต มณีรินทร์ หรือ บิ๊กจั๋ม เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจากการสรรหา เป็นอดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและวงกต มณีรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณย์รัชต์ ดีน

รัณย์รัชต์ ดีน (สกุลเดิม: วิสุทธิธาดา) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม ลีเดีย (Lydia) เกิดเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 เป็นนักร้องหญิงสไตล์ R&B เจ้าของเพลงฮิต "ว่างแล้วช่วยโทรกลับ" คำว่า Lydia มีที่มาจากภาษาโปแลนด์ ซึ่งทั้งชื่อจริงและชื่อเล่นมีความหมายเดียวกันว่า “ความสำเร็จ”.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศรัณย์รัชต์ ดีน · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์ เตชาชาญ

นายศักดิ์ เตชาชาญ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2484 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ เดิมเป็นข้าราชการประจำในสังกัดกระทรวงมหาดไทย นายศักดิ์ เตชาชาญ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศักดิ์ เตชาชาญ · ดูเพิ่มเติม »

ศันสนีย์ นาคพงศ์

ันสนีย์ นาคพงศ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคพลังธรรม, อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย, อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ซึ่งมีชื่อเสียงคู่กับจักรพันธุ์ ยมจินดา และเอกชัย นพจิน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศันสนีย์ นาคพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา เป็นแผนกที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในศาลฎีกา เกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ส่วนที่ 3 มาตรา 272 โดยระบุให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองขึ้นในศาลฎีกา ให้องค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วย ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา จำนวน 9 คน ซึ่งได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และให้เลือกเป็นรายคดี อำนาจหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง อย่างไรก็ตามในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550) ก็ยังคงแผนกนี้ไว้เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิริโชค โสภา

นายศิริโชค โสภา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา และรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในฉายา วอลล์เปเปอร์ จากการมักปรากฏตัวหลังนายกรัฐมนตรีเมื่อปรากฏภาพในจอโทรทัศน์เสมอ ๆ ซึ่งเจ้าตัวก็ยอมรับในฉายานี้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ รายการสายล่อฟ้า ทางสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล อีกด้ว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศิริโชค โสภา · ดูเพิ่มเติม »

ศิธา ทิวารี

นาวาอากาศตรี ศิธา ทิวารี (ชื่อเล่น: ปุ่น; เกิด: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507) ประธานคณะกรรมการบริษัท ทอท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศิธา ทิวารี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ

ูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (Thailand Creative & Design Center) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ทีซีดีซี (TCDC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

ูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Southern Border Provinces Administration Centre) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอ.บต. (SBPAC) เป็นองค์กรพิเศษที่รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน

ูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (Centre for Resolution of Emergency Situation) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอฉ. (CRES) เป็นหน่วยงานพิเศษของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2553 ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี สกุลชินวัตร เป็นสกุลที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและธุรกิจมากมายในปัจจุบัน โดยมีเส็ง แซ่คูเป็นต้นตระกูล ซึ่งอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มายังจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ต่อมาได้ย้ายไปตั้งรกรากที่จังหวัดเชียงใหม่ ในพ.ศ. 2454 เชียง แซ่คู บุตรชายคนโตของครอบครัวได้เริ่มต้นธุรกิจทอผ้าไหมในจังหวัดเชียงใหม่ จนในปัจจุบันเป็นกิจการผ้าไหมที่มีมายาวนานที่สุดของประเทศไทย สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นเมื่อทักษิณ ชินวัตร สมาชิกรุ่นที่ 3 ได้ดำเนินธุรกิจต่างๆ อาทิเช่น เครือค่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เอไอเอส จนประสบความสำเร็จ และได้เข้าสู่การเมืองในเวลาต่อมา พร้อมทั้งมีสมาชิกคนอื่นๆ ตามมา ซึ่งทำให้สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากในด้านของการเมืองในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสกุลชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภาปฏิรูปแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)

นิติบัญญัติแห่งชาติ ในประเทศไทย หมายถึง สภาที่ทำหน้าที่ออกกฎหมายแทนสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา เกิดขึ้นหลังจากคณะรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเรือนและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองหรือรัฐธรรมนูญชั่วคราวแทนรัฐธรรมนูญถาวร สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีลักษณะเป็นสภาเดี่ยวซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะรัฐประหาร ซึ่งรัฐธรรมนูญบางฉบับอาจกำหนดให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญอีกหน้าที่หนึ่ง จนถึงปัจจุบันประเทศไทยมีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังนี้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

สภาโจ๊ก

ก เป็นรายการโทรทัศน์ของไทยที่ล้อเลียนรัฐสภา โดยนำคนที่หน้าตาคล้ายนักการเมืองไทยและนักพูดมาเปิดสภาในรายการ โดยเป็นสาระบันเทิงเสียดสีสังคมตามบทบาทสมมติ มีประธานสภาโจ๊กและ รัฐมนโท ฝ่ายแค้น เป็นหลัก ออกอากาศครั้งแรกเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2545 เดิมออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี เขียนบทและควบคุมการผลิตโดย ภูมเบศ บุญโยประการ (ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2551) ได้ย้ายมาออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ทุกวันเสาร์ เวลา 22.10-23.00 น. โดยใช้ชื่อว่า สภาสมานฉันท์ ต่อมาปี 2552 ได้ปรับรายการให้มีรูปแบบเป็น สภาคลายเครียดและในปี ๒๕๕๓ ปรับเป็น "สภาอารมณ์ดี" โดยทางรายการมีจุดประสงค์เพือให้ผู้ชมรายการได้มีความผ่อนคลายความเครียดจากสถานการณ์ทางการเมือง รายการนี้เคยกลับมาฉายอีกครั้งตั้งแต่เทปแรกจนถึงเทปล่าสุดออกอากาศทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 23.00 น. (อาจมีการเปลี่ยนเวลาการออกอากาศ)ทางช่อง สาระแน แชนแนล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสภาโจ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ บุญงามอนงค์

มบัติ บุญงามอนงค์ (ถือโทรโข่ง) ขณะร่วมประท้วงต่อต้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตในในประเทศไทย หน้าศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่า 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 สมบัติ บุญงามอนงค์ (ชื่อเล่น: หนูหริ่ง) หรือนามแฝงบนอินเทอร์เน็ตว.ก.ลายจุด เป็นแกนนำกลุ่มวันอาทิตย์สีแดง เว็บมาสเตอร์ของเว็บไซต์เพื่อสังคมหลายแห่ง และอดีตประธานกรรมการมูลนิธิกระจกเงา ที่มาของนามแฝง.ก.ลายจุดมาจากภาพยนตร์เรื่อง 101 ดัมเมเชี่ยน เมื่อวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมบัติ บุญงามอนงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ยะสินธุ์

นายสมบัติ ยะสินธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงคนเดียวในเขตภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด ที่ไม่ได้สังกัดพรรคเพื่อไทย ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นฐานเสียงสำคัญของกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมบัติ ยะสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ อุทัยสาง

มบัติ อุทัยสาง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และอดีตอธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา กรมไปรษณีย์โทรเลข กระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมบัติ อุทัยสาง · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย สุนทรวัฒน์

นายกองเอก สมชาย สุนทรวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลชวน 2 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสระบุรี และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมชาย สุนทรวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย นีละไพจิตร

มชาย นีละไพจิตร สมชาย นีละไพจิตร (เกิด 13 พฤษภาคม 2494) อดีตประธานชมรมนักกฎหมายมุสลิม และนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งหายตัวไปอย่างลึกลับเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 สมชายมักทำคดีด้านสิทธิมนุษยชนที่ทนายความส่วนมากปฏิเสธ เช่น คดีที่ชาวบ้านถูกกล่าวหาละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคใต้ คดีคนพม่าลี้ภัยการเมือง คดีชาวอิหร่านที่ถูกจับในข้อหาเป็นผู้วางระเบิดสถานทูตอิสราเอลในประเทศไทย สมชายเคยร่วมกับองค์กรมุสลิมต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมทั้ง ชมรมสมาชิกรัฐสภาไทยมุสลิม เสนอแนวทางในการแก้ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 และในเวลาเดียวกันก็เรียกร้องขอความเป็นธรรม ในการสอบสวน 5 ผู้ต้องหา ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ก่อการร้ายมูจาฮีดีน ซึ่งสมชายได้ยืนยันว่าได้พบกับผู้ต้องหาทั้ง 5 คน ได้ความว่า ทั้งหมดไม่ได้กระทำความผิด แต่จำต้องรับสารภาพ เนื่องจากถูกตำรวจขู่เข็ญทำทารุณกรรม ซึ่งกรณีนี้สร้างความอับอายให้กับกระบวนการสืบสวนสอบสวนของรัฐเป็นอันมาก วันที่ 13 มกราคม 2549 ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี แถลงว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษพบหลักฐานสำคัญที่ระบุว่าสมชายเสียชีวิตแล้ว โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวข้องมากกว่า 4 คน โดยจะสรุปสำนวนเสร็จสิ้นไม่เกินเดือนกุมภาพันธ์ หลังการหายตัวไปอย่างลึกลับ อังคณา นีละไพจิตร ภรรยา เป็นตัวแทนเรียกร้องความเป็นธรรมและมีบทบาททางสังคมนับแต่นั้นม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมชาย นีละไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมภารเซ้งโบสถ์

หน้าปกอัลบั้ม ตะวันตกดิน สมภารเซ้งโบสถ์ เป็นเพลงพิเศษที่อยู่ในอัลบั้ม " ตะวันตกดิน " ซึ่งเป็นอัลบั้มพิเศษของยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว ซึ่งออกมาในปี พ.ศ. 2549 ช่วงเวลาเดียวกับวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2549 ขณะที่พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยชุมนุมขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เช่นเดียวกับเพลง เว้นวรรค สมภารเซ้งโบสถ์ เป็นเพลงที่มีเนื้อหาเสียดสี เปรียบเทียบ สถานการณ์การเมืองในขณะนั้น โดย ยืนยง ผู้แต่งได้แรงบันดาลใจในการเขียนเนื้อเพลงจากโคลงชื่อ " สมภารเซ้งโบสถ์ " ของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ โดยเปรียบเที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เหมือนสมภารเลี่ยม การเซ้งโบสถ์ให้กับเถ้าแก่เสก เจ้าสัวเมืองสิงค์ เหมือนกับกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ปแก่บริษัท เทมาเสก โฮลดิ้ง แห่งสิงคโปร์ ซึ่งนำมาสู่วิกฤตศรัทธาในตัว.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมภารเซ้งโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ เชื้อไทย

รองศาสตราจารย์ สมยศ เชื้อไทย (เกิด พ.ศ. 2493) เป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเครื่องหมายการค้ากระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย) ประธานกรรมการมูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ และนักวิชาการชาวไทย โดยเป็นรองศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ ภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอดีตคณบดีคณะดังกล่าว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมยศ เชื้อไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

มศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวไทยที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัยโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา สมศักดิ์ยังเคยดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นระยะเวลาหลายปีก่อนถูกไล่ออกจากเหตุละทิ้งราชการในช่วงของการลี้ภัยแม้ว่าสมศักด์ได้ยื่นใบลาออกก่อนหน้าก็ตาม ปัจจุบันคำสั่งไล่ออกจากราชการได้ถูกศาลปกครองยกฟ้อง สมศักดิ์มีผลงานการศึกษาค้นคว้าและการตีความประวัติศาสตร์จำนวนมาก โดยเฉพาะการศึกษาบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ตั้งแต่การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475, กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8, เหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เทพสุทิน

นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมศักดิ์ เทพสุทิน · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาน ศรีงาม

มาน ศรีงาม นายสมาน ศรีงาม เป็นนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองเลขาธิการพรรคอธิปไตยปวงชนชาวไทย และเลขาธิการทั่วไปขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ และจัดรายการวิทยุทางคลื่น F.M. 92.25.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมาน ศรีงาม · ดูเพิ่มเติม »

สมิทธ ธรรมสโรช

มิทธ ธรรมสโรช เป็นทั้งอดีตผู้ช่วยรัฐมนตรี อดีตประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ อดีตอธิบดีกรมอุตุนิยมวิท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมิทธ ธรรมสโรช · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2543 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตนักสร้างสรรค์รายการข่าวและผู้ประกาศข่าวของหลายสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมเกียรติ อ่อนวิมล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สรยุทธ สุทัศนะจินดา

รยุทธ สุทัศนะจินดา (เกิด 11 พฤษภาคม 2509) เป็นพิธีกรและผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ชาวไทย มีชื่อเสียงในการสัมภาษณ์ที่เป็นเอกลักษณ์ โดยนำข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์มาอ่านในรายการโทรทัศน์ หรือที่เรียกว่าเล่าข่าว (News Talk) มีผลงานที่เป็นที่รู้จักหลายรายการ ได้แก่ รายการเรื่องเล่าเช้านี้ เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ คุยคุ้ยข่าว และ ถึงลูกถึงคน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสรยุทธ สุทัศนะจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญ สมะลาภา

รรเสริญ สมะลาภากรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารของไทย ถือเป็นหนึ่งในทีมเศรษฐกิจของพรรคประชาธิปัตย์ ขณะเป็นพรรคฝ่ายค้าน ในสมัยรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร สมัยแรก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสรรเสริญ สมะลาภา · ดูเพิ่มเติม »

สรอรรถ กลิ่นประทุม

นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายกสมาคมแห่งสถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง นักการเมืองแกนนำกลุ่มราชบุรี อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสรอรรถ กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ บุญญานันต์

ลเอก สัมพันธ์ บุญญานันต์ ประธานกรรมการ บริษัท สามารถเทลคอม จำกัด (มหาชน) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2546).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสัมพันธ์ บุญญานันต์ · ดูเพิ่มเติม »

สายัณห์ สัญญา

ัณห์ สัญญา เป็นอดีตนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย มีน้ำเสียง ลีลา อันเป็นเอกลักษณ์ สายัณห์ สัญญา มีผลงานเพลงอันเป็นอมตะ ติดหูคนไทยมากมายหลายสิบเพลง มานานกว่า 3 ทศวรรษ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสายัณห์ สัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สาวเบียร์ช้าง

วเบียร์ช้าง เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 22 ของวงคาราบาว ออกจำหน่ายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2544 ซึ่งอยู่ในช่วงที่ทางวงมีอายุ 20 ปี และเป็นช่วงที่รัฐบาลสมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีนโยบายให้ปิดสถานบริการกลางคืนตามเวลากำหนด ทำให้คนทำงานกลางคืนเดือดร้อนกันถ้วนหน้า ด้วยเหตุนี้ทางวงจึงได้แต่งเพลง "ปุระชัยเคอร์ฟิว" ขึ้นมา นอกจากนี้ยังมีเพลงที่ไว้อาลัยเหตุการณ์ตึกถล่มที่เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ สหรัฐอเมริกา ในเพลง "เดือน 9 เช้า 11" และเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อสดุดีผู้กล้าหาญของชาติไทย คือ "ดาวแห่งโดม" และ "นางสาวสยาม" อัลบั้มชุดนี้เป็นอัลบั้มภาคปกติชุดเดียวของวงที่ผลิตโดย บริษัท "มองโกล" หลังการแยกตัวจาก กระบือ แอนด์ โค และออกมาก่อนที่ ยืนยง โอภากุล จะทำธุรกิจเครื่องดื่มคาราบาวแดง และทางวงจะกลับไปผลิตผลงานในอัลบั้มถัดไปกับ "วอร์เนอร์ มิวสิก (ประเทศไทย)" โดยเป็นอัลบั้มเพียงชุดเดียวที่ใช้ชื่อยี่ห้อสินค้าสนับสนุนของคาราบาวมาเป็นส่วนหนึ่งของชื่ออัลบั้ม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสาวเบียร์ช้าง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สิริกร มณีรินทร์

ริกร มณีรินทร์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และเป็นเหรัญญิกพรรคคนแรก (คณะกรรมการชุดที่ขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสิริกร มณีรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสิทธิ เศวตศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2560) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" มาตรา 25 ถึง 49 ได้บรรยายขอบเขตของสิทธิเฉพาะในบางด้าน เช่น ความยุติธรรมทางอาญา การศึกษา การไม่เลือกปฏิบัติ ศาสนา และเสรีภาพในการแสดงออก การก้าวก่ายชีวิตส่วนตัว ข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัว โดยจำนวนมาตรา ในเรื่องสิทธิลดลลง 14 มาตรา เมื่อเทียบกับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดสิทธิต่าง ๆ โดยให้อยู่ในหมวด 3 และไม่มีส่วนของสิทธิ ซึ่งแตกต่าง กับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550ที่กำหนดให้มี ส่วนของสิทธิแบ่งเป็น 9 ส่วน บททั่วไป ความเสมอภาค สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล สิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน สิทธิเสรีภาพในการศึกษา สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสิงหาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสิงหาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สุชัย เจริญรัตนกุล

ตราจารย์ นายแพทย์ สุชัย เจริญรัตนกุล ศาสตราจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุชัย เจริญรัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ เชาว์วิศิษฐ

ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ (21 เมษายน พ.ศ. 2483 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุชาติ เชาว์วิศิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ เหมือนแก้ว

ลตำรวจโท สุชาติ เหมือนแก้ว อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 26 รุ่นเดียวกั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จบปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2538 และนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปี พ.ศ. 2543 ผ่านการอบรมหลักสูตรโรงเรียนผู้บัญชาการรุ่นที่ 18 (ร.ร.ผบก) และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 48 (วปอ 48) รับราชการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ในกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) จากนั้นได้ผ่านตำแหน่งสำคัญในกองปราบปรามกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ในปี พ.ศ. 2547 และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2551 พล.ต.ท.สุชาติ ได้รับการคาดหมายว่าจะดำรงตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลางเป็นคนต่อไป แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ขึ้น ได้มีคำสั่งโยกย้าย พล.ต.ท.อัศวิน ขวัญเมือง ผ..น. ไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) และแต่งตั้งให้ พล.ต.ท.สุชาติ ขึ้นดำรงตำแหน่งแทนในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ต่อมาในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จึงถูกย้ายไปเป็น ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) จากนั้นในปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีมติปลด พล.ต.ท.สุชาติออกมาจากราชการ เนื่องจากมีความผิดร้ายแรงจากเหตุการณ์การสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 จากการชี้มูลของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ซึ่งในขณะนั้น พล.ต.ท.สุชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบอยู่ด้วยการเป็น ผ.ชน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุชาติ เหมือนแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สุกำพล สุวรรณทัต

ลอากาศเอก สุกำพล สุวรรณทัต (ชื่อเล่น: โอ๋) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตที่ปรึกษาพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และอดีตเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุกำพล สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

สุภิญญา กลางณรงค์

ญญา กลางณรงค์ (เกิด พ.ศ. 2519 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี) เป็นนักกิจกรรมสังคมด้านสื่อ เริ่มต้นทำงานที่ป่าใหญ่ครีเอชั่น ในฝ่ายผลิตและเขียนบทสารคดีโทรทัศน์ในปี 2537 จากนั้นร่วมงานเป็นฝ่ายสื่อและเผยแพร่ของมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม และเป็นผู้ประสานงานคณะทำงานติดตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ซึ่งเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรสื่อสาร สุภิญญาร่วมก่อตั้งคณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ (คปส.) เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการและรองประธานคป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุภิญญา กลางณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล นิติไกรพจน์

ตราจารย์ สุรพล นิติไกรพจน์ นายกสภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชกรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด วิสาหกิจกรุงเทพมหานคร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการสามัญองค์กรอิสระ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญปฏิรูปการเมือง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ และ อดีตประธานคณะกรรมการบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรพล นิติไกรพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรพันธ์ ชินวัตร

นายสุรพันธ์ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคชาติไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรพันธ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี

นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) เป็นที่รู้จักในชื่อเล่นว่า "หมอเลี๊ยบ" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เลขาธิการพรรคพลังประชาชน และหนึ่งในกลุ่มคนเดือนตุล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล

รพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย อดีตประธานกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ

ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา ลาภวิสุทธิสิน

นายสุริยา ลาภวิสุทธิสิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร เป็นนักการเมือง นักธุรกิจที่มีความสนิทแนบแน่นกับนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ และนายสมศักดิ์ เทพสุทิน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุริยา ลาภวิสุทธิสิน · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ ปาลาเร่

ลตำรวจตรีสุรินทร์ ปาลาเร่ กรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขลา และอดีตกรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรินทร์ ปาลาเร่ · ดูเพิ่มเติม »

สุรนันทน์ เวชชาชีวะ

รนันทน์ เวชชาชีวะ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรนันทน์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุรเกียรติ์ เสถียรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณ วลัยเสถียร

ร.สุวรรณ วลัยเสถียร เป็นนักกฎหมาย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการบริหารชุดแรกของพรรคไทยรักไทย เป็นผู้ก่อตั้งชมรมคนออมเงิน และปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานชมรมฯ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุวรรณ วลัยเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณภูมิมหานคร

ที่ตั้งของโครงการสุวรรณภูมิมหานคร มหานครสุวรรณภูมิ หรือ สุวรรณภูมิมหานคร คือโครงการตามนโยบายของรัฐ ภายใต้รัฐบาลของอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ริเริ่มโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีหน่วยงานที่ตั้งขึ้นมาใหม่ชื่อ สำนักงานคณะกรรมการบริหารการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สกภ./OSDC) เป็นผู้บริหารโครงการ โครงการนี้สืบเนื่องมาจากแนวคิดที่จะพัฒนาพื้นที่โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อเป็นเมืองศูนย์กลางการบินและเป็นเมืองอากาศยาน โดยมีรูปแบบการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษและ เขตการปกครองพิเศษที่มีรูปแบบคณะกรรมการอิสระในการดูแลบริหารเมือง มหานครสุวรรณภูมิเป็นชื่อจังหวัดที่กำลังถูกเสนอให้พิจารณาตั้งเป็นจังหวัดใหม่ของประเทศไทย บริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานครบริเวณรอบสนามบินสุวรรณภูมิ ในโครงการกำหนดให้ครอบคลุมพื้นที่เขตลาดกระบังและเขตประเวศในกรุงเทพมหานคร และอำเภอบางพลีและกิ่งอำเภอบางเสาธงในจังหวัดสมุทรปราการ เข้าด้วยกัน เพื่อวางกรอบการพัฒนาพื้นที่รอบสนามบินสุวรรณภูมิรองรับการตั้งเมืองใหม่ ภายใต้ชื่อ "สุวรรณภูมิมหานคร" โดยจะมีพื้นที่รวมประมาณ 521 ตร.กม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุวรรณภูมิมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สุวัจน์ ลิปตพัลลภ

วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุวัจน์ ลิปตพัลลภ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุวิทย์ คุณกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

สุธรรม แสงประทุม

รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุธรรม แสงประทุม · ดูเพิ่มเติม »

สุธาวัลย์ เสถียรไทย

ท่านผู้หญิง สุธาวัลย์ เสถียรไทย (สกุลเดิม: ลดาวัลย์ ณ อยุธยา; 24 กันยายน พ.ศ. 2501 -) เป็นธิดาของหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ อดีตองคมนตรี และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ เป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และเป็นภรรยาของศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุธาวัลย์ เสถียรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิชัย หยุ่น

ทธิชัย หยุ่น สุทธิชัย แซ่หยุ่น หรือที่รู้จักทั่วไปว่า สุทธิชัย หยุ่น เกิดเมื่อวันที่ เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ปรึกษากองบรรณาธิการเครือเนชั่น อดีตประธานกรรมการ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน), บรรณาธิการอำนวยการ เครือเนชั่น, นักหนังสือพิมพ์, นักเขียน, ผู้ร่วมก่อตั้ง หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, เนชั่นทีวี และประธานที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเนชั่น มีผลงาน คอลัมน์ กาแฟดำ ในหน้า 2 หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์, รายการโทรทัศน์ ชีพจรโลก และ ชีพจรโลกวันนี้ ทางเนชั่นแชนแนล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุทธิชัย หยุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สุขุมพงศ์ โง่นคำ

นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ในรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตกรรมการปฏิรูปกฎหมาย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุขุมพงศ์ โง่นคำ · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร คงสมพงษ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 มีชื่อเรียกในสื่อสารมวลชนว่า บิ๊กจ๊อ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุนทร คงสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ โพธิ์มณี

ลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 รุ่นเดียวกันกั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสุเมธ โพธิ์มณี · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาพร มณีรัตน์

นายสถาพร มณีรัตน์ (20 เมษายน พ.ศ. 2505-14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลำพูน เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย และสังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นพรรคสุดท้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสถาพร มณีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

นีโทรทัศน์ทีไอทีวี (Thailand Independent Television ชื่อย่อ: TITV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟที่อยู่ในการกำกับดูแลโดย กรมประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับมอบอำนาจการออกอากาศจากสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ในสถานะหน่วยงานรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit - SDU) ตั้งแต่เวลา 00.00 น. วันที่ 8 มีนาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สถิรพันธุ์ เกยานนท์

ลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือของไทยคนแรกที่เกิดภายใต้พระบรมโพธิสมภารในรัชกาลที่ 9 และอดีตรองหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) คนที่ 2 เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2490 มีชื่อเล่นว่า "อุ๊" เป็นบุตรของ พล.ร.อ. สถาปน์ และ ม.ร.ว. กระวิก เกยานนท์ การศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ที่โรงเรียนอำนวยศิลป์ (พ.ศ. 2496 - 2502) ชั้นมัธยมศึกษา ม.4 - ม.6 โรงเรียนเทพศิรินทร์ โดยมีเพื่อนร่วมรุ่น เช่น กนก เหวียนระวี, ปริญญา บุรณศิริ, ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสถิรพันธุ์ เกยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สดศรี สัตยธรรม

นางสดศรี สัตยธรรม อดีตกรรมการการเลือกตั้ง รับผิดชอบงานด้านกิจการพรรคการเมือง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 ที่ย่านตลาดพลู จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรสาวคนที่ 12 ของ น.ขุนเจริญเวชธรรม หรือ เจริญ สัตยธรรม และนางปราณี ตุลยพานิช มีพี่น้องทั้งหมด 14 คน ปัจจุบันพี่น้องส่วนใหญ่ลงหลักปักฐานที่สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสดศรี สัตยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

สนธยา คุณปลื้ม

นธยา คุณปลื้ม ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาคนแรก อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี(ทักษิณ ชินวัตร) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีหลายสมั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสนธยา คุณปลื้ม · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท. และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เดิมเขาเคยเป็นผู้สนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร อย่างแข็งขัน แต่ต่อมาเป็นผู้นำขบวนการต่อต้านทักษิณ ช่วงต้น..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสนธิ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี

มสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี (Manchester City Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลที่ลงเล่นในพรีเมียร์ลีกอังกฤษ ตั้งอยู่ในเมืองแมนเชสเตอร์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2423 ในชื่อ เซนต์มากส์ (เวสต์กอร์ตัน) และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สโมสรฟุตบอลอาร์ดวิก ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี ฤดูกาล 2007-08

ใน ฤดูกาล 2007-08 แมนเชสเตอร์ซิตีแข่งขันอยู่ในเอฟเอพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี ฤดูกาล 2007-08 · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล (28 กันยายน 2486 -) กรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทยและรองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตปลัดกระทรวงการคลัง สื่อมวลชนเรียก หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล กันติดปากว่า หม่อมเต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและหม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจทรนง

หัวใจทรนง หรือ The Adventure of Iron Pussy เป็นภาพยนตร์ตลก-แอ็คชั่น ที่กำกับและเขียนบทโดยอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และไมเคิล เชาวนาศัย เป็นภาพยนตร์ย้อนยุคที่ต้องการบรรยากาศของภาพยนตร์แอ็คชั่น ในยุคทศวรรษ 1970 ที่ตัวเอกเป็นสายลับหญิง โดยมีเพชรา เชาวราษฎร์เป็นต้นแบบ ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างด้วยงบประมาณจำกัด จึงถ่ายทำด้วยกล้องดิจิตัลวิดีโอ Hi8 เพื่อให้ได้ภาพแตกเป็นเกรนเมื่อฉายบนจอภาพยนตร์ เหมือนถ่ายทำด้วยกล้องฟิล์ม 16 ม.ม. แบบในสมัยก่อน และใช้เสียงพากย์ของนักพากย์อาชีพ คือ รอง เค้ามูลคดี เบญญาภา เลิศสุริยา และทีมพากษ์ ให้กลิ่นอายของละครวิทยุ ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติโตเกียว เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 และได้ฉายในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติรอตเตอร์ดัม และในเทศกาลภาพยนตร์เฉพาะกลุ่มเกย์และเลสเบียน จำนวนหนึ่ง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและหัวใจทรนง · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน หรือชื่อเรียกย่อ โอดอส (ODOS ย่อมาจาก One District One Scholarship) เป็นโครงการพัฒนาการศึกษาของรัฐบาลในยุค ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ อดิสัย โพธารามิก ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยชื่อเดิม และชื่อเต็มของโครงการนี้คือ โครงการทุนการศึกษาต่อของนักเรียนจากทุกอำเภอ และกิ่งอำเภอ ในระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตรี) ทุนการศึกษา "หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน" ได้รับเงินสนับสนุนจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยได้นำเงินจากการขายหวยออนไลน์ เลขท้าย 2 ตัวและ 3 ตัว ทำให้หลายคนเรียกและรู้จักทุนนี้ในชื่อของ "ทุนหวย".

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

รงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือเรียกย่อว่า โอทอป (OTOP) เป็นโครงการกระตุ้นธุรกิจประกอบการท้องถิ่น ซึ่งมีที่มาจากแนวคิด One Village, One Product ของเมืองโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2544 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐได้นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับ OTOP หรือ โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ดังนี้ รัฐบาล ทรท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิวันท์ วิริยะชัย

ันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอภิวันท์ วิริยะชัย · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรทัย ฐานะจาโร

อรทัย ฐานะจาโร (ชื่อเล่น: เหน่ง) เดิมมีชื่อว่า อรทัย กาญจนชูศักดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ที่ย่านเยาวราช โดยเป็นบุตรสาวของนายส่ง กาญจนชูศักดิ์ (หรือที่รู้จักกันโดทั่วไปว่าแชแม้)โปรโมเตอร์มวยชื่อดังและนักธุรกิจโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังยี่ห้อ "ปลามังกร" กับนางฉลวย กาญจนชูศักดิ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนสมถวิล ราชดำริ และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกการบริหารธุรกิจ เมื่อศึกษาจบแล้ว ได้ช่วยงานในกิจการโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังซึ่งเป็นกิจการของครอบครัว และมีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นโปรโมเตอร์มวยร่วมกับนายส่ง ซึ่งเป็นบิดา และเข้าเป็นโปรโมเตอร์เต็มตัวเมื่อนายส่งถึงแก่กรรมไป โดยอาจเรียกได้ว่า เป็นโปรโมเตอร์หญิงคนแรกของไทย โดยมีนักมวยหลายคนในสังกัด ซึ่งมักจะเป็นนักมวยในช่วงชีวิตท้าย ๆ การชกมวยแล้ว เช่น เมืองชัย กิตติเกษม, โนรี จ๊อกกี้ยิม และต่อศักดิ์ ศศิประภายิม ได้เข้าสู่แวดวงการเมืองครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2537 ด้วยการเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตสัมพันธวงศ์ สังกัดพรรคพลังธรรม และได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ครั้งแรกในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2538 ในเขตสัมพันธวงศ์ พรรคพลังธรรม ซึ่งเป็นยุคที่มี.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นหัวหน้าพรรค มีตำแหน่งทางการเมืองต่าง ๆ อาทิ ตำแหน่ง ผู้ช่วยโฆษกคณะกรรมาธิการการกีฬา คนที่ 2, ผู้ช่วยโฆษกคณะกรรมาธิการการพลังงาน, คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร และ โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี, ประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2544 ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายวัฒนา เมืองสุข) เมื่อปี พ.ศ. 2545 และเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เมื่อปี พ.ศ. 2546, เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (น.พ.สุชัย เจริญรัตนกุล) เมื่อปี พ.ศ. 2548, เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (นายวัฒนา เมืองสุข) เมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอรทัย ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

อลงกรณ์ พลบุตร

นายอลงกรณ์ พลบุตร รองประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศคนที่หนึ่ง กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอลงกรณ์ พลบุตร · ดูเพิ่มเติม »

อัญชะลี ไพรีรัก

อัญชะลี ไพรีรัก อัญชะลี ไพรีรัก เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอัญชะลี ไพรีรัก · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน ขวัญเมือง

ลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ คอลัมนิสต์ อัศวินเมืองกรุง หนังสือพิมพ์เอ็มทูเอฟ, อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาจากระดับชั้น ม.3 จากโรงเรียนด่านช้างวิทยา, โรงเรียนตำรวจภูธรภาค 7, โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 30 (นรต.30) จบหลักสูตรการบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 16 และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 45 พล.ต.อ.อัศวิน ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบฝีมือดีคนหนึ่ง เคยผ่านคดีสำคัญ ๆ ระดับชาติมาแล้วหลายคดี อาทิ คดีสังหารนายศุภฤกษ์ เรือนใจมั่น (โจ ด่านช้าง), คดีคาร์บอมบ์รถอดีตนายกรัฐมนตรี.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, คดีจับกุมนายประชา โพธิพิพิธ (กำนันเซี๊ยะ), คดีจับกุมนายนพพล ประสงค์ศิล (จิ๊บ ไผ่เขียว) และคดีวิสามัญฆาตกรรมนายชาญชัย ประสงค์ศิล (โจ๊ก ไผ่เขียว) เป็นต้น ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่อดำรงยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.สุชาติ เหมือนแก้ว รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้ ต่อมาในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษ.10 ในยศพลตำรวจเอก (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทางคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติและต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอัศวิน ขวัญเมือง · ดูเพิ่มเติม »

อัษฎาวุธ วัฒนางกูร

นาวาอากาศตรีอัษฎาวุธ วัฒนางกูร ประจำสำนักพระราชวังพิเศษ ตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง ราชการ บริหารส่วนกลาง สำนักพระราชวัง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สนับสนุนการถวายบินแก่องค์ประธานศูนย์สนับสนุนการปฏิบัติการ อดีตรองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สายมาตรฐานความปลอดภัยและพัฒนาทรัพยากรการบิน อดีตรองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ บริษัทการบินไทย อดีต ผู้อำนวยการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรการบิน อดีต ผู้อำนวยการฝ่ายฝึกอบรมนักบิน บริษัทการบินไทย ร่วมงานกับบริษัท การบินไทยเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2538และดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ บริษัทการบินไทยเมื่อ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอัษฎาวุธ วัฒนางกูร · ดูเพิ่มเติม »

อันดับมหาเศรษฐีไทย

้านล่างนี้ คือ อันดับมหาเศรษฐีไทย ข้อมูลจากนิตยสารฟอร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอันดับมหาเศรษฐีไทย · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนีโอ กรัมชี

อันโตนีโอ กรัมชี (อังกฤษ, Antonio Gramsci) นักทฤษฎีการเมือง นักเศรษฐศาสตร์การเมืองชาวอิตาเลียนแนวมาร์กซิสม์และเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี เกิดเมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1891 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1937 อันโตนีโอ กรัมชี ได้ชื่อว่าเป็น มาร์กซิสต์บริสุทธิ์ ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้เผยแพร่ลัทธิมาร์กซคนสำคัญในยุคศตวรรษที่ 20 ได้เขียนหนังสือที่มีชื่อเสียงเล่มหนึ่งชื่อ "บันทึกจากคุก" ในระหว่างที่ถูกจองจำ และเป็นเจ้าของทฤษฎีที่มีชื่อว่า Hegemony อันว่าถึงการก้าวขึ้นเป็นเจ้าและครอบครอง โดยกรัมชี่เชื่อว่า ผู้ที่ขึ้นมาเป็นชนชั้นปกครองได้นั้น ไม่อาจจะอาศัยภาวะทางเศรษฐกิจอย่างเดียวเท่านั้น แต่ต้องได้รับการสนับสนุนและมีแนวร่วมจากมวลชนด้วย ซึ่งทฤษฎีนี้ได้ถูกนักวิชาการของไทย เช่น สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ อ้างถึงในระหว่างการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในปี พ.ศ. 2549 โดยใช้อธิบายถึงพฤติกรรมของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ที่ผ่านมาในระหว่างการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอันโตนีโอ กรัมชี · ดูเพิ่มเติม »

อาชญากรรมในประเทศไทย

อร์รัปชันของเจ้าหน้าที่พบได้ทั่วไปในประเทศไทย ตั้งแต่การให้สินบนไปจนถึงการร่วมมือกับตำรวจ ทั้งที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด การค้าประเวณี การอัมพาตทางการเมือง คอร์รัปชันและการร่วมมือกันในวัฒนธรรมซึ่งไม่มีการลงโทษ การท่องเที่ยวและค้าขายระหว่างประเทศ การยอมรับศาสนาพุทธแบบดั้งเดิม และแนวโน้มที่จะเมินเฉยต่อปัญหาได้นำสู่การระบาดของอาชญากรรมในประเทศ นอกจากนี้การกระทำความผิดอาญาโดยเยาวชนยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงปีที่ผ่านมาอีกด้วย ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอาชญากรรมในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อาศิส พิทักษ์คุมพล

อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอาศิส พิทักษ์คุมพล · ดูเพิ่มเติม »

อาจารียา พรหมพฤกษ์

อาราดา (อาจารียา) พรหมพฤกษ์ หรือ หลิว อาจารียา นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย ซึ่งโด่งดังจากเพลง "สะใภ้นายก".

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอาจารียา พรหมพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช. และเจ้าของฉายา "ดร.ไข่ผง" จากการเคยมีกิจการโรงงานผลิตไข่ผงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอาทิตย์ อุไรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อาคม เอ่งฉ้วน

อาคม เอ่งฉ้วน กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 9 สมัย เกิดวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2494 เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากนายอาคมเป็นบุคคลที่มีรูปร่างอ้วนใหญ่ จึงได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า ตูมตาม มีบทบาทตรวจสอบรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผ่านสภาผู้แทนราษฎร โดยเป็นผู้อภิปรายเรื่อง การทุจริตจัดซื้อเครื่องฉายดาว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอาคม เอ่งฉ้วน · ดูเพิ่มเติม »

อาเซ็มยูธเกมส์ 2005

อาเซ็มยูธเกมส์ 2005 (2005 ASEM Youth Games) เป็นการจัดกีฬาเยาวชนเอเชีย - ยุโรปครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ราชอาณาจักรไทย ระหว่างวันที่ 2 มิถุนายน - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2548 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 38 ประเทศ และ มีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 6 ชน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอาเซ็มยูธเกมส์ 2005 · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสันกำแพง

ันกำแพง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาทุก ๆ ด้าน เป็นอำเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย ที่ขึ้นชื่อได้แก่ บ้านบ่อสร้าง เป็นแหล่งรวมหัตถกรรมการทำร่มกระดาษสา ป่าดงปงไหว ตลอดเส้นทางจากตัวอำเภอเมืองไปยังอำเภอสันกำแพงจะรายล้อมไปด้วยต้นไม้ใหญ่ 2 ข้างทาง นอกจากจะเป็นอำเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายแล้ว อำเภอสันกำแพงยังเป็นบ้านเกิดของอดีตนายกรัฐมนตรีไทย คือ นายทักษิณ ชินวัตร และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอำเภอสันกำแพง · ดูเพิ่มเติม »

อิสระมุนี

ระอิสระมุนี กับธรรมมาสน์ส่วนตัวที่สร้างอย่างวิจิตรงดงาม พระอิสระมุนี หรือ พระพีระพล เตชะปัญโญ เดิมชื่อ นายบรรหาร อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมวิหารี (วัดร่วมใจพัฒนา-วัดป่าละอู) อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เป็นพระสงฆ์สายวิปัสสนา ซึ่งเป็นที่นับถือเลื่อมใสจากอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร และภริยา พจมาน ชินวัตรเป็นอย่างมาก พระอิสระมุนี เป็นอดีตพระเลขาของหลวงปู่ชา สุภัทโทแห่งวัดหนองป่าพง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาเกิดขัดแย้งกับลูกศิษย์ของหลวงปู่ชา ถูกกล่าวหาว่าโกงเงินของวัดจนถูกจับสึก จึงเดินทางมาที่จังหวัดเพชรบุรี ปักกลดและตั้งสำนักสงฆ์ บริเวณป่าละอู ตำบลป่าแดง อำเภอแก่งกระจาน พัฒนาจนกลายเป็นวัดธรรมวิหารี มีเนื้อที่กว่า 200 ไร่ในปัจจุบัน พระอิสระมุนีเป็นพระนักเทศน์ที่มีความสามารถ สั่งสอนธรรมะให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม ได้นิยามถึงตัวตนของตนเองไว้ว่า เราผู้มีชื่อว่า อิสระมุนี ไม่ใช่ฐานันดรบุคคล ไม่ใช่พระมหาเถระผู้มีวาสนายิ่งใหญ่มหึมา ที่ใคร ๆ จะต้องกราบไหว้ ไม่ใช่พระมหาผู้มีความรู้กว้างขวางจนไม่มีใครเทียมเท่า ไม่ใช่บัณฑิตศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยใด ไม่ใช่นักปราชญ์หรือนักวิชาการ หรือนักคิดที่ถูกคนเขาให้ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์กันเป็นกระบุง ๆ เพราะฉะนั้น เราจึงมีชื่อว่า อิสระมุนี ผู้ที่ต้องการรู้จักเราก็จงรู้ที่ออกมาจากใจของเราตามที่กล่าวมานี้เถิด คำสั่งสอนของของพระอิสระมุนี เคยเป็นที่เลื่อมใสของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และภริยา เป็นอย่างมาก.ต.ท.ทักษิณมักนำคำสอนของพระอิสระมุนีมากล่าวอ้างอิงกับสื่อมวลชน เช่นเดียวกับคำสอนของพุทธทาสภิกขุ และเคยเดินทางมาสนทนาธรรมกับพระอิสระมุนี นอกจากนี้เมื่อ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอิสระมุนี · ดูเพิ่มเติม »

อินทัช โฮลดิ้งส์

ริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (Intouch Holdings) เป็นบริษัทโฮลดิ้งสัญชาติไทย ก่อตั้งเมื่อ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอินทัช โฮลดิ้งส์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยและโคลนถล่ม 5 จังหวัดในเขตภาคเหนือตอนล่าง พ.ศ. 2549

หตุการณ์อุทกภัยและโคลนถล่มในจังหวัดบริเวณภาคเหนือตอนล่าง..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอุทกภัยและโคลนถล่ม 5 จังหวัดในเขตภาคเหนือตอนล่าง พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

อุไรวรรณ เทียนทอง

นางอุไรวรรณ เทียนทอง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และเป็นภริยาของนายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประชาร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอุไรวรรณ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

อดิศร เพียงเกษ

รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ ประธานสถานีประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดิศรเกิดเมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอดิศร เพียงเกษ · ดูเพิ่มเติม »

อดิศัย โพธารามิก

อดิศัย โพธารามิก เกิดเมื่อ 23 เมษายน พ.ศ. 2483 มีพี่ชายคนเดียว ชื่อ นายแพทย์ยุทธ โพธารามิก สมรสกับ รองศาสตราจารย์ ดร.พิชนี โพธารามิก กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตร 1 คน ชื่อ พิชญ์ โพธารามิก เป็นเจ้าของบริษัทเครือ โมโน กรุ๊ป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอดิศัย โพธารามิก · ดูเพิ่มเติม »

องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์

องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ หรือ ร... เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในอดีตของไทย ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินกิจการขนส่งสินค้า ให้บริการแก่หน่วยงานราชการ และประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การนักศึกษาในประเทศไทย

ในประเทศไทย องค์การนักศึกษา หรือ สโมสรนักศึกษา เป็นกลุ่มนักศึกษาในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันในแต่ละสถาบัน โดยภาพรวมแล้วองค์การนักศึกษาถือเป็นศูนย์กลางของนักศึกษาในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย องค์การนักศึกษาที่เรียกว่า สโมสรนักศึกษา เช่น สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม ยกเว้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยทักษิณ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและองค์การนักศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล

ร.อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ปริญญาโท (ภาษาบาลี) และปริญญาเอก (ภาษาไทย) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล หรือ ดร.อนันต์ มีความรู้ ความสนใจพิเศษในภาษาตะวันออกหลายภาษา เช่น ภาษาบาลี, สันสกฤต, ภาษาจีน, ภาษาเขมร, ภาษามลายู โดยเฉพาะในส่วนที่สัมพันธ์กับภาษาไทย และมีความสนใจศึกษาถึงวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น ชาวอินเดีย, ชาวไท มีผลงานด้านวิชาการที่เป็นการอธิบายศัพท์และสำนวนภาษาต่าง ๆ ซึ่งได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นระดับชาติ ประจำปี พ.ศ. 2547 ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2551 ดร.อนันต์เป็นหนึ่งในคณาจารย์ที่คัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ก่อนการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ไม่นาน ดร.อนันต์เป็นผู้นำนักวิชาการหลายคนเข้าพบ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ที่บ้านสี่เสาเทเวศน์ เพื่อเยี่ยมคารวะให้กำลังใจและขอคำปรึกษาในการแก้ไขวิกฤตปัญหาบ้านเมือง ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ดร.อนันต์ขึ้นเวทีปราศรัยในฐานะเป็นวิทยากรรับเชิญของ "รายการรู้ทันประเทศไทย" ของ ร.ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล · ดูเพิ่มเติม »

อนุพงษ์ เผ่าจินดา

ลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา (ชื่อเล่น: ป็อก, เกิด 10 ตุลาคม 2492) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยคนปัจจุบัน และรองประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ ประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทยhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/104/1.PDF ผู้บัญชาการกองอาสารักษาดินแดน ประธานการประชุมคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน สภานายกพิเศษแห่งสภาวิศวกร และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอนุพงษ์ เผ่าจินดา · ดูเพิ่มเติม »

อนุรักษ์ จุรีมาศ

นายอนุรักษ์ จุรีมาศ (3 สิงหาคม 2503 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์คนแรก และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และกรรมการบริหารพรรคชาติไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอนุรักษ์ จุรีมาศ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ อมรฉัตร

อนุสรณ์ อมรฉัตร (เกิด: 19 มิถุนายน พ.ศ. 2506) นักธุรกิจชาวไทย เป็นสามีนอกสมรสของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนที่ 28 ของไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอนุสรณ์ อมรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

อนุทิน ชาญวีรกูล

นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทย กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นนักการเมืองที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ซึ่งถูกยุบในปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและอนุทิน ชาญวีรกูล · ดูเพิ่มเติม »

ผัน จันทรปาน

นายผัน จันทรปาน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2481 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากตุลาการศาลปกครองสูงสุด และเป็นตุลาการที่ได้เข้าร่วมตัดสิน "คดีซุกหุ้น" ของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและผัน จันทรปาน · ดูเพิ่มเติม »

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้แทนการค้าไทย

ผู้แทนการค้าไทย (Thailand Trade Representative: TTR) เป็นผู้แทนพิเศษของนายกรัฐมนตรี ด้านการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ ตามแนวนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเชิงรุก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยมุ่งขยายตลาดการค้า การลงทุนของไทยในต่างประเทศ และแสวงหาความร่วมมือในด้านต่างๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศและการเพิ่มขีดความสามารถในเวทีโลก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและผู้แทนการค้าไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผดุง ลิ้มเจริญรัตน์

นายกองเอก ผดุง ลิ้มเจริญรัตน์ (ในภาพข่าว) นายกองเอก ผดุง ลิ้มเจริญรัตน์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492-) เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจบปริญญาตรีจากคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นเลขานุการส่วนตัวของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ที่ไว้ใจ มีหน้าที่จัดคิวภารกิจ มักนั่งหน้ารถ และพบเห็นได้ในกลุ่มคนล้อมรอบ เนื่องจากติดตาม.ต.ท.ทักษิณ อย่างใกล้ชิด มีลักษณะที่เด่นคือผมขาวทั้งศีรษะ จนได้รับฉายาว่า "หงอกสยาม", "คนผมขาว" เกี่ยวข้องกับปฏิญญาฟินแลนด์ เคยได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เมื่อ 30 ต. 2544 และ 2548 ในวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและผดุง ลิ้มเจริญรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ ภักดีธนากุล

ตราจารย์พิเศษจรัญ ภักดีธนากุล (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 –) เป็นนักนิติศาสตร์ชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรมและผู้พิพากษาศาลยุติธรรม และยังเป็นผู้บรรยายวิชากฎหมายลักษณะพยานที่เนติบัณฑิตยสภาอีกด้ว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจรัญ ภักดีธนากุล · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ มะลูลีม

ตราจารย์ ดร.จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการด้านตะวันออกกลางศึกษา อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กรรมการในคณะกรรมมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการลอบวางระเบิด และก่อความไม่สงบเรียบร้อยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจรัญ มะลูลีม · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ หัตถกรรม

นายจรัญ หัตถกรรม ระหว่างการอ่านคำพิพากษาคดียุบพรรค ในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 นายจรัญ หัตถกรรม (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นการอ่านประกาศคำพิพากษาตุลาการศาลปกครอง และ ตุลาการรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจรัญ หัตถกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จรัล มโนเพ็ชร

รัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 — 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นศิลปินชาวไทย ผู้เป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรีของจรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คำเมือง ของเขาซึ่งเรียกว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจรัล มโนเพ็ชร · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ. 2531-2534 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโทรทัศน์ และอดีตรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจักรพันธุ์ ยมจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จาตุรนต์ ฉายแสง

ตุรนต์ ฉายแสง (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เขาได้รับการคัดเลือกจากนิตยสารเอเชียวีคให้เป็น 1 ใน 20 ผู้นำชาติเอเชียที่มีบทบาทโดดเด่นในศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจาตุรนต์ ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจำลอง ศรีเมือง · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ครุฑขุนทด

ำลอง ครุฑขุนทด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของ ดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่ม 16จำลอง ครุฑขุนทด เข้าร่วมชุมนุมกับแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติที่เวทีสะพานผ่านฟ้า เมื่อวันที่ 26 มีนาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจำลอง ครุฑขุนทด · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์

ลตำรวจเอก จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุมพล มั่นหมาย

มพล มั่นหมาย หรืออดีต พลตำรวจเอก จุมพล มั่นหมาย อดีตรองเลขาธิการพระราชวังฝ่ายความมั่นคงและกิจกรรมพิเศษ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กำกับดูแลงานด้านนครบาล อดีตผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ออมทรัพย์พระราชทานในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เกิดเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2493 ที่อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง เป็นบุตรชายของ พล.ต.ท.จุฑา และนางขวัญใจ มั่นหมาย การศึกษาจบระดับมัธยมจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรุ่นที่ 82, โรงเรียนตำรวจนครบาลรุ่น 34, โรงเรียนนายร้อยตำรวจสามพรานรุ่นที่ 26 รุ่นเดียวกับนาย ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 ของไทย ศึกษาเพิ่มเติม สาขาพัฒนาบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า), หลักสูตรบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 15, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 4212 จุมพล มั่นหมาย เริ่มต้นชีวิตราชการจากการเป็นตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) ที่อำเภออรัญประเทศ ก่อนที่จะย้ายเข้าสู่พื้นที่นครบาล ในตำแหน่ง สารวัตรปราบปราม สถานีตำรวจนครบาลบางซื่อ (สวป.สน.บางซื่อ) จากนั้นย้ายไปอยู่กองปราบปราม จนเป็นรองผู้บังคับการปราบปราม (ผบก.ป.) หลังจากได้รับพระราชทานยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) แล้วจุมพล มั่นหมายเลื่อนจากผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดนนทบุรี เป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 (ผช.ผบช.ภ.1) และได้รับพระราชทานยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) แล้วเลื่อนเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 3 (ผบช.ภ.3) ก่อนที่จะย้ายมาดูแลงานด้านการข่าวและปราบปราม ด้วยการเป็นผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล และได้ใกล้ชิดกับการเมืองมากขึ้น ด้วยการเป็นรักษาการ ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ, ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ คนที่ 12 (มาปฏิบัติราชการที่สำนักนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2549 ตามคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข), ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหาร 11), ที่ปรึกษา (สบ 10) (ทำหน้าที่หัวหน้าที่ปรึกษาด้านความมั่นคง) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผลงานที่สำคัญ ๆ ที่ปรากฏเป็นข่าวที่เคยผ่านมาแล้ว เช่น คดีเพชรซาอุ, คดีฆ่า 2 แม่ลูกครอบครัวศรีธนะขันธ์, คดีสังหารนายแสงชัย สุนทรวัฒน์ ผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2552 จุมพล มั่นหมาย ถูกจับตาว่าอาจจะได้เป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ต่อจาก พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ โดยมีชื่อถูกเสนอเคียงคู่มากับ พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ และได้รับการสนับสนุนจากทางนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีดูแลด้านความมั่นคง, นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และกลุ่มของทางนายเนวิน ชิดชอบด้วย แต่สุดท้ายนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เลือกที่จะเสนอชื่อ พล.ต.อ.ปทีป แต่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตำรวจแห่งชาติ นายอภิสิทธ์จึงแต่งตั้ง พล.ต.อ.ปทีป เป็นรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ยาวนานกระทั่งเกษียณอายุราชการ พร้อมกับจุมพล มั่นหมายในปี พ.ศ. 2553 ชีวิตส่วนตัวจุมพล มั่นหมาย มีฉายาที่สื่อมวลชนนิยมเรียกว่า "บิ๊กจุ๋ม" สมรสกับนางฐนกร มั่นหมาย ด้านสังคม ปัจจุบันเป็นนายกสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี พ.ศ. 2554 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้บรรจุจุมพล มั่นหมาย กลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนในพระองค์ และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประจำสำนักพระราชวังพิเศษ ตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2559 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้จุมพล มั่นหมายดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการพระราชวังฝ่ายความมั่นคงและกิจกรรมพิเศษ สำนักงานตำรวจแห่งชาติแจ้งดำเนินคดีรุกป่า ลงวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจุมพล มั่นหมาย · ดูเพิ่มเติม »

จุมพล ณ สงขลา

นายจุมพล ณ สงขลา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจุมพล ณ สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร พรหมพันธุ์

ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและจตุพร พรหมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สมัยรัฐบาลของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ

รรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) หรือเรียกโดยย่อว่า ธรรมนูญกรุงโรม (Rome Statute) เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีเนื้อหาสาระเป็นการจัดตั้งและจัดเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบจากรัฐต่าง ๆ ณ การประชุมทางการทูตที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2541 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่

วัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (120px) หรือ เจ้าหนุ่ย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 5 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ธวัชวงศ์ สืบทอดเชื้อสายราชตระกูล ณ เชียงใหม่ (เจ้าเจ็ดตน) สายของพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา ซึ่งเป็นสายเดียวกันกับนางยินดี ชินวัตร มารดาของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและธันวาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ธาริต เพ็งดิษฐ์

ริต เพ็งดิษฐ์ อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ อดีตคณะกรรมการสำนักงานบริหารการแปลงสินทรัพย์เป็นทุนอดีตคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ และ อดีตอัยการจังหวัดประจำกรม สำนักงานคณะกรรมการอัยการ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและธาริต เพ็งดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธิดา ถาวรเศรษฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ธิดา ถาวรเศรษฐ หรือ ธิดา โตจิราการ เป็นนักวิชาการชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาทรักษาการประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) สืบจากวีระ มุสิกพงศ์ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและธิดา ถาวรเศรษฐ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์

ตราจารย์ ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานท์ ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประธานสภาพัฒนาการเมือง กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีและกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี

นนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี หรือ ถนนวงแหวนรอบกลาง หรือ ทางหลวงชนบท ชม.3029 เป็นทางหลวงสายหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ มีเส้นทางอ้อมรอบตัวเมืองเชียงใหม่จึงเป็นเสมือนถนนวงแหวนรอบที่ 2 ของเมือง ซึ่งรอบที่ 1 คือ ถนนมหิดล (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1141) และถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำปาง–เชียงใหม่ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11) ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี เป็นถนนคอนกรีตขนาดหกช่องจราจร ความยาวทั้งสิ้น 26.1 กิโลเมตร โดยถนนสายนี้มีการออกแบบให้เป็นทางลอดและทางแยกต่างระดับทั้งหมดเมื่อตัดกับถนนหลักสายอื่นๆ ซึ่งมีจำนวนทางลอดทั้งสิ้น 7 แห่ง และทางแยกต่างระดับ 1 แห่ง โดยมีกรมทางหลวงชนบทเป็นผู้ดูแล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี · ดูเพิ่มเติม »

ทรูวิชันส์

ทรูวิชั่นส์ (TrueVisions) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี (UBC) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทรูวิชันส์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงกลด ชื่นชูผล

ร้อยเอก ทรงกลด ชื่นชูผล อดีตนายทหารบกชาวไทย เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ ผู้กองปูเค็ม ซึ่งเป็นฉายาที่ผู้ติดตามความเคลื่อนไหวทางทวิตเตอร์ส่วนตัวตั้งให้ เนื่องจากมีธุรกิจทำปูเค็มขาย ซึ่งเป็นธุรกิจดั้งเดิมของครอบครัว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทรงกลด ชื่นชูผล · ดูเพิ่มเติม »

ทรงกิตติ จักกาบาตร์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ (22 ธันวาคม พ.ศ. 2493 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด เคยดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการทหารบกและแม่ทัพภาคที่ 4.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทรงกิตติ จักกาบาตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทองหล่อ พลโคตร

ทองหล่อ พลโคตร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตโฆษกกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรมหาสารคาม เขต 1 สองสมัย สังกัดพรรคไทยรักไทย 6 ม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทองหล่อ พลโคตร · ดูเพิ่มเติม »

ทัชชกร ยีรัมย์

ทัชชกร ยีรัมย์ มีชื่อจริงโดยกำเนิดว่า วรวิทย์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พนม (นามสกุลเดิม) เกิดวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทัชชกร ยีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ

ทักษิณ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิโณมิกส์

ทักษิโณมิกส์ (Thaksinomics) เป็นคำเรียกนโยบายเศรษฐกิจในสมัยที.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย โดยผู้ที่ใช้คำนี้ครั้งแรกคือนางกลอเรีย มาคาปากัล อาร์โรโย ประธานาธิบดีแห่งฟิลิปปินส์ ในสุนทรพจน์งานประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก เมื่อ พ.ศ. 2546 โดยหนึ่งในผู้ที่สนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดังกล่าวที่โดดเด่นที่สุด คือ แดเนียล เลียน นักเศรษฐศาสตร์ของมอร์แกน สแตนลีย์ ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทักษิโณมิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนัย บูรณุปกรณ์

ทัศนัย บูรณุปกรณ์ หรือชื่อเล่นว่า ไก่ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ หลานของนายบุญเลิศ บูรณุปกรณ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทัศนัย บูรณุปกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษสาย S1

ทางพิเศษสาย S1 หรือ ทางด่วนขั้นที่ 3 สายใต้ ตอน S1 เป็นเส้นทางของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เป็นทางพิเศษยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร มีจุดเริ่มต้นจากปลายทางพิเศษฉลองรัช ซ้อนทับไปตามแนวทางพิเศษเฉลิมมหานครเดิม (ราบโรงกลั่น) เชื่อมต่อกับทางพิเศษบูรพาวิถี ระยะทาง 4.7 กิโลเมตรรู้จักในนาม ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ ก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดใช้เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ซึ่งมีพิธีเปิดบริเวณ ด่านบางนา กม.6 ขาเข้.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นประธานในพิธี มีด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษจำนวน 1 ด่านคือ ด่านบางจาก ซึ่งเป็นด่านของทางพิเศษเฉลิมมหานคร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทางพิเศษสาย S1 · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทำเนียบรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทุนทางสังคม

ทุนทางสังคม (Social Capital) เป็นคำอธิบาย “ทุน” ในลักษณะใหม่ที่ไม่ใช่เพียงทุนทางเศรษฐกิจที่มุ่งหวังในการทำกำไรหรือแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดของตัวเอง แต่ทุนทางสังคมมีลักษณะเป็นผลประโยชน์หรือต้นทุนส่วนรวมที่มาจากการช่วยเหลือและความร่วมมือกันระหว่างบุคคลและระหว่างกลุ่มต่างๆในสังคม (Putnum, 2000) โดยธนาคารโลก (World Bank) เห็นว่าทุนทางสังคม คือ สถาบัน ระบบ ความสัมพันธ์และบรรทัดฐานการปฏิบัติ (norm) ที่นำมาซึ่งปฏิสัมพันธ์ของสังคมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ เน้นถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกันไม่ใช่สถาบันหรือตัวบุคคลโดดๆ หรือจำนวนรวมกัน อีกทั้งองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) เห็นว่าทุนทางสังคม คือ การเชื่อมโยงของบุคคลเป็นเครือข่ายทางสังคมบนพื้นฐานความเชื่อถือ ไว้วางใจซึ่งกันและกัน (trust) และมีมาตรฐานในการทำงานร่วมกัน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทุนทางสังคม · ดูเพิ่มเติม »

ทีมฟุตบอล

ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลเชลซีในชุดปี ค.ศ. 1905 ถ่ายร่วมกับทีมงาน ทีมฟุตบอล (football Team) เป็นชื่อที่เรียกกลุ่มของผู้เล่นที่เลือกมาเล่นร่วมกันในการแข่งขันฟุตบอล แต่ละทีมสามารถเลือกผู้เล่นเพื่อแข่งกับทีมตรงข้าม อาจเป็นตัวแทนของสโมสรฟุตบอล กลุ่ม รัฐ หรือชาติ ทีมรวมดาว หรือแม้แต่ทีมสมมติ (อย่างเช่น ดรีมทีมหรือทีมแห่งศตวรรษ) ที่เป็นทีมที่อาจไม่เคยลงแข่งขันจริง ผู้เล่นจะได้รับเลือกให้เล่นในตำแหน่งต่าง ๆ ของทีม ในบางกรณีการเรียกว่า ทีมฟุตบอล ในบางครั้งอาจจำกัดเฉพาะผู้ที่ลงแข่งในสนาม และไม่รวมผู้เล่นที่เป็นผู้เล่นเปลี่ยนตัวหรือผู้เล่นฉุกเฉิน ส่วนคำว่า "Football squad" อาจจะใช้รวมถึงทีมสนับสนุนและผู้เล่นสำรองด้วย สโมสรฟุตบอล นั้นเป็นองค์กรหรือกลุ่มคนที่มี ประธาน คณะกรรมการและมีกฎการรับผิดชอบเพื่อให้มั่นใจถึงความมีตัวตนของทีม ที่จะมีการเลือกหรือการชิงตำแหน่ง สโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดเกิดขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทีมฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทนง พิทยะ

ตราภิชาน ทนง พิทยะ (ชื่อเดิม ทนง ลำใย) (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นบุตรของนายเสงี่ยม กับ นางสายทอง ลำใย และเป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาลพล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ และ รัฐบาลพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในช่วงวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 และการลดค่าเงินบาทของประเทศไทยกรรมการมูลนิธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา สมรสกับ นาง มธุรส พิทยะ มีบุตร 3 คน ได้แก่ นางสาว วิชชุญา พิทยะ บุตรสาวคนโต นาย ธราธร พิทยะ บุตรชาย นางสาว ศรัญญา พิทยะ บุตรสาวคนเล็ก โดยบุตรสาวคนเล็กเป็นออทิสติก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและทนง พิทยะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ขยัน วิพรหมชัย

ัน วิพรหมชัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน และกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ โดยเป็น 1 ใน 2 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัตย์ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 ในเขตภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด (อีกคนหนึ่งคือ นายสมบัติ ยะสินธุ์ ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน) ซึ่งเป็นฐานเสียงสำคัญของกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและขยัน วิพรหมชัย · ดูเพิ่มเติม »

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

ณหทัย ทิวไผ่งาม

ร.ณหทัย ทิวไผ่งาม อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2544 และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและณหทัย ทิวไผ่งาม · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน

ัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน (Corruption Perceptions Index: CPI) หรือดัชนีการรับรู้การทุจริตจัดอันดับโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) ซึ่งเป็นองค์การนานาชาติ ก่อตั้งในประเทศเยอรมนี ได้เริ่มมีการจัดทำดัชนีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 โดยค่าสูงหมายถึงมีการคอร์รัปชันต่ำ และค่าต่ำหมายถึงมีการคอร์รัปชันสูง โดยในปี 2550 ได้มีการจัดอันดับทั้งหมด 180 ประเทศ เพิ่มจากปี 2546 ที่มี 133 ประเท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 2000

ริสต์ทศวรรษ 2000 (2000s) คือคริสต์ทศวรรษตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคริสต์ทศวรรษ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน

วามยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice) เป็นการผสานแนวคิดสองประการเข้าด้วยกัน คือ "การเปลี่ยนผ่าน" (transition) กับ "ความยุติธรรม" (justice) โดยการเปลี่ยนผ่าน คือ สภาวะที่สังคมได้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงระบอบทางการเมือง (political transformation/regime change) จากรูปแบบหนึ่งไปสู่รูปแบบใหม่อย่างมีนัยสำคัญ เช่น จากระบอบอำนาจนิยม (authoritarian) หรือการปกครองแบบกดขี่ (repressive rule) ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย (democracy) หรือใช้ในความหมายของการเปลี่ยนผ่านจากความขัดแย้งของคนในสังคมไปสู่สันติภาพและความมั่นคง ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน จะหมายรวมถึง กระบวนการที่รัฐใช้ในการค้นหาความจริงจากการที่บุคคลหรือองค์กรของรัฐ หรือ องค์กรที่รัฐให้การสนับสนุนใช้กำลังเข้าสังหารหรือก่อความรุนแรงต่อพลเมืองของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในรูปของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การสังหารหมู่ การทรมาน การลักพาตัว (Kurian, 2011: 1679-1680) อย่างไรก็ตาม การค้นหาความจริงดังกล่าวจะเกิดขึ้นภายหลังที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลเก่ามาสู่รัฐบาลใหม่ หรือ เปลี่ยนจากรัฐบาลในระบอบเผด็จการมาสู่ระบอบประชาธิปไตย สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เนื่องจากรัฐบาลเก่าเป็นผู้ใช้ความรุนแรงจึงไม่มีความจำเป็นที่จะค้นหาความผิดที่ตนเองเป็นผู้กระทำ หรือในบางครั้งรัฐบาลเก่าก็พยายามที่จะตั้งกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อทำการฟอกตัวให้กับรัฐบาลเอง ยกตัวอย่างเช่น ในสมัยของ อิดี้ อามิน (Idi Amin) ผู้นำของยูกานดาที่ใช้กำลังทหารเข้าปราบปรามประชาชน แต่เมื่อมีการกดดันจากนานาชาติ อิดี้ อามิน ตั้งกรรมการขึ้นมาตรวจสอบแต่สุดท้ายก็ไม่ได้ข้อสรุปอะไร ด้วยเหตุนี้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลมาสู่รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลใหม่จึงจำเป็นต้องมีภาระในการที่จะตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลัง การตรวจสอบดังกล่าวจะเป็นการสถาปนาความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน คือเปลี่ยนจากระบอบหนึ่งมาเป็นอีกระบอบหนึ่ง หรือเปลี่ยนจากรัฐบาลที่โหดร้ายมาสู่รัฐบาลอื่นๆ (ประจักษ์, 2533) ซึ่งบางครั้งในกระบวนการตรวจสอบย้อนหลังดังกล่าวก็อาจนำไปสู่การจัดให้มีการนิรโทษกรรมทางการเมืองขึ้นก็เป็นได้ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะสามารถทำให้กระบวนการเปลี่ยนผ่านของประเทศนั้นสามารถเดินหน้าต่อไปได้อย่างราบรื่น และสมานฉันท์ สำหรับจุดมุ่งหมายของหลักการความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านนั้นก็คือ ความพยายามของสังคมในการป้องกันไม่ให้เหตุการณ์อันโหดร้ายกลับมาเกิดขึ้นอีกครั้ง นอกจากนี้ยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อคืนความยุติธรรมให้กับผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของการใช้ความรุนแรง ตลอดจนยังเป็นการสถาปนาหลักนิติรัฐและหลักสิทธิมนุษยชนให้ลงหลักปักฐานในสังคมด้วย อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันแนวคิดในเรื่องความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านได้กลายมาเป็นแนวทางการศึกษา (approach) ที่สำคัญแนวทางหนึ่ง ภายใต้ทฤษฎีการสร้างประชาธิปไตย (democratization theory).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย

วามสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย ปัจจุบันอยู่ภายใต้อำนาจจัดการของกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) ประเทศไทยเข้าไปมีส่วนร่วมทั้งในองค์การระหว่างประเทศและองค์การระดับภูมิภาค โดยได้พัฒนาความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ซึ่งได้จัดการประชุมระดับรัฐมนตรีเศรษฐกิจและการต่างประเทศประจำปี ความร่วมมือในภูมิภาคกำลังก้าวไปข้างหน้าทั้งในด้านเศรษฐกิจ การค้า การธนาคาร การเมืองและวัฒนธรรม ในปี 2546 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปก ศุภชัย พานิชภักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีของไทย ปัจจุบันรับตำแหน่งเลขาธิการใหญ่การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (UNCTAD) ในปี 2548 ประเทศไทยเข้าร่วมการประชุมสุดยอดผู้นำเอเชียตะวันออกเป็นครั้งแรก เมื่อเร็ว ๆ นี้ ประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างมากในเวทีระหว่างประเทศ เมื่อติมอร์-เลสเตได้รับเอกราชจากอินโดนีเซีย ประเทศไทย เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ได้ส่งกองกำลังเพื่อความพยายามรักษาสันติภาพนานาชาติ และเพื่อความพยายามในการเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศไทยจึงได้ยื่นมือออกไปยังองค์การระดับภูมิภาคอื่น ๆ อย่างเช่น องค์การนานารัฐอเมริกัน (OAS) และองค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (OSCE) ประเทศไทยยังได้ส่งทหารเข้าร่วมในความพยายามฟื้นฟูประเทศอัฟกานิสถานและอิรักอีกด้ว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย

วามสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย เป็นความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐเกาหลี ทั้ง 2 ประเทศสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย

วามผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี" ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ คนไทยหรือคนต่างด้าวไม่ว่ากระทำในหรือนอกราชอาณาจักรก็ต้องรับโทษ ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับเรื่อยมามีข้อที่กล่าวว่า "องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้" ในประมวลกฎหมายไม่มีนิยามว่าพฤติการณ์แบบใดเข้าข่าย "หมิ่นประมาท" หรือ "ดูหมิ่น" ลักษณะการกระทำความผิดมีหลากหลาย แล้วแต่ศาลจะพิเคราะห์เจตนา เช่น ปราศรัยในที่สาธารณะ ส่งสารสั้น โพสต์รูปภาพ เผยแพร่เอกสารหรือวีดิทัศน์ ละเมิดพระบรมฉายาลักษณ์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีข้อโต้แย้งว่า ความผิดต่อองคมนตรีเข้าข่ายความผิดนี้หรือไม่ อนึ่ง ในปี 2556 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า คำว่า "พระมหากษัตริย์" ยังหมายความรวมถึง พระมหากษัตริย์ในอดีตด้วย ธานินทร์ กรัยวิเชียร อดีตนายกรัฐมนตรี ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ไม่เคยฟ้องร้องเป็นการส่วนพระองค์ ผู้ถูกตั้งข้อหามักไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว และถูกคุมขังในเรือนจำหลายเดือนก่อนมีการไต่สวนในชั้นศาล องค์การนิรโทษกรรมสากลถือว่านักโทษตามความผิดนี้เป็นนักโทษการเมือง มีบุคคลส่วนหนึ่งเลือกเดินทางออกนอกประเทศเพื่อมิให้ถูกดำเนินคดี และยังมีผู้ต้องหาและผู้ต้องขังตามความผิดดังกล่าวฆ่าตัวตายหรือเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ โฆษกศาลยุติธรรม มีความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องขังในคดีทำนองนี้ว่า "...บุคคลที่เจนโลกโชกโชน สันดานเป็นโจรผู้ร้าย มีเจตนาทำร้ายสังคม สถาบันหลักของประเทศชาติ และองค์พระประมุขอันเป็นที่เคารพสักการ...ไม่มีใครอยากให้คนเช่นนี้ลอยนวลอยู่ในสังคมเพื่อสร้างความเสียหายต่อเนื่องหรือแก่ผู้อื่นอีก..." และแสดงความเห็นว่า "…ถ้าคดีใดอัยการโจทก์สามารถนำสืบพิสูจน์จนให้ศาลเห็นและเชื่อได้ว่า จำเลยมีเจตนาชั่วร้...จำเลยในคดีนั้นก็สมควรที่จะได้รับโทษานุโทษตามความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดี..." โดยที่ศาลมิต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จำเลย หลังรัฐประหารเมื่อปี 2549 มีการพิจารณาความผิดดังกล่าวมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 เป็นกฎหมายว่าด้วยการหมิ่นประมาทราชวงศ์ซึ่งระวางโทษรุนแรงที่สุดในโลก และถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า "โหดร้ายป่าเถื่อน" บ่อนทำลายกฎหมายไทย ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองและทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ บางฝ่ายออกมาเรียกร้องให้มีการแก้ไขหรือยกเลิกกฎหมายนี้ ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้และไม่เคยตรัสให้เอาผู้วิจารณ์เข้าคุก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552

วามไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คุรุสภา

รุสภา (Khurusapha) มีชื่อทางการว่า สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (The Teachers’ Council of Thailand) เป็นสภาในกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคุรุสภา · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ

ณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (ชื่อย่อ คตส.) เป็นคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ในเรื่องที่ได้กระทำการให้รัฐเสียหายเฉพาะรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเท่านั้น ตั้งขึ้นตาม ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 ลงวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ชื่อย่อ คม. (Council of National Security - CNS) เป็นคณะบุคคลที่แปรสภาพมาจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้กระทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยสำเร็จเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่าคณะรัฐมนตรี และได้ใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน จำนวนรัฐมนตรีในคณะนั้นเป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่บังคับใช้อยู่ขณะนั้น ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีมีรัฐมนตรีได้ไม่เกิน 35 คน, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรี คณะที่ 61เป็นคณะรัฐมนตรีชุดล่าสุดจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 ของไทย (23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ชวน หลีกภัย เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศนายมารุต บุนนาค ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51

นายบรรหาร ศิลปอาชา''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 51 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 51 ของไทย (13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52

ลเอกชวลิต ยงใจยุทธ''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 22 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 52 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52 ของไทย (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540) พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54

ันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น)นายกรัฐมนตรีคนที่ 23หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีไทย คณะนี้ เป็นคณะที่ ประกาศใช้ พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 · ดูเพิ่มเติม »

คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550

นทีรักมีนาคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 มีที่ตั้ง ณ กองบัญชาการกองทัพบก ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549

ียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551

ียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551 เป็นคดีที่เป็นคดีที่พรรคชาติไทย พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคพลังประชาชน (2 ใบแดง) ถูกฟ้องเป็นจำเลยอันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550ส่วนข้อกล่าวหากรณีที่พรรคพลังประชาชนเป็นนอมินีหรือตัวแทนของพรรคไทยรักไทยซึ่งได้ถูกตัดสินให้ยุบพรรคไปแล้วเมื่อ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

คดีที่ดินรัชดาฯ

ีระหว่างอัยการสูงสุด กับทักษิณ ชินวัตร และพจมาน ชินวัตร หรือคดีที่ดินรัชดาฯ เป็นคดีที่อัยการสูงสุดเป็นโจทก์ฟ้องพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นจำเลยที่ 1 และคุณหญิงพจมาน ชินวัตร เป็นจำเลยที่ 2 ต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในความผิดฐาน "เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐร่วมกันเป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาที่ทำกับหน่วยงานของรัฐ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีอำนาจกำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี และเป็นเจ้าพนักงาน และสนับสนุนเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือดูแลกิจการใด เข้าไปมีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่นฯ" ซึ่งเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคดีที่ดินรัชดาฯ · ดูเพิ่มเติม »

คงศักดิ์ วันทนา

ลอากาศเอก นายกองใหญ่ คงศักดิ์ วันทนา (เกิด 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2488- ชื่อเล่น บิ๊ก) ครองตัวเป็นโสดหลังจากภรรยาเสียชีวิตนานหลายปี หลังจากดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารอากาศไม่นาน ก็สมรสกับ นางสาวสลิลลาวัลย์ ศิริวงศ์ ณ อยุธยา เพื่อนสนิทของ คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ก่อนรับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคงศักดิ์ วันทนา · ดูเพิ่มเติม »

คตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทย

ตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทย  เป็นเรื่องที่ไม่ค่อยถูกพูดถึงนัก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คน ผี ปีศาจ

น ผี ปีศาจ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญซึ่งชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล กำกับ และออกฉายในประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2547.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคน ผี ปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

คนไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพล

นไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพล (Traffic) เป็นภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด นำแสดงโดย ไมเคิล ดักลาส, เบนิซิโอ เดล โทโร่, แคเธอรีน ซีตา-โจนส์, ดอน ชีเดิล, เดนนิส เควด กำกับการแสดงโดย สตีเว่น โซเดอเบิร์ก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและคนไม่สะอาด อำนาจ อิทธิพล · ดูเพิ่มเติม »

งานวันวิสาขบูชาโลก

งานวันวิสาขบูชาโลก เป็นการจัดงาน เฉลิมฉลอง วันวิสาขบูชา วันสำคัญสากล ของสหประชาชาติ ภายใต้งาน คุณูปการของพระพุทธศาสนา ต่อสันติภาพโลก และการพัฒนาที่ยั่งยืน และจะพัฒนาพุทธศาสนา ให้เป็นศูนย์กลาง พระพุทธศาสนาโลก เริ่มต้นตามมติสหประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2547 โดยประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ในปี 2548 และ 2549.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและงานวันวิสาขบูชาโลก · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล (ประเทศไทย)

ตำบล เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยซึ่งมีขนาดเล็กกว่าอำเภอและจังหวัด จึงจัดว่าเป็นเขตการปกครองระดับที่สาม จากข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและตำบล (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ตุลย์ สิทธิสมวงศ์

ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ (ที่ 2 จากขวา) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หมอตุลย์ (เกิดวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2508)จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล เป็นอาจารย์ประจำภาควิชา สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา หน่วยมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความชำนาญ ทางด้านมะเร็งวิทยาทางนรีเวช ในทางด้านการเมือง เป็นหนึ่งในผู้ประสานงานเครือข่ายจุฬาฯ เชิดชูคุณธรรมนำประชาธิปไตย (จคป.) และเคยร่วมขึ้นเวทีร่วมกับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) เป็นผู้ประสานงานกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนหลายกลุ่ม ในช่วงวิกฤตการเมืองท้ายสมัยรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เช่น เครือข่ายวิชาการเพื่อประชาธิปไตย (ควป.), เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคม, กลุ่มนักวิชาการเพื่อประชาชน, เครือข่ายสมัชชาประชาชนทั่วประเทศ, กลุ่มนักวิชาการนักธุรกิจและประชาชน, แนวร่วมประชาชนต้านการนิรโทษกรรมฯ, ผู้นำกลุ่มประชาชนผู้รักชาติและความถูกต้อง, เครือข่ายพลเมืองอาสาปกป้องแผ่นดิน (เสื้อหลากสี) เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นผู้ที่รักษา นายอิทธิพล สรวิทย์สกุล ที่บาดเจ็บจากการถูกรุมสหบาทาที่เซ็นทรัลเวิลด์ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและตุลย์ สิทธิสมวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2546

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและตุลาคม พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

ต่อพงษ์ ไชยสาส์น

ต่อพงษ์ ไชยสาส์น อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นบุตรชายของนายประจวบ ไชยสาส์น อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและต่อพงษ์ ไชยสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ประชา มาลีนนท์

นายกองเอก ประชา มาลีนนท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประชา มาลีนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชา ประสพดี

ประชา ประสพดี (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2503) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 7 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประชา ประสพดี · ดูเพิ่มเติม »

ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์

นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ มีชื่อเดิมว่า ประพัฒน์ แซ่ฉั่ว กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติและกรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ในฐานะประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ อดีตนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา ต่อมาได้เป็นนักการเมือง เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และประธานคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสินเชื่อเกษตรแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการมันสำปะหลัง ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 105/2557 ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดลำปาง และประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ อดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ คูณมี

นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า "ผอม" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า "สหายสงคราม" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม "เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ" เมื่อออกจากป่า นายประพันธ์ได้กลับมาเรียนต่อจนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 37 โดยเป็นลูกศิษย์ของ นายพิศิษฏ์ เทศะบำรุง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และได้ร่วมกันก่อตั้งสำนักทนายความขึ้นในชื่อ "สำนักงานพิศิษฏ์ ประพันธ์ และเพื่อน".

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประพันธ์ คูณมี · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล รุจนเสรี

นายประมวล รุจนเสรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตหัวหน้าพรรคประชามติ เจ้าของผลงานหนังสือ พระราชอำน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประมวล รุจนเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ มหากิจศิริ

ประยุทธ มหากิจศิริ (1 ธันวาคม พ.ศ. 2488 -) นักธุรกิจชาวไทย ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท พีเอ็มส์ กรุ๊ปส์ เจ้าของบริษัทไทยน็อคซ์ สเตนเลส และไทย คอปเปอร์ เป็นเจ้าของสนามกอล์ฟเลควูด จากฉายา"เจ้าพ่อเนสกาแฟ"ทำให้คนทั่วไปเข้าใจว่าเขาเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์เนสกาแฟ และ บริษัท เนสท์เล่(ไทย)จำกัด แต่ความจริงเขาเป็นผู้ถือหุ้นโรงงานผลิตเนสกาแฟ โดยถือหุ้นอยู่ 50% มิได้มีความเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เนสกาแฟหรือบริษัท เนสท์เล่(ไทย)จำกัด โดยตรงแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ สุวิมล มหากิจศิริ มีบุตร 3 คน คือ อุษณีย์ มหากิจศิริ เฉลิมชัย มหากิจศิริ และอุษณา มหากิจศิริ นายประยุทธ มหากิจศิริ มีความสนิทสนมกับทักษิณ ชินวัตร โดยมีลูกชายคือ เฉลิมชัย มหากิจศิริ เป็นเพื่อนสนิทในกลุ่มเดียวกับ พานทองแท้ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประยุทธ มหากิจศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัฒน์ อุตโมท

ร.ประวัฒน์ อุตโมท หรือ ดร.ประวัฒน์ อุตตะโมต บุคคลล้มละลาย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประวัฒน์ อุตโมท · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประวัติพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวิช รัตนเพียร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประวิช รัตนเพียร · ดูเพิ่มเติม »

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประสาร ไตรรัตน์วรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ สุ่นศิริ

นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประสงค์ สุ่นศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประแสง มงคลศิริ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประแสง มงคลศิริ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี สังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประแสง มงคลศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ นาสกุล

นายประเสริฐ นาสกุล อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2474 ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเสริฐ นาสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2543

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2543 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2544

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2544 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2545

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2545 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2546

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2546 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2547

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2547 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2548

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2548 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2549 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2552

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2552 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ นาครทรรพ

ตราจารย์ ปราโมทย์ นาครทรรพ นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษาพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ผู้อ้างแผนฟินแลนด์ (ปฏิญญาฟินแลนด์) และอดีตเลขาธิการพรรคพลังใหม่ เมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปราโมทย์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ

นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงไทย แลนด์ ดีวีลอปเมนท์ จำกัด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม แกนนำกลุ่มวังพญานาค ร่วมกับ นายพินิจ จารุสมบัติ เคยเป็นกรรมการบริหารพรรคสามัคคีธรรม และเป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริหาร พรรคไทยรักไทย และภายหลังได้ย้ายเข้าสังกัด พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปรีชา เลาหพงศ์ชนะ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ

ล.อ.ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปรีชา เอี่ยมสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ัชกรหญิง ท่านผู้หญิง ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 เป็นเภสัชกรชาวไทย เป็นบุตรีของพระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) และคุณหญิงจำรัส วิทุรธรรมพิเนตุ (จำรัส ยอดมณี) จบการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นผู้เชี่ยวชาญองค์การอนามัยโลกด้านเภสัชตำรับสากลและการเตรียมการทางเภสัชกรรม (WHO Expert Advisory Panel on the International Pharmacopoeia and Pharmaceutical) เคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการแพทย์ได้แก่ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นอกจากนี้ ยังมีบทบาทดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมือง โดยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ด้านชีวิตส่วนตัว เภสัชกรหญิง ท่านผู้หญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา สมรสกับนายแพทย์ หม่อมราชวงศ์อุดมพร เกษมสันต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดา พัฒนถาบุตร

นายปรีดา พัฒนถาบุตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปรีดา พัฒนถาบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ปองพล อดิเรกสาร

ปองพล อดิเรกสาร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เกิดวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2485 เป็นบุตรของ พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร อดีตหัวหน้า พรรคชาติไทย และเป็นบิดาของ ร.ต.ปรพล อดิเรกสาร..สระบุรี พรรคภูมิใจไทย และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ นิตยสาร TVK mag นอกจากเป็นนักการเมืองแล้ว ยังเป็นเจ้าของนามปากกา Paul Adirex มีผลงานนิยายภาษาอังกฤษและภาษาไทยหลายเล่ม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปองพล อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ปานปรีย์ พหิทธานุกร

ร.ปานปรีย์ พหิทธานุกร อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในช่วงรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปานปรีย์ พหิทธานุกร · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้จัดรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" และคอลัมนิสต์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายเจริญ และนางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์ บิดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนไหหลำ และมารดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว นามสกุล "พัวพงษ์พันธ์" ตั้งให้สอดคล้องกับแซ่ "พัว" ของตระกูลนั่นเอง นายปานเทพเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขา การเงินการจัดการ จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นสมาชิกเครือข่ายสันติอโศกโดยมีถูกวางบทบาทในด้านสุขภาพ การเมือง และอื่นๆ เมื่อกลับมาเมืองไทยได้เข้าทำงานกับองค์กรภาคเอกชน โดยเข้าไปเป็นผู้บริหารดูด้านการเงิน และการก่อสร้างอยู่ช่วงหนึ่ง ก่อนที่ประเทศไทยจะประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2540 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เข้าสู่วงการเมือง โดยมีผู้แนะนำให้รู้จักกับ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2541 โดยเข้าไปช่วยงานในพรรคความหวังใหม่ ขณะที่มีอายุ 28 ปี กระทั่งได้เป็นกรรมการบริหารพรรค เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น..บัญชีรายชื่อของพรรคความหวังใหม่ และมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นรองโฆษกพรรคความหวังใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 ก่อนที่จะไปดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการองค์การฟอกหนัง ด้วยวัย 31 ปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ ที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย เมื่อ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ยุบพรรคความหวังใหม่ รวมกับพรรคไทยรักไทย นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ได้เป็นทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจในช่วง รัฐบาลทักษิณ 1 โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจภาคใต้ ก่อนที่จะถอนตัวในเวลาต่อมาด้วยความเห็นที่ไม่ตรงกัน และหลังจากนั้นยืนอยู่ฝั่งตรงข้ามกับรัฐบาลทักษิณมาโดยตลอด โดยชื่อของ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โด่งดังอีกครั้ง เมื่อออกหนังสือชื่อ "บันทึกลับ ๒๕๔o" โดยมีเนื้อหาชี้แจงถึงปัญหาเศรษฐกิจในช่วงที่ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ถูกโจมตีว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดวิกฤต ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลมาโดยตลอด เช่น การเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐชื่อ " วิสัยทัศน์เศรษฐกิจ " รวมทั้งถึงเคยจัดรายการโทรทัศน์ทาง UBC ช่อง 7 ร่วมกับดุสิต ศิริวรรณ ด้วยอยู่ช่วงหนึ่ง ในชื่อรายการ " โต๊ะข่าวเช้านี้ " ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปานเทพ ก็ได้เข้าไปทำงานในเครือผู้จัดการ ของสนธิ ลิ้มทองกุล และได้ทำรายการใน ASTV คือ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" ในช่วงเวลา 20:30น.-21:30น.ทุกวันจันทร์ ถึง ศุกร์ และเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการด้วย ซึ่งยังทำมาจนปัจจุบัน ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2549 ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวที และในการขับไล่ รัฐบาลสมชาย วงศ์สวั..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2488) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปานเทพ กล้าณรงค์ราญ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 -) ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) กรรมการธนาคารกสิกรไทย อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เป็นนักวิชาการด้านพลังงาน เคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองเกี่ยวกับพลังงานมามากมาย ทั้งยังได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และนายกสมาคมอัสสัมชัญ (สมาคมศิษย์เก่า) คนปัจจุบัน ประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานอำนวยการและรองประธานกรรมการสถาบันคีนันแห่งเอเซี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปิยะบุตร ชลวิจารณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์

ตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรครักษ์สันติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา และเป็นประธานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) อดีตอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตร ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศรี เปี่ยมสมบูรณ์ มีบุตร-ธิดารวม 3 คน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปณิธาน วัฒนายากร

รองศาสตราจารย์ ปณิธาน วัฒนายากร เกิดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2503 เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ) ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง อาจารย์จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยดำรงตำแหน่ง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร.ปณิธาน เป็นนักวิชาการทางด้านรัฐศาสตร์ เชี่ยวชาญการเมืองเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และความมั่นคงศึกษา เป็นที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแก่รัฐบาลหลายสมัย ตั้งแต่สมัย รัฐบาลนายชวน หลีกภัย พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ดร.ปณะธาน เป็นหนึ่งในผู้มีส่วนร่วมในการร่างพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและปณิธาน วัฒนายากร · ดูเพิ่มเติม »

นพดล ปัทมะ

นพดล ปัทมะ (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2504 ที่อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา) ทนายความประจำตระกูลชินวัตร เป็นผู้แทนทางกฎหมายในประเทศไทยของ.ต.ท.ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและนพดล ปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

นิกร จำนง

นิกร จำนง ผู้อำนวยการพรรคชาติไทยพัฒนา กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฎิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 และประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญขับเคลื่อนการปฏิรูประบบความปลอดภัยทางถนน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคชาติไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและนิกร จำนง · ดูเพิ่มเติม »

นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล

นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล (เดิมชื่อ นิวัฒน์ บุญทรง) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย, อดีตประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) และอดีตรองประธานกรรมการบริหาร ฝ่ายภาพลักษณ์ และกิจกรรมสัมพันธ์ กลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

นิสิต สินธุไพร

นายนิสิต สินธุไพร (เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2499) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ นป.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและนิสิต สินธุไพร · ดูเพิ่มเติม »

นิตย์ พิบูลสงคราม

นิตย์ พิบูลสงคราม (30 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ บุตรชายคนสุดท้องของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี กับท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและนิตย์ พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

นที ขลิบทอง

รองศาสตราจารย์ นที ขลิบทอง ผู้อำนวยการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) เป็นนักการเมืองคนสนิทของนายเนวิน ชิดชอ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและนที ขลิบทอง · ดูเพิ่มเติม »

แพทองธาร ชินวัตร

แพทองธาร ชินวัตร (ชื่อเล่น: อุ๊งอิ๊งค์; เกิด: 21 สิงหาคม พ.ศ. 2529) บุตรสาวคนสุดท้อง ของทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กับคุณหญิง พจมาน ณ ป้อมเพชร สำเร็จการการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ และโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย จากนั้นได้ศึกษาต่อที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2551 และศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ สาขาวิชา Msc International Hotel Management ที่ Surrey University ปัจจุบันเป็นผู้ถือหุ้นอันดับ 1 บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น และกรรมการมูลนิธิไทยคม หมวดหมู่:สกุลชินวัตร หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวไทย หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายจีน หมวดหมู่:ผู้มีเชื้อสายเจ้านายฝ่ายเหนือ หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแพทองธาร ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งออฟโฟร์ (ประเทศไทย)

แก๊งออฟโฟร์ เป็นที่สมาชิกพรรคพลังประชาชนใช้สื่อถึงบุคคลสี่คนในพรรค ซึ่งอ้างว่าพยายามจะยึดอำนาจภายในพรรค หลังจากพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตรออกนอกประเทศ ได้แก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแก๊งออฟโฟร์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

แม้ว

แม้ว สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแม้ว · ดูเพิ่มเติม »

แสนชัย

แสนชัย มีชื่อจริงคือ ศุภชัย แสนพงษ์ เกิดวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 ที่บ้านโนนสูง ตำบลดอนกลาง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ชื่นชอบกีฬาชกมวยมาตั้งแต่เด็ก เคยเป็นนักมวยไทยที่ได้รับการยอมรับว่าเก่งที่สุดในยุคนี้เมื่อเทียบปอนด์ต่อปอนด์ สถิติการชกมวยสากล 5 ครั้ง ชนะ 5 (น็อค 2) แสนชัยเป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงซึ่งเคยชกมวยสากล รวมถึงเคยเป็นนักฟุตบอลอาชีพโดยเล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลเมืองทอง-หนองจอก ยูไนเต็ดในฐานะตัวสำรองอยู่ระยะหนึ่ง ก่อนจะกลับไปชกมวยไทยอีกในภายหลัง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแสนชัย · ดูเพิ่มเติม »

แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (Advanced Info Service) หรือเรียกโดยย่อว่า เอไอเอส เป็นบริษัทมหาชนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของไทย เป็นผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่ที่สุดของประเทศตามจำนวนผู้ใช้งาน มีสถานะเป็นบริษัทลูกของอินทัช โฮลดิ้งส์ โดยเอไอเอสถือเป็นบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงเป็นอันดับสองในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รองจากปตท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส · ดูเพิ่มเติม »

แผนฟินแลนด์

แผนฟินแลนด์ หรือ ยุทธศาสตร์ฟินแลนด์ หรือ ปฏิญญาฟินแลนด์ เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยปราโมทย์ นาครทรรพ ทางหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ ซึ่งสนธิ ลิ้มทองกุลและกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในบทความของปราโมทย์ นาครทรรพ ระบุว่า แผนนี้ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแผนฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย

แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย เป็นกองกำลังเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง แกนนำของกลุ่มและผู้ก่อตั้ง คือ นายดวง พลีรัตน์ ชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้มีศักดิ์เป็นหลานลุงของ พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช อีกทั้งยังเคยติดคุกข้อหาคอมมิวนิสต์ห้องเดียวกับจิตร ภูมิศักดิ์ มาแล้วเมื่ออายุ 19 ปี สมาชิกกลุ่มแรก ๆ จึงเป็นชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชเสียส่วนใหญ่ จากนั้นจึงได้มีเครือข่ายในกรุงเทพมหานครด้วย ส่วนมากเป็นประชาชนทั่วไปที่เรียกร้องสิทธิในการใช้ชีวิตและความเป็นธรรมทางสังคม ก่อตั้งกลุ่มขึ้นมาเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2535 มีบทบาทครั้งแรกในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ โดยมีสัญลักษณ์ของกลุ่มเป็นผ้าคาดศีรษะสีดำมีสกรีนเป็นตัวหนังสือสีขาวว่า แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย แจกจ่ายให้กับประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมชุมนุม ซึ่งในครั้งนั้นได้มีการลงทะเบียนรับประชาชนเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มด้วย โดยใช้หลักฐานเป็นสำเนาบัตรประชาชน โดยผู้ที่ดำเนินการส่วนนี้บอกว่า ได้รายชื่อใส่ถุงขยะสีดำได้หลายใบ โดยสมาชิกของทางกลุ่มที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่จะเป็นชาวนครศรีธรรมราชและชาวใต้ที่ประกอบอาชีพรับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าในย่านห้วยขวาง แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย กลับมามีบทบาทอีกครั้งในช่วงการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ที่กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจัดเวทีปราศรัยและชุมนุมที่ท้องสนามหลวงและบริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล โดยกลุ่มนี้จะสวมเสื้อยืดสีดำ มีสัญลักษณ์จตุคามรามเทพเป็นตัวสกรีนที่หน้าอกเสื้อ คาดผ้าคาดศีรษะสีดำ ในเช้าวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2549 ที่พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้เคลื่อนย้ายที่ชุมนุมจากท้องสนามหลวงไปยังหน้าทำเนียบรัฐบาล แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตยได้ตั้งขบวนขึ้นโดยชูป้ายผ้าสีดำมีข้อความสีขาวว่า "แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย ผ้าคาดหัวดำเกรียงไกร ลุยไล่ล่าเผด็จการ" และเมื่อมาถึงหน้าทำเนียบรัฐบาล แนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตยได้ตั้งเต็นท์ของตนที่ริมถนนราชดำเนิน และเปิดโรงครัวทำอาหารเลี้ยงผู้ที่เข้าร่วมชุมนุม อีกทั้งยังเป็นผู้คุ้มกันความปลอดภัยให้แก่ผู้ที่เข้ามาชุมนุม โดยเรียกตัวเองว่า นักรบศรีวิชัย และเป็นผู้คุ้มครองความปลอดภัยพนักงานสื่อเครือผู้จัดการ จากเหตุการณ์ที่กลุ่มมอเตอร์ไซด์รับจ้างและกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ยกขบวนกันมาขว้างปาอาคารบ้านพระอาทิตย์ สำนักงานของสื่อเครือผู้จัดการ ในวันที่ 31 มีนาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแนวร่วมประชาชนพิทักษ์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนะ

ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโกวิท วัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

โภคิน พลกุล

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโภคิน พลกุล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย

รงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (อังกฤษ: Montfort College, 130px) เป็นโรงเรียนเอกชน ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ปัจจุบันโรงเรียนมงฟอร์ตได้แยกที่ตั้งในแผนกประถม และมัธยมคือ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อ 16 มีนาคม พ.ศ. 2475 แผนกประถม ตั้งอยู่ที.เจริญประเทศ ต.ช้างคลาน อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และ แผนกมัธยมตั้งอยู่ที่ ถนนมงฟอร์ต หมู่บ้านมงฟอร์ตวิลลา ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสันป่าตองวิทยาคม

รงเรียนสันป่าตองวิทยาคม เป็นโรงเรียนรัฐบาล ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งแรกของอำเภอสันป่าตอง ตั้งอยู่รอบนอกอำเภอเมืองเชียงใหม่ กลุ่มดอยสัพพัญญู มีสถิตินักเรียนสูงสุดทั้งหมด ปี 2553 มีนักเรียนทั้งสิ้น 2,937 คน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) ตั้งอยู่เลขที่ 134 ถนนโยธาธิการ หมู่ 11 ตำบลยุหว่า อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 50120 มีขนาดพื้นที่ทั้งหมด 225 ไร่ 1 งาน 30 ตารางว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนสันป่าตองวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

รงเรียนสามัคคีวิทยาคม (ย่อ: ส.ว.ค.) ชื่อเดิม โรงเรียนประจำจังหวัดเชียงรายสามัคคีวิทยาคม เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ประเภทสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงราย มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชนตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคมก่อตั้งขึ้นโดยพระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร) ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เมื่อ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี

รงเรียนสุรศักดิ์มนตรี เป็นโรงเรียนของรัฐเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษาในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี เดิมคือ “โรงเรียนบุตรข้าราชการกองทัพบก” ระดมทุนเพื่อก่อตั้งตั้งแต่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 เพื่อจัดการศึกษาให้บุตรหลานของข้าราชการกองทัพบก เริ่มก่อสร้างเมื่อ ปี2509 และได้เริ่มเปิดการเรียนการสอนในปี 2511 ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์

รงเรียนสุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์ ตั้งอยู่เลขที่ 818 ซอยเสรีไทย 43 ถนนเสรีไทย แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร ใกล้กับสำนักงานเขตบึงกุ่ม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนสุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมทหาร

รงเรียนเตรียมทหาร (Armed Forces Academies Preparatory School.) เป็นสถาบันการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย และเป็นสถาบันการศึกษาแห่งเดียวในประเทศไทย ที่เป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหาร เรียกว่า นักเรียนเตรียมทหาร (นตท.) การรับสมัครบุคคลพลเรือนเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารนั้น โรงเรียนเตรียมทหารมิได้เป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารด้วยตนเอง หากแต่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือก โดยในแต่ละปีจะมีการกำหนดจำนวนรับนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จากนั้นแต่ละเหล่าทัพจะส่งผู้ผ่านการสอบคัดเลือกมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นเวลา 2 ปี ภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนเตรียมทหารแล้ว นักเรียนเตรียมทหารเหล่านี้จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเหล่าทัพ ตามที่นักเรียนได้สมัครและผ่านการสอบคัดเลือก เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเหล่าทัพ หรือโรงเรียนนายร้อยตำรวจแล้ว นักเรียนนายร้อยเหล่านี้ จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหาร และนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร พร้อมทั้งเข้ารับพระราชทานกระบี่จากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโรงเรียนเตรียมทหาร · ดูเพิ่มเติม »

โว๊กว๊าก

ว๊กว๊าก (ชื่อหนังสะกดด้วย ไม้ตรี) มีชื่ออื่นว่า โอ๊กอ๊าก หรือ ยอดชายนายโอ๊กอ๊าก เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2547 โดยมี เด๋อ ดอกสะเดา เป็นผู้กำกับการแสดง โว๊กว๊าก นำแสดงโดย สายัณห์ ดอกสะเดา รับบทเป็น โอ๊กอ๊าก ลูกชายของ เจ้าสัวรักสิน โดยนำนักแสดงหน้าเหมือนนักการเมืองจากรายการสภาโจ๊ก มาร่วมแสดงด้วย จึงเกิดเสียงวิจารณ์ว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้ แสดงล้อเลียน พานทองแท้ ชินวัตร (โอ๊ค) บุตรชาย พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จนมีข่าวว.ต.ท.ดร.ทักษิณ แสดงความไม่พอใจ และทำให้ผู้บังคับการตำรวจสันติบาล อ้างเป็นเหตุในการเข้าตรวจสอบภาพยนตร์เรื่องนี้ เด๋อจึงเซ็นเซอร์บางฉากออกไป เพื่อแก้ปัญหายุ่งยาก และเปลี่ยนชื่อภาพยนตร์ดังกล่าว.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโว๊กว๊าก · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ พรโชคชัย

ณ พรโชคชัย (เกิด 6 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักวิชาการด้านอสังหาริมทรัพย์ การประเมินค่าทรัพย์สิน การพัฒนาการเมือง ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เคยลงสมัครรับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ในหมายเลข 4.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโสภณ พรโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส อรุณินท์

อภาส อรุณินท์ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร) อดีตอัยการสูงสุด อดีตประธานคณะกรรมการอัยการ อดีตประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีชื่อเสียงมากในช่วงที่พิจารณาบัญชีทรัพย์สินของนักการเมือง โดยเฉพาะกรณีที่ ป.ป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโอภาส อรุณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 เริ่มใช้ย่านความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) ซึ่งประกอบด้วย ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 2-4 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 5-12 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 จึงเริ่มใช้ย่านความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) คือช่องสัญญาณที่ 26-60 (ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 35-60) ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มออกอากาศ จนถึง พ.ศ. 2517 ใช้ระบบสัญญาณแอนะล็อก ในการส่งแพร่ภาพขาวดำ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (National Television System Committee; NTSC) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Committee; FCC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเต็มเป็น Federal Communications Commission) ต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จึงเริ่มนำระบบการส่งแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที (Phase Alternating Line; PAL) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยคลื่นวิทยุ (Consultative Committee on International Radio; CCIR ปัจจุบันคือ ภาควิทยุคมนาคมโดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ International Telecommunication Union Radiocommunication Sector; ITU-R) เข้ามาใช้ในประเทศไทย และเริ่มออกอากาศด้วยภาพสี ภายใต้ระบบดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใต้กำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริ่มจากส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเริ่มดำเนินการในส่วนกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน จากนั้นก็เริ่มนำระบบดิจิทัล เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตรายการ และควบคุมการออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้กับกระบวนการส่งแพร่ภาพ ผ่านโครงข่ายอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยจะยุติการออกอากาศด้วยสัญญาณแอนะล็อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ส่วนระบบการออกอากาศด้วยช่องทางอื่น ซึ่งนำเข้ามาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service; MMDS) ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2556, ผ่านคลื่นวิทยุไมโครเวฟ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โทรคมนาคมในประเทศไทย

การสื่อสารโทรคมานาคมในประเทศไทยเริ่มขึ้นครั้งแรกด้วยการให้บริการโทรเลขเมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโทรคมนาคมในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า

รงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือเรียก 30 บาทรักษาทุกโรค เป็นโครงการรัฐบาลที่ทำเพื่อให้ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ โดยคนไทยทุกคนสามารถรับบริการรักษาโรค โดยจ่ายเพียงสามสิบบาท โดยภาครัฐจะให้ประชาชนลงทะเบียนกับโรงพยาบาลและรัฐจัดสรรงบประมาณลงในโรงพยาบาลตามจำนวนคน และแจกบัตรประจำตัวให้แก่ผู้รับบริการ เรียกกันว่า บัตรทอง ก่อนการดำเนินโครงการ 30 บาท ฯ ประเทศไทยมีระบบสวัสดิการและหลักประกันสุขภาพที่ภาครัฐเข้าไปมีส่วนร่วม 4 ระบบ อันได้แก่ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ ระบบประกันสังคม ระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ (โครงการบัตรสุขภาพ) โครงการสวัสดิการประชาชนด้านการรักษาพยาบาล (สปร.) รวมระบบประกันสุขภาพที่ภาคเอกชนเป็นผู้ดำเนินงานเป็นทั้งสิ้น 5 ระบบ สามารถครอบคลุมประชากรประมาณร้อยละ 70 ของประเทศ กล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ จากความพยายามของรัฐบาลที่ผ่านมา ยังมีประชากรอีกกวา 20 ล้านคนหรือร้อยละ 30 ของทั้งประเทศที่ยังไม่มีหลักประกันสุขภาพใดๆ นี่เป็นประเด็นปัญหาสำคญประการหนึ่งที่ผลักดันให้มีการขยายสวัสดิการรักษาพยาบาลและหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมกลุ่มประชากรที่ตกหล่นจากความพยายามของรัฐบาลที่ผ่านมาดังกล่าว จนกระทั่งในป..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ไชยยศ สะสมทรัพย์

นายไชยยศ สะสมทรัพย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไชยยศ สะสมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์

นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตผู้ร่วมก่อตั้งพรรคพลังธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นเลขาธิการสมัชชาประชาชนแห่งประเทศไทย เป็นชาวจังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ ปี พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไบรโอนี่

รโอนี่ รอดโพธิ์ทอง สไมท์ ชื่อเล่น เคท (27 มกราคม พ.ศ. 2525) เป็นนักร้องหญิงลูกครึ่งไทย-อเมริกันที่เคยมีผลงานในช่วงปี 2541-46 ปัจจุบันเธอได้ละจากการเป็นนักร้อง แล้วผันตัวเป็นครูสอนโยคะในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไบรโอนี่ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบสัดส่วน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ไอทีวี

ริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) เป็นกลุ่มบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับสื่อโทรทัศน์ โดยได้รับอนุมัติให้ดำเนินการสัมปทานสถานีโทรทัศน์ระบบ UHF จาก สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) จำนวน 1 ช่องสถานี ส่งโทรทัศน์สีในระบบยูเอชเอฟ ทางช่อง 26 (ต่อมาเปลี่ยนเป็นช่อง 29) โดยใช้ชื่อว่า สถานีโทรทัศน์ไอทีวี (ปัจจุบันสถานีฯได้ถูกโอนกิจการให้แก่ทั้งสองหน่วยงานของรัฐ ซึ่งสามารถอ่านรายละเอียดได้ที่ด้านล่าง) เดิมชื่อ บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 โดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัทอื่นๆ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2541 ปัจจุบัน บริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทนี้.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

ไทกร พลสุวรรณ

นายไทกร พลสุวรรณ นักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวอีสาน นายไทกร พลสุวรรณเคยเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์และพรรคชาติไทยมาก่อน แต่ต่อมาได้ลาออกและได้จัดตั้งพรรคการเมืองของตนเองขึ้น ชื่อ "พรรคประชาชนไทย" แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จากนั้นจึงก่อตั้งขบวนการประชาชนขึ้นมา ชื่อว่า ขบวนการอีสานกู้ชาติ เพื่อทำการต่อต้านระบอบทักษิณโดยเฉพาะ นายไทกรเป็นที่รู้จักขึ้นมา จากการเป็นผู้เปิดโปงการทุจริตและประพฤติมิชอบต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในคดียุบพรรคประชาธิปัตย์และไทยรักไทย นายไทกรเป็นผู้มีบทบาทอย่างมากในการสืบหาหลักฐานที่พรรคไทยรักไทยจ้างวานพรรคเล็กเพื่อให้ลงเลือกตั้งในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แต่ทางพรรคไทยรักไทยโต้กลับมาว่า นายไทกรใส่ความพรรคไทยรักไทยและสนิทสนมกับทางนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งคำพิพากษาของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชี้ว่าการกระทำของนายไทกรเป็นการกระทำส่วนตัวไม่เกี่ยวข้องกับพรรคประชาธิปัตย์แต่อย่างใด ปัจจุบัน นายไทกรยังคงดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอยู่ในลักษณะการเคลื่อนไหวภาคประชาชน ร่วมกับนายอธิวัฒน์ บุญชาติ แกนนำกลุ่มอีสานกู้ชาติ (อดีตโฆษกสหพันธ์นักศึกษาแห่งชาติ ม.รามฯ) ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไทกร พลสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยคู่ฟ้า

ทยคู่ฟ้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไทยคู่ฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ไตรรงค์ อินทรทัต

ลเอก ไตรรงค์ อินทรทัต (1 กันยายน พ.ศ. 2492 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2559) อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก เป็นบุตรชายคนสุดท้องในบรรดาบุตรทั้งหมด 4 คน (เป็นชายทั้งหมด) ของ.ต.โผน อินทรทัต อดีตเสรีไทยและผู้อำนวยการโรงงานยาสูบ และ ม.ล.กันยกา สุทัศน์ จบการศึกษาจากโรงเหมินทร์วิทยา, โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย, โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร, โรงเรียนผะดุงศิษย์พิทยา เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) เหล่าทหารม้า รับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ อาทิ นายทหารคนสนิท (ทส.) ของ พล.ท.วีระพันธ์ รังคะรัตน์, ฝ่ายเสนาธิการประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด, นายทหารคนสนิท (ทส.) ของ พล.อ.มงคล อัมพรพิสิฏฐ์, ผู้ชำนาญการกองบัญชาการทหารสูงสุด, ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการทหารสูงสุด, หัวหน้าสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก, ราชองครักษ์เวร, ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, หัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา) และผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก พล.อ.ไตรรงค์ ถือเป็นนายทหารคนหนึ่งที่มีบทบาทในการเมืองโดยเฉพาะช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีตำแหน่งปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง ด้านความมั่นคง และงานมวลชนสัมพันธ์ และในการถูกลอบสังหารของ นายกรเทพ วิริยะ หรือ "ชิปปิ้งหมู" ซึ่งเป็นพยานปากสำคัญในคดีทุจริตของรัฐบาล ก็มีเสียงร่ำลือกันว่าเป็นฝีมือของ พล.อ.ไตรรงค์อีกด้วย และในการชุมนุมของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงแผ่นดิน พ.ศ. 2553 ที่มีการวางระเบิดและเหตุความรุนแรงหลายครั้งในหลายจุด ก็ถูกต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย ชีวิตส่วนตัว พล.อ.ไตรรงค์ มีชื่อเล่นว่า "ไอซ์" จึงมีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการที่เป็นที่รู้จักและนิยมเรียกกันดีว.ไอซ์ สมรสกับ ผ.ดร.มานวิภา อินทรทัต (นามสกุลเดิม-ปานิสวัสดิ์, ชื่อเล่น-ใหม่) มีบุตรสาวด้วยกันทั้งหมด 1 คน คือ น..ปิยะวิภา อินทรทัต (ชื่อเล่น-อุ๊บอิ๊บ) เคยได้รับรางวัลพ่อดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2552 พล.อ. ไตรรงค์ อินทรทัต ถึงแก่อนิจกรรมด้วยภาวะการติดเชื้อในกระแสโลหิตอย่างรุนแรง เมื่อวันพุธที่ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและไตรรงค์ อินทรทัต · ดูเพิ่มเติม »

เบญจา หลุยเจริญ

นางเบญจา หลุยเจริญ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตอธิบดีกรมศุลกากร ก่อนจะลาออกจากราชการมารับตำแหน่งรัฐมนตรี ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเบญจา หลุยเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

ร้อยตำรวจโทเชาวรินธร์ ลัทธศักย์ศิริ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เชียรช่วง กัลยาณมิตร

ร.เชียรช่วง กัลยาณมิตร อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช อดีตคณะทำงานด้านการประชาสัมพันธ์ของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเชียรช่วง กัลยาณมิตร · ดูเพิ่มเติม »

เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี

ียงใหม่ไนท์ซาฟารี (Chiang Mai Night Safari) เป็นสวนสัตว์เปิดที่ตั้งอยู่ในตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ และ ตำบลหนองควาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ บริเวณด้านหลังทางทิศตะวันตกของอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นสวนสัตว์ของรัฐบาล ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน) เปิดให้เข้าชมเป็นครั้งแรกเมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี · ดูเพิ่มเติม »

เชียงใหม่เวิลด์

ียงใหม่ไนท์ซาฟารี มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ เชียงใหม่เวิลด์ เป็นแผนงานเมกะโปรเจกต์ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร เพื่อส่งเสริมจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งเป็นบ้านเกิดของทักษิณในฐานะมหานครลำดับสองของประเทศไทยรองจากกรุงเทพมหานคร แม้การรัฐประหารในปี 2549 จะทำให้โครงการภาพรวมสะดุดลง แต่หน่วยงานเจ้าของโครงการก็ยังคงผลักดันโครงการตามแผนงานนี้เรื่อยมาจนสำเร็จเสร็จสิ้นไปทีละโครงการจนถึงปัจจุบัน เชียงใหม่เวิลด์สามารถแบ่งโครงการออกเป็นสองกลุ่ม อันได้แก่ กลุ่มแรกเป็นโครงการตามข้อสั่งการพิเศษของนายกรัฐมนตรี อาทิ โครงการสวนสัตว์กลางคืน, มหกรรมพืชสวนโลก, กระเช้าลอยฟ้า เป็นต้น และกลุ่มที่สองเป็นโครงการของกระทรวงทบวงกรมตามปกติ อาทิ ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี, ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 121 เป็นต้น รัฐบาลทักษิณได้กำหนดให้เชียงใหม่เวิลด์เป็นนโยบายเร่งด่วน โครงการกลุ่มแรกที่เกิดขึ้นในยุคทักษิณต่างใช้ระบบ Fast Track ซึ่งสามารถก่อสร้างส่วนที่ออกแบบเสร็จก่อนได้เลย ไม่จำเป็นต้องรอแผนงานโดยรวม ทำให้โครงการเดินหน้าอย่างรวดเร็วมาก จนกลุ่มนักวิชาการออกมาอ้างว่าภาคประชาชนไม่สามารถตรวจสอบได้ทัน และวิจารณ์ว่าโครงการเหล่านี้ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน โครงการไนท์ซาฟารีและมหกรรมพืชสวนโลกใช้เวลาดำเนินการทั้งหมดเพียง 2 ปีก็แล้วเสร็.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเชียงใหม่เวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์

ลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 —) ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษาผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บก.ปส.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึงกันยายน พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เกษม วัฒนชัย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเกษม วัฒนชัย · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสเวตินิโกลา

กาะสเวตินิโกลา (เกาะเซนต์นิโคลัส) เป็นเกาะขนาดเล็กอยู่ในทะเลเอเดรียติก อยู่นอกชายฝั่งเมืองบุดวา ประเทศมอนเตเนโกร ห่างจากแผ่นดินใหญ่ 1 กิโลเมตร เกาะสเวตินิโกลามีความยาว 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 36 เฮกตาร์ (360,000 ตารางเมตร) มีลักษณะเป็นแผ่นดินลาดเอียง ด้านหนึ่งเป็นหน้าผา มีความสูง 121 เมตร ลาดเอียงสู่ชายหาดอีกด้านหนึ่งของเกาะ พื้นที่บางส่วนของเกาะเป็นถิ่นอาศัยของกวาง เกาะแห่งนี้มีชื่อในภาษาพื้นเมืองว่า Školj เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของเมืองบุดดา เนื่องจากมีชายหาดถึงสามแห่ง มีความยาวถึง 840 เมตร จนได้รับฉายาว่า ฮาวายแห่งมอนเตเนโกร นายนพดล ปัทมะ ได้ให้สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเกาะสเวตินิโกลา · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเมษายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เมืองไทยรายสัปดาห์

ื้อเหลืองของ เมืองไทยรายสัปดาห์ รายการเมืองไทยรายสัปดาห์ เมื่อครั้งออกอากาศทางช่อง 9 เมืองไทยรายสัปดาห์ เป็นรายการวิเคราะห์ประเด็นข่าวรอบสัปดาห์ ดำเนินรายการโดยนายสนธิ ลิ้มทองกุล และนางสาวสโรชา พรอุดมศักดิ์ เริ่มออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2546 ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ทีวี ต่อมา กลางเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 ได้ถูกระงับจากทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้ดำเนินรายการได้วิจารณ์รัฐบาล โดยโยงไปถึงสถาบันเบื้องสูง โดยผู้ผลิตได้เปลี่ยนชื่อรายการเป็น เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร และได้เปลี่ยนชื่อรายการอีกครั้ง เป็น เมืองไทยรายสัปดาห์ คอนเสิร์ตการเมือง ซึ่งเป็นการจัดรายการนอกสถานที่ มีการถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ASTV NEWS1 และผ่านทางอินเทอร์เน็ต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเมืองไทยรายสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เยาวภา วงศ์สวัสดิ์

วภา วงศ์สวัสดิ์ (ชื่อเล่น: แดง) อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ประธาน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เยาวลักษณ์ ชินวัตร

นางเยาวลักษณ์ ชินวัตร หรือ นางเยาวลักษณ์ คล่องคำนวณการ พี่สาวคนโตของทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีไทย และอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเยาวลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ ชินวัตร

วเรศ ชินวัตร อดีตประธานสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20 เป็นผู้ดูแลพื้นที่ภาคใต้ของพรรคเพื่อไทย และเป็นน้องสาวของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย และเป็นพี่สาวของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเยาวเรศ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

เรืองโรจน์ มหาศรานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เรืองโรจน์ มหาศรานนท์ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2489 มีชื่อเล่นว่า "ต๋อย" บุตร ร.ต.ท.ระดม มหาศรานนท์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาพี่ชายชื่อ นายเรืองเดช มหาศรานนท์ เอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงลิมา พลเอกเรืองโรจน์ มหาศรานนท์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ต่อมาได้สอบคัดเลือกเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 5 เมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเรืองโรจน์ มหาศรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เรืองไกร ลีกิจวัฒนะ

รืองไกร ลีกิจวัฒนะ นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย สมาชิกวุฒิสภาของไทย (สว.) ด้วยการสรรหา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 นายเรืองไกรเป็นที่รู้จักเป็นครั้งแรกของสังคมด้วยการปรากฏเป็นข่าวในต้นปี พ.ศ. 2549 ว่า กรมสรรพากรได้คืนเช็คให้แก่นายเรืองไกร แต่นายเรืองไกรไม่ได้ไปขึ้นเงิน เพราะเป็นกรณีเปรียบเทียบกับกรณีที่กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ปได้ ซึ่งนายเรืองไกร ซื้อหุ้นบริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ต่อจากบิดาในราคา 10 บาท จากราคาตลาด 21 บาท ต้องเสียภาษี แต่กรณีของตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์กลับไม่ต้องเสียภาษี และนายเรืองไกรยังได้ยื่นฟ้องร้องเรื่องการที่กรมสรรพากรกระทำการนี้ด้วยสองมาตรฐานอีกด้วย จากกรณีนี้ทางฝ่ายพรรคไทยรักไทยและกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้กล่าวหาว่า นายเรืองไกรมีความสนิทสนมกับคุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา อดีตผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งฝ่ายที่สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ถือว่าเป็นบุคคลที่อยู่ตรงข้ามกับฝ่ายตน หลังจากนั้น นายเรืองไกรได้สมัครลงเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549 โดยได้หมายเลข 222 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง นายเรืองไกรได้รับคัดเลือกให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาในแบบสรรหา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งนายเรืองไกรจัดอยู่ในกลุ่ม 40 สว. หลังจากนั้น ชื่อของนายเรืองไกรปรากฏเป็นข่าวอีกในเดือนพฤษภาคม ว่าได้ยื่นฟ้องร้อง นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ว่าการจัดรายการโทรทัศน์ชิมไป บ่นไป ทางช่อง 3 เป็นการผิดรัฐธรรมนูญมาตรา 267 ในเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน หรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญก็ได้ตัดสินให้นายสมัครพ้นจากตำแหน่ง ในวันที่ 9 กันยายน ปีเดียวกัน จากเหตุการณ์การตรวจสอบการกระทำของภาครัฐอันมิชอบหลายกรณีนี้ ทำให้นายเรืองไกรได้รับฉายาว่า "แจ็คผู้ฆ่ายักษ์" และในวันที่ 14 ธันวาคม ปีเดียวกันนั้น สภามหาวิทยาลัยรังสิตได้มีมติมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง แก่นายเรืองไกร พร้อมกับคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ หรือ คต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

เลิศ ชินวัตร

ลิศ ชินวัตร (พ.ศ. 2462-23 ตุลาคม พ.ศ. 2540) อดีตนักการเมืองชาวเชียงใหม่ เป็นบิดาของ นายทักษิณ ชินวัตร และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 23 และนายกรัฐมนตรีคนที่ 28.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเลิศ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจพอเพียง

รษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเศรษฐกิจพอเพียง · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจไทย

รษฐกิจไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานว่า ประเทศไทยมีจีดีพี 11.375 ล้านล้านบาท มีอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ 3.02% ประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงินเป็นอันดับที่ 29 ของโลก และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อเป็นอันดับที่ 24 ของโลก ในปี 2556 เศรษฐกิจไทยเติบโต 2.9% จีดีพีมาจากการใช้จ่ายของครัวเรือน 54.4% การใช้จ่ายของรัฐบาล 13.8% การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร 26.7%.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเศรษฐกิจไทย · ดูเพิ่มเติม »

เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช

ริมศักดิ์ พงษ์พานิช (23 กรกฎาคม 2489 -) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้ว่าราชการหลายจังหวั.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

เสริมสุข กษิติประดิษฐ์

นายเสริมสุข กษิติประดิษฐ์ นักหนังสือพิมพ์ เป็นอดีตหัวหน้าข่าวสายทหารของหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เป็นผู้เขียนรายงานข่าวว่า ผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา ยืนยันว่ารันเวย์ของสนามบินสุวรรณภูมิแตกร้าว ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ฉบับวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และเป็นข่าวไปทั่วโลก ส่งผลให้กระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ยื่นฟ้องหมิ่นประมาทหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เรียกค่าเสียหายหนึ่งพันล้านบาท.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ระบุว่าเป็นการเต้าข่าว ไม่รักชาติ ผลจากการฟ้องร้องของกระทรวงคมนาคม ส่งผลให้ทางหนังสือพิมพ์กดดันให้ นายเสริมสุข ลาออกจากงานพร้อมกับนายชฎิล เทพวัลย์ บรรณาธิการข่าว เพื่อเป็นการรับผิดชอบ กรณีนี้ยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ถึงการแทรกแซงสื่อ จากฝ่ายการเมืองในขณะนั้น เสริมสุข กษิติประดิษฐ์ และชฎิล เทพวัลย์ ได้รับการยกย่องจากสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็น นักข่าวเกียรติยศ ประจำปี 2549 เนื่องในวันนักข่าว ครั้งที่ 52 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2550 ในปัจจุบัน เสริมสุข เป็นบรรณาธิการข่าวการเมืองและความมั่นคง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย และมีชื่อเรียกเล่น ๆ ในแวดวงสื่อมวลชนว่า พี่เป๊ปซี.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเสริมสุข กษิติประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสรี วงษ์มณฑา

รองศาสตราจารย์ เสรี วงษ์มณฑา (เกิด: 14 มีนาคม พ.ศ. 2492 ที่: อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก) เป็นนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชนและการตลาด เป็นหนึ่งในกลุ่มนักวิชาการที่ต่อต้าน.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร และเข้าร่วมขับไล่ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์รายการ เกาที่คัน ร่วมกับ รณชาติ บุตรแสนคม ทุกวันศุกร์ 21:00–22:00 น. และ รายการคลายปม ร่วมกับ ร. ดร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเสรี วงษ์มณฑา · ดูเพิ่มเติม »

เสถียร จันทิมาธร

นายเสถียร จันทิมาธร สื่อมวลชนอิสระ อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ผู้ร่วมก่อตั้ง และอดีตบรรณาธิการอำนวยการ หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเสถียร จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเสนาะ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เหวง โตจิราการ

นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเหวง โตจิราการ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546

หตุจลาจลในพนมเปญ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเฮลิคอปเตอร์ซูเปอร์พูม่าตกที่จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. 2540

หตุเฮลิคอปเตอร์ซูเปอร์พูม่าตกที่จังหวัดนราธิว..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเหตุเฮลิคอปเตอร์ซูเปอร์พูม่าตกที่จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเครื่องบินฝึกของกองทัพอากาศไทยตกที่จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2549

รื่องบินฝึกแบบที่ 16 (บฝ.๑๖) CT/4E ของโรงเรียนการบินกำแพงแสน กองบัญชาการยุทธทางอากาศ กองทัพอากาศไทย เกิดอุบัติเหตุชนอาคารพาณิชย์ ที่ตำบลโคกคราม ริมถนนสายสุพรรณบุรี-บางบัวทอง อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี มีผู้เสียชีวิต 1 คน คือ เรืออากาศเอกนาวิน ปิ่นประเสริฐ นักเรียนฝึกหัดบิน ที่กำลังเตรียมเป็นครูฝึกบิน เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2549 เวลา 10.00 น. 19 ม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเหตุเครื่องบินฝึกของกองทัพอากาศไทยตกที่จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ

อฟ.เอ็ม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ · ดูเพิ่มเติม »

เอกยุทธ อัญชันบุตร

อกยุทธ อัญชันบุตร (24 มิถุนายน พ.ศ. 2497—7 มิถุนายน พ.ศ. 2556) หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า จอร์จ ตัน (George Tan) เป็นนักธุรกิจการเงินและอสังหาริมทรัพย์ มีชื่อจากการเป็นเจ้าของเว็บไซต์ ไทยอินไซเดอร์ซึ่งต่อต้านรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เคยต้องคดีแชร์ชาร์เตอร์และกบฏ 9 กันยาเมื่อ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเอกยุทธ อัญชันบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ามูลเมือง

้ามูลเมือง เป็นชื่อตามความเชื่อหนึ่งของกลุ่มบุคคลที่เชื่อว่าเป็นอดีตชาติของ นาย ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเจ้ามูลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่

้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ (170px) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เกิดในสายตระกูลเจ้าเจ็ดตน ซึ่งมีพระยาสุลวฦาชัยสงคราม หรือเจ้าหนานทิพย์ช้าง ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าชาย 7 องค์ ที่เป็นต้นสกุลสำคัญฝ่ายเหนือ อันได้แก่ ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง สิโรรส ธนันชยานนท์ และลังกาพินธุ์ โดยท่านอยู่ในสายตรงของเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 คือ พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังก.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)

นายพันตำรวจเอก เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) (200px) (พ.ศ. 2403-พ.ศ. 2473) เจ้านายฝ่ายเหนือ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจมณฑลพายัพ สืบสายโลหิตจากพระยาธรรมลังกา ผู้จับดาบตะลุยทั่วสิบทิศ เพื่อความสงบสุขของมหาชนชาวนครเชียงใหม่ เป็นเจ้านายมือปราบนาม เจ้าไชยสงคราม ซึ่งโจรผู้ร้ายสยองเพียงได้ยินชื่อ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เดช บุญ-หลง

ตราจารย์พิเศษเดช บุญ-หลง อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายบรรหาร ศิลปอาชา).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเดช บุญ-หลง · ดูเพิ่มเติม »

เดอะคิงเนเวอร์สไมลส์

อะคิงเนเวอร์สไมลส์ (The King Never Smiles; "กษัตริย์ไม่เคยยิ้ม") เป็นหนังสือว่าด้วยพระราชประวัติอย่างไม่เป็นทางการของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและราชวงศ์จักรี เขียนโดย พอล แฮนด์ลีย์ (Paul Handley) นักเขียนชาวอเมริกัน จัดพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยเยล (Yale University Press) และออกจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน 2549 หนังสือนี้ทางการไทยจัดให้เป็น "หนังสือต้องห้าม" อย่างไม่เป็นทางการ ตั้งแต่ก่อนตีพิมพ์ โดยมิได้มีการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการในกฎหมายว่าด้วยการจดแจ้งการพิมพ์ ต่อมามีหนังสือกองบัญชาการตำรวจนครบาล ที่ ตช 0016.146/289 ลงวันที่ 18 มกราคม 2551 ว่าหนังสือเล่มนี้เป็น "หนังสือต้องห้ามนำเข้ามาในราชอาณาจักร", ประชาไท, 29 มกราคม..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเดอะคิงเนเวอร์สไมลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่

ร.อ.หญิง ดร.เดือนเต็มดวง (ที่ 4 จากขวา) ในโปสเตอร์หาเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 การหาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2550 ร้อยเอก(หญิง) เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ และคณะทำงานของพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรสาวของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ และเป็นหลานสาวของเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เด๋อ ดอกสะเดา

๋อ ดอกสะเดา (21 มีนาคม พ.ศ. 2494 —) หรือชื่อจริงว่า สมใจ บุรานนท์ เข้าสู่วงการโดยเป็นนักแสดงตลกจากวงดนตรีลูกทุ่งระพิน ภูไท ประมาณ..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเด๋อ ดอกสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร

รือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร เกิดขึ้นจากการรวมตัวของนักศึกษา นักกิจกรรม และนักเคลื่อนไหวที่ไม่เห็นด้วยกับการก่อรัฐประหารโดยคณะรัฐประหารที่เรียกตัวเองว่า คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การเกิดขึ้นของเครือข่าย เริ่มจากการประชุมกันของนักกิจกรรม(รุ่นใหม่) และนักศึกษาประมาณ 70-80 ในวันที่ 20 กันยายน (หนึ่งวันหลังการต้านรัฐประหาร) ผ่านการบอกข่าวตามเครือข่ายและองค์กรของตัวเอง มีจำนวนหนึ่งที่เป็นปัจเจกไม่ได้สังกัดเครือข่ายอะไร แต่ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาและนักกิจกรรมที่ทำงานอย่างต่อเนื่องและอาจจะเรียกได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความก้าวหน้าทางการเมืองกลุ่มหนึ่งในภาคประชาชนไทย สมาชิกส่วนใหญ่ได้มีการทำงานร่วมกันมาก่อน หลายๆส่วนได้ทำงานร่วมกันในองค์กรพัฒนาเอกชน และได้รณรงค์ร่วมกันในหลายๆ ครั้ง เครือข่ายต้องการสร้างพื้นที่ทางการเมืองให้สำหรับคนที่มีความเห็นต่างจากการก่อรัฐประหาร มุมมองในสังคมไทยไม่ได้มีแค่ “เอารัฐประหาร ไม่เอาทักษิณ” หรือ “เอาทักษิณ ไม่เอารัฐประหาร” และเนื่องจากการก่อรัฐประหารเป็นการแสดงทัศนะว่าประชาชนไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้เอง ไม่สามารถตัดสินใจอนาคตของตัวเองได้ พลังประชาชนไม่มีค่า แต่กลับต้องพึ่งทหารหรือ “พระเอกขี่ม้าขาว” ในการแก้ไขปัญหาวิกฤติอะไร ประเทศไทยได้ผ่านรัฐประหารมาแล้วเป็นเวลาหลายสิบครั้ง ถ้าการก่อรัฐประหารครั้งนี้ได้รับการตอบรับ ครั้งต่อไปเมื่อมีวิกฤติทหารก็สามารถสร้างความชอบธรรมโดยก่อรัฐประหารได้อีกในอนาคต อีกทั้งการรัฐประหารครั้งนี้ได้มีการเกิดขึ้นของวัฒนธรรมความรุนแรงที่ไม่คำนึงถึง “หลักการ” ทางประชาธิปไตย เช่น กลุ่มที่ ยอมรับการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการทำผิดกฎหมายตามหลักสากลต่างๆ ยอมรับการปิดวิทยุชุมชนที่ภาคเหนือกว่า 300 สถานี ยอมรับการกักขังอดีตรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม

220px เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่แยกตัวออกจากแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2552 มีจุดประสงค์เพื่อต่อต้านอำมาตยาธิปไต.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมชัย มหากิจศิริ

นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตนักแสดงละครโทรทัศน์ และพิธีกรรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเฉลิมชัย มหากิจศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมเดช ชมพูนุท

ลตำรวจเอก เฉลิมเดช ชมพูนุท อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเฉลิมเดช ชมพูนุท · ดูเพิ่มเติม »

เฉิ่ม

ฉิ่ม เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2548 ผลงานกำกับเรื่องที่สองของ คงเดช จาตุรันต์รัศมี นักเขียนบทผู้เคยมีผลงานจาก สยิว เดอะเล็ตเตอร์ จดหมายรัก และผู้เขียนบทปรับแก้ใน ต้มยำกุ้ง.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเฉิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรียว อวอร์ด

ปรียว อวอร์ด (Priew Awards) เป็นรางวัลที่นิตยสารเปรียว มอบให้แก่ 10 บุคคลคุณภาพแห่งปี ที่ประสบความสำเร็จสมควรได้รับยกย่อง เป็นแบบอย่างของสังคม โดยมีเกณฑ์พิจารณาต่างๆ เช่น เป็นผู้มีบุคลิกดี และมีความสามารถ มีจิตใจดี ภาพพจน์ในสังคมดี มนุษยสัมพันธ์ดี มีส่วนช่วยเหลือสังคม และประสบความสำเร็จอย่างโดดเด่นในแต่ละสาขาวิชาชีพ โดยเริ่มต้นมอบรางวัลครั้งแรกใน ปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเปรียว อวอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เนวิน ชิดชอบ

นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและเนวิน ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ19 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ2 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 มกราคม

วันที่ 23 มกราคม เป็นวันที่ 23 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 342 วันในปีนั้น (343 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ23 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ24 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ3 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ5 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทักษิณ ชินวัตรและ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ThaksinThaksin Shinawatraพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรพ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตรพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรพ.ต.ท.ดร. ทักษิณ ชินวัตรพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตรพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตรพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »