เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ทะไลลามะที่ 14

ดัชนี ทะไลลามะที่ 14

ทนซิน เกียตโซ ทะไลลามะที่ 14 (ภาษาทิเบต: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; ภาษาจีน: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama, 6 กรกฎาคม พ.ศ.

สารบัญ

  1. 25 ความสัมพันธ์: ชาวทิเบตพ.ศ. 2478พ.ศ. 2532พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตันการพลัดถิ่นการก่อการกำเริบในทิเบต พ.ศ. 2502ฝ่ายบริหารกลางทิเบตรัชทายาทที่ได้รับสมมุติราชอาณาจักรทิเบตรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพริชาร์ด เกียร์ลอบซัง ซังเกย์ศาสนาพุทธกับจิตวิทยาศาสนาพุทธแบบทิเบตองค์กรนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกาทะไลลามะดนัย จันทร์เจ้าฉายความไม่สงบในทิเบต พ.ศ. 2551คุนดุนเรทิงรินโปเชเขตปกครองตนเองทิเบต6 กรกฎาคม7 ปี โลกไม่มีวันลืม

ชาวทิเบต

วทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก ชาวทิเบตสืบเชื้อสายจากชนเผ่าตูรัน และตังกุตในเอเชียกลาง ต่อมาได้อพยพมาจากทางตอนบนในเขตหุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำยาร์ลุงซางโป และแต่งงานกับชนพื้นเมืองแถบนี้ แล้วออกลูกออกหลานเป็นชาวทิเบตในปัจจุบัน ชาวทิเบตเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ในอดีตเคยเป็นพวกชาวเขาที่ไม่แตกต่างกับชาวเขาทั่วไป แต่พอได้รับพระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจากพระปัทมสัมภวะ (คุรุรินโปเช่) ทำให้ทิเบตมีวัฒนธรรมที่โดดเด่น ชาวทิเบตส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธวัชรยาน นอกนั้นนับถือศาสนาอิสลามราว 2,000 คน และคริสตังทิเบตราว 600 คน.

ดู ทะไลลามะที่ 14และชาวทิเบต

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ดู ทะไลลามะที่ 14และพ.ศ. 2478

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ทะไลลามะที่ 14และพ.ศ. 2532

พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน

ระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์กับแคเธอริน มิดเดิลตัน มีขึ้น ณ วันศุกร์ที่ 29 เมษายน..

ดู ทะไลลามะที่ 14และพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ดู ทะไลลามะที่ 14และการพลัดถิ่น

การก่อการกำเริบในทิเบต พ.ศ. 2502

การก่อการกำเริบในทิเบต..

ดู ทะไลลามะที่ 14และการก่อการกำเริบในทิเบต พ.ศ. 2502

ฝ่ายบริหารกลางทิเบต

ฝ่ายบริหารกลางทิเบต หรือ ฝ่ายบริหารกลางทิเบตขององค์ทะไลลามะ (Central Tibetan Administration, CTA; หรือ Central Tibetan Administration of His Holiness the Dalai Lama) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่น นำโดย "เทนซิน กยัตโส" ทะไลลามะองค์ที่ 14 จุดยืนขององค์กรนี้คือ ทิเบตเป็นชาติอิสระที่มีเอกราชมายาวนาน มิใช่ส่วนหนึ่งของจีน ปัจจุบันแม้ว่าทิเบตจะยังไม่ได้รับเอกราช แต่ก็ได้สิทธิปกครองตนเองเช่นเดียวกับฮ่องกง กองบัญชาการใหญ่ของรัฐบาลพลัดถิ่นนี้อยู่ที่ธรรมศาลาในอินเดีย ที่ทะไลลามะจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู ทะไลลามะที่ 14และฝ่ายบริหารกลางทิเบต

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ดู ทะไลลามะที่ 14และรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

ราชอาณาจักรทิเบต

ราชอาณาจักรทิเบต เป็นรัฐเอกราชโดยพฤตินัยระหว่าง..

ดู ทะไลลามะที่ 14และราชอาณาจักรทิเบต

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ดู ทะไลลามะที่ 14และรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

รายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ

รายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ.

ดู ทะไลลามะที่ 14และรายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู ทะไลลามะที่ 14และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

ริชาร์ด เกียร์

ริชาร์ด ทิฟฟานี เกียร์ (Richard Tiffany Gere) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1949 มีผลงานเป็นที่รู้จักในช่วงทศวรรษที่ 1980 และ ต่อมาถึง 1990-2000 ผลงานดังเช่น Pretty Woman, Primal Fear, และ Chicagoซึ่งจากเรื่องนี้ทำให้ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากรางวัลลูกโลกทองคำ.

ดู ทะไลลามะที่ 14และริชาร์ด เกียร์

ลอบซัง ซังเกย์

ลอบซัง ซังเกย์ (བློ་བཟང་སེང་གེ; blo-bzang seng-ge) นักกฎหมายชาวทิเบต เป็นหนึ่งในนักเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชให้กับทิเบต ปัจจุบันได้รับเลือกตั้งให้เป็น Kalon Tripa หรือ นายกรัฐมนตรีของรัฐบาลพลัดถิ่นของทิเบต เมื่อวันที่ 11 เมษายน..

ดู ทะไลลามะที่ 14และลอบซัง ซังเกย์

ศาสนาพุทธกับจิตวิทยา

นาพุทธกับจิตวิทยา (Buddhism and psychology) เหลื่อมกันทั้งในทางทฤษฎีและการปฏิบัติในศตวรรษที่ผ่านมา โดยมีความเกี่ยวข้องกันหลัก ๆ 4 อย่าง คือ.

ดู ทะไลลามะที่ 14และศาสนาพุทธกับจิตวิทยา

ศาสนาพุทธแบบทิเบต

ระพุทธศาสนาแบบทิเบตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 587-8 (Tibetan Buddhism) คือพุทธศาสนาแบบหนึ่งซึ่งถือปฏิบัติในทิเบต และปัจจุบันได้แพร่หลายไปในหลายประเทศ ดินแดนทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนามาก พุทธศาสนาแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะคือเป็นการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ได้รับอิทธิพลจากพุทธศานานิกายตันตระของอินเดีย จนเกิดเป็นนิกายวัชรยานขึ้น ประชาชนใฝ่ธรรมะ เมื่อมีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแม้จะไกลสักเพียงใด ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่วนครลาซา เหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่งในปัจจุบัน จนแทบไม่เหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต.

ดู ทะไลลามะที่ 14และศาสนาพุทธแบบทิเบต

องค์กรนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา

องค์กรนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา (Sakyadhita International Association of Buddhist Women) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรประเภท 501(c)(3) ที่ได้รับการก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู ทะไลลามะที่ 14และองค์กรนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา

ทะไลลามะ

ทะไลลามะ (ทิเบต: ཏཱ་ལའི་བླ་མ་, taa la’i bla ma, จีนตัวเต็ม: 達賴喇嘛; จีนตัวย่อ: 达赖喇嘛; พินอิน: Dálài Lǎmā) เป็นตำแหน่งประมุขหัวหน้าคณะสงฆ์ในพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก (นิกายหมวกเหลือง) เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณสูงสุดของชาวทิเบต ทะไลลามะ มาจากภาษามองโกเลีย dalai แปลว่า มหาสมุทร และภาษาทิเบต བླ་མ ་bla-ma แปลว่า พระชั้นสูง (ทะไลลามะ บางครั้งหรือนิยมออกเสียว่า ดาไลลามะ) ตามประวัติศาสตร์ของทิเบต เชื่อว่าองค์ทะไลลามะเป็นอวตารในร่างมนุษย์ของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และเมื่อองค์ทะไลลามะองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ไป จะกลับชาติมาประสูติใหม่เป็นองค์ทะไลลามะองค์ต่อไป โดยเรทิงรินโปเช ซึ่งเป็นพระสงฆ์ระดับรองลงมาจะเป็นผู้ใช้นิมิตสรรหาเด็กคนที่เชื่อว่าเป็นทะไลลามะกลับชาติมาเกิด ปัจจุบัน ดาไลลามะ เป็นองค์ที่ 14 ชื่อ เทนซิน เกียตโซ(Tenzin Gyatso)..

ดู ทะไลลามะที่ 14และทะไลลามะ

ดนัย จันทร์เจ้าฉาย

นัย จันทร์เจ้าฉาย เกิดวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2509 เป็นบุตรของนายดำรงค์ จันทร์เจ้าฉาย (เสียชีวิต) และนางชนิตร์นันท์ จันทร์เจ้าฉาย เกิดที่จังหวัดนครราชสีมา ดนัย เป็น นักคิด นักเขียน นักจัดรายการวิทยุ นักบรรยาย นักบริหารการตลาดและประชาสัมพันธ์ ที่ปลูกฝังแนวคิดธุรกิจสีขาว ด้วยหลักการกลยุทธ์น่านน้ำสีขาว (White Ocean Strategy) และการสื่อสารบนพื้นฐานของความเป็นจริง ซึ่งเป็นต้นแบบการประชาสัมพันธ์ที่มุ่งเน้น เรื่องคุณธรรมจริยธรรมอย่างเป็นรูปธรรม ขยายผลอย่างกว้างขวางในสังคมทุกภาคส่วน และยังเป็นวิทยากรรับเชิญบรรยายในหัวข้อ คุณธรรม จริยธรรม ธรรมะ การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์การสื่อสารในภาวะวิกฤต ให้กับสถาบันทั้งในและต่างประเทศ ผู้ดำเนินรายการ CEO Vision และHuman Talk คลื่นความคิด 96.5 FM อสมท.

ดู ทะไลลามะที่ 14และดนัย จันทร์เจ้าฉาย

ความไม่สงบในทิเบต พ.ศ. 2551

วามไม่สงบในทิเบต..

ดู ทะไลลามะที่ 14และความไม่สงบในทิเบต พ.ศ. 2551

คุนดุน

นดุน (Kundun) เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติของทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ กำกับโดยมาร์ติน สกอร์เซซี จากบทภาพยนตร์ของเมลิซซา แมททีสัน ดัดแปลงมาจากเรื่องราวและงานเขียนขององค์ทะไลลามะ ผู้นำทางจิตวิญญาณสูงสุดของทิเบตที่ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ หลังจากถูกรุกรานโดยกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้ เทนซิง ทูลอบ ซารง ซึ่งเป็นหลานชายขององค์ทะไลลามะ มารับบทเป็นองค์ทะไลลามะในวัยผู้ใหญ่ ชื่อภาพยนตร์ "คุนดุน" (ทิเบต: སྐུ་མདུན་) แปลว่า "คนปัจจุบัน" มาจากคำสรรพนามที่ชาวทิเบตใช้เรียกทะไลลามะองค์ที่ดำรงตำแหน่งในขณะนั้น สืบมาตั้งแต่สมัยทะไลลามะ องค์ที่หนึ่ง โครงการสร้างภาพยนตร์เริ่มต้นจากการที่เมลิซซา แมททีสัน ซึ่งมีชื่อเสียงจากการเขียนบทภาพยนตร์เรื่อง อี.ที.

ดู ทะไลลามะที่ 14และคุนดุน

เรทิงรินโปเช

รทิงรินโปเช องค์ที่ห้า ในปี 1938 เรทิงรินโปเช (ทิเบต: རྭ་སྒྲེང་རིན་པོ་ཆེ, rwa-sgreng rin-po-che, พินอิน: Razheng) เป็นตำแหน่งของเจ้าอาวาสวัดเรทิง ในตำบลลุนชุบ มณฑลลาซา ทางตอนกลางของทิเบต ซึ่งเป็นโรงเรียนสงฆ์สำคัญของพุทธศาสนานิกายเกลุก ตำแหน่งนี้สถาปนาขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตามประวัติศาสตร์ เรทิงรินโปเชจะเป็นผู้สรรหาองค์ทะไลลามะองค์ใหม่หลังจากองค์เดิมสิ้นพระชนม์ โดยจะใช้นิมิตตรวจดูว่าเด็กคนใดที่เป็นทะไลลามะองค์เดิมกลับชาติมาเกิดใหม่ ปัจจุบันมีผู้สืบตำแหน่งเรทิงรินโปเชมาแล้ว 7 รูป โดยเรทิงรินโปเชรูปที่ 6 ยังมีข้อขัดแย้งกันอยู่ว่าเป็นผู้ใด ระหว่างรูปที่ได้รับการสถาปนาโดยรัฐบาลทิเบตภายใต้การครอบงำของรัฐบาลจีน กับรูปที่ได้รับการสถาปนาโดยทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ ซึ่งลี้ภัยอยู่ในอินเดี.

ดู ทะไลลามะที่ 14และเรทิงรินโปเช

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ดู ทะไลลามะที่ 14และเขตปกครองตนเองทิเบต

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ดู ทะไลลามะที่ 14และ6 กรกฎาคม

7 ปี โลกไม่มีวันลืม

ซเวนเยียร์สอินทิเบต (Seven Years in Tibet) เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากหนังสืออัตชีวประวัติของไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ นักไต่เขาชาวออสเตรียที่ใช้ชีวิตอยู่ในทิเบตระหว่างปี..

ดู ทะไลลามะที่ 14และ7 ปี โลกไม่มีวันลืม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ องค์ทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่องค์ทะไลลามะ เทนซิน เกียตโซทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซเทนซิน กยัตโสเทนซิน กัทโซเทนซิน เกียตโซ