สารบัญ
55 ความสัมพันธ์: มหาสมุทรอาร์กติกมหาสมุทรแอตแลนติกมูร์มันสค์รายชื่อสนธิสัญญารายชื่อทะเลรายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทรรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัววิลเลิม บาเรินตส์ทะเลคาราทะเลนอร์วีเจียนประเทศรัสเซียโรอัลด์ อะมุนด์เซนเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือเส้นขนานที่ 75 องศาเหนือเส้นขนานที่ 80 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 59 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันออก... ขยายดัชนี (5 มากกว่า) »
มหาสมุทรอาร์กติก
มหาสมุทรอาร์กติก (Arctic Ocean) ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ และส่วนใหญ่อยู่ในเขตขั้วโลกเหนืออาร์กติก เป็นมหาสมุทรขนาดเล็กที่สุดและตื้นเขินที่สุดในห้ามหาสมุทรตามการแบ่งมหาสมุทรหลักของโลก องค์กรอุทกศาสตร์โลก (IHO) ยอมรับว่ามหาสมุทรอาร์กติกเป็นมหาสมุทร แม้นักอุทกศาสตร์บางคนจะเรียกบริเวณนี้ว่า ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอาร์กติก หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ทะเลอาร์กติก โดยจัดว่าบริเวณนี้เป็นหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของมหาสมุทรแอตแลนติก หรืออาจมองว่า เป็นส่วนเหนือสุดของมหาสมุทรโลกที่ล้อมรอบทั้งหมด มหาสมุทรอาร์กติกมีรูปร่างคล้ายวงกลม ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ เกือบเท่ากับขนาดของทวีปแอนตาร์กติกา แนวชายฝั่งยาว ล้อมรอบด้วยทวีปยุโรป, ทวีปเอเชีย, ทวีปอเมริกาเหนือ และกรีนแลนด์ รวมทั้งเกาะต่างๆ และทะเลแบเร็นตส์, ทะเลโบฟอร์ต, ทะเลชุกชี, ทะเลคารา, ทะเลลัปเตฟ, ทะเลไซบีเรียตะวันออก, ทะเลลิงคอล์น, ทะเลแวนเดล, ทะเลกรีนแลนด์ และทะเลนอร์เวย์ เชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกที่ช่องแคบเบริง และเชื่อมกับมหาสมุทรแอตแลนติกที่ทะเลกรีนแลนด์ มหาสมุทรอาร์กติกบางส่วนปกคลุมด้วยทะเลน้ำแข็งตลอดทั้งปีและเกือบทั้งมหาสมุทรในฤดูหนาว อุณหภูมิและความเค็มของมหาสมุทรอาร์กติกแตกต่างกันไปตามฤดูกาล เมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวและแข็งตัว ความเค็มของมหาสมุทรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดในมหาสมุทรหลักทั้งห้า เนื่องจากการระเหยที่ต่ำ กระแสไหลเข้าอย่างหนักของน้ำจืดจากแม่น้ำและลำธาร การเชื่อมโยงที่จำกัดและการไหลออกไปยังมหาสมุทรโดยรอบที่มีความเค็มสูงกว่า การหดตัวของน้ำแข็งในฤดูร้อนมีบันทึกว่าลดลงถึง 50% ศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติสหรัฐ (NSIDC) ใช้ข้อมูลดาวเทียมเพื่อหาบันทึกประจำวันของน้ำแข็งที่ปกคลุมมหาสมุทรอาร์กติก และอัตราการหลอมเหลวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเฉลี่ยและปีที่ผ่านมา สันลอมอนอซอฟ (Lomonosov ridge) ซึ่งเป็นสันมหาสมุทรที่อยู่ใต้ทะเล แบ่งมหาสมุทรอาร์กติกออกเป็น 2 ส่วน คือ แอ่งยูเรเชีย (เรียกบริเวณนี้ว่าแนนสัน - Nansen) มีความลึก 4,000-4,500 เมตร และแอ่งอเมริกาเหนือ (เรียกบริเวณนี้ว่าไฮเพอร์โบเรียน - Hyperborean) มีความลึกประมาณ 4,000 เมตร ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรอาร์กติก คือ 1,038 เมตร (3,407 ฟุต).
ดู ทะเลแบเร็นตส์และมหาสมุทรอาร์กติก
มหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).
ดู ทะเลแบเร็นตส์และมหาสมุทรแอตแลนติก
มูร์มันสค์
มูร์มันสค์ (p) เป็นเมืองท่าของประเทศรัสเซีย เป็นเมืองการปกครองหลักของแคว้นมูร์มันสค์ โดยตั้งอยู่บนเนินเขาทั้งสองแห่งและริมฝั่งของอ่าวเว้าแหว่งหรืออ่าวฟยอร์ด Kola Bay ปากทางเข้าของปากแม่น้ำสู่ทะเลแบเร็นตส์ ส่วนใหญ่อยู่บนฝั่งตะวันออกของปากทางเข้า อยู่ทางตอนเหนือของคาบสมุทร Kola ที่กลมซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคว้น (ปกครองตนเองกึ่งอิสระ) เมืองนี้อยู่ห่างจากชายแดนนอร์เวย์ไป 67 ไมล์ (108 กม.) และห่างจากชายแดนฟินแลนด์ 113 กิโลเมตร (182 กม.) เมืองนี้ตั้งชื่อตามชายฝั่ง Murman ชื่อเก่าแก่ภาษานอร์เวย์ในภาษารัสเซีย ประโยชน์จากกระแสน้ำอุ่น ทำให้มูร์มันสค์มีลักษณะคล้ายกับเมืองขนาดใหญ่ในทางตะวันตกของรัสเซีย โดยมีทางหลวงและทางรถไฟเข้าสู่ส่วนอื่น ๆ ของยุโรป และระบบรถไฟฟ้าล้อยางที่อยู่เหนือสุดในโลก ละติจูดทางตอนเหนือ 68 ° 58'N ทำให้มูร์มันสค์อยู่ทางเหนือของวงกลมอาร์กติก 2 ° โดยอยู่ที่ประมาณ 66 ° 33'N การเชื่อมต่อของเมืองแตกต่างกับการแยกของท่าเรืออาร์กติก Dikson และ ดินแดนครัสโนยาสค์ ในไซบีเรียบนชายฝั่งของทะเลคารา และ Iqaluit, Nunavut ในแคนาดาบน Baffin Island ในอ่าว Frobisher bay นอกทะเลลาบราดอร์ สภาพภูมิอากาศในมูร์มันสค์มีช่วงฤดูหนาวที่เต็มไปด้วยหิมะและมีการกลั่นกรองโดยน่านน้ำที่ปราศจากน้ำแข็งโดยรอ.
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และรายชื่อสนธิสัญญา
รายชื่อทะเล
ทะเลคือพื้นที่น้ำเกลือที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทร หรือทะเลขนาดใหญ่ที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล (เช่น ทะเลแคสเปียน และทะเลเดดซี) .
ดู ทะเลแบเร็นตส์และรายชื่อทะเล
รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร
้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร ซึ่งรวมถึงรัฐเอกราชและดินแดนในภาวะพึ่งพิง.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และรายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร
รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว
้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..
ดู ทะเลแบเร็นตส์และรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว
วิลเลิม บาเรินตส์
วิลเลิม บาเรินตส์ (Willem Barentsz; ประมาณ ค.ศ. 1550 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1597) เป็นนักเดินเรือ นักทำแผนที่ และนักสำรวจแถบอาร์กติกชาวดัตช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกการเดินทางสู่ดินแดนอาร์กติกในยุคแรก ๆ ในปี ค.ศ.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และวิลเลิม บาเรินตส์
ทะเลคารา
ที่ตั้งของทะเลคารา ทะเลคารา (Ка́рское мо́ре; Kara Sea) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก ทางตอนเหนือของไซบีเรีย ทิศตะวันตกติดทะเลแบเร็นตส์ ทิศตะวันออกติดทะเลลัปเตฟ มีเกาะหลายเกาะ เช่น เกาะดิกสัน เกาะโอเลนี เป็นต้น เป็นพื้นที่ซึ่งมีการค้นพบปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ แต่ยังไม่ได้พัฒนามากนัก ทะเลคารามีความกว้าง 970 กิโลเมตร ยาว 1,450 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งสิ้น 880,000 ตารางกิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 110 เมตร แม่น้ำหลักที่ไหลลงสู่ทะเลคารา ได้แก่ แม่น้ำอ็อบและแม่น้ำเยนีเซย์ คารา หมวดหมู่:ทะเลในประเทศรัสเซีย.
ทะเลนอร์วีเจียน
ทะเลนอร์เวย์ ทะเลนอร์วีเจียน (Norskehavet; Norwegian Sea) เป็นทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศนอร์เวย์ ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนติดกับตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก และทางตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแบเร็นตส์ (Barents Sea) และแยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกโดยสันใต้ทะเลที่แล่นระหว่างไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร ทางตอนเหนือสันยานไมเอนแยกทะเลนอร์เวย์ออกจากทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนและทะเลกรีนแลนด์บางครั้งก็เรียกรวมกันว่า ทะเลนอร์ดิก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และทะเลนอร์วีเจียน
ประเทศรัสเซีย
รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..
ดู ทะเลแบเร็นตส์และประเทศรัสเซีย
โรอัลด์ อะมุนด์เซน
รอัลด์ อะมุนด์เซน (Roald Amundsen; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1872 – ประมาณ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1928) เป็นนักสำรวจชาวนอร์เวย์ และเป็นมนุษย์คนแรกที่ไปถึงขั้วโลกใต้ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และโรอัลด์ อะมุนด์เซน
เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ
ในเกาะวิกตอเรีย, แคนาดา เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือมีความหมายเป็นเส้นแบ่งเขตส่วนหนึ่ง ระหว่างนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ (สีเขียว) กับ นูนาวุต (สีขาว) เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 70 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ และยังลากผ่านบางส่วนของทะเลใต้ของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง 0 นาที ในระหว่างครีษมายัน และเห็นแต่แสงสนทยาทั่วไปในช่วงเหมายัน.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ
เส้นขนานที่ 75 องศาเหนือ
้นขนานที่ 75 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 75 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในพื้นที่อาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอาร์กติก และทวีปอเมริกาเหนือ.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นขนานที่ 75 องศาเหนือ
เส้นขนานที่ 80 องศาเหนือ
้นขนานที่ 80 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 80 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอาร์กติก และทวีปอเมริกาเหนือ.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นขนานที่ 80 องศาเหนือ
เส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันตก เส้นเมริเดียนนี้มีความหมาย คือ เป็นส่วนหนึ่งของเส้นแบ่งเขตแดนของนามิเบียกับบอตสวานาและแอฟริกาใต้ เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย และเป็นขีดจำกัดด้านตะวันออกของนิวสวาเบียในควีนมอดแลนด์, แอนตาร์กติก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก เส้นเมริเดียนนี้หมายถึงเส้นแบ่งเขตแดนส่วนมากทางตะวันออกระหว่างลิเบียกับอียิปต์ และเป็นเส้นแบ่งเขตแดนทั้งหมดระหว่างลิเบียกับซูดาน.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 154 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 26 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 153 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 27 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 152 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 28 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 29 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือ ผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปยุโรป, ประเทศตุรกี, ทวีปแอฟริกา, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และ ทวีปแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 150 องศาตะวันตก .
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 35 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 143 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 37 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 142 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 38 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มาดากัสการ์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มาดากัสการ์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มาดากัสการ์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 123 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 57 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 122 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 58 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 59 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 59 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือ ผ่าน มหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปยุโรป, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และ ทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 121 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 59 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 119 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 61 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 118 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 177 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 116 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 114 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 68 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 68 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 68 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 68 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันตก.
ดู ทะเลแบเร็นตส์และเส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันออก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Barents Sea