โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทองเปลว ชลภูมิ

ดัชนี ทองเปลว ชลภูมิ

ร.ทองเปลว ชลภูมิ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี และอดีตรัฐมนตรี เป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่รัฐมนตรี" ที่ถูกสังหารเมื่อ..

17 ความสัมพันธ์: พรรคแนวรัฐธรรมนูญกบฏวังหลวงกบฏแบ่งแยกดินแดนกบฏเสนาธิการรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงรายนามสมาชิกคณะราษฎรรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรีหลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)จำลอง ดาวเรืองถวิล อุดลทองอินทร์ ภูริพัฒน์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)4 มีนาคม

พรรคแนวรัฐธรรมนูญ

รรคแนวรัฐธรรมนูญ เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย เกิดขึ้นหลังการสลายตัวของขบวนการเสรีไทยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยสมาชิกส่วนใหญ่เป็นบุคคลที่ในขบวนการเสรีไทยและบุคคลในคณะราษฎร พ.ศ. 2475 ที่สนับสนุน นายปรีดี พนมยงค์ อาทิ พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์, นายสงวน จูฑะเตมีย์, นายทองเปลว ชลภูมิ, นายดิเรก ชัยนาม, หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์, พันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม เป็นต้น โดยมี พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นหัวหน้าพรรค และ นายทองเปลว ชลภูมิ เป็นเลขาธิการพรรค พรรคแนวรัฐธรรมนูญเคยชนะการเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 ได้เป็นพรรคจัดตั้งรัฐบาล โดยมี พล.ร.ต.ถวัลย์ หัวหน้าพรรคเป็นนายกรัฐมนตรี พรรคแนวรัฐธรรมนูญถูกยุบพรรคหลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2494 ตามคำสั่งของคณะรัฐประหารที่ให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ใช้อยู่ขณะนั้น และนำรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและพรรคแนวรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏวังหลวง

กบฏวังหลวง ชื่อเรียกกบฏที่เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและกบฏวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กบฏแบ่งแยกดินแดน

กบฏแบ่งแยกดินแดน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 ได้มีการจับกุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรภาคอีสานหลายคน เช่น นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายถวิล อุดล นายเตียง ศิริขันธ์ นายฟอง สิทธิธรรม โดยกล่าวหาว่ารวมกันดำเนินการฝึกอาวุธ เพื่อแบ่งแยกดินแดนภาคอีสานออกจากประเทศไทย แต่รัฐบาลไม่สามารถดำเนินการจับกุมได้ เนื่องจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีสิทธิคุ้มครองทางการเมือง ที่สุดกรมตำรวจ จึงใช้วิธีใช้อำนาจและเล่ห์เหลี่ยมในการจับกุม 4 อดีตรัฐมนตรีจากภาคอีสาน ประกอบด้วย จำลอง ดาวเรือง ถวิล อุดล ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ และ ดร.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและกบฏแบ่งแยกดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

กบฏเสนาธิการ

กบฏเสนาธิการ หรือ กบฏนายพล หรือ กบฏ 1 ตุลาคม เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491 เมื่อนายทหารระดับเสนาธิการของกองทัพ เช่น พลตรีสมบูรณ์ ศรานุชิต และ พล.ต.เนตร เขมะโยธิน เป็นหัวหน้าคณะนายทหารกลุ่มหนึ่ง วางแผนที่จะเข้ายึดอำนาจการปกครอง และปรับปรุงกองทัพจากความเสื่อมโทรม และได้ให้ทหารเล่นการเมืองต่อไป แต่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทราบแผนการล่วงหน้าและทำการจับกุมผู้คิดก่อการได้ การกบฏครั้งนี้ เกิดหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 ที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นหัวหน้าคณะรัฐประหาร ยึดอำนาจจากรัฐบาลพลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ประมาณหนึ่งปี และหลังจากกบฏเสนาธิการไม่ถึงหนึ่งปี ก็เกิดกบฏซ้ำอีกครั้ง คือ กบฏวังหลวง เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 และหลังจากนั้นอีกครั้ง คือ กบฏแมนฮัตตัน เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและกบฏเสนาธิการ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสมาชิกคณะราษฎร

ณะราษฎรพบปะกันที่กรุงปารีส เมื่อ พ.ศ. 2468 (นายปรีดี พนมยงค์-ที่ 4 จากซ้าย, ร้อยโท แปลก ขีตตะสังคะ-ขวาสุด, ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี-นั่งติดกับ ร.ท.แปลก และนายควง อภัยวงศ์-ยืน) สมาชิกคณะราษฎรประกอบด้วยราษฎร ข้าราชการ ทหาร และพลเรือน จำนวน 115 คน.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและรายนามสมาชิกคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เริ่มแต่งตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขต ครั้งแรกทั้งหมด 96 คน และ ครั้งที่สอง 82 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 และ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน และ ครั้งที่สอง ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 178 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)

อำมาตย์ตรี หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475, คณะกรรมานุการพิจารณาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (สมุดปกเหลือง), เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ปลัดกระทรวงคมนาคม,รัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและหลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ดาวเรือง

ำลอง ดาวเรือง (9 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 3 สมัย และเป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วย นายจำลอง ดาวเรือง นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ และนายถวิล อุดล.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและจำลอง ดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล อุดล

นายถวิล อุดล นายถวิล อุดล (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วย ตัวนายถวิลเอง นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ และนายจำลอง ดาวเรือง นายถวิลดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด 2 สมัย เป็นหัวหน้าเสรีไทย จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งเคยเดินทางไปติดต่อขอความร่วมมือจาก ประเทศจีน แนวคิดทางการเมืองที่สำคัญ คือ เงินภาษีที่เก็บจากประชาชน ต้องเป็นประโยชน์กลับคืนสู่ประชาชนทั้งหมด นายถวิล อุดล เสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและถวิล อุดล · ดูเพิ่มเติม »

ทองอินทร์ ภูริพัฒน์

รองอำมาตย์ตรี ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็นนักการเมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นที่รู้จักกันดีในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ในกรณี "พระราชบัญญัติปักป้ายข้าวเหนียว" ต่อมาได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็น 1 ใน 4 อดีตรัฐมนตรีที่ถูกสังหารโหด ที่ ทุ่งบางเขน เมื่อปี พ.ศ. 2492 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยสาเหตุทางการเมือง ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็น นักการเมืองผู้ต่อสู้เพื่อชาวอิสานอย่างแท้จริงคนหนึ่ง.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและทองอินทร์ ภูริพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17

ลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 17 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 17 ของไทย (23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492

4 อดีตรัฐมนตรี คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและคดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)

ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต..

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516) · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทองเปลว ชลภูมิและ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »