โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทองอินทร์ ภูริพัฒน์

ดัชนี ทองอินทร์ ภูริพัฒน์

รองอำมาตย์ตรี ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็นนักการเมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นที่รู้จักกันดีในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ในกรณี "พระราชบัญญัติปักป้ายข้าวเหนียว" ต่อมาได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็น 1 ใน 4 อดีตรัฐมนตรีที่ถูกสังหารโหด ที่ ทุ่งบางเขน เมื่อปี พ.ศ. 2492 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยสาเหตุทางการเมือง ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็น นักการเมืองผู้ต่อสู้เพื่อชาวอิสานอย่างแท้จริงคนหนึ่ง.

32 ความสัมพันธ์: พรรคสหชีพกบฏวังหลวงกบฏแบ่งแยกดินแดนกบฏเสนาธิการการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุบลราชธานีจำลอง ดาวเรืองถวิล อุดลทองเปลว ชลภูมิควง อภัยวงศ์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 11คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 14คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 16คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 18คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชเสรีไทยเตียง ศิริขันธ์4 มีนาคม

พรรคสหชีพ

รรคสหชีพ พรรคการเมืองในประเทศไทยในอดีต มีแนวทางการก่อตั้งพรรคและอุดมการณ์คล้ายคลึงกับพรรคแนวรัฐธรรมนูญ คือ เป็นสังคมนิยม แต่ทั้งสองพรรคนี้มิได้ดำเนินการเกี่ยวข้องกัน สมาชิกและผู้ก่อตั้งส่วนใหญ่เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยสายอีสาน ที่ให้การสนับสนุน นายปรีดี พนมยงค์ เช่น นายเตียง ศิริขันธ์, นายจำลอง ดาวเรือง, นายถวิล อุดล, นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ และกลุ่มอื่น เช่น นายจรูญ สืบแสง, นายสงวน ตุลารักษ์, นายเดือน บุนนาค, พันเอก กาจ กาจสงคราม เป็นต้น โดยมี พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และนายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรรค พรรคสหชีพ เป็นพรรคร่วมจัดตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้งในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2489 กับพรรคแนวร่วมรัฐธรรมนูญ ภายหลังเหตุการณ์กบฏวังหลวง ในปี พ.ศ. 2492 สมาชิกพรรคสหชีพหลายคนถูกลอบสังหาร เช่น นายจำลอง ดาวเรือง, นายถวิล อุดล และนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ถูกสังหารอย่างมีปริศนาที่ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ 13 ยามดึก ต่อมาไม่นาน นายเตียง ศิริขันธ์ ก็ถูกสังหารอีกคนหนึ่ง พรรคสหชีพถูกยุบพรรคหลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2494 ตามคำสั่งของคณะรัฐประหารที่ให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ใช้อยู่ขณะนั้น และนำรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และพรรคสหชีพ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏวังหลวง

กบฏวังหลวง ชื่อเรียกกบฏที่เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และกบฏวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กบฏแบ่งแยกดินแดน

กบฏแบ่งแยกดินแดน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 ได้มีการจับกุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรภาคอีสานหลายคน เช่น นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายถวิล อุดล นายเตียง ศิริขันธ์ นายฟอง สิทธิธรรม โดยกล่าวหาว่ารวมกันดำเนินการฝึกอาวุธ เพื่อแบ่งแยกดินแดนภาคอีสานออกจากประเทศไทย แต่รัฐบาลไม่สามารถดำเนินการจับกุมได้ เนื่องจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีสิทธิคุ้มครองทางการเมือง ที่สุดกรมตำรวจ จึงใช้วิธีใช้อำนาจและเล่ห์เหลี่ยมในการจับกุม 4 อดีตรัฐมนตรีจากภาคอีสาน ประกอบด้วย จำลอง ดาวเรือง ถวิล อุดล ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ และ ดร.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และกบฏแบ่งแยกดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

กบฏเสนาธิการ

กบฏเสนาธิการ หรือ กบฏนายพล หรือ กบฏ 1 ตุลาคม เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491 เมื่อนายทหารระดับเสนาธิการของกองทัพ เช่น พลตรีสมบูรณ์ ศรานุชิต และ พล.ต.เนตร เขมะโยธิน เป็นหัวหน้าคณะนายทหารกลุ่มหนึ่ง วางแผนที่จะเข้ายึดอำนาจการปกครอง และปรับปรุงกองทัพจากความเสื่อมโทรม และได้ให้ทหารเล่นการเมืองต่อไป แต่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทราบแผนการล่วงหน้าและทำการจับกุมผู้คิดก่อการได้ การกบฏครั้งนี้ เกิดหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 ที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นหัวหน้าคณะรัฐประหาร ยึดอำนาจจากรัฐบาลพลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ประมาณหนึ่งปี และหลังจากกบฏเสนาธิการไม่ถึงหนึ่งปี ก็เกิดกบฏซ้ำอีกครั้ง คือ กบฏวังหลวง เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 และหลังจากนั้นอีกครั้ง คือ กบฏแมนฮัตตัน เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และกบฏเสนาธิการ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480) เป็นสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของไทย ได้มาจากการแต่งตั้งและเลือกตั้งโดยอ้อม สภาชุดแรกนี้อยู่ทำหน้าที่จนครบวาระ สภาพผู้แทนราษฎรไทยชุดถัดไปที่อยู่จนครบวาระโดยไม่ถูกยุบสภาหรือรัฐประหารคือ สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 7 และ 21.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 182 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 78 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 78 คน และมีการแต่งตั้งเพิ่ม 13 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก รัฐบาลพ่ายแพ้การลงมติในสภาฯ กรณี..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 91 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 91 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามที่รัฐบาลเสนอ เพื่อให้ลงโทษผู้ก่อให้เกิดการปกครองตามลัทธิคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขต ครั้งแรกทั้งหมด 96 คน และ ครั้งที่สอง 82 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 และ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน และ ครั้งที่สอง ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 178 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี มี 11 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 11 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ดาวเรือง

ำลอง ดาวเรือง (9 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 3 สมัย และเป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วย นายจำลอง ดาวเรือง นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ และนายถวิล อุดล.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และจำลอง ดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล อุดล

นายถวิล อุดล นายถวิล อุดล (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วย ตัวนายถวิลเอง นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ และนายจำลอง ดาวเรือง นายถวิลดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด 2 สมัย เป็นหัวหน้าเสรีไทย จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งเคยเดินทางไปติดต่อขอความร่วมมือจาก ประเทศจีน แนวคิดทางการเมืองที่สำคัญ คือ เงินภาษีที่เก็บจากประชาชน ต้องเป็นประโยชน์กลับคืนสู่ประชาชนทั้งหมด นายถวิล อุดล เสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และถวิล อุดล · ดูเพิ่มเติม »

ทองเปลว ชลภูมิ

ร.ทองเปลว ชลภูมิ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี และอดีตรัฐมนตรี เป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่รัฐมนตรี" ที่ถูกสังหารเมื่อ..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และทองเปลว ชลภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 11

ันตรี ควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 11 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 11 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488) พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 12 ของไทย (31 สิงหาคม 2488-17 กันยายน 2488) นายทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 12 นายทวี บุณยเกตุ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 14

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 14 (31 มกราคม พ.ศ. 2489 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2489) พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 31 มกราคม..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 16

นายปรีดี พนมยงค์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 16 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 16 ของไทย (11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489) นายปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17

ลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 17 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 17 ของไทย (23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 18

ลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 18 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 18 ของไทย (30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492

4 อดีตรัฐมนตรี คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และคดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)

ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

เสรีไทย

รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ. 2484 - 2488 มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น รักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย ขบวนการเสรีไทยกำเนิดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และเสรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

เตียง ศิริขันธ์

นายเตียง ศิริขันธ์ (คนกลาง) ในเครื่องแบบเสรีไทย กับนายทหารสัมพันธมิตร นายเตียง ศิริขันธ์ กับนางนิวาศน์ ภริยา นายชาญ บุนนาค บุคคลที่ถูกสังหารพร้อมนายเตียง เตียง ศิริขันธ์ (5 ธันวาคม พ.ศ. 2452 - 13 ธันวาคม พ.ศ. 2495) เป็นนักการเมืองฉายา "ขุนพลภูพาน" หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วยนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ นายถวิล อุดล และนายจำลอง ดาวเรือง นายเตียงดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สกลนคร 5 สมัย ตั้งแต่อายุ 28 ปี รัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นหัวหน้าใหญ่เสรีไทยภาคอีสานและสกลนครโดยมีศูนย์บัญชาการอยู่บนเทือกเขาภูพาน แนวคิดทางการเมืองที่สำคัญ คือ "ข้าพเจ้าต้องการให้ทุก ๆ คนบนพื้นอันเป็นสยามประเทศนี้ เป็นราษฎรเสมอหน้ากันหมด ปราศจากความเหลื่อมล้ำต่ำสูง" เตียง ศิริขันธ์ ถูกฆ่ารัดคอและเผาศพทิ้งเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2495 ในสมัยรัฐบาลคณะรัฐประหาร มีผู้ถูกฆ่าในครั้งนั้น ได้แก่ ชาญ บุนนาค เล็ก บุนนาค ผ่อง เขียววิจิตร และ สง่า ประจักษ์วงศ์ โดยศพถูกนำไปเผาทิ้งที่ ต.แก่งเสี้ยน อ.เมือง.กาญจนบุรี นายเตียง ศิริขันธ์ เกิดที่บ้านในตำบลตลาด อำเภอเมืองสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของขุนนิเทศพาณิชย์ (บุดดี ศิริขันธ์) กับนางอ้อน ศิริขันธ์ จบโรงเรียนเรียนฝึกหัดครูวัดบวรนิเวศวิหาร และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางนิวาศน์ ศิริขันธ์ (นามเดิม นิวาศน์ พิชิตรณการ เป็นบุตรสาวของ ร.อ.นาถ และนางเวศ พิชิตรณการ) มีบุตร 1 คน ชื่อ นายวิฑูรย์ ศิริขันธ์ เกี่ยวกับเชื้อสายของเตียง ศิริขันธ์ นั้นบิดาเป็นบุตรชายลำดับที่ 4 ของรองอำมาตย์โท พระบริบาลศุภกิจ (คำสาย ศิริขันธ์) หรือเพียเมืองขวา อดีตกรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ กับนางบัว ศิริขันธ์ ธิดาของพระโคษาราช (ต้นตระกูล นาถโคษา) กำนันตำบลสะพานหิน ปู่ของเตียง ศิริขันธ์ ชื่อพระเสนาภักดี (ขันธ์ ศิริขันธ์) ย่าชื่อนางพรหมา ศิริขันธ์ ปู่ทวดชื่อพระศรีวรราชหรือเพียสีสุวงษ์ (ท้าวรี) ย่าทวดชื่อนางที บิดาของปู่ทวดชื่อเพียสีหาเทพ (ท้าวศรี) กรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ชุดแรกสมัยเริ่มตั้งเมืองสกลนคร ตระกูลของเตียงศิริขันธ์นับว่าเป็นเชื้อสายขุนนางเก่าแก่ และเกี่ยวดองกับตระกูลเจ้าเมืองของสกลนครมายาวนาน คือ ตระกูล พรหมสาขา ณ สกลนคร.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และเตียง ศิริขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทองอินทร์ ภูริพัฒน์และ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »