โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทรานซิลเวเนีย

ดัชนี ทรานซิลเวเนีย

ทรานซิลเวเนียสีเหลืองบนแผนที่ของโรมาเนียกับเขตแดนของประเทศต่างๆ ภูมิภาคประวัติศาสตร์ บานัต, คริซานา และ มารามัวร์ส สีเหลืองเข้ม ทรานซิลเวเนีย (Transylvania, Ardeal หรือ Transilvania; Erdély) เป็นภูมิภาคประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางตอนกลางของโรมาเนีย โดยมีเขตแดนด้านตะวันออกและทางใต้ติดต่อกับ เทือกเขาคาร์เพเธียน (Carpathian mountains) ทางตะวันตกจรดเทือกเขาอพูเซนิ (Apuseni Mountains) แต่ “ทรานซิลเวเนีย” ที่ใช้กันมักจะรวมบริเวณที่เลยไปจากตัวทรานซิลเวเนียเองและภูมิภาคประวัติศาสตร์ของบริเวณบานัต, คริซานา (Crişana) และ มารามัวร์ส (Maramureş) ทรานซิลเวเนียเดิมเป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักรดาเซีย (82 ก.ค.ศ. - ค.ศ. 106) ในปี..

39 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2483พระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการีกองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนีการก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลางภาษาฮังการียุทธการที่เวียนนายุโรปกลางรัฐร่วมประมุขราชอาณาจักรฮังการีราชอาณาจักรโรมาเนียราชอาณาจักรโรมาเนียเก่ารายชื่อสนธิสัญญารางวัลเวียนนาครั้งที่สองวลาดที่ 3 นักเสียบสฟานตูกีออร์เกสหราชรัฐสารตราทองสารตราทองแห่งรีมีนีสุลัยมานผู้เกรียงไกรสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสตรีโกยออฌีเย กีซแล็ง เดอ บุสแบ็กอัศวินทิวทอนิกอียอน อี. เช. บราเตียนูจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ดิอะเมซิ่งเรซ 6คลูช-นาโปกาคาสเซิลวาเนีย II เบลมอนต์สรีเวงก์ตีร์กูมูเรชซีบีอูป่าฮอยานิยามของตราแวมไพร์แฮร์ทา มึลเลอร์แดรกคูลาแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)โยฮันน์ เฮดวิจเกรตเทอร์โรมาเนีย30 สิงหาคม

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการี

มเด็จพระเจ้ายาโนส ซาโพลไยแห่งฮังการี (János Szapolyai) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1487 – 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1540) ยาโนสเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮังการีผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1526 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1540 แต่การครองราชย์ของพระองค์ถูกประท้วงโดยจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 1 ผู้ก็ทรงอ้างว่าเป็นกษัตริย์ฮังการีในช่วงเวลาเดียวกัน ก่อนหน้าที่จะขึ้นครองราชย์เป็นแม่ทัพแห่งทรานสซิลเวเนี.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและพระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนี

กองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนี (Deutsches Bundesheer) เป็นกองทัพของสมาพันธรัฐเยอรมนี สถาปนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1815 - ค.ศ. 1866 โดยมีรากฐานจากการรวมกันของกองทหารรัฐต่างๆในสมาพันธรัฐเยอรมัน - มีหน้าที่ปกป้องดินแดน พิทักษ์อธิปไตยของสมาพันธรัฐจากศัตรูผู้รุกราน ในช่วงก่อตั้งฝรั่งเศสได้ส่งกองทัพเข้าร่วมทำสงครามต่อต้านจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, ทั้งนี้รัสเซีย เข้ามามีบทบาทในระหว่างการผนวกดินแดนของชาวสลาฟ.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและกองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง

มเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพบปะกับคณะผู้ก่อการในการปฏิวัติชาวนา การปฏิวัติของชุมชนในปลายสมัยกลางของยุโรป (Popular revolt in late medieval Europe) โดยทั่วไปเป็นการก่อความไม่สงบหรือการปฏิวัติของเกษตรกรในชนบทหรือชนชั้นกลางในเมืองในการต่อต้านขุนนาง, นักบวช หรือ พระมหากษัตริย์ระหว่างคริสต์ศัตวรรษที่ 14 จนถึงต้นคริสต์ศัตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ“วิกฤติกาลของปลายสมัยกลางของยุโรป”(Crisis of the Late Middle Ages) บางครั้งก็เรียกว่า“กบฏชาวนา”(Peasant revolt) ที่เป็นการปฏิวัติของชุมชนที่ครอบคลุมอย่างกว้างไม่เฉพาะแต่เกษตรกรหรือชาวน.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและการก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮังการี

ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและภาษาฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เวียนนา

ทธการเวียนนา (Schlacht am Kahlenberg, İkinci Viyana Kuşatması, Battle of Vienna) เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 11 ถึง 12 กันยายน ค.ศ. 1683 หลังจากเวียนนาถูกล้อมโดยจักรวรรดิออตโตมันอยู่เป็นเวลาสองเดือน ยุทธการเวียนนาเป็นการต่อสู้ระหว่างสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์กับฝ่ายจักรวรรดิออตโตมันและรัฐบริวารไม่ไกลจากเนินเขาคาห์เลนแบร์กในเวียนนา ยุทธการเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างอำนาจของราชวงศ์ฮับส์บวร์กในยุโรปกลาง กองทัพเวียนนานำโดยเอิร์นสท์ รืดิเกอร์ กราฟ ฟอน สตาร์เฮมแบร์กภายใต้การบังคับบัญชาของสมเด็จพระจักรพรรดิลีโอโพลด์ที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ชัยชนะของยุทธการใหญ่เป็นของฝ่ายกองทัพโปแลนด์, ออสเตรีย และ เยอรมัน ภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์โปแลนด์พระเจ้าจอห์นที่ 3 โซบีสกี ในการต่อสู้กับกองทัพของจักรวรรดิออตโตมันและกองทัพของรัฐบริวารที่นำโดยมหาเสนาบดีปาชาคารา มุสตาฟา ตามความเห็นบางความเห็นกล่าวว่ายุทธการครั้งนี้เป็นจุดเปลี่ยนแปลงของสงครามออตโตมัน-ฮับส์บวร์กซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐอำนาจต่างๆ ในยุโรปกลางกับจักรวรรดิออตโตมันที่ดำเนินมาร่วมสามร้อยปี อีกความเห็นหนึ่งก็ว่าเป็นลมหายใจเฮือกสุดท้ายของจักรวรรดิออตโตมันที่เมื่อถึงจุดนั้นก็เป็นช่วงที่ขยายตัวจนเกินตัวอยู่แล้ว สิบหกปีหลังจากการที่ยุทธการสิ้นสุดลงราชวงศ์ฮับส์บวร์กแห่งออสเตรียก็เริ่มเข้ามามีอำนาจทางตอนใต้ของฮังการี และ ทรานซิลเวเนียที่เดิมอยู่ภายใต้อำนาจของออตโตมัน.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและยุทธการที่เวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปกลาง

รัฐในยุโรปกลางในปี ค.ศ. 1902 ยุโรปกลาง (Central Europe) คือ อาณาบริเวณที่ตีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่าง ที่ตั้งอยู่ระหว่างยุโรปตะวันออก และยุโรปตะวันตก คำนี้และความสนใจโดยทั่วไปของบริเวณนี้กลับมาเป็นที่สนใจกันอีกครั้ง หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลงซึ่งก็เช่นเดียวกับม่านเหล็กที่เป็นอาณาบริเวณที่แบ่งยุโรปทางการเมืองออกเป็นตะวันออก และ ตะวันตก และม่านเหล็กผ่ายุโรปกลางออกเป็นสองข้าง ความหมายของยุโรปกลางในเชิงความมีลักษณะวัฒนธรรมร่วมกันของกลุ่มรัฐที่อยู่ในเครือเป็นความคิดที่ค่อนข้างจะเป็นความคิดลวง แต่กระนั้นนักวิชาการก็ยังเสนอว่าลักษณะเอกลักษณ์ของ “วัฒนธรรมยุโรปกลางที่แม้จะยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่นั้นมีอยู่จริง” ความเห็นนี้มีพื้นฐานมาจาก “ความคล้ายคลึงกันที่มาจากลักษณะทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม” ซึ่งสามารถบอกได้จากการที่บริเวณที่ว่านี้เคยเป็น “สถานที่ที่เป็นแหล่งสำคัญที่สุดของผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก” ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 คริสต์ศตวรรษที่ 20 “Cross Currents: A Yearbook of Central European Culture” ให้คำจำกัดความของยุโรปกลางว่าเป็น “ยุโรปตะวันตกที่ถูกละเลย หรือ สถานที่ที่ยุโรปตะวันออกและตะวันตกประสานงานกัน” ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ประเทศหลายประเทศในยุโรปกลางก็มักจะติดอันดับอยู่ในบรรดากลุ่ม 30 ประเทศที่ถือกันว่าเป็นประเทศพัฒนา (Developed countries) ที่สุดในโลก แต่วัฒนธรรมสมัยนิยมของตะวันตก (โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมอเมริกัน) ยังคงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณนี้ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นประเทศที่ยังอยู่ในความ “ความล้าหลัง” ของสงครามเย็น.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี

ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและราชอาณาจักรฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า

การเปลี่ยนแปลงชายแดนโรมาเนียนับตั้งแต่ค.ศ. 1881— ราชอาณาจักรเก่าแสดงสีม่วง แผนที่ราชอาณาจักรเก่าในปีค.ศ. 1901 วาดโดยชาวเยอรมัน ราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า หรือ Romanian Old Kingdom (โรมาเนีย: Vechiul Regat หรือ just Regat; เยอรมัน: Regat หรือ Altreich) เป็นคำที่หมายถึงดินแดนที่ครอบครองโดยอธิปไตยของโรมาเนียครั้งแรกในฐานะรัฐชาติ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มราชรัฐดานูบ ได้แก่ วัลลาเซียและมอลเดเวีย การก่อตั้งครั้งนี้ประสบความสำเร็จได้ด้วยการอุปถัมภ์จากสนธิสัญญาปารีส (1856) สภาแอด ฮอค ดีวานส์ของทั้งสองดินแดน ที่ซึ่งอยู่ภายใต้อำนาจของซูเซอร์เรนแห่งจักรวรรดิออตโตมัน ได้เลือกให้อเล็กซานดรู เอียน คูซาขึ้นเป็นองค์อธิปัตย์ ถือเป็นการรวมประเทศโดยพฤตินัยในนามว่าสหราชรัฐแห่งมอลเดเวียและวัลลาเซีย ดินแดนได้ถูกกำหนดตัวเองโดยผลจากการกระทำทางการเมือง ตามมาด้วยการรวมเอาโดบรูจาเหนือและถ่ายโอนทางตอนใต้ของเบสซาราเบียให้แก่รัสเซียในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเวียนนาครั้งที่สอง

รางวัลเวียนนาครั้งที่สอง เป็นเหตุการณ์ครั้งที่สองในข้อพิพาทดินแดนทั้งสองประเทศที่มีผู้ให้การตัดสินโดยนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี การตัดสินให้ปฏิบัติตาม เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและรางวัลเวียนนาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

วลาดที่ 3 นักเสียบ

วลาดที่ 3 เจ้าชายแห่งวาลาเคีย (ค.ศ. 1431–1476/7) หรือที่รู้จักโดยสกุล แดรกคิวลา พระองค์ทรงได้รับสมัญญาหลังสิ้นพระชนม์ว่า วลาดนักเสียบ (Vlad the Impaler; Vlad Țepeș) และทรงเป็นเจ้า (Voivode) ครองวาลาเคีย 3 สมัย ส่วนใหญ่ระหว่าง..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและวลาดที่ 3 นักเสียบ · ดูเพิ่มเติม »

สฟานตูกีออร์เก

ฟานตูกีออร์เก หรือ สฟินตูกีออร์เก (Sfântu Gheorghe) เป็นเมืองในประเทศโรมาเนียตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ ในภูมิภาคทรานซิลเวเนีย ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำออลต.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและสฟานตูกีออร์เก · ดูเพิ่มเติม »

สหราชรัฐ

หราชรัฐ (United Principalities; Principatele Unite) ในปี ค.ศ. 1859 อเล็กซานเดอร์ จอห์น คูซาได้รับเลือกให้เป็นประมุขของราชรัฐวัลเลเคียและราชรัฐมอลเดเวียที่ก่อตั้งขึ้นเป็น สหราชรัฐวัลเลเคียและมอลเดเวีย เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1862 สองราชรัฐนี้ก็รวมกันอย่างเป็นทางการและก่อตั้งขึ้นเป็น สหราชรัฐโรมาเนีย และในปี ค.ศ. 1866 1866 เมื่อรัฐธรรมนูญใหม่มีผลบังคับใช้ สหราชรัฐก็เปลี่ยนชื่อเป็นโรมาเนีย ทรานซิลเวเนียและสหราชรัฐวัลเลเคียและมอลเดเวียเป็นพื้นฐานของการก่อตั้งรัฐชาติโรมาเนี.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและสหราชรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สารตราทอง

รตราทองของอเล็กซิออสที่ 3 แห่งเทรบิซอนด์ (Alexios III of Trebizond) ค.ศ. 1374 ตราทองของสารตราทอง ค.ศ. 1356''' ออกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ สารตราทอง (Golden Bull หรือ Golden Baal) หมายถึงสารตราสีทองที่ประทับในพระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ และต่อมาโดยพระมหากษัตริย์ในยุโรปในระหว่างยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา (หรือ “bulla aurea” หรือ “ตราทอง” ในภาษาละติน) “สารตราทอง” เป็นวลีที่ใช้ในยุโรปตะวันตก ส่วนในจักรวรรดิไบแซนไทน์ก็เรียกว่า “chrysobullos logos” หรือ “chrysobulls” (χρυσός, หรือ “chrysos” ในภาษากรีกแปลว่า “ทอง”). “สารตราทอง” เป็นพระราชบัญญัติที่ประกาศใช้ติดต่อกันมาเป็นเวลาเกือบแปดร้อยปี และเป็นการออกโดยฝ่ายเดียวโดยไม่คำนึงหน้าที่การรับผิดของฝ่ายที่มีผลต่อ ซึ่งเป็นการทำให้ความมีประสิทธิภาพของอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์อ่อนลงไปในสายตาของประเทศอื่น ฉะนั้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 จักรวรรดิไบแซนไทน์จึงพยายามแสวงหาความตกลงจากฝ่ายตรงข้ามก่อนที่จะออกมาเป็นพระราชบัญญัติ พระมหากษัตริย์อื่นๆ ในยุโรปก็นำความคิดนี้ไปใช้แต่ในบางโอกาสเท่านั้น สารตราทองที่ไม่ได้ออกโดยจักรวรรดิไบแซนไทน์ทำให้พระราชบัญญัติมีน้ำหนักมากกว่าพระราชบัญญัติอื่นๆ ที่ออกตามปกติ สารตราทองที่สำคัญๆ ก็ได้แก่.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและสารตราทอง · ดูเพิ่มเติม »

สารตราทองแห่งรีมีนี

รตราทองแห่งรีมีนี (Golden Bull of Rimini) เป็นสารตราทองที่ออกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่รีมีนีในอิตาลีในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1226 เพื่อเป็นการรับรองสิทธิของอัศวินทิวทันในการเป็นเจ้าของแคว้นปรัสเซียที่ยึดมาได้ สารตรานี้เป็นฉบับแรกของเอกสารที่คล้ายคลึงกันสามฉบับ ที่ตามมาด้วย "สนธิสัญญาครูสซวิคา" (Treaty of Kruszwica) ของปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและสารตราทองแห่งรีมีนี · ดูเพิ่มเติม »

สุลัยมานผู้เกรียงไกร

ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول‎) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ. 1520 จนเสด็จสวรรคตเมื่อต้นเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1566 เป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 และเป็นสุลต่านที่ทรงราชย์นานที่สุดของจักรวรรดิออตโตมัน เป็นเวลานานถึง 46 ปี สุลต่านสุลัยมานเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1494 ที่ทราบซอนในประเทศตุรกี เป็นพระราชโอรสในสุลต่านเซลิมที่ 1 และฮาฟซา ฮาทุน (Hafsa Hatun) ทรงเสกสมรสตามกฎหมายกับร็อกเซลานา หรือเฮอร์เรมสุลต่าน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อราววันที่ 5/6 กันยายน ค.ศ. 1566 ที่ Szigetvár ในประเทศฮังการีปัจจุบัน หลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชโอรสของพระองค์กับเฮอร์เรมสุลต่านก็ขึ้นครองราชย์เป็นสุลต่านเซลิมที่ 2 สุลต่านสุลัยมานเป็นพระมหากษัตริย์องค์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีบทบาทสำคัญไม่เพียงแต่ในจักรวรรดิออตโตมันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงททวีปยุโรปด้วย พระองค์มีพระบรมราชานุภาพอันยิ่งใหญ่ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ ทรงเป็นผู้นำทัพด้วยพระองค์เองในการสงครามหลายครั้งและทรงได้รับชัยชนะในสงครามหลายครั้งที่รวมทั้งต่อเบลเกรด โรดส์ และ ฮังการีเกือบทั้งหมด แต่มาทางพ่ายแพ้ในการล้อมกรุงเวียนนาในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สตรีโกย

ตรีโกย จากสารคดีชุด ''Lost Tapes'' สตรีโกย (Strigoi; striga; หมายถึง โพลเทอร์ไกสท์) เป็นผีหรือปิศาจตามความเชื่อของชาวโรมาเนียประเภทแวมไพร์อย่างหนึ่ง สตรีโกยไม่เหมือนแวมไพร์อย่างอื่นตรงที่จะไม่ดูดเลือดจากมนุษย์โดยตรง แต่จะดูดวิญญาณหรือพลังชีวิตจากเหยื่อแทน สตรีโกยจะมีหางเล็ก ๆ งอกออกมาเหมือนกระดูกก้นกบที่ยาวผิดปกติ และยังเชื่ออีกว่าสตรีโกยมีพลังเหนือธรรมชาติสามารถเคลื่อนย้ายผลผลิตของชาวนาหรือรีดนมจากแม่วัวให้หมดไปได้ เพื่อให้ชาวนาและครอบครัวอดตาย สตรีโกย เป็นความเชื่อเรื่องแวมไพร์แบบพื้นบ้านของโรมาเนีย ผู้ที่เป็นสตรีโกยยังอาจหมายถึงแม่มด หรือผู้ที่เล่นเวทมนตร์ไสยศาสตร์ คำว่า สตรีโกย มาจากรากศัพท์ภาษาโรมาเนียคำกริยาที่หมายถึง "กรีดร้อง" ที่มาจากภาษาละตินคำว่า strix หรือ striga ซึ่งรากศัพท์หมายถึงนกฮูกหรือประเภทของนกฮูก หรือหมายถึงปรสิตดูดเลือด เช่น Strigeidida ซึ่งเป็นคำเดียวกันที่พบได้ทั่วทั้งภาษาโรมานซ์ เช่นภาษาอิตาลี strega หรือภาษาเวนิส คำว่า strěga แปลว่า "แม่มด" ในภาษาฝรั่งเศส stryge หมายถึง นกผู้หญิงที่ดูดเลือดเด็ก ฌูล แวร์น นักเขียนนิยายชาวฝรั่งเศสได้ใช้คำว่า "stryges" ในบทที่ 2 ในนิยายของตนเรื่อง The Carpathian Castle ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและสตรีโกย · ดูเพิ่มเติม »

ออฌีเย กีซแล็ง เดอ บุสแบ็ก

ออฌีเย กีซแล็ง เดอ บุสแบ็ก (Ogier Ghiselin de Busbecq); โอฌีเย กีแล็ง เดอ บุสแบ็ก (Augier Ghislain de Busbecq) หรือ เอาเกรีอุส กิสเลนีอุส บุสเบกวีอุส (Augerius Gislenius Busbequius; ค.ศ. 1520 หรือ ค.ศ. 1521 - 28 ตุลาคม ค.ศ. 1592) เป็นนักสมุนไพรวิทยา นักเขียน และนักการทูตชาวเฟลมิชที่เกิดในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและออฌีเย กีซแล็ง เดอ บุสแบ็ก · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินทิวทอนิก

ณะภราดรบ้านนักบุญมารีย์เยอรมันในเยรูซาเล็ม (Ordo domus Sanctæ Mariæ Theutonicorum Hierosolymitanorum) หรือชื่อสามัญว่า คณะทิวทอนิก (หรือ คณะเยอรมันในปัจจุบัน) เป็นคณะอัศวินสมัยกลางของเยอรมนี และในสมัยปัจจุบันกลายเป็นคณะศาสนาคาทอลิกเต็มตัว ก่อตั้งขึ้นราว ปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและอัศวินทิวทอนิก · ดูเพิ่มเติม »

อียอน อี. เช. บราเตียนู

อียอน อี.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและอียอน อี. เช. บราเตียนู · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิเลโอโปลด์(หรือลีโอโพลด์) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Leopold Ignaz Joseph Balthasar Felician, Leopold I, Holy Roman Emperor) (9 มิถุนายน ค.ศ. 1640 - 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705) แห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ของจักรวรรดิระหว่างปี ค.ศ. 1658 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระนางมาเรีย อันนาแห่งบาวาเรีย จักรพรรดินีมเหสีพระองค์แรก ลีโอโพลด์ทรงกลายมาเป็นรัชทายาทโดยนิตินัยหลังจากการสวรรคตด้วยโรคฝีดาษของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งฮังการีพระเชษฐาธิราชเมื่อวันที่9 กรกฎาคม ค.ศ. 1658.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 6

อะเมซิ่ง เรซ 6 (The Amazing Race 6) เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและดิอะเมซิ่งเรซ 6 · ดูเพิ่มเติม »

คลูช-นาโปกา

ลูช-นาโปกา (Cluj-Napoca; Klausenburg; Kolozsvár; ละตินยุคกลาง: Castrum Clus, Claudiopolis; קלויזנבורג, Kloiznburg) เป็นเมืองที่มีประชากรอันดับ 4 ของประเทศโรมาเนีย ตั้งอยู่บริเวณภูเขาในภูมิภาคทรานซิลเวเนีย บนฝั่งขวาของแม่น้ำโซเมชูลมีก เป็นเมืองสำคัญด้านการศึกษา วัฒนธรรม อุตสาหกรรม และเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศโรมาเนีย มีอุตสาหกรรมเคมี สิ่งทอ เครื่องปั้นดินเผา ถุงเท้ารองเท้า โลหภัณฑ์ ชาวเยอรมันเข้าไปตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมืองนี้เกิดจากการรวมเมืองของเมืองคลูชและเมืองนาโปกาในตอนกลางทศวรรษ 1970.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและคลูช-นาโปกา · ดูเพิ่มเติม »

คาสเซิลวาเนีย II เบลมอนต์สรีเวงก์

ซิลวาเนีย II เบลมอนต์สรีเวงก์ (Castlevania II: Belmont's Revenge, ドラキュラ伝説II ベルモントの復讐) เป็นวิดีโอเกมที่ผลิตขึ้นในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและคาสเซิลวาเนีย II เบลมอนต์สรีเวงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ตีร์กูมูเรช

ตีร์กูมูเรช (Târgu Mureș) เป็นเมืองในประเทศโรมาเนีย ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของประเทศ จากข้อมูลประชากรในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและตีร์กูมูเรช · ดูเพิ่มเติม »

ซีบีอู

ซีบีอู (Sibiu; Hermannstadt, Nagyszeben) เป็นเมืองสำคัญในทรานซิลเวเนีย ประเทศโรมาเนีย มีประชากร 154,548 คน เป็นศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรม ผลิตเครื่องจักร รถบรรทุก สิ่งทอ เสื้อผ้า ถุงเท้ารองเท้า ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องมือที่ให้ความเที่ยงตรงสูง และสินค้าเครื่องหนัง.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและซีบีอู · ดูเพิ่มเติม »

ป่าฮอยา

ป่าฮอยา (Hoia Forest; Pădurea Hoia; Hója-erdő) ป่าแห่งหนึ่ง ใกล้กับเมืองคลูช-นาโปกา ในภูมิภาคทรานซิลเวเนีย ประเทศโรมาเนีย เป็นป่าที่มีเนื้อที่ประมาณ 295 เฮกเตอร์ (729.0 เอเคอร์ หรือ 3 ตารางกิโลเมตร) โดยเป็นป่าที่ได้ชื่อว่าลึกลับและเต็มไปด้วยเรื่องราวเหนือธรรมชาติไม่สามารถหาคำอธิบายได้ จนได้ชื่อว่า "สามเหลี่ยมเบอร์มิวดาทรานซิลเวเนีย" หรือ "สามเหลี่ยมเบอร์มิวดาโรมาเนีย" ใจกลางของป่าจะมีพื้นที่เป็นวงกลม เห็นได้ชัดจากบนท้องฟ้า ซึ่งวงกลมตรงนี้ไม่มีต้นไม้ใด ๆ ขึ้นอยู่เลยเป็นที่น่าประหลาด โดยไม่มีใครทราบเหตุผล และเมื่อถ่ายภาพด้วยกล้องจับความร้อนจากบนอากาศ ก็เห็นความร้อนที่ชัดเจนจากที่นี่ ผิดกับพื้นที่ป่าโดยรอบ และพื้นที่วงกลมนี้เป็นสถานที่ ๆ มีรายงานเรื่องลึกลับมากที่สุดในป่า เช่น แสงไฟประหลาดที่มักปรากฏขึ้น หรือพลังงานลึกลับที่ไม่มีใครอธิบายได้ มีบางคนได้เข้าไปในพื้นที่แห่งนี้และเล่าว่าตัวเขาถูกอะไรบางอย่างผลักดันให้กระเด็นไปไกลราว 2–4 เมตร ซึ่งชาวพื้นถิ่นที่อาศัยอยู่แถบนี้ต่างหวาดกลัวและไม่มีใครกล้าเข้าไปในป่านี้ มีผู้หญิงคนหนึ่งเล่าว่า ในสมัยที่เธอยังเด็ก มีผู้ชายกลุ่มหนึ่งได้เข้าไปในป่า ที่สุดก็หายไป ก่อนที่ถูกพบว่าทั้งหมดได้แขวนคอตาย แต่ผู้ที่อาศัยอยู่แถบนี้เชื่อว่าเป็นเพราะถูกอำนาจของผีหรือปิศาจที่สิงอยู่ในป่าบังคับให้พวกเขาทำเช่นนั้น ในช่วงทศวรรษที่ 60 ศาสตราจารย์ อเล็กซานดรู ซิฟต์ นักวิชาการด้านชีววิทยาได้ลงพื้นที่สำรวจและเก็บข้อมูลเกี่ยวกับป่าแห่งนี้ โดยได้ศึกษาถึงปรากฏการณ์แสงและพลังแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่นี่ โดยได้หลักฐานเป็นภาพถ่ายจำนวนมาก โดยเชื่อว่าอาจเชื่อมโยงกับยูเอฟโอ หรือสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาจากนอกโลก และได้รับความสนใจและศึกษามากขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 70 แต่หลังจากซิฟต์เสียชีวิตไปในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและป่าฮอยา · ดูเพิ่มเติม »

นิยามของตรา

นิยามของตรา (Blazon) ในด้านการศึกษาทางด้านมุทราศาสตร์ และ ธัชวิทยา “Blazon” หรือ “นิยามของตรา” คือคำบรรยายอย่างเป็นทางการของลักษณะของตรา ที่ส่วนใหญ่เป็นการบรรยายตราอาร์ม หรือ ธง ที่สามารถทำให้ผู้สร้างสามารถสร้างตรา, ธง หรือ เครื่องหมายได้ตามความต้องการอย่างถูกต้อง ฉะนั้นรูปลักษณะและองค์ประกอบของตราอาร์ม หรือ ธงตามหลักแล้วไม่ใช่เป็นการบรรยายโดยการใช้รูป แต่จะเป็นการบรรยายโดยตัวอักษร (แต่ในสมัยปัจจุบัน จะมีการให้นิยามเพิ่มเติมและบรรยายอย่างเจาะจงกว่าที่เป็นมาด้วยรายละเอียดทางเรขาคณิต) “นิยามของตรา” ใช้ภาษาเฉพาะทางในการเขียนนิยามตั้งแต่หลักการวางตำแหน่งของคำบรรยาย การใช้คำกิริยา ไปจนถึงหลัก และลำดับการเขียนคำบรรยายของแต่ละส่วนที่ย่อยออกไป เช่นคำแรกที่พบในการบรรยายตราคือชื่อผิวตรา ที่หมายถึงสีหรือผิวของพื้นตรา เช่น “Azure...” ซึ่งหมายความว่า “ (พื้นตรา) น้ำเงิน” ผู้อ่านที่เข้าใจหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยามจะทราบว่า “Azure...” เป็นสีของพื้นตราโดยไม่ต้องมีคำว่า “Field” ที่แปลว่าพื้นตรานำหน้าคำว่า “Azure...” เพราะตำแหน่งการวางคำเป็นไปตามหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยาม นอกจากโครงสร้างการวางลำดับการบรรยายและการใช้ไวยากรณ์แล้ว นิยามของตราในมุทราศาสตร์ก็ยังใช้คำศัพท์ที่เป็นศัพท์เฉพาะกิจเช่นคำว่า “Charge” ที่หมายถึง “เครื่องหมาย” บน “พื้นตรา” (Field) หรือคำว่า “Attitude” ที่หมายถึง “ลักษณะการวางท่า” ของมนุษย์หรือสัตว์ที่ปรากฏบนตรา นอกจากตราอาร์ม หรือ ธง แล้ว “นิยามของตรา” ก็อาจจะใช้ในการบรรยายลักษณะของสิ่งอื่นๆ ด้วยเช่น ตรายศ (badge), แถบคำขวัญ (banner) และ ตราประทั.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและนิยามของตรา · ดูเพิ่มเติม »

แวมไพร์

Nosferutu: A Symphony of Horror'' ที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายเรื่อง เค้าท์แดร็กคูลา ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายในปี ค.ศ. 1922 แวมไพร์ (Vampire) ผีชนิดหนึ่งตามความเชื่อของชาวยุโรป ในยุคกลาง เชื่อว่าเป็นผีดิบ ที่มีรูปร่างหน้าตาเหมือนมนุษย์ทั่วไป แต่มีฟันแหลมคม ดื่มเลือดของมนุษย์ด้วยกันเป็นอาหารเพื่อหล่อเลี้ยง โดยที่แวมไพร์จะมีชีวิตเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย จะปรากฏตัวได้แต่เฉพาะเวลากลางคืน เพราะกลางวันแพ้แสงแดด แวมไพร์จะหลบซ่อนอยู่ในโลงของตนหรือในหลุมในเวลากลางวัน สามารถแปลงร่างได้หลายแบบ เช่น ค้างคาว, นกฮูก, หมาป่า, หมาจิ้งจอก, กบ, คางคก, แมลงเม่า, งูพิษ เป็นต้น สามารถกำบังกายหายตัวได้ ไม่มีเงาเมื่อกระทบกับแสงหรือสะท้อนในกระจก มีแรงมากเหมือนผู้ชาย 20 คน รวมถึงสามารถบังคับสิ่งของให้เคลื่อนที่ด้วยอำนาจของตนได้ด้วย สิ่งที่จะกำราบแวมไพร์ได้คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา เช่น ไม้กางเขน, น้ำมนตร์ หรือแม้กระทั่งสมุนไพรกลิ่นแรงบางชนิด เช่น กระเทียม วิธีฆ่าแวมไพร์มีมากมาย เช่น ตอกลิ่มให้ทะลุหัวใจ เผา หรือ ตัดหัวด้วยจอบของสัปเหร่อ บุคคลที่ตกเป็นเหยื่อของมัน จะกลายเป็นแวมไพร์ไปด้วย และกลายเป็นสาวกของแวมไพร์ตนที่ดูดเลือดตัวเอง ชาวยุโรปในยุคกลางนั้น หวาดกลัวแวมไพร์มาก ผู้ที่สงสัยว่าเป็นแวมไพร์ จะตกอยู่ในสถานะเดียวกับแม่มด หรือ มนุษย์หมาป่า คือ ถูกตัดสินลงโทษด้วยการเอาถึงชีวิต มีวิธีการป้องกันการรุกรานของแวมไพร์หลายวิธี เช่น บางหมู่บ้านจะโปรยเมล็ดข้าวไว้บนหลังคาบ้าน เพราะเชื่อว่าแวมไพร์จะง่วนกับการนับเมล็ดข้าวเป็นการถ่วงเวลาจนรุ่งเช้า หรือ โรยเศษขนมปังไว้ตั้งแต่สุสานให้แวมไพร์เดินเก็บเศษขนมนั้นวนเวียนไปมา หรือแม้แต่การวางไม้กางเขนหรือดอกกุหลาบที่มีหนามแหลมเพื่อเป็นการพันธนาการไว้ในโลง เรื่องราวของแวมไพร์ มีมากมาย ที่เป็นนิทานพื้นบ้านและวรรณกรรม โดยวรรณกรรมที่ว่าถึงแวมไพร์ที่เก่าแก่ที่สุด มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดของแวมไพร์คือ เรื่องแดรกคูลา ของ บราม สโตกเกอร์ ที่โด่งดังจนมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ละคร ละครเวที หรือแม้แต่กระทั่งภาพยนตร์การ์ตูนมากมายตราบจนปัจจุบัน เช่น ภาพยนตร์เรื่อง Nosferatu: A Symphony of Horror ในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและแวมไพร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์ทา มึลเลอร์

แฮร์ทา มึลเลอร์ (Herta Müller) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1953 - ปัจจุบัน) แฮร์ทา มึลเลอร์เป็นนักเขียน กวี และนักเขียนบทความคนสำคัญชาวเยอรมันที่เกิดในประเทศโรมาเนีย แฮร์ทา มึลเลอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2009 งานเขียนที่มีชื่อเสียงของมึลเลอร์เป็นงานเขียนที่เกี่ยวกับสภาวะอันทารุณของชีวิตในสาธารณรัฐประชาชนโรมาเนีย (Communist Romania) ภายใต้การปกครองอันกดขี่ของรัฐบาลของนิโคไล เชาเชสกู, เกี่ยวกับประวัติศาสตร์เยอรมนีในภูมิภาคบานัท (Banat) ในยุโรปกลาง และ การทำร้ายชาวเยอรมันเชื้อสายโรมาเนียโดยกองทหารโซเวียตที่ยึดครองโรมาเนียของสตาลิน.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและแฮร์ทา มึลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แดรกคูลา

แดรกคูลา (อังกฤษ: Dracula) นวนิยายภาษาอังกฤษแนวสยองขวัญที่มีชื่อเสียงที่สุดของ บราม สโตกเกอร์ เป็นเรื่องราวของแวมไพร์หรือผีดิบดูดเลือดในโรมาเนีย ที่เดินทางมาอังกฤษเพื่อเผยแพร่เผ่าพันธุ์ โดยมีฉากหลังเป็นอังกฤษที่ปกคลุมด้วยบรรยายกาศอึมครึมในยุควิกตอเรี.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและแดรกคูลา · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เฮดวิจ

ันน์ เฮดวิจ (Johann Hedwig; 8 ธันวาคม ค.ศ. 1730 – 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1799) หรือ โยฮันเนส เฮดวิจ (Johannes Hedwig) หรือชื่อละตินคือ โยอันนิส เฮดวิจ (Joannis Hedwig) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบราชอฟในทรานซิลเวเนีย เป็นบุตรของยาคอบ เฮดวิจและแอกเนส แกลเลส เฮดวิจเรียนจบด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยไลพ์ซิจในปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและโยฮันน์ เฮดวิจ · ดูเพิ่มเติม »

เกรตเทอร์โรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (เส้นสีเหลืองคือเกรตเทอร์โรมาเนีย) หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เกรตเทอร์โรมาเนีย (Greater Romania; România Mare) มักใช้หมายถึง เขตแดนของราชอาณาจักรโรมาเนียในช่วงสมัยระหว่างสงคราม แต่ก็ใช้หมายถึง แนวคิดชาตินิยมแบบรวมชาติ (Pan-nationalism) ด้วย เป้าหมายหลักของแนวคิด คือ การสร้างรัฐชาติซึ่งรวบรวมผู้คนที่พูดภาษาโรมาเนียทั้งหมดIrina Livezeanu,, Cornell University Press, 2000, p. 4 and p. 302 คำนี้มีความเกี่ยวข้องกับราชอาณาจักรโรมาเนียอย่างมากในช่วงระหว่างปี..

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและเกรตเทอร์โรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทรานซิลเวเนียและ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ErdélyTransilvaniaTranssylvaniaTransylvaniaTransylvanianทรานสซิลเวเนีย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »