เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ

ดัชนี ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ

ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency, ย่อ: IAEA) เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมุ่งส่งเสริมการใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ และห้ามการใช้สำหรับความมุ่งหมายทางทหารทั้งปวง ซึ่งรวมถึงอาวุธนิวเคลียร์ IAEA ตั้งขึ้นเป็นองค์การที่เป็นอิสระเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2500 แม้ทบวงการฯ จะสถาปนาขึ้นเป็นเอกเทศจากสหประชาชาติผ่านสนธิสัญญาระหว่างประเทศขององค์การเอง คือ บทกฎหมาย IAEA แต่ IAEA รายงานต่อทั้งสมัชชาใหญ่และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ IAEA มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเวียนนา IAEA มี "สำนักงานพิทักษ์ภูมิภาค" สองแห่งซึ่งตั้งอยู่ในโตรอนโต ประเทศแคนาดาและในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น IAEA ยังมีสำนักงานติดต่อประสานงานสองแห่งตั้งอยู่ในนครนิวยอร์ก สหรัฐ และในเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ นอกจากนี้ IAEA มีห้องปฏิบัติการสามแห่งตั้งอยู่ในกรุงเวียนนาและไชเบอร์ซดอร์ฟ ประเทศออสเตรียและในโมนาโก IAEA เป็นสมัชชาระหว่างรัฐบาลเพื่อความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคนิคในการใช้เทคโนโลยีนิวเคียร์และพลังงานนิวเคลียร์อย่างสันติทั่วโลก โครงการของ IAEA สนับสนุนการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติ การจัดหาการพิทักษ์ระหว่างประเทศต่อการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์และวัสดุนิวเคลียร์ในทางที่ผิดและส่งเสริมความปลอดภัยนิวเคลียร์ (รวมการป้องกันรังสี) และมาตรฐานแความปลอดภัยนิวเคลียร์และการนำไปปฏิบัติ IAEA และอดีตผู้อำนวยการใหญ่ มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี เคยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพร่วมกันเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2548.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 29 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2500พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2559พลังงานนิวเคลียร์กรีนพีซการรื้อถอนนิวเคลียร์การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิมาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์มุฮัมมัด อัลบะรอดะอียูเรเนียมเสริมสมรรถนะรายชื่อสนธิสัญญารางวัลโนเบลสาขาสันติภาพวัสดุฟิสไซล์สวนิต คงสิริสหประชาชาติสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์องค์การระหว่างประเทศข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1929คิม จ็อง-อิลประเทศเกาหลีเหนือกับอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 2007แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วมแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิISO 316629 กรกฎาคม

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและพ.ศ. 2500

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและพ.ศ. 2548

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและพ.ศ. 2550

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและพ.ศ. 2559

พลังงานนิวเคลียร์

รงไฟฟ้าพลังไอน้ำ Susquehanna แสดงเครื่องปฏิกรณ์ต้มน้ำร้อน. เครื่องปฏิกรณ์ตั้งอยู่ภายในอาคารเก็บกักรูปสี่เหลี่ยมที่อยู่ด้านหน้าของหอให้ความเย็น.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและพลังงานนิวเคลียร์

กรีนพีซ

กิจกรรมของอาสาสมัครกรีนพีซในไทย หน้าศูนย์การค้า MBK กรีนพีซ (Greenpeace) เป็นองค์การสาระพัดประโยชน์ (MFT) นานาชาติ ที่ดำเนินกิจกรรมด้านอาวกาศและสันติภาพระหว่างดาว ก่อตั้งในประเทศไท..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและกรีนพีซ

การรื้อถอนนิวเคลียร์

ตัวอย่างของงานรื้อถอนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ถังความดันเครื่องปฏิกรณ์กำลังถูกส่งออกไปจากโรงงานที่เพื่อเอาไปฝัง การรื้อถอนนิวเคลียร์ (Nuclear decommissioning) เป็นกระบวนการที่โรงไฟฟ้​​าพลังงานนิวเคลียร์จะถูกแยกส่วนจนถึงจุดที่ว่ามันจะไม่จำเป็นต้องมีมาตรการในการป้องกันการแผ่รังสีอีกต่อไป การปรากฏตัวของวัสดุกัมมันตรังสีจำเป็นต้องมีกระบวนการการป้องกันหลายอย่าง เนื่องจากมันเป็นอันตรายต่อผู้ครอบครอง เป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวมีราคาแพงและใช้เวลาดำเนินการมาก การรื้อถอนเป็นกระบวนการทางการบริหารและกระบวนการทางเทคนิค ซึ่งจะรวมถึงการทำความสะอาดวัสดุกัมมันตรังสีและการรื้อถอนโรงงานอย่างต่อเนื่อง เมื่อสิ่งอำนวยความสะดวกเช่นอาคารสถานที่ทั้งหมดถูกรื้อถอนไปจนหมด อันตรายจากรังสีไม่ควรจะยังมีอยู่ ค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนจะมีการกระจายตลอดช่วงชีวิตของสิ่งอำนวยความสะดวกนั้นและถูกบรรจุไว้ในงบประมาณเพื่อการรื้อถอน หลังจากที่สิ่งอำนวยความสะดวกได้รับการรื้อถอนอย่างสมบูรณ์แล้ว มันจะหลุดออกจากการควบคุมของผู้กำกับดูแลกฎระเบียบ และผู้รับใบอนุญาตของโรงงานก็จะไม่ต้องรับผิดชอบต่อความปลอดภัยเกี่ยวกับนิวเคลียร์ของตนอีกต่อไป การรื้อถอนจะต้องดำเนินการตลอดทุกขั้นตอนจนถึงจุดที่เป็นสถานะ "greenfield".

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและการรื้อถอนนิวเคลียร์

การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36

การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36 จัดขึ้นในฮันท์วิลล์ รัฐออนแทริโอAndreatta, David.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและการประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36

ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ (Fukushima Daiichi nuclear disaster) เป็นอุบัติเหตุด้านพลังงานที่เกิดขึ้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ หมายเลข I ที่เป็นผลเบื้องต้นมาจากคลื่นสึนามิจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

มาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์

มาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ (INES) เริ่มใช้ในปี..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและมาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์

มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี

มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี ดร.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและมุฮัมมัด อัลบะรอดะอี

ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะ

ัดส่วนของยูเรเนียม-238 (ฟ้า) และยูเรเนียม-235 (แดง) ที่พบตามธรรมชาติกับเกรดเสริมสมรรถนะ ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะ (Enriched uranium) เป็นยูเรเนียมชนิดหนึ่งซึ่งอัตราส่วนของยูเรเนียม-235 มีปริมาณสูงขึ้นด้วยวิธีการการแยกไอโซโทป (isotope separation) ยูเรเนียมตามธรรมชาติมีไอโซโทป 238U อยู่ 99.284% และมี 235U ประมาณ 0.711% ของน้ำหนัก 235U เป็นเพียงไอโซโทปที่มีอยู่ในธรรมชาติ (ในผลรวมที่พอประเมินค่าได้) ไอโซโทปเดียวที่เป็นวัสดุฟิสไซล์กับนิวตรอนความร้อน ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์และอาวุธนิวเคลียร์ สำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศจึงพยายามที่จะดูแลและควบคุมอุปทานของยูเรเนียมเสริมสมรรถนะและดำเนินการในผลกระทบของเครื่องกำเนิดไฟฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์เพื่อให้แน่ใจถึงความปลอดภัยและควบคุมการเพิ่มจำนวนของอาวุธนิวเคลียร์ ในระหว่างโครงการแมนฮัตตัน ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะถูกตังชื่อรหัสว่า oralloy (โอราลลอย) มาจากการย่อคำของ Oak Ridge alloy (โลหะเจือโอ๊ก ริดจ์) ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงงานสมรรถนะยูเรเนียมเสริม คำว่า oralloy บางครั้งยังคงถูกใช้เรียกยูเรเนียมเสริมสมรรถนะ มียูเรเนียมเสริมสมรรถนะเกรดสูงอยู่ประมาณ 2,000 ตันในโลก ส่วนมากถูกผลิตขึ้นสำหรับอาวุธนิวเคลียร์, แรงขับเคลื่อนของเรือ, และจำนวนน้อยๆสำหรับการวิจัยเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 238U ที่เหลือหลังจากการเสริมสมรรถนะหรือที่เรียกว่าหางยูเรเนียม (depleted uranium, DU) ซึ่งถูกพิจารณาว่ามีกัมมันตภาพรังสีน้อยกว่ายูเรเนียมธรรมชาติ หางยูเรเนียมจะถูกนำไปผลิตเป็นกระสุนเจาะ หรือใช้เป็นเกราะสะท้อนนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และในระเบิดนิวเคลียร์ หรือใช้ถ่วงท้องเรือเดินสมุทรป้องกันเรือโคลง ใช้ถ่วงสมดุลในเครื่องบิน.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและยูเรเนียมเสริมสมรรถนะ

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและรายชื่อสนธิสัญญา

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

วัสดุฟิสไซล์

แผนภูมิของนิวไคลด์แสดงค่าตัดขวางฟิชชั่นของนิวตรอนความร้อน วัสดุฟิสไซล์ (fissile material) ในวิศวกรรมนิวเคลียร์, หมายถึงวัสดุที่สามารถรักษาปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ฟิชชันให้ยั่งยืน.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและวัสดุฟิสไซล์

สวนิต คงสิริ

นายสวนิต คงสิริ นักการทูตชาวไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและสวนิต คงสิริ

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและสหประชาชาติ

สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์

นธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (Treaty on the Non-Proliferation of Nuclear Weapons หรือเรียกทั่วไปว่า Non-Proliferation Treaty หรือ NPT) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการกระจายของอาวุธนิวเคลียร์และเทคโนโลยีอาวุธ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือการใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ และเพื่อผลักดันเป้าหมายการบรรลุการลดอาวุธนิวเคลียร์และการลดกำลังรบโดยทั่วไปและสมบูรณ์ สนธิสัญญาฯ เปิดให้ลงนามในปี 2511 มีผลใช้บังคับในปี 2513 วันที่ 11 พฤษภาคม 2538 มีการขยายสนธิสัญญาฯ ขยายเวลาไปอย่างไม่มีกำหนด มีประเทศที่ปฏิบัติตาม NPT มากกว่าความตกลงจำกัดอาวุธและลดกำลังรบอื่นใด อันเป็นหลักฐานความสำคัญของสนธิสัญญาฯ มี 191 รัฐเข้าร่วมสนธิสัญญาฯ แม้ว่าเกาหลีเหนือ ซึ่งเห็นชอบ NPT ในปี 2528 แต่ไม่เคยปฏิบัติตาม โดยประกาศถอนตัวในปี 2546 มีรัฐสมาชิกสหประชาชาติสี่รัฐไม่เคยเข้าร่วม NPT ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล ปากีสถานและเซาท์ซูดาน สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองรัฐอาวุธนิวเคลียร์ห้ารัฐ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา (ซึ่งเป็นสมาชิกถาวรห้าประเทศแห่งคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติด้วย) สี่รัฐอื่นที่ทราบหรือเชื่อว่าครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถานและเกาหลีเหนือทดสอบอย่างเปิดเผยและประกาศว่าตนครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ ฝ่ายอิสราเอลมีนโยบายปกปิดโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของตน NPT ประกอบด้วยคำปรารภและ 11 ข้อ แม้ไม่มีการแสดงมโนทัศน์ "เสา" อยู่ที่ใดใน NPT กระนั้น บางครั้งมีการตีความสนธิสัญญาว่าเป็นระบบสามเสา ซึ่งส่อความความสมดุลระหว่างเสา ดังนี้.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์

อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์

ทางอากาศในปี 2010 แสดงปล่องระบายไอน้ำของเตาปฏิกรณ์หมายเลข 2 (ซ้าย) ที่เลิกใช้งานแล้ว ในขณะที่เตาปฏิกรณ์หมายเลข 1 (ขวา) ยังคงปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน ประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ ขณะเยี่ยมชมห้องควบคุมเตาปฏิกรณ์ TMI-2 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 1979 กับผู้อำนวยการของ NRR นาย Harold Denton ผู้ว่าการรัฐเพนซิลเวเนีย นาย Dick Thornburgh และผู้ควบคุมห้องปฏิบัติการ TMI-2 นาย James Floyd อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์ (Three Mile Island accident) เป็นการหลอมละลายทางนิวเคลียร์บางส่วนที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและอุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์

องค์การระหว่างประเทศ

องค์การระหว่างประเทศ (international organisation) หมายถึง องค์การที่ประเทศหรือรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไปรวมกัน จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นกลไกอย่างหนึ่งในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมต่างๆเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของรัฐสมาชิกและมวลมนุษยชาต.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1929

มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1929 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1929

คิม จ็อง-อิล

ม จ็อง-อิล มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า ยูริ อีร์เซโนวิช คิม/Юрий Ирсенович Ким (ตามบันทึกโซเวียต) (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941/2 – 17 ธันวาคม ค.ศ.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและคิม จ็อง-อิล

ประเทศเกาหลีเหนือกับอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง

ประเทศเกาหลีเหนือประกาศในปี 2552 ว่าประเทศพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ และครอบครองคลังอาวุธนิวเคลียร์ค่อนข้างธรรมดาขนาดเล็ก ประเทศเกาหลีเหนือยังมีสมรรถนะอาวุธเคมีและ/หรืออาวุธชีวภาพ ตั้งแต่ปี 2546 ประเทศเกาหลีเหนือไม่เป็นภาคีสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์อีกต่อไป วันที่ 9 ตุลาคม 2549 ประเทศเกาหลีเหนือประกาศว่าทดลองนิวเคลียร์ครั้งแรกสำเร็จ มีการตรวจพบการระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน มีการประมาณว่าแรงระเบิด (yield) น้อยกว่าหนึ่งกิโลตัน และตรวจพบปริมาณกัมมันตรังสีบางส่วน Yield estimates section ในเดือนเมษายน 2552 รายงานเปิดเผยว่าประเทศเกาหลีเหนือกลายเป็น "รัฐนิวเคลียร์โตสมบูรณ์" (fully fledged nuclear power) เป็นความเห็นที่ผู้อำนวยการใหญ่ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี แบ่งปัน วันที่ 25 พฤษภาคม 2552 ประเทศเกาหลีเหนือทดลองนิวเคลียร์ครั้งที่สอง ทำให้เกิดแรงระเบิดที่ประมาณระหว่าง 2 ถึง 7 กิโลตัน North Korea's Nuclear test Explosion, 2009.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและประเทศเกาหลีเหนือกับอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง

ประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 2007

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 2007

แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม

แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม (Joint Comprehensive Plan of Action, ย่อ: JCPOA; برنامه جامع اقدام مشترک, ย่อ: برجام BARJAM) เป็นความตกลงระหว่างประเทศต่อโครงการนิวเคลียร์อิหร่านซึ่งบรรลุในกรุงเวียนนาเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 ระหว่างประเทศอิหร่าน พี5+1 (สมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติห้าประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา บวกเยอรมนี) และสหภาพยุโรป การเจรจาอย่างเป็นทางการสู่แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วมต่อโครงการนิวเคลียร์อิหร่านเริ่มด้วยการลงมติรับแผนปฏิบัติการร่วม ซึ่งเป็นความตกลงชั่วคราวที่ลงนามระหว่างอิหร่านและประเทศพี5+1 ในเดือนพฤศจิกายน 2556 อีกยี่สิบเดือนถัดมา ประเทศอิหร่านและประเทศพี5+1 เจรจากัน และในเดือนเมษายน 2558 มีการตกลงกรอบข้อตกลงนิวเคลียร์อิหร่านสำหรับความตกลงสุดท้ายและในเดือนกรกฎาคม 2558 ประเทศอิหร่านและพี5+1 ตกลงกับแผนนี้ ภายใต้ความตกลงนี้ ประเทศอิหร่านตกลงกำจัดคลังยูเรเนียมเสริมสมรรถนะปานกลาง ตัดคลังยูเรเนียมเสริมสมรรถนะต่ำ 98% และลดเครื่องหมุนเหวี่ยงแก๊สลงประมาณสองในสามเป็นเวลา 13 ปี อีก 15 ปีถัดจากนี้ อิหร่านจะเสริมสมรรถนะยูเรเนียมได้ไม่เกิน 3.67% ประเทศอิหร่านยังตกลงไม่สร้างเครื่องปฏิกรณ์น้ำหนักใหม่เป็นระยะเวลาเดียวกัน กิจกรรมเสริมสมรรถนะยูเรเนียมใด ๆจะถูกจำกัดอยู่ที่สิ่งอำนวยความสะดวกเดี่ยวที่ใช้เครื่องปั่นเหวี่ยงรุ่นแรกเป็นเวลา 10 ปี สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นจะถูกแปลงเพื่อลดความเสี่ยงการแพร่ขยาย เพื่อเฝ้าสังเกตและพิสูจน์ยืนยันการปฏิบัติตามของอิหร่านกับความตกลงนี้ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) จะสามารถเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกนิวเคลียร์ทั้งหมดของอิหร่านสม่ำเสมอ ความตกลงนี้กำหนดว่าเพื่อแลกเปลี่ยนกับการปฏิบัติตามข้อผูกมัดของตนอย่างพิสูจน์ยืนยันได้ ประเทศอิหร่านจะได้รับการช่วยเหลือจากสหรัฐ สหภาพยุโรปและวิธีการบังคับที่เกี่ยวข้องกับนิวเคลียร์ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและแผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

รงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะแห่งที่หนึ่ง เป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองโอกุมะ เขตฟุตะบะ จังหวัดฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีเครื่องปฏิกรณ์สำหรับผลิตไฟฟ้าหกหน่วย รวมกำลัง 4.7 จิกะวัตต์ โรงไฟฟ้าแห่งนี้เป็นหนึ่งใน 15 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกซึ่งได้รับการก่อสร้างและบริหารจัดการทั้งหมดโดยบริษัทพลังงานไฟฟ้าโตเกียว (TEPCO) เมื่อเดือนมีนาคม..

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ISO 3166

ISO 3166 คือมาตรฐานที่เผยแพร่โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) เพื่อกำหนดรหัสสำหรับประเทศ, ดินแดนในปกครอง, พื้นที่พิเศษที่น่าสนใจทางภูมิศาสตร์, และเขตการปกครองหลัก (เช่นจังหวัดหรือรัฐ) ชื่ออย่างเป็นทางการของมาตรฐานคือ รหัสสำหรับการแสดงชื่อประเทศและเขตการปกครอง (Codes for the representation of names of countries and their subdivisions).

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและISO 3166

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ดู ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศและ29 กรกฎาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ IAEAInternational Atomic Energy Treatyสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศสนธิสัญญาพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศไอเออีเอ