สารบัญ
207 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2493พระราชวังสนามจันทร์พระตำหนักทับขวัญพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์กรุงเทพมหานครกลุ่มเดอะมอลล์การขนส่งในประเทศไทยมหาวิทยาลัยสยามมหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ดมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรังรักแท้แปลว่าเธอรายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทยรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครรายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ตรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่รายชื่อทางแยกในเขตบางแครายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญรายชื่อทางแยกในเขตหนองแขมรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 4รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลวัดพระพุทธสิหิงค์วัดพระเมรุ (จังหวัดนครปฐม)วัดยางบางจากวัดวารีบรรพตวัดธรรมาวุธารามวัดนกงางวิทยาลัยแสงธรรมศรีตรังแอโกรอินดัสทรีสมาคมธรรมประทีปสวนเพชรกาญจนารมย์สะพานข้ามแม่น้ำแควสามแยก ทล.4-411สถานีบางแคสถานีภาษีเจริญสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีหลักสองสถานีท่าพระหม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์หยั่น หว่อ หยุ่นอำเภอกะเปอร์อำเภอกุยบุรีอำเภอกงหรา... ขยายดัชนี (157 มากกว่า) »
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พระราชวังสนามจันทร์
ระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ในตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากพระปฐมเจดีย์ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากพระองค์สวรรคต พระราชวังสนามจันทร์ใช้เป็นที่ทำการของส่วนราชการต่าง ๆ ของจังหวัดนครปฐม รวมทั้งเป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบัน พระราชวังสนามจันทร์อยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม..
ดู ถนนเพชรเกษมและพระราชวังสนามจันทร์
พระตำหนักทับขวัญ
ระตำหนักทับขวัญในพระราชวังสนามจันทร์ มีลักษณะแบบเรือนไทยภาคกลาง พระตำหนักทับขวัญ เป็นหมู่เรือนไทย มีชานเชื่อมต่อกันหมด เช่นหอนอน 2 หอ เรือนโถง เรือนครัว หอนกอยู่ที่มุมของเรือน ใช้วิธีเข้าไม้แบบโบราณ ฝาเรือนทำเป็นฝาไม้ปะกนกรอบลูกฟังเชิงชายและไม้ค้ำยันสลักสวยงาม ออกแบบโดยพระยาวิศุกรรมศิลปประสิทธิ์ (น้อย ศิลปี) เป็นนายช่างผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างรอบ ๆ เรือนปลูกไม้ไทย เช่น นางแย้ม นมแมว ต้นจัน และจำปี และพระตำหนักหลังนี้ได้รับการบูรณะเมื่อครั้งพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้านไทยแบบโบราณ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีขึ้นพระตำหนักใหม่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..
ดู ถนนเพชรเกษมและพระตำหนักทับขวัญ
พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์
ีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนาม ของทหารรักษาพระองค์ พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ จัดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู ถนนเพชรเกษมและกรุงเทพมหานคร
กลุ่มเดอะมอลล์
ริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด (The Mall Group Company Limited) หรือ กลุ่มเดอะมอลล์ เป็นกลุ่มบริษัทธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย ผู้ดำเนินกิจการห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์, ย่านการค้าดิ เอ็ม ดิสทริค, ศูนย์การค้าสยามพารากอน.
ดู ถนนเพชรเกษมและกลุ่มเดอะมอลล์
การขนส่งในประเทศไทย
การจราจรแออัดในชั่วโมงเร่งด่วนในกรุงเทพมหานคร รถสามล้อหรือรถตุ๊กตุ๊ก รูปแบบการขนส่งอย่างหนึ่ง การขนส่งในประเทศไทย มีความหลากหลายและยังไม่มีความเป็นระเบียบ การขนส่งแต่ละประเภทไม่มีความโดดเด่นมากนัก ได้แก่ ระบบการขนส่งทางถนน ที่เป็นหลักของการขนส่งสินค้าทั่วประเทศ การขนส่งทางรถประจำทางที่มีการขนส่งระยะไกลไปยังจังหวัดต่าง ๆ มีการใช้รถจักรยานยนต์เพื่อใช้การเดินทางระยะสั้นแทนการใช้จักรยาน การใช้รถยนต์ส่วนตัวซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมีส่วนทำให้การจราจรเกิดความแออัดทั้งในกรุงเทพมหานครและเมืองสำคัญต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีการขนส่งระบบรางที่เชื่อมต่อไปยังภูมิภาคต่าง ๆ แต่ยังมีความล่าช้า ถึงแม้จะมีแผนขยายการให้บริการที่มีรถไฟความเร็วสูงไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศก็ตาม การขนส่งทางอากาศภายในประเทศ ซึ่งในปัจจุบันยังมีสายการบินไม่มากนัก แต่ยังมีความโดนเด่นด้วยวิธีการขนส่งที่มีความแปลกใหม่จากสายตาของชาวต่างประเทศ เช่น รถตุ๊กตุ๊ก รถสองแถว เป็นต้น.
ดู ถนนเพชรเกษมและการขนส่งในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยสยาม
มหาวิทยาลัยสยาม (Siam University; ชื่อย่อ: มส. - SU (ชื่อย่อภาษาอังกฤษซ้ำกับ มหาวิทยาลัยศิลปากร)) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ได้รับการริเริ่มขึ้นในปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและมหาวิทยาลัยสยาม
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี (อักษรย่อ คือ มธร.) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตั้งอยู่ที่ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่100กว่าไร่ เปิดสอนในระดับปริญญาตรี,ปริญญาโท และปริญญาเอก คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะบัณฑิตวิทยาลัย โดยบัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอน 4 หลักสูตร คือ MBA, M.Ed.
ดู ถนนเพชรเกษมและมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด
มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด (อังกฤษ: Stamford International University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนนานาชาติ มีวิทยาเขตอยู่ในหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1458 ถนนเพชรเกษม อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี วิทยาเขตกรุงเทพฯ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 16 ถนนมอเตอร์เวย์ (กม.2) เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร และศูนย์การศึกษาอโศกแคมปัส อาคารเอ็กซ์เชนจ์ ทาวเวอร.
ดู ถนนเพชรเกษมและมหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ (SAU) (อังกฤษ: South East Asia University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แรกก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Rattanakosin).
ดู ถนนเพชรเกษมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล เป็นสำนักงานวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ตั้งอยู่ที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขัน.
ดู ถนนเพชรเกษมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง เป็นวิทยาเขตในสังกัดของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ตั้งอยู่ที่ 179 หมู่ที่ 3 ตำบลไม้ฝาด อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ซึ่งเป็นวิทยาเขตที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติชายฝั่งทะเลอันดามัน เอื้อต่อสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นปฏิบัติ และเดินทางท่องเที่ยว เป็นอย่างยิ่ง.
ดู ถนนเพชรเกษมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
รักแท้แปลว่าเธอ
"รักแท้แปลว่าเธอ" เป็นซิงเกิลของสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว ในปี พ.ศ. 2557 ประพันธ์เนื้อร้องโดย วรัชยา พรหมสถิต แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย จิตรกร มงคลธรรม ออกจำหน่ายในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและรักแท้แปลว่าเธอ
รายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทย
รายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทย หน้านี้เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อศูนย์การค้า (shopping complex, shopping center) ขนาดใหญ่ที่อยู่ในประเทศไทย (พื้นที่ใช้สอย 8,000 ตารางเมตรขึ้นไป) ที่เปิดทำการอยู่ในปัจจุบัน โดยเรียงตามรายชื่อจังหวัด.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทย
รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อและระยะทางของถนนในเขตกรุงเทพมหานคร เฉพาะถนนสาธารณะที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท รวมทั้งเส้นทางที่ตัดผ่านที่ดินของหน่วยงานราชการอื่นและเส้นทางของเอกชนที่ได้รับการกำหนดให้เป็น "ถนน" อย่างเป็นทางการจากกรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งนี้ ไม่รวมเส้นทางที่ใช้สัญจรเฉพาะภายในพื้นที่หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา บ้านจัดสรร และสถานที่เอกชนซึ่งมักมีการปิดกั้นหรือควบคุมทางเข้าออก.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต
นี่คือ รายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่
รายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อทางแยกในเขตบางกอกใหญ่
รายชื่อทางแยกในเขตบางแค
รายชื่อทางแยกในเขตบางแค เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อทางแยกในเขตบางแค
รายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญ
รายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญ เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อทางแยกในเขตภาษีเจริญ
รายชื่อทางแยกในเขตหนองแขม
รายชื่อทางแยกในเขตหนองแขม เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อทางแยกในเขตหนองแขม
รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร
ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร
รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3
ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วย 3 สำหรับภาคกลาง รวมภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และบางส่วนในภาคใต้.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3
รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 4
ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วย 4 สำหรับภาคใต้.
ดู ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 4
รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
250px รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นแผนงานโครงข่ายระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) ที่ภาครัฐพยายามนำมาใช้เสริมโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะระบบรถประจำทาง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จัดทำโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการ รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
| open.
ดู ถนนเพชรเกษมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
วัดพระพุทธสิหิงค์
วัดพระพุทธสิหิงค์ หรือ วัดหึงค์ เป็นวัดที่อยู่ในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 127 บ้านวัดหึงค์ หมู่ 5 ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง วัดนี้มีเนื้อที่ 18 ไร่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ พระคู่บ้านคู่เมืองตรัง.
ดู ถนนเพชรเกษมและวัดพระพุทธสิหิงค์
วัดพระเมรุ (จังหวัดนครปฐม)
วัดพระเมรุ ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม บริเวณสวนนันทอุทยาน ตำบลห้วยจรเข้ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากองค์พระปฐมเจดีย์ไปทางทิศใต้ 3 กิโลเมตร อยู่ติดกับตลาดปฐมมงคล.
ดู ถนนเพชรเกษมและวัดพระเมรุ (จังหวัดนครปฐม)
วัดยางบางจาก
วิหารหลวงพ่อนพเก้า หลวงพ่อนพเก้า วัดยางบางจาก เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งในฝั่งธนบุรี ติดคลองบางจาก ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 128 ซอยเพชรเกษม 28 ถนนเพชรเกษม แขวงคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร สังกัดมหานิก.
วัดวารีบรรพต
วัดวารีบรรพต เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบางนอน บ้านบางนอน ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ ๑ ตำบลบางนอน อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิก.
วัดธรรมาวุธาราม
วัดธรรมาวุธาราม เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 33 บ้านฝ่ายท่า ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ ๔ ตำบลกะเปอร์ อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิก.
ดู ถนนเพชรเกษมและวัดธรรมาวุธาราม
วัดนกงาง
วัดนกงาง เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลราชกรูด เลขที่ ๑๗ บ้านนกงาง ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ ๕ ตำบลราชกรูด อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิก.
วิทยาลัยแสงธรรม
วิทยาลัยแสงธรรม เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลท่าข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เริ่มต้นจัดการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและวิทยาลัยแสงธรรม
ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี
ริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) (SRI TRANG AGRO-INDUSTRY PUBLIC COMPANY ชื่อย่อ:STA) ก่อตั้งขึ้นในปี 2530 บริษัทประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์ยางพารา บริษัทได้มีการขยายการประกอบธุรกิจอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับกับความเติบโตของอุตสาหกรรมยางธรรมชาติทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยบริษัทเริ่มต้นจากสายการผลิตยางแผ่นรมควัน ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักของอุตสาหกรรมยางล้อรถยนต์ ในปลายปี 2536 ได้เริ่มขยายสายการผลิตทำการผลิตน้ำยางข้นเพื่อรองรับความต้องการของอุตสาหกรรมถุงมือยางที่ใช้ในทางการแพทย์ อุตสาหกรรมยางยืด และในปี 2540 เริ่มโครงการยางแท่ง STR เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มของอุตสาหกรรมยางล้อรถยนต์ ที่ผู้ใช้นิยมหันไปใช้ยางแท่งมากขึ้นเรื่อยๆ ศรีตรังได้ก้าวขึ้นมาเป็นตัวแทนอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศไทย ในฐานะ “ผู้ประกอบการยางธรรมชาติแบบครบวงจรรายใหญ่ที่สุดของโลก” ด้วยกำลังการผลิตกว่า 2.2 ล้านตันต่อปี จากจำนวนโรงงานรวม 33 โรงงาน ในประเทศ ประเทศไทยและอินโดนีเซีย รวมทั้งเมียนมาซึ่งเป็นฐานอุตสาหกรรมแหล่งใหม่ ศรีตรังจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติขั้นพื้นฐานทุกประเภทเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าทั่วโลก ได้แก่ ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน้ำยางข้น นอกจากนี้ ศรีตรังยังได้ร่วมลงทุนกับบริษัทต่างชาติในธุรกิจกลางน้ำของยางธรรมชาติและผลิตสินค้าสำเร็จรูป โดยศรีตรังเป็นผู้นำระดับโลกในการผลิตถุงมือยางทางการแพทย์และท่อไฮดรอลิกแรงดันสูงเพื่อใช้ในงานอุตสาหกรรม และเพื่อเป็นผู้ประกอบการยางธรรมชาติที่ครบวงจร ศรีตรังยังได้ขยายไปสู่ธุรกิจต้นน้ำในการบริหารจัดการสวนยางพาราขนาดใหญ่อย่างเป็นระบบและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในหลายจังหวัดของประเทศไทย และมี สินทรัพย์มูลค่ากว่า 40,103 ล้านบาท.
ดู ถนนเพชรเกษมและศรีตรังแอโกรอินดัสทรี
สมาคมธรรมประทีป
มาคมธรรมประทีป หรือ ศูนย์ผู้ปฏิบัติธรรพุทธศาสนานิชิเร็นโชชู ประเทศไทย (อังกฤษ: Thailand Buddhist Nichiren Shoshu Association, Dharma Pradip Association) เป็น ศูนย์ผู้นับถือศาสนาและสมาคมผู้ปฏิบัติศาสนาพุทธนิกายนิชิเรนโชชู แห่งประเทศไทย ก่อตั้งโดย ดร.
ดู ถนนเพชรเกษมและสมาคมธรรมประทีป
สวนเพชรกาญจนารมย์
วนอาเซียนภายในสวนเพชรกาญจนารมย์ สวนเพชรกาญจนารมย์ เป็นสวนสาธารณะขนาดเล็ก ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กรุงเทพมหานคร สวนเพชรกาญจนารมย์ มีเนื้อที่ประมาณ 9 ไร่เศษ ตั้งอยู่บริเวณใต้สะพานข้ามทางแยกหน้าห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์บางแค มีถนน 2 สายตัดผ่าน คือ ถนนเพชรเกษมตัดกับถนนกาญจนาภิเษก ภายในเป็นพื้นที่สวนพักผ่อนหย่อนใจ มีลานกิจกรรม ทางวิ่ง พื้นที่ออกกำลังกาย ยังจัดทำสวนในรูปแบบสวนอาเซียน มีกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์ และติดตั้งระบบไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ เพื่อประหยัดพลังงานลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค และมีบึงน้ำขนาดใหญ่อยู่ใจกลาง พร้อมกับศาลาและทางเดินลงไปด้วย เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 05.00-21.00 น.
ดู ถนนเพชรเกษมและสวนเพชรกาญจนารมย์
สะพานข้ามแม่น้ำแคว
นข้ามแม่น้ำแคว เป็นสะพานข้ามแม่น้ำแควใหญ่โครงสร้างเหล็กครึ่งวงกลม สลับโครงสร้างถัก ตอม่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ตั้งอยู่ที่ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร ปัจจุบันใช้เป็นทางสัญจรของรถไฟสาย - หรือ ทางรถไฟสายมรณะ ในอดีต.
ดู ถนนเพชรเกษมและสะพานข้ามแม่น้ำแคว
สามแยก ทล.4-411
มแยก ทล.4-411 เป็นสามแยกบริเวณถนนอุตรกิจตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ สามแยก ทล.4-411.
ดู ถนนเพชรเกษมและสามแยก ทล.4-411
สถานีบางแค
นีบางแค (Bang Khae Station, รหัส BS19) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.
สถานีภาษีเจริญ
นีภาษีเจริญ (Phasi Charoen Station, รหัส BS18) ป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.
ดู ถนนเพชรเกษมและสถานีภาษีเจริญ
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
สถานีหลักสอง
นีหลักสอง (Lak Song Station, รหัส BS20) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.
สถานีท่าพระ
นีท่าพระ เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีที่เชื่อมต่อทั้งสองส่วนของสายเฉลิมรัชมงคลเข้าไว้ดัวยกัน ก่อให้เกิดเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนภายในเขตกรุงเทพมหานครชั้นกลางและชั้นใน ยกระดับเหนือแยกท่าพระ บริเวณจุดตัดระหว่าง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเพชรเกษม และถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นที่มาของชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ ในฝั่งธนบุรี เป็นปลัดกระทรวงคมนาคมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2489 หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..
ดู ถนนเพชรเกษมและหม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์
หยั่น หว่อ หยุ่น
ลโก้ตราเด็กสมบูรณ์ หยั่น หว่อ หยุ่น (仁和園) เป็นกลุ่มบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับซอสปรุงรส โดยเฉพาะซอสหอยนางรมและซีอิ๊วขาว ก่อตั้งโดยกลุ่มตระกูลตั้งสมบัติวิสิทธิ์ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่วัดไผ่เงิน ผลิตภัณฑ์ใช้ตรา“เด็กสมบูรณ์”เป็นตราสัญลักษณ.
ดู ถนนเพชรเกษมและหยั่น หว่อ หยุ่น
อำเภอกะเปอร์
กะเปอร์ ตั้งอยู่ในจังหวัดระนอง.
อำเภอกุยบุรี
กุยบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งแยกออกมาจากอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ และได้รับจัดตั้งเป็นอำเภอเมื่อ 17 กรกฎาคม..
อำเภอกงหรา
กงหรา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง ห่างจากตัวเมืองพัทลุง 42 กิโลเมตร การเดินทางใช้ ถนนเพชรเกษมจากสี่แยกเอเชียมาทางทิศตะวันตกแล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4122 ที่บ้านคลองหมวย อำเภอศรีนครินทร.
อำเภอรัษฎา
อำเภอรัษฎา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.
อำเภอรัตภูมิ
รัตภูมิ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกสุดของจังหวัดสงขลา ติดต่อกับอำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นอำเภอที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ด้านตะวันออกเป็นที่ราบ แต่ด้านตะวันตกมีเทือกเขา คือ เขานครศรีธรรมราช มีป่าไม้ เรือกสวนไร่นา ซึ่งเหมาะในการทำการเกษตร.
อำเภอศรีนครินทร์
อำเภอศรีนครินทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอศรีนครินทร์
อำเภอสวี
อำเภอสวี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดชุมพร อำเภอสวีเป็นเมืองเก่าแก่มาตั้งแต่สมันโบราณเมืองหนึ่งของจังหวัดชุมพร ตามประวัติสาสตร์ อำเภอนี้มีชื่อเรียกแต่เดิมว่า “เมืองฉวี” แล้วเพี้ยนมาเป็น “สวี” ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย เมืองสวีมีกำหนดมาตั้งแต่เมื่อไหร่ ใครเป็นคนสร้าง ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดในประวัติศาสตร์ ต่อมาเมื่อปี..2357 ปรากฏว่าได้มีเมืองสวีแล้ว โดยปรากฏในประวัติศาสตร์ว่า สมณทูตของไทยจะไปลังกา แต่เรือแตกก็เปลี่ยนเป็นเดินทางบก และได้เดินทางจากเมืองชุมพรผ่านเมืองสวี แต่สถานที่ตั้งตัวเมืองเดิมอยู่ที่ใดไม่มีหลักฐานยืนยัน ประมาณปี..
อำเภอสามร้อยยอด
มร้อยยอด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขัน.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอสามร้อยยอด
อำเภอหาดใหญ่
อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.
อำเภอห้วยยอด
อำเภอห้วยยอด เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง ที่มีชื่อเรียกว่า "ห้วยยอด" เนื่องมาจากภูมิประเทศของอำเภอห้วยยอด โดยคำว่า "ห้วย" หมายถึง ลำห้วยต่าง ๆ ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำตรัง อันเป็นแม่น้ำสายหลักของจังหวัดที่พาดผ่านพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของอำเภอ ส่วนคำว่า "ยอด" หมายถึง ยอดเขาที่เรียงรายตลอดแนวทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ซึ่งเรียกว่า ภูเขาบรรทัด โดยพื้นที่ห้วยน้ำและยอดเขาสลับกันไปมา จึงได้เรียกว่าห้วยยอดมาจนปัจจุบัน.
อำเภออู่ทอง
อำเภออู่ทอง เป็นอำเภอที่อยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี.
อำเภอท่ายาง
ท่ายาง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี ประชากรประมาณร้อยละ 80 เป็นเกษตรกร มีอาชีพปลูกพืช ผลผลิตหลักได้แก่ ข้าว กล้วยหอมทอง กล้วยไข่ กล้วยน้ำว้า มะนาว ชมพู่ อ้อย มะม่วง ถั่ว และมะพร้าว.
อำเภอท่าแซะ
ท่าแซะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชุมพร.
อำเภอท้ายเหมือง
ท้ายเหมือง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพังง.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอท้ายเหมือง
อำเภอตะกั่วทุ่ง
ตะกั่วทุ่ง เป็นอำเภอตั้งอยู่ในจังหวัดพังง.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอตะกั่วทุ่ง
อำเภอตะกั่วป่า
ตะกั่วป่า เป็นหนึ่งในแปดอำเภอของจังหวัดพังง.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอตะกั่วป่า
อำเภอปราณบุรี
ปราณบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีทะเลที่สวยงามและเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่รู้จักและคึกคักที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวั.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอปราณบุรี
อำเภอเมืองพังงา
อำเภอเมืองพังงา ตั้งอยู่ในจังหวัดพังง.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองพังงา
อำเภอเมืองนนทบุรี
มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.
ดู ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองนนทบุรี
อำเภอเขาย้อย
อำเภอเขาย้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี.
อุทกภัยและดินถล่มในภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2554
อุทกภัยและดินถล่มในภาคใต้ของประเทศไท..
ดู ถนนเพชรเกษมและอุทกภัยและดินถล่มในภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2554
อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2526
อุทกภัยในประเทศไท..
ดู ถนนเพชรเกษมและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2526
อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554
อุทกภัยในประเทศไท..
ดู ถนนเพชรเกษมและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554
อุทยานแห่งชาติพุเตย
นเลาดาแอร์ เที่ยวบินที่ 004 อุทยานแห่งชาติพุเตย เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งเดียวในจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ในท้องที่ของอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 85 ของประเทศไทย พุเตย เป็นอุทยานแห่งชาติที่เกิดเหตุการณ์เครื่องบินเลาดาแอร์ เที่ยวบินที่ 004 ประสบอุบัติเหตุตก เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและอุทยานแห่งชาติพุเตย
อุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
อุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในอำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา มีถนนเพชรเกษมตัดผ่าน แบ่งอุทยานแห่งชาติออกเป็นสองส่วนคือ เขาลำปีทางฝั่งตะวันออก และหาดท้ายเหมืองทางฝั่งตะวันตก.
ดู ถนนเพชรเกษมและอุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย
จรัญสนิทวงศ์
รัญสนิทวงศ์ อาจหมายถึง.
จังหวัดชุมพร
มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ.
จังหวัดพังงา
ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.
จังหวัดกระบี่
กระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.
ดู ถนนเพชรเกษมและจังหวัดกระบี่
จังหวัดระนอง
ระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพร ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตกติดกับประเทศพม่าและทะเลอันดามัน มีลักษณะพื้นที่เรียวและแคบ มีความยาวถึง 169 กิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กขึ้นกับเมืองชุมพร คำว่าระนองเพี้ยนมาจากคำว่า แร่นอง เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีแร่อยู่มากม.
จังหวัดราชบุรี
ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.
ดู ถนนเพชรเกษมและจังหวัดราชบุรี
จังหวัดสมุทรสาคร
ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู ถนนเพชรเกษมและจังหวัดสมุทรสาคร
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.
ดู ถนนเพชรเกษมและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดนครปฐม
ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.
ดู ถนนเพชรเกษมและจังหวัดนครปฐม
ถนนบรมราชชนนี
นนบรมราชชนนี (Thanon Borommaratchachonnani) เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทางรวม 33.984 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 สายอรุณอมรินทร์–นครชัยศรี และมีระยะทาง 31.265 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนบรมราชชนนี
ถนนบางแค
นนบางแค (Thanon Bang Khae) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เดิมมีชื่อเรียกว่า "ถนนสุขาภิบาล 1" และ "ถนนบางแค-บางบอน" เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษมช่วงแยกบางแคในท้องที่แขวงบางแค เขตบางแค ไปทางทิศใต้ ตัดกับถนนกัลปพฤกษ์ ไปสิ้นสุดที่สะพานข้ามคลองบางโคลัดซึ่งเป็นคลองที่แบ่งเขตระหว่างเขตบางแคกับเขตบางบอน ซึ่งจากจุดนี้ไปก็จะเป็นถนนบางบอน 1.
ถนนพระรามที่ 2
นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพระรามที่ 2
ถนนพหลโยธิน
นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.
ถนนพุทธมณฑล สาย 1
นนพุทธมณฑล สาย 1 (Thanon Phutthamonthon Sai 1) เป็นถนนสายหนึ่งในท้องที่เขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม ซ้อนทับแนวซอยเพชรเกษม 60/2 เดิม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนบางแวกและถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ซ้อนทับและตัดผ่านแนวถนนพุทธมณฑล สาย 1 (สายเดิม) ซึ่งมีลักษณะคดเคี้ยว จากนั้นตัดกับถนนบรมราชชนนีและถนนสวนผัก ไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ โครงการถนนพุทธมณฑล สาย 1 เกิดขึ้นพร้อมกับโครงการจัดตั้งพุทธมณฑลเพื่อฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ทางราชการได้เวนคืนที่ดินโดยจ่ายเงินบางส่วนแก่เจ้าของที่ดิน แต่ทิ้งการดำเนินการไว้เป็นเวลานานจึงกลับมาดำเนินการต่อ ทำให้เกิดข้อพิพาทกับเอกชนเจ้าของที่ดิน เป็นปัญหายืดเยื้อทำให้ไม่อาจสร้างถนนได้เป็นเวลานานมากจนบางคนเรียกว่า "ถนนเจ็ดชั่วโคตร" ต่อมากรุงเทพมหานครได้ยินยอมจ่ายค่าเวนคืนที่ดินในอัตราที่เป็นที่พอใจของเจ้าของที่ดิน จึงดำเนินการก่อสร้างต่อได้ ปัจจุบันใช้สัญจรได้แล้ว.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 1
ถนนพุทธมณฑล สาย 2
นนพุทธมณฑล สาย 2 (Thanon Phutthamonthon Sai 2) เป็นถนนสายสำคัญในท้องที่เขตบางแค และเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 7 และซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 10, ถนนบางแวก, ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก, ถนนสุขาภิบาลบางระมาด, ซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 21/1 และซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 24, ถนนบรมราชชนนี และถนนศาลาธรรมสพน์ ไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ บริเวณป้ายหยุดรถไฟพุทธมณฑลสาย 2 เดิมถนนพุทธมณฑล สาย 2 เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร มีคูน้ำสองข้างถนนตลอดแนว ปัจจุบันคูน้ำถูกถมเพื่อขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจรตั้งแต่ปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 2
ถนนพุทธมณฑล สาย 3
นนพุทธมณฑล สาย 3 (Thanon Phutthamonthon Sai 3) เป็นถนนสายสำคัญในท้องที่เขตหนองแขม เขตบางแค และเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือโดยช่วงแรกซ้อนทับแนวซอยเพชรเกษม 104 เดิม จากนั้นเป็นถนนตัดใหม่ ข้ามถนนทวีวัฒนา ตัดกับซอยพุทธมณฑล สาย 3 ซอย 13 และซอยพุทธมณฑล สาย 3 ซอย 14, ถนนบางแวก, ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก, ซอยทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก 24 และถนนเลียบคลองบางพรม, ถนนอุทยาน, ถนนบรมราชชนนี และถนนศาลาธรรมสพน์ ไปสิ้นสุดที่คลองบางคูเวียง เดิมถนนพุทธมณฑล สาย 3 เป็นถนน 2 ช่องจราจร ปัจจุบันขยายเป็น 6 ช่องจราจรตั้งแต่ปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 3
ถนนพุทธมณฑล สาย 4
right ถนนพุทธมณฑล สาย 4 (Thanon Phutthamonthon Sai 4) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3310 สายกระทุ่มล้ม - พุทธมณฑล เป็นถนนผิวแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 8 ช่องจราจร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ทางหลวงชนบท นฐ.4006 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ผ่านมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา ทางแยกต่างระดับศาลายา (ตัดกับถนนบรมราชชนนี) วิทยาลัยราชสุดา ผ่านถนนอุทยาน พุทธมณฑล สถานีวิทยุพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษมบริเวณสี่แยกสาครเกษม ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ระยะทาง 10.814 กิโลเมตร ปัจจุบันทางหลวงแผ่นดินดังกล่าวอยู่ในความดูแลของหมวดการทางกระทุ่มแบน แขวงการทางสมุทรสาคร ยกเว้นตั้งแต่หลักกิโลเมตรที่ 0 ถึงหลักกิโลเมตรที่ 1+680 อยู่ในความดูแลของเทศบาลนครอ้อมน้อ.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 4
ถนนพุทธมณฑล สาย 5
ถนนพุทธมณฑล สาย 5 (Thanon Phutthamonthon Sai 5) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3414 สายอ้อมน้อย - ศาลายา มีจุดเริ่มต้นตั้งตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม วิทยาลัยนาฏศิลป์ หอภาพยนตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตศาลายา คลองวัฒนา จนถึงแยกอ้อมน้อย ถนนเพชรเกษม อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เดิมเป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร ปัจจุบันได้มีการขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจร พร้อมกับมีการสร้างสะพานข้ามถนนบรมราชชนนี แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 5
ถนนพุทธมณฑล สาย 6
นนพุทธมณฑล สาย 6 (Thanon Phutthamonthon Sai 6) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3316 สายไร่ขิง - ทรงคนอง มีจุดเริ่มต้นตั้งอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม บริเวณแยกถนนบรมราชชนนี-ถนนร.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 6
ถนนพุทธมณฑล สาย 7
ถนนพุทธมณฑล สาย 7 (Thanon Phutthamonthon Sai 7) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3415 สายสามพราน - แม่น้ำนครชัยศรี มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่แม่น้ำท่าจีน ตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม จนถึงถนนเพชรเกษม จังหวัดนครปฐม ใกล้กับโรงเรียน ภ.ป.ร.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 7
ถนนพุทธมณฑล สาย 8
นนพุทธมณฑล สาย 8 (Thanon Phutthamonthon Sai 8) หรือ ทางหลวงชนบท น.3046 มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่สามแยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3235 กับถนนพุทธมณฑล สาย 8 ตำบลนครชัยศรี อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ผ่านถนนบรมราชชนนีจนไปบรรจบถนนเพชรเกษมบริเวณรอยต่อระหว่างตำบลขุนแก้ว อำเภอนครชัยศรีกับตำบลคลองใหม่ อำเภอสามพราน หมวดหมู่:โครงการพุทธมณฑล พุทธมณฑล สาย 8.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 8
ถนนพุทธสาคร
นนพุทธสาคร (Thanon Phutthasakhon) หรือ ทางหลวงชนบท.1018 บางครั้งเรียกว่า "ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ตัดใหม่" เป็นถนนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท เชื่อมต่อระหว่างถนนเศรษฐกิจ 1 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3091) ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4) และถนนพุทธมณฑล สาย 4 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3310) ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ระยะทางประมาณ 7.445 กิโลเมตร เดิมเป็นโครงการถนนลาดยางสาย ง 1 ผังเมืองรวมเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.
ถนนกัลปพฤกษ์
นนกัลปพฤกษ์ (Thanon Kanlapaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท กท.1001 เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นถนนคอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อระหว่างถนนราชพฤกษ์กับถนนกาญจนาภิเษก.
ถนนกาญจนาภิเษก
นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนกาญจนาภิเษก
ถนนมาลัยแมน
นนมาลัยแมน หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 321 สายนครปฐม–สุพรรณบุรี เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ไป-กลับ มีจุดเริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 บริเวณสามแยกมาลัยแมน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ผ่านอำเภอกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เข้าสู่เขตจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านอำเภอสองพี่น้อง อำเภออู่ทอง สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ในเขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางรวม 106.273 กิโลเมตร ถนนมาลัยแมนเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายนครปฐม-สุพรรณบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..
ถนนรัชดาภิเษก
นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนรัชดาภิเษก
ถนนราชพฤกษ์
นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.
ถนนราษฎร์ยินดี (เทศบาลนครหาดใหญ่)
นนราษฎร์ยินดี (Thanon Rat Yindi) หรือถนนสามสิบเมตร (Thanon Samsip Met) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เส้นทางเริ่มต้นจากด้านทิศเหนือที่สามแยกตัดถนนเพชรเกษม ผ่านสี่แยกตัดถนนศุภสารรังสรรค์ สี่แยกตัดถนนธรรมนูญวิถี สิ้นสุดเส้นทางด้านทิศใต้ที่สามแยกตัดถนนศรีภูวนาถ สภาพเป็นถนนมีเกาะกลาง ตลอดสองข้างทางมีร้านค้าและอาคารสำนักงานอยู่เป็นจำนวนมาก ปัจจุบันทางเทศบาลนครหาดใหญ่ได้วางแผนเพื่อเตรียมปรับปรุงถนนสายนี้ จากเดิมที่เป็นถนนสายวัฒนธรรมให้พัฒนาเป็นถนนเศรษฐกิจใหม่ เพื่อขยายฐานเศรษฐกิจจากย่านใจกลางเมืองหาดใหญ่ที่มีอยู่เดิมบริเวณถนนนิพัทธ์อุทิศ 1,2 และ 3 และถนนธรรมนูญวิถี มาสู่ฝั่งตะวันออกของตัวเมือง ตามนโยบายของนายไพร พัฒโน นายกเทศมนตรี โดยมีต้นแบบจากถนนออร์ชาร์ดของสิงคโปร์ ซึ่งการดำเนินงานจะเริ่มจากการย้ายสายไฟฟ้าลงใต้ดิน ปรับภูมิทัศน์ และเพิ่มพื้นที่สีเขียว พร้อม ๆ กับการปรับภูมิทัศน์บริเวณคลองเตยที่อยู่ใกล้เคียงและย่านธุรกิจอื่นในเมืองหาดใหญ.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนราษฎร์ยินดี (เทศบาลนครหาดใหญ่)
ถนนอินทรพิทักษ์
นนอินทรพิทักษ์ (Thanon Intharaphithak) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร เขตถนนกว้าง 30 เมตร ระยะทางยาว 780 เมตร มีจุดเริ่มต้นจากวงเวียนใหญ่ซึ่งเป็นที่ตั้งพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ไปทางทิศตะวันตก ผ่านแนวคลองบางไส้ไก่ ตัดกับถนนเทอดไทที่ทางแยกบางยี่เรือ ไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานเนาวจำเนียร (สะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่) โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนเพชรเกษมในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ ถนนอินทรพิทักษ์เป็น "ถนนสายที่ 4" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนอินทรพิทักษ์
ถนนจรัญสนิทวงศ์
นนจรัญสนิทวงศ์ (Thanon Charan Sanit Wong) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ที่สี่แยกท่าพระ ในแขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพาณิชยการธนบุรี (จรัญสนิทวงศ์ 13) ที่สามแยกพาณิชยการธนบุรี จากนั้นข้ามคลองมอญ เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนพรานนกที่สามแยกไฟฉาย จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับทางรถไฟสายใต้ (จากสถานีรถไฟธนบุรี) เข้าแขวงบางขุนนนท์ ตัดกับถนนบางขุนนนท์ที่สามแยกบางขุนนนท์ จากนั้นข้ามคลองบางกอกน้อยเข้าสู่แขวงอรุณอมรินทร์ ตัดกับถนนบรมราชชนนีที่สี่แยกบรมราชชนนีเข้าสู่พื้นที่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางบำหรุกับแขวงบางยี่ขันไปจนตัดกับถนนสิรินธรและถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด จากนั้นจึงเข้าสู่แขวงบางพลัด มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางพลัดเข้าสู่พื้นที่แขวงบางอ้อ และไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 7 ในพื้นที่ตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เดิมกรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายกำลังมีการก่อสร้างรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนจรัญสนิทวงศ์
ถนนทวีวัฒนา
นนทวีวัฒนา (Thanon Thawi Watthana) เป็นเส้นทางการคมนาคมระหว่างเขตหนองแขมกับเขตทวีวัฒนา ทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร แยกจากถนนเพชรเกษมในพื้นที่แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม เลียบฝั่งตะวันตกของคลองทวีวัฒนาเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผ่านใต้สะพานถนนพุทธมณฑล สาย 3 จากนั้นข้ามคลองบางไผ่เข้าพื้นที่แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา ตัดกับถนนบางแวก ตัดกับถนนเลียบคลองปทุม ตัดกับถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษกและถนนทวีวัฒนา-พุทธมณฑล สาย 4 จากนั้นข้ามคลองบางกระทึกเข้าพื้นที่แขวงศาลาธรรมสพน์ ตัดกับถนนอุทยาน ถนนบรมราชชนนี และถนนศาลาธรรมสพน์ ก่อนจะไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ ถนนทวีวัฒนาเป็นถนนขนาด 2 ช่องทางจราจร ไม่มีเกาะกลาง ระยะทางรวม 10.8 กิโลเมตร เดิมมีลักษณะเป็นคันทางริมคลองทวีวัฒนาซึ่งกรมชลประทานใช้เป็นเส้นทางในการดูแลบำรุงรักษาคลอง แต่ให้ประชาชนได้ใช้สัญจรด้วย กรุงเทพมหานครได้รับมอบเส้นทางสายนี้จากกรมชลประทานเมื่อประมาณปี พ.ศ.
ถนนประจวบคีรีขันธ์
นนประจวบคีรีขันธ์ (Thanon Prachuap Khiri Khan) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 326 สายทางเข้าประจวบคีรีขันธ์ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนประจวบคีรีขันธ์
ถนนนครอินทร์
นนนครอินทร์ (Thanon Nakhon In) หรือ ทางหลวงชนบท น.1020 สายนครอินทร์ เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นถนนขนาด 10 ช่องทางจราจร มีเส้นทางเริ่มต้นที่แยกติวานนท์ ในอำเภอเมืองนนทบุรี ไปบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษกที่ทางแยกต่างระดับบางคูเวียงในอำเภอบางกรว.
ถนนแสงชูโต
นนแสงชูโต หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 สายหนองตะแคง–เจดีย์สามองค์ บ้างก็เรียก ถนนบ้านโป่ง–กาญจนบุรี–ด่านเจดีย์สามองค์ เป็นทางหลวงแผ่นดินในภาคตะวันตกของประเทศไทย เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ผ่านจังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เชื่อมต่อกับประเทศพม่า ที่ด่านเจดีย์สามองค์ ระยะทางรวม 287.167 กิโลเมตร (อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 276.991 กิโลเมตร) ก่อสร้างขึ้นเพื่อรองรับการคมนาคมทางบกนอกเหนือจากทางรถไฟสายธนบุรี–น้ำตก ซึ่งเป็นทางรถไฟเก่าแก่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และทางเรือผ่านแม่น้ำแคว.
ถนนเศรษฐกิจ 1
นนเศรษฐกิจ 1 (Thanon Setthakit 1) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3091 สายอ้อมน้อย - สมุทรสาคร เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 4-6 ช่องจราจรไป-กลับ แยกจากถนนเพชรเกษมที่ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร แยกไปทางซ้ายที่สามแยกกระทุ่มแบน ผ่านทางต่างระดับกระทุ่มแบน บรรจบกับถนนพุทธสาคร (ทางหลวงชนบท สค.4018) แยกไปทางขวา เข้าสู่เขตอำเภอเมืองสมุทรสาคร ผ่านทางแยกต่างระดับมหาชัย ตัดกับถนนพระรามที่ 2 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35) สิ้นสุดที่สี่แยกมหาชัย ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร รวมระยะทางที่ควบคุมโดยกรมทางหลวง 19.8 กิโลเมตร (ไม่นับรวมทางของเทศบาลนครสมุทรสาคร) ผ่าน 2 อำเภอ คืออำเภอเมืองสมุทรสาคร (ตำบลมหาชัย ตำบลท่าทราย ตำบลนาดี) และอำเภอกระทุ่มแบน (ตำบลคลองมะเดื่อ ตำบลท่าไม้ และตำบลอ้อมน้อย) ถนนเศรษฐกิจ 1 ตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0+000 ถึงกิโลเมตรที่ 19+851 ปัจจุบันอยู่ในความควบคุมของหมวดการทางสมุทรสาครที่ 2 แขวงการทางสมุทรสาคร กรมทางหลวง.
ดู ถนนเพชรเกษมและถนนเศรษฐกิจ 1
ทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม
ทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม หรือวัตรทรงธรรมกัลยาณี เป็นอารามภิกษุณีในประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณถนนเพชรเกษม ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้บวชเป็นภิกษุณีหลายรูป โดยบวชมาจากคณะภิกษุณีสงฆ์ศรีลังกา มีสำนักภิกษุณีเป็นเอกเทศคือทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม วัตรทรงธรรมกัลยาณี ก่อตั้งขึ้นโดยพระภิกษุณีโพธิสัตต์ วรมัย กบิลสิงห์ โดยในปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม
ทะเลสาบ
ทะเลสาบกลางสวนเบญจกิตติ ขนาด 200x800 เมตร เมืองชิคาโก และทะเลสาบมิชิแกน 1 ในทะเลสาบทั้ง 5 ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา ทะเลสาบ หรือ บึง เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ที่ล้อมรอบด้วยผืนดิน โดยทั่วไปทะเลสาบจะไม่มีทางไหลออกสู่ทะเล และมีน้ำจืด เรียกกันว่า "ทะเลสาบน้ำจืด" แต่ทะเลสาบบางแห่งอาจไหลออกสู่ทะเลได้ และมีน้ำเค็ม จึงเรียกกันว่า "ทะเลสาบน้ำเค็ม" คำว่า "ทะเลสาบ" ยังครอบคลุมถึงแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น ทะเลสาบขนาดเล็กในสนามกอล์ฟ หรือ ทะเลสาบขนาดเล็กในสวนสาธารณะขนาดใหญ่ หรือ แอ่งเก็บน้ำเหนือเขื่อน และ อ่างเก็บน้ำ ซึ่งนับเป็นทะเลสาบขนาดใหญ.
ทางรถไฟสายสงขลา
ทางรถไฟสายสงขลาในสมัยรัชกาลที่ 6 เลียบถนนสงขลา-หาดใหญ่สมุดแสดงภาพที่ระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๘ ทางรถไฟสายสงขลา แยกจากทางรถไฟสายใต้ที่ชุมทางหาดใหญ่ มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร เปิดเดินรถครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อวันที่ 1 มกราคม..
ดู ถนนเพชรเกษมและทางรถไฟสายสงขลา
ทางรถไฟสายคอคอดกระ
| ทางรถไฟสายคอคอดกระ เป็นทางรถไฟทหารข้ามพื้นที่คอคอดกระ (ชุมพร–กระบุรี) ที่สร้างขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แล้วถูกรื้อถอนไปหลังสิ้นสุดสงคราม สำหรับการสร้างเส้นทางรถไฟ สายชุมพร-กระบุรี-คลองละอุ่น นั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อลำเลียงเสบียงอาหาร กำลังพล อาวุธหนักจากจังหวัดชุมพรไปฝั่งอันดามัน.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางรถไฟสายคอคอดกระ
ทางหลวง
ทางหลวงในชนบทสหรัฐอเมริกา ทางหลวง คือ ถนนหรือเส้นทางซึ่งจัดไว้เพื่อประโยชน์ในการจราจรสาธารณะทางบก ไม่ว่าในระดับพื้นดิน ใต้หรือเหนือพื้นดิน หรือใต้หรือเหนืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นนอกจากทางรถไฟ ระบบทางหลวงของสหรัฐอเมริกาที่เรียกว่า อินเตอร์สเตต เป็นระบบทางหลวงที่มียาวรวมทั้งหมดมากที่สุดในโลกโดยมีความยาวทั้งสิ้น 75,376 กม.(2004) ทางหลวงบางเส้นจะเชื่อมต่อระหว่างประเทศเช่น ยูโรเปียนรูท และถนนบางเส้นจะเชื่อมระหว่างเมืองหลวงของรัฐทั้งหมดในประเทศ เช่นใน ออสเตรเลียไฮเวย์ 1 ซึ่งเชื่อมตัวเมืองหลวงของรัฐทั้งหมดรอบประเทศออสเตรเลีย ถนนหลวงที่ยาวที่สุดในโลกคือ ทรานซ์-แคนาดาไฮเวย์ ซึ่งเริ่มจากเมือง วิกตอเรีย ในรัฐบริติชโคลัมเบีย ของฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ผ่าน 10 รัฐจนถึงเมืองเซนต์จอห์นในรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ทางฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก การออกแบบทางหลวงจะมีการออกแบบที่แตกต่างกันขึ้นไปขึ้นอยู่กับลักษณะถนน ความกว้างถนน และสภาพการสัญจร ทางหลวงสามารถมีได้ทั้งในลักษณะถนนสองเลน ถนนมีหรือไม่มีไหล่ทาง และผิวถนนของถนนเส้นเดียวกันที่ตำแหน่งต่างกัน จะมีลักษณะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับหน่วยงานที่เป็นผู้ควบคุมถนนเส้นนั้น ทางหลวงในประเทศไทยได้รับการควบคุมโดยกรมทางหลวง โดยมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 หรือถนนเพชรเกษม เป็นถนนที่ยาวที่สุดในประเทศไทย เริ่มจากกรุงเทพมหานครถึงด่านพรมแดนจังโหลน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ระยะทางรวมทั้งสิ้น 1,274 กิโลเมตร.
ทางหลวงชนบท กบ.1002
ทางหลวงชนบท ก. 1002 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (กม.ที่ 934+700) - บ้านบางทราย เป็นทางลัดที่เชื่อมสู่ จังหวัดพังงา และ จังหวัดกระบี่ มีความยาวประมาณ 23 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดพังงาประมาณ 5 กิโลเมตร และอยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 18 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงชนบท กบ.1002
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8 หรือที่นิยมเรียกว่า "มอเตอร์เวย์สายใต้" เป็นโครงการทางหลวงพิเศษเชื่อมระหว่างเมือง เริ่มต้นจากจังหวัดนครปฐม ลงสู่ภาคใต้ ไปสิ้นสุดที่จังหวัดสงขลา เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายเส้นทางในแผนแม่บทระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เมื่อวันที่ 22 เมษายน..
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงพิเศษหมายเลข 8
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 92
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 92 เป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายหลัก มีระยะทางยาว 300 กิโลเมตร ทางสายนี้เป็นโครงข่ายทางหลวงที่มีความสำคัญในการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งกับพื้นที่บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดคับคั่งบนถนนพหลโยธิน และในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 ในช่วงปากท่อ - สิงห์บุรี และทางหลวงเอเชียสาย 123.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงพิเศษหมายเลข 92
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325 สายบางแพ - สมุทรสงคราม เป็นทางหลวงแผ่นดินเชื่อมต่อระหว่างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 กับจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อรองรับการคมนาคมทางบก หลังจากที่ในสมัยก่อนมีการสัญจรคมนาคมทางน้ำเป็นหลัก โดยเฉพาะแม่น้ำแม่กลองและคลองดำเนินสะดวก ไม่ปรากฏแน่ชัดถึงการก่อสร้างว่าเกิดขึ้นในสมัยใด แต่เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349 สายหนองควง-หนองหญ้าปล้อง เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรสวนทาง ยกเว้นในเขตชุมชนจะเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับ แยกจากถนนเพชรเกษม กิโลเมตรที่ 147 ตำบลต้นมะพร้าว อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ไปสิ้นสุดที่สถานีตำรวจภูธรหนองหญ้าปล้อง ตำบลหนองหญ้าปล้อง อำเภอหนองหญ้าปล้อง ระยะทางรวม 23.516 กิโลเมตร ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของหมวดการทางเขาย้อย แขวงการทางเพชรบุรี 3349 4-3349 3349.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 สายชะอำ–ปราณบุรี เป็นถนนเลี่ยงเมืองชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และเลี่ยงเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เริ่มต้นที่ทางแยกต่างระดับชะอำ บริเวณกิโลเมตรที่ 187+682 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ในตำบลเขาใหญ่ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี มีเส้นทางลงไปทางทิศใต้ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับวังยาว บริเวณกิโลเมตรที่ 237+009 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ในตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รวมระยะทาง 47.468 กิโลเมตร เส้นทางสายนี้เดิมกำหนดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 และในอดีตรหัสทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 เคยใช้กำหนดเป็นหมายเลขของถนนวงแหวนรอบนอก (ตะวันตก) ซึ่งภายหลังได้รับพระบรมราชนุญาตให้ชื่อว่า "ถนนกาญจนาภิเษก" และกำหนดรหัสทางเป็นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ซึ่งทำให้รหัสทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 ว่างลง จนกระทั่งได้นำมาใช้กำหนดในทางเลี่ยงเมืองช่วงชะอำ–ปราณบุรี ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375 สายบ้านบ่อ–ลำลูกบัว ช่วงแรกเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจรมีเกาะกลาง ส่วนในเขตชุมชนจะเป็นถนนขนาด 6-8 ช่องจราจร แยกจากถนนพระรามที่ 2 กิโลเมตรที่ 38 ตำบลชัยมงคล อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านเข้าไปในตัวอำเภอบ้านแพ้ว ผ่านบ้านดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ผ่านมหาวิทยาลัยคริสเตียน ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม บริเวณสามแยกพระประโทน ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จากนั้นจะเริ่มเส้นทางอีกครั้งที่ตำบลบ่อพลับ อำเภอเมืองนครปฐม ขึ้นไปทางทิศเหนือผ่านอำเภอดอนตูม ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3297, 3233 และ 3296 ไปสุดที่ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม เส้นทางในช่วงนี้เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรตลอดสายยกเว้นในเขตชุมชน เดิมทางหลวงสายนี้ประกอบด้วยทางหลวงสองสาย มีชื่อเรียกตามบัญชีสายทางของกรมทางหลวงว่า "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3097 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (พระประโทน) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 35 (บ้านบ่อ)" ระยะทางรวม 37.521 กิโลเมตร และ "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3036 สายแยกทางหลวงหมายเลข 3095 (นครปฐม) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 346 (บางเลน)" จนกระทั่งในปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009 สายสุราษฎร์ธานี - บรรจบทางหลวงหมายเลข 4 (อ่าวลึก) มีจุดเริ่มต้นแยกจาก สี่แยกแสงเพชร อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตัดขึ้นไปทางใต้ผ่าน อำเภอบ้านนาสาร อำเภอเวียงสระ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี อำเภอปลายพระยา และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 มีความยาวประมาณ 145 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีประมาณ 114 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 31 กิโลเมตร ทางหลวงสายนี้ถูกตัดขาดเมือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44ได้สร้างเสร็จ แต่ในขณะนี้ กำลังมีการก่อสร้างสะพานข้ามทางหลวงหมายเลข 44 อยู่ ซึ่งสร้างเสร็จแล้ว.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 สายแยกโคกเคียน–นครศรีธรรมราช เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตควบคุมของสำนักงานทางหลวงสุราษฎร์ธานี (สำนักงานบำรุงทางพังงา) สำนักทางหลวงที่ 14 นครศรีธรรมราช มีระยะทางเริ่มต้นจากชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ โดยแยกจากถนนเพชรเกษมบริเวณกิโลเมตรที่ 762+481 ที่สามแยกโคกเคียน ใกล้ตัวเมืองอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา จากนั้นตัดไปทางทิศตะวันออกผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปยังชายฝั่งตะวันออก และลงใต้ไปยังจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยสิ้นสุดที่ถนนพัฒนาการคูขวาง.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 สายโคกกลอย–เมืองภูเก็ต หรือ ถนนเทพกระษัตรี เป็นทางหลวงสายหลักที่เชื่อมจังหวัดภูเก็ตเข้ากับแผ่นดินใหญ่ มีความยาวประมาณ 48 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดพังงาประมาณ 8 กิโลเมตร และอยู่ในจังหวัดภูเก็ตประมาณ 40 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของแขวงการทางภูเก็ต ตลอดสาย ตั้งแต่ด่านตรวจภูเก็ต-ต่อเขตเทศบาลนครภูเก็ตควบคุมแต่เดิมนับหลักกิโลเมตรจากศาลากลางภูเก็ต ปัจจุบันนับหลักกิโลเมตร 0 สี่แยกโคกกลอย - ต่อเขตเทศบาลเมืองนครภูเก็ตควบคุมกิโลเมตรที่ 48+958.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 สายนครศรีธรรมราช–กันตัง แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกเริ่มต้นจากอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จากนั้นก็วิ่งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 ที่แยกสวนผัก ช่วงที่ 2 แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 บริเวณแยกบ้านจำปา วิ่งไปทางตะวันตก เข้าสู่ตัวอำเภอทุ่งสง จากนั้นวิ่งลงใต้ไปบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 419 ช่วงที่ 3 เริ่มต้นจากอำเภอเมืองตรัง ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ สิ้นสุดที่อำเภอกันตัง.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (คลองท่อมใต้) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 41 (ทุ่งใหญ่) มีจุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1,009+121 ที่สามแยกคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตัดขึ้นไปทางตะวันออก ผ่าน อำเภอลำทับ เข้าสู่เขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ผ่านอำเภอทุ่งใหญ่ สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41(ถนนสายเอเชีย) มีความยาวประมาณ 65 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 33 กิโลเมตร และอยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราชประมาณ 32 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406 (สายปากจ่า–ตำมะลัง) เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่าง 2 จังหวัดที่อยู่ภาคใต้ฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก ได้แก่ จังหวัดสงขลากับจังหวัดสตูล มีระยะทางตลอดทั้งสาย 99.89 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังเป็นทางหลวงสายสำคัญที่เชื่อมต่อจากถนนเพชรเกษมไปยังจังหวัดสตูลอีกด้ว.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 สายคลองหวะ - สงขลา หรือ ถนนกาญจนวณิชย์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงการทางสงขลา สังกัดสำนักทางหลวงที่ 15 (สงขลา) เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมตัวเมืองสงขลาเข้ากับตัวเมืองหาดใหญ่ มีระยะทางเริ่มต้นจากทางแยกคลองหวะในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แล้ววิ่งขึ้นเหนือไปยังอำเภอเมืองสงขลา ไปสิ้นสุดที่ทางแยกสำโรง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา อยู่ในเขตจังหวัดสงขลาทั้งหมด 28.3 กิโลเมตร ในอดีต ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นเส้นทางหลักสำหรับรถทุกคันจากถนนเพชรเกษมที่จะเข้าตัวเมืองสงขลา แต่เมื่อมีการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 (ถนนลพบุรีราเมศวร์) ขึ้น รถจำนวนมากได้หันไปใช้เส้นทางนี้แทน เนื่องจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 จะวิ่งผ่านเข้าไปในตัวเมืองหาดใหญ่ ขณะที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 จะวิ่งเลี่ยงตัวเมืองหาดใหญ่ รัฐบาลสมัยจอมพล ป.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090 สายนบปริง–หินดาน เป็นทางหลวงแผ่นดินขนาด 2 ช่องจราจร เป็นเส้นทางหลักของจังหวัดพังงา มีเส้นทางเริ่มจากสามแยกนบปริง แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ในอำเภอเมืองพังงา จากนั้นวิ่งไปทางตะวันตกผ่านอำเภอกะปง และสิ้นสุดที่อำเภอตะกั่วป่า โดยเชื่อมเข้ากับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 ระยะทางทั้งหมดประมาณ 43 กิโลเมตร เป็นทางลัดจากอำเภอเมืองพังงาไปอำเภอคุระบุรี อำเภอตะกั่วป่า และจังหวัดระนอง ในขณะที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ได้วิ่งอ้อมไปทางตะวันตกผ่านอำเภอตะกั่วทุ่งและอำเภอท้ายเหมือง ทางหลวงแผ่นดินสายนี้จึงเป็นเส้นทางที่ใกล้กว่าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 สายสี่แยกปฐมพร–พัทลุง เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักของภาคใต้ เส้นทางเริ่มต้นจากแยกปฐมพรบนถนนเพชรเกษม ที่จังหวัดชุมพร จากนั้นวิ่งลงใต้ผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช และสิ้นสุดบนถนนเพชรเกษมที่จังหวัดพัทลุง ระยะทางรวม 382.616 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นถนน 4 ช่องจราจรตลอดสาย แบ่งเป็น 2 ช่องจราจรในแต่ละทิศทาง โดยมีคูน้ำกั้นระหว่างทิศทาง ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 (A18) ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 ตลอ.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135 สายทางเข้าสนามบินหาดใหญ่ เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 สำนักงานทางหลวงที่ 18 สงขลา มีระยะทางเริ่มต้นจากถนนลพบุรีราเมศวร์ที่หลักกิโลเมตรที่ 22+100 โดยสิ้นสุดที่ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 สายน้ำกระจาย–ท่าท้อน หรือ ถนนลพบุรีราเมศวร์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 สังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 18 (สงขลา) มีจุดเริ่มต้นจากห้าแยกน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา วิ่งขึ้นลงใต้ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4) โดยเป็นเส้นทางสายใหม่ที่สร้างขึ้นเพื่อเลี่ยงเมืองหาดใหญ่แทนถนนกาญจนวณิช (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407) มีความยาวทั้งสิ้น 24.315 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 - อ่าวพังงา มีจุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ที่หลักกิโลเมตร 878+000 อำเภอเมือง จังหวัดพังงา เป็นทางหลวงสายสั้นๆ สิ้นสุดที่ท่าเรืออ่าวพังงา มีความยาวประมาณ 4 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147 สายทางแยกเข้าทับละมุ มีจุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม)อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา สิ้นสุดที่ฐานทัพเรือทับละมุมีความยาวประมาณ 5 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 สายนาเหนือ - พนม เริ่มต้นโดยแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สี่แยกนาเหนือ จังหวัดกระบี่ และสิ้นสุดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยเชื่อมเข้ากับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 ระยะทาง 46 กิโลเมตร โดยทางสายเลี่ยงเมืองพังงา ได้มีการเปลี่ยนเลขทางหลวง เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 สายคลองแงะ–จุดผ่านแดนถาวรสุไหงโก-ลก (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) หรือที่เรียกกันในช่วงจังหวัดปัตตานีถึงนราธิวาสว่า ถนนเพชรเกษมสายปัตตานี–นราธิวาส หรือ ถนนเกาหลี หรือ บาตะฮ กอลี ในภาษามลายูปัตตานี เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมจังหวัดสงขลาเข้ากับจังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิว.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 สายหาดใหญ่–มะพร้าวต้นเดียว เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานที่สำคัญสายหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 โดยทางหลวงสายนี้เป็นทางหลวงเส้นใหม่ที่ตัดขึ้นเพื่อย่นระยะทางจากจังหวัดสงขลาไปยังจังหวัดปัตตานี แทนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 โดยเป็นทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย รวมระยะทาง 94.952 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 สายพังงา - ทับปุด หรือ ถนนเลี่ยงเมืองพังงา เริ่มต้นโดยแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สามแยกวังหม้อแกง ไปบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สามแยกทับป.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44 สายอ่าวลึก–หินโงก หรือที่เรียกกันว่า ถนนเซาท์เทิร์น เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสะพานเศรษฐกิจ (Land Bridge) เชื่อมโยงระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ซึ่งเกิดขึ้นจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน..
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44
ทางหลวงในประเทศไทย
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางหลวงในประเทศไทย เป็นเครือข่ายของทางหลวงที่อยู่ในประเทศไทย โดยปกติมักหมายถึงทางหลวงแผ่นดินซึ่งอยู่ในความควบคุมของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ทางหลวงในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงในประเทศไทย
ทางหลวงเอเชียสาย 123
ทางหลวงเอเชียสาย 123 (AH123) ถนนเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ประเภทสายรอง เริ่มต้นจากพรมแดนพม่าที่ช่องทางผ่านแดนบ้านพุน้ำร้อน ตำบลบ้านเก่า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3229 ข้ามสะพานแม่น้ำแควน้อย ข้ามทางรถไฟสายกาญจนบุรี-น้ำตกไทรโยคน้อย จนถึงแยกเข้าบ้านเก่า ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 (ถนนแสงชูโต) ใช้ถนนเลี่ยงเมืองกาญจนบุรี ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 367 แล้วแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 อีกครั้ง จนถึงสามแยกกระจับ ตำบลหนองอ้อ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ผ่านจังหวัดนครปฐม ถึงทางแยกต่างระดับนครชัยศรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ถึงกรุงเทพมหานคร จากนั้นเริ่มต้นที่ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ถนนกรุงเททพฯ ชลบุรี หรือมอเตอร์เวย์) ถึงทางแยกต่างระดับโป่ง ตำบลโป่ง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 ถึงแยกปลวกเกตุ ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ผ่านจังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด สิ้นสุดที่พรมแดนกัมพูชา ด่านพรมแดนบ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ระยะทาง 643 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงเอเชียสาย 123
ทางหลวงเอเชียสาย 2
ทางหลวงเอเชียสาย 2 (AH2) เป็นเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทาง 8,230 ไมล์ (13,177 กม.) จากเดนพาซาร์, อินโดนีเซีย ถึง โคสราวี, อิหร่าน โดยช่วงที่ผ่านประเทศไทย เริ่มจากพรมแดนพม่าที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ลงมาจนจรดชายแดนบ้านจังโหลน จังหวัดสงขลา เป็นระยะทาง 2,254 กิโลเมตร.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางหลวงเอเชียสาย 2
ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ
ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ (Lebuhraya Utara–Selatan Jajaran Utara) ซึ่งมีหมายเลขเป็น E1 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 เป็นทางหลวงในมาเลเซียตะวันตกที่มีการควบคุมการเข้าออก และมีการชำระค่าผ่านทาง มีระยะทาง เป็นเส้นทางในส่วนเหนือของทางด่วนเหนือ–ใต้ของประเทศมาเลเซีย เส้นทางผ่านรัฐทางตะวันตกเฉียงเหนือ ได้แก่ รัฐเกอดะฮ์ รัฐปีนัง รัฐเประก์ และรัฐเซอลาโงร์ มีจุดเริ่มต้นทางทิศเหนือที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองบูกิตกายูฮีตัมในรัฐเกอดะฮ์ ซึ่งตั้งอยู่บนชายแดนมาเลเซีย-ไทย และสิ้นสุดที่บูกิตลันจัน ในรัฐเซอลาโงร์ ซึ่งตัดกับทางด่วนหุบเขากลังใหม่ ทางด่วนสายนี้ดำเนินการโดยพลัสเอกซ์เพรสเวย์ ทางด่วนสายนี้มีแนวเส้นทางจากเหนือไปใต้ ใกล้กับชายฝั่งทะเลทางทิศตะวันเฉียงเหนือของคาบสมุทร เชื่อมเมืองใหญ่ต่าง ๆ ได้แก่ อลอร์สตาร์ บัตเตอร์เวิร์ท ไตปิง อีโปะฮ์ และราวัง และผ่านหมู่บ้านชนบทต่าง ๆ ทางด่วนสายนี้มีเส้นทางขนานไปกับทางหลวงมาเลเซียหมายเลข 1 ที่มีอยู่แล้ว และมีการใช้เส้นทางร่วมกันกับทางด่วนสายนี้จากเมืองบูกิตกายูฮีตัมถึงเมือง Jitra.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ
ทางแยกต่างระดับวังมะนาว
ทางแยกต่างระดับวังมะนาว (Wang Manao Interchange) หรือ แยกวังมะนาว เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 2 บริเวณกิโลเมตรที่ 84+041 ตัดกับถนนเพชรเกษม บริเวณกิโลเมตรที่ 125+223.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางแยกต่างระดับวังมะนาว
ทางแยกต่างระดับปฐมพร
ทางแยกต่างระดับปฐมพร (Pathom Phon Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับในอำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร โดยเป็นจุดตัดระหว่างถนนเพชรเกษม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 327.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางแยกต่างระดับปฐมพร
ทางแยกต่างระดับนครชัยศรี
ทางแยกต่างระดับนครชัยศรี (Nakhon Chai Si Interchange) เป็นชุมทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม ตั้งอยู่ที่อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม บริเวณถนนเพชรเกษมและถนนบรมราชชนนี.
ดู ถนนเพชรเกษมและทางแยกต่างระดับนครชัยศรี
ที่สุดในประเทศไทย
ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.
ดู ถนนเพชรเกษมและที่สุดในประเทศไทย
ท่าอากาศยานหัวหิน
ท่าอากาศยานหัวหิน หรือเดิมคือ สนามบินบ่อฝ้าย ตั้งอยู่ในเขต ตำบลบ่อฝ้าย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีอาคารผู้โดยสารขนาด 7,200 ตารางเมตร และพื้นที่ลานจอดเครื่องบินขนาด 31,000 ตารางเมตร สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 240 คนต่อชั่วโมง นอกจากนี้ท่าอากาศยานหัวหินยังเป็นที่ตั้งของศูนย์ฝึกการบิน สถาบันการบินพลเรือน และ ศูนย์ฝนหลวงหัวหิน ซึ่งดูแลพื้นที่ภาคใต้ตอนบน หัวทางวิ่งของท่าอากาศยานหัวหินด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือจะอยู่คร่อมทางรถไฟสายใต้ และถนนเพชรเกษม ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ผู้ใช้เส้นทางเข้าตัวเมืองหัวหินจะต้องขับรถลอดผ่านอุโมงค์ใต้ทางวิ่งไป.
ดู ถนนเพชรเกษมและท่าอากาศยานหัวหิน
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ หรือ สนามบินกระบี่ (Krabi International Airport) ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม ตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ระหว่างอำเภอเมืองกระบี่กับอำเภอเหนือคลอง ไปทางจังหวัดตรัง เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม.
ดู ถนนเพชรเกษมและท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่
ขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า
นด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า ขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า หรือที่นิยมเรียกว่า ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า หรือ ศาลเจ้าพ่อเสือ ภาษีเจริญ เป็นศาลเจ้าจีนตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า แห่งนี้ก่อสร้างขึ้นในยุคที่มีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นยุคที่มีการตัดถนนและเส้นทางคมนาคมต่าง ๆ มากมาย เดิมที ศาลแห่งนี้เป็นเพียงศาลเพียงตาเล็ก ๆ ริมถนน ต่อมาได้มีการขยายถนนให้ใหญ่ขึ้น ศาลเพียงตาจึงถูกดินที่ขุดขึ้นมาฝังกลบจนมิด ต่อมาได้มีผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น คือนายประเสริฐ ธรรมมา อดีตผู้ก่อตั้งศาลฝันเห็นมีนักรบโบราณ บอกให้นำศาลที่ฝังดินนั้นขึ้นมา เมื่อตื่นขึ้นจึงได้ขุดศาลขึ้นมาและบูรณะจนกลายมาเป็นศาลเจ้าเช่นในปัจจุบัน ในอดีตเป็นที่เล่าลือกันว่า มีผู้พบเห็นเสือโคร่งตัวใหญ่วนเวียนอยู่บริเวณนั้น จึงเป็นที่มาของศาล ส่วนองค์ประธานในศาล คือ "ตั่วเหล่าเอี๊ย" หรือ เจ้าพ่อเสือ เช่นเดียวกับศาลเจ้าพ่อเสือ พระนคร ในเขตพระนคร และเจ้าพ่อขุนด่าน ที่เชื่อว่าคือ นักรบโบราณผู้นั้น เป็นเจ้าเมืองหน้าด่านกรุงธนบุรี หนึ่งในทหารเสือในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยุคธนบุรี ศาลเจ้าพ่อเสือ บางหว้า ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่จากผู้มีจิตศัทธรา ขึ้นชื่ออย่างมากในเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในปัจจุบันด้านข้างของศาล มีลานสำหรับฉายภาพยนตร์แก้บนอย่างถาวร สำหรับผู้ที่มาบนบานต่าง ๆ แล้วได้ตามที่บนบานไว้ มีการฉายทุกวัน วันละ 3 เรื่อง เริ่มตั้งแต่พระอาทิตย์ตกดิน และผู้ที่ขับขี่พาหนะผ่านไปมา มักจะแสดงความเคารพด้วยการยกมือไหว้หรือกดแตรเสียงดัง และในงานเทศกาลต่าง ๆ เช่น ตรุษจีน, สารทจีน ทางกรรมการศาลเจ้าจะมีการอัญเชิญเทวรูปองค์เจ้าพ่อมาให้สักการะบริเวณด้านหน้าศาลอีกด้วย ส่วนงานประจำปีของศาลจะอยู่ในช่วงต้นเดือนมีนาคมของทุกปี.
ดู ถนนเพชรเกษมและขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้า
คอคอดกระ
อคอดกระ (เบื้องหลังเป็นเทือกเขาตะนาวศรี) คอคอดกระ หรือ กิ่วกระ เป็นส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายูอยู่ในเขตบ้านทับหลี ตำบลมะมุ อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง กับ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ประมาณกิโลเมตรที่ 545 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ห่างจากเขตเทศบาลเมือง 66 กิโลเมตร ในบริเวณนี้มีแผ่นป้ายคอนกรีตขนาดใหญ่จำลอง คอคอดกระ มีระยะทางจากฝั่งทะเลตะวันตกจรดฝั่งตะวันออกกว้างเพียง 50 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนนี้นับเป็นยุทธศาสตร์สำคัญ ที่ได้รับความสนใจตั้งแต่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในการที่จะขุดคลองตัดผ่านจนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 ฝรั่งเศสคิดจะขุดคอคอดกระเพื่อร่นระยะทางในการเดินเรือจากฝั่งทะเลอันดามันข้ามมายังฝั่งอ่าวไทย โดยไม่ต้องอ้อมไปทางแหลมมลายู แต่เนื่องด้วยความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับอังกฤษที่เป็นเจ้าของกิจการท่าเรือในปีนังและสิงคโปร์โครงการนี้จึงต้องระงับไป ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองในสนธิสัญญาสมบูรณ์แบบไทยยินยอมที่จะไม่ขุดคลองคอคอดกระหากไม่ได้รับความยินยอมจากอังกฤษก่อน ปรีดี พนมยงค์ได้เสนอให้ขุดคลอง เมื่อ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสยาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เปิดทำการเรียนการสอนในด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน และสารสนเท.
ดู ถนนเพชรเกษมและคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 เป็นคณะลำดับที่ 6 ของมหาวิทยาลัยสยาม โดยมี อาจารย์ประธาน รังสิมาภรณ์ เป็นคณบดี เปิดสอนทั้งสิ้น 6 สาขาวิชา ได้แก่ หนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์, การประชาสัมพันธ์, การโฆษณา, สื่อดิจิทัล, วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และศิลปะการแสดง โดยนักศึกษาต้องผ่านการเรียน ซึ่งประกอบด้วยวิชาหลักต่าง ๆ จำนวน 141 หน่วยกิต และวิชาเลือกเสรีจำนวน 3 หน่วยกิต และต้องผ่านการฝึกงานติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 200 ชั่วโมง จึงจะสำเร็จหลักสูตร ใช้เวลาเรียน 4 ปี ต่อมา มี ร.ดร.
ดู ถนนเพชรเกษมและคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (Faculty of Medicine Siam University) เป็นคณะแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสยาม โดยเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 21 ของประเทศไทย และลำดับที่ 2 ของมหาวิทยาลัยเอกชน และผ่านการรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตจากแพทยสภาแล้ว.
ดู ถนนเพชรเกษมและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม เป็นคณะเภสัชศาสตร์คณะที่ 15ของประเทศไทย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชน แต่เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกของมหาวิทยาลัยเอกชนที่เป็นหลักสูตร 6 ปี จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างเภสัชกร ที่มีทักษะการปฏิบัติงานด้านบริบาลทางเภสัชกรรม ได้รับการรับรองหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม
ประวัติคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม.
ดู ถนนเพชรเกษมและคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม
ตลาดธนบุรี
ป้ายทางเข้าตลาดธนบุรี ตลาดธนบุรี หรือที่นิยมเรียกติดปากว่า สนามหลวง 2 ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 195/1 หมู่ที่ 1 ถนนทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170.
ตลาดน้ำดำเนินสะดวก
ตลาดน้ำดำเนินสะดวก ตั้งอยู่ใน จังหวัดราชบุรี และยังเชื่อมไปถึง จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงครามเข้าด้วยกันตลาดน้ำดำเนินสะดวกจะเริ่มค้าขายกันตั้งแต่ 08.00-12.00 น.
ดู ถนนเพชรเกษมและตลาดน้ำดำเนินสะดวก
ตำบลนาวง
ตำบลนาวง เป็นตำบลหนึ่งในจังหวัดตรัง เดิมเคยเป็นทุ่งนาที่ใช้เป็นสถานที่ฌาปนสถานเรียกว่า เปรวโคกแซะ ต่อมามีคณะกลุ่มบริษัทวัดมาจัดตั้งเป็นสำนักสงฆ์ขึ้นมาเรียกว่า วัดนาวง ต่อมารัชกาลที่ 5 ได้ทรงยกฐานะระดับหมู่บ้านเป็นระดับตำบลมีชื่อว่า ตำบลนาปยา หลังจากนั้นทางราชการก็จัดรวมพื้นที่ของตำบลนาวงรวมกับตำบลบางกุ้งเพื่อให้จัดระบบการปกครองได้ง่ายขึ้น แต่เมื่อมีประชากรเพิ่มมากขึ้นการปกครองก็ไม่สะดวกจึงได้จัดแยกสองตำบลนี้ออกจากกันอีกครั้ง มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์อ้างอิงว่าพื้นที่นี้เคยเป็นชุมชนที่เก่าแก่ของจังหวัดตรัง โดยมีการพบโบราณสถานและโบราณวัตถุที่เขาปินะ ในปัจจุบันตำบลนาวงมีความเจริญรุ่งเรืองมากอันเนื่องมาจากสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ การจารจรสี่ช่องทางจารจรที่สะดวกโดยมีถนนเพชรเกษมตัดผ่าน ตำบลนาวงในสมัยยังปกครองด้วยสุขาภิบาลนาวงนั้น เคยได้รับการเสนอให้เป็นอำเภอนาวง เพราะในสมัยนั้นการปกครองยังเข้าไม่ทั่วถึง แต่ในปัจจุบันได้มีการจัดตั้งอำเภอขึ้นมาแทนโดยชื่อว่าอำเภอห้วยยอ.
ซีคอนบางแค
ซีคอนบางแค (Seacon Bangkae) (เดิมคือ ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์คบางแค) เป็น ศูนย์การค้า ที่บริหารงานโดย บริษัท ซีคอนบางแค จำกัด ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 40 ไร่ บน ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ และภายในปี พ.ศ.
ปรียา รุ่งเรือง
ปรียา รุ่งเรือง (พ.ศ. 2483 - 2527) นักแสดงชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากบทนางเอกภาพยนตร์เรื่อง แม่นาคพระโขนง ของ เสน่ห์ โกมารชุน เจ้าของฉายา "นางเอกอกเขาพระวิหาร" เข้าสู่วงการแสดงจากการประกวดเทพี ในพิธีมอบรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและปรียา รุ่งเรือง
น้ำตาลขอนแก่น
ริษัท น้ำตาลขอนแก่น จำกัด (มหาชน) (KHON KAEN SUGAR INDUSTRY PUBLIC COMPANY ชื่อย่อ:KSL) บริษัทและบริษัทย่อย ภายใต้กลุ่ม เค เอส แอล เป็นกลุ่มบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำตาลทรายใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศไทย โดยกลุ่มบริษัทมีโรงงานน้ำตาลที่อยู่ภายใต้กลุ่มธุรกิจทั้งหมด 5 โรง โดยแบ่งสายการผลิตออกเป็น 3 ภาค ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และ ภาคตะวันออก แบบรายงาน56-1 น้ำตาลขอนแก่น จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2555.
ดู ถนนเพชรเกษมและน้ำตาลขอนแก่น
แม็กซ์แวลู
แม็กซ์แวลู โตไก เป็นบริษัทซูเปอร์มาร์เก็ตที่มีสาขามากที่สุดจากประเทศญี่ปุ่น โดยกลุ่มบริษัทอิออน ปัจจุบันมีสาขาในประเทศญี่ปุ่นมากกว่า 500 สาขา นอกจากนี้ยังมีสาขาในประเทศต่างๆ อาทิ มาเลเซีย, จีน รวมทั้งประเทศไท.
แยกทศกัณฑ์
แยกทศกัณฑ์ (Thotsakan Intersection) เป็นสี่แยกถนนบางแวกตัดกับถนนพุทธมณฑล สาย 2 ในพื้นที่เขตบางแค กรุงเทพมหานคร บริเวณใกล้เคียงมีตลาดตั้งอยู่ ทิศเหนือไปถนนบรมราชชนนี ทิศใต้ไปถนนเพชรเกษม ทิศตะวันออกไปถนนกาญจนาภิเษก ทิศตะวันตกไปถนนพุทธมณฑล สาย 3.
แยกท่าพระ
แยกท่าพระ (Tha Phra Intersection) เป็นสี่แยกบริเวณจุดตัดระหว่างถนนเพชรเกษม, ถนนรัชดาภิเษกและถนนจรัญสนิทวงศ์ ในพื้นที่แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร นับเป็นสี่แยกที่มีความสำคัญต่อการจราจรในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ถือเป็นจุดเริ่มต้นของถนนจรัญสนิทวงศ์ และถนนรัชดาภิเษก ช่วงรัชดา-ท่าพระ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพฯ อีกทั้งยังเป็นทางแยกแรกของถนนเพชรเกษมจากจุดเริ่มต้นบริเวณสะพานเนาวจำเนียรซึ่งทอดยาวลงสู่ภาคใต้ของไทย นับเป็นบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นมากอีกแห่งหนึ่งในพื้นที่ฝั่งธนบุรีรองจากวงเวียนใหญ่ แม้ในปัจจุบันจะมีการตัดถนนในพื้นที่ข้างเคียงอีกหลายสาย เช่นถนนราชพฤกษ์ ซึ่งสามารถแบ่งเบาปริมาณการจราจรจากย่านวงเวียนใหญ่เข้าสู่แยกท่าพระได้ในระดับหนึ่ง โดยชื่อ "ท่าพระ" อันทั้งชื่อของแยกและแขวงในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ด้วย นั้นมาจากชื่อของวัดท่าพระ ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงด้านถนนจรัญสนิทวงศ์ เดิมมีชื่อว่า "วัดเกาะ" ต่อมาได้มีการพบหลวงพ่อเกษร อันเป็นประธานในวัดลอยมาติดที่ท่าน้ำ จึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดท่าพระดังเช่นในปัจจุบัน แยกท่าพระเดิมมีสภาพเป็นเพียงสามแยก ต่อมาทางด้านทิศใต้ได้มีการตัดถนนรัชดาภิเษกช่วงรัชดา-ท่าพระ จึงเปลี่ยนมาเป็นสี่แยก กระทั่งปี พ.ศ.
แยกปฐมพร
ทางแยกต่างระดับปฐมพร ตั้งอยู่บนจุดตัดของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 หรือ ถนนเพชรเกษม (กรุงเทพ-สะเดา) ถนนสายเอเชีย (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41) และ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 327 (ถนนเมืองชุมพร) (แยกปฐมพร-ชุมพร) ที่อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ถ้าจะเดินทางไป 14 จังหวัดภาคใต้ ระยะทางจากสามแยกปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประมาณกิโลเมตรที่ 251+100.00 ของทางหลวงหมายเลข 4 หรือที่เรียกว่าถนนเพชรเกษม ไปบรรจบสี่แยกปฐมพรประมาณกิโลเมตรที่ 500 เขตอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ระยะทางในช่วงนี้หากเกิดถูกปิดเส้นทางหรือเส้นทางถูกน้ำท่วม จะไม่สามารถเลือกใช้เส้นทางอื่นทดแทนได้ จนกระทั่งถึงสี่แยกปฐมพรจึงจะสามารถเลือกใช้เส้นทางอื่นได้ จะไปทางสุราษฎร์ธานีหรือเลี้ยวขวาไปทางระนอง ถ้าเลี้ยวซ้ายก็จะตรงเข้าไปจังหวัดชุมพร ด้วยเหตุนี้เอง จังหวัดชุมพรจึงได้ชื่อว่าประตูสู่ภาคใต้ ตรงทางแยกปฐมพรนี้เอง.
แยกปากลาว
สี่แยกปากลาว ตั้งอยู่บนจุดตัดของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 และ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 ที่ตำบลนาเหนือ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ปาวลาว.
แยกโคกกลอย
สี่แยกโคกลอย ตั้งอยู่บนจุดตัดของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 และ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 ที่ตำบลโคกกลอย อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา โคกกลอย.
แยกเอเชีย (จังหวัดพัทลุง)
สี่แยกเอเชียพัทลุง ตั้งอยู่บนจุดตัดของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (กรุงเทพ-สะเดา) และ ถนนสายเอเชีย (ชุมพร-พัทลุง) ที่อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เอเชียพัทลุง.
ดู ถนนเพชรเกษมและแยกเอเชีย (จังหวัดพัทลุง)
แขวงบางแค
แขวงบางแค เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตบางแค กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า และที่อยู่อาศั.
แขวงบางแคเหนือ
แขวงบางแคเหนือ เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตบางแค กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า และที่อยู่อาศั.
ดู ถนนเพชรเกษมและแขวงบางแคเหนือ
แขวงหลักสอง
แขวงหลักสอง เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตบางแค กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า และที่อยู่อาศั.
แขวงหนองค้างพลู
หนองค้างพลู เป็นเขตการปกครองระดับแขวงแห่งหนึ่งในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ตอนบนของท้องที่เป็นเขตเกษตรกรรม ส่วนตอนล่างเป็นเขตที่อยู่อาศัยเนื่องจากมีเส้นทางคมนาคมสายหลักตัดผ่าน.
ดู ถนนเพชรเกษมและแขวงหนองค้างพลู
โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
รงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน เดิมคือโรงเรียนราชวิทยาลัย พระราชทานกำเนิดโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ก่อนจะถูกยุบรวมเป็นวชิราวุธวิทยาลัย ในสมัยรัชกาลที่ 7 และถูกฟื้นฟูใหม่อีกครั้งโดยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระมหากรุณารับโรงเรียนไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญอักษรพระปรม.ป.ร.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
โรงเรียนบอสโกพิทักษ์
รงเรียนบอสโกพิทักษ์ (Boscopitak school; 博士果比塔学校; อักษรย่อ: บ พ, BP) เป็นโรงเรียนเอกชน โดยโรงเรียนมีการแบ่งแผนก เป็นแผนกอนุบาล แผนกประถม และแผนกมัธยม ก่อตั้งโดยโดยบาทหลวงริชาร์ดแห่งกรุงปารีส วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนบอสโกพิทักษ์
โรงเรียนชัยเกษมวิทยา
รงเรียนชัยเกษมวิทยา (อังกฤษ: Chaikasem Wittaya School) (อักษรย่อ: ช.ษ., C.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาสหขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย กำนันมนต์ชัย ผอูนรัตน์ ร่วมกับชาวบ้าน ตำบลชัยเกษม เกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดเตรียมพื้นที่เพื่อตั้งโรงเรียน สภาพพื้นที่ครั้งแรกเป็นไหล่เขาสลับที่ลุ่มจำนวน 38 ไร่ มีคณะอาจารย์จากโรงเรียนทับสะแกวิทยาเป็นผู้บุกเบิกและมีนายอนุ ธีรานุวรรตน์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ฝ่ายวิชาการโรงเรียนทับสะแกวิทยา ได้รับคำสั่งแต่งตั้งจากกรมสามัญศึกษาให้ปฏิบัติหน้าที่ครูใหญ่โรงเรียนชัยเกษมวิทยา วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2535 กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติจัดตั้งให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา นามว่า “ ชัยเกษมวิทยา” ซึ่งตรงกับโอกาสครบรอบ 100 ปี กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันเปิดทำการสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนชายจำนวน 251 คน นักเรียนหญิง 353 รวมทั้งสิ้น 604 คน มีครู-อาจารย์ 27 คน นักการ-ภารโรง 2 คน พนักงานขับรถ 1 คน จากสภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร์ ของตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประชากรของตำบลชัยเกษม มีแหล่งที่อยู่และที่ทำมาหากินกระจัดกระจาย ทั้งจากการพิจารณาข้อมูลสารสนเทศขององค์การบริหารส่วนตำบล และสำนักงานสถิติจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ พบว่าสารสนเทศประชากรในตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส่วนใหญ่มีอาชีพทำไร่-ทำนา และรับจ้างทั่วไป ทั้งมีพื้นฐาน ความรู้ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นส่วนมาก.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนชัยเกษมวิทยา
โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์
รงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ (Joseph Upatham School) อักษรย่อ ยอ.(JS) เป็นโรงเรียนคาทอลิกสังกัดฝ่ายการศึกษามิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์
โรงเรียนวัดนวลนรดิศ
รงเรียนวัดนวลนรดิศ (Wat Nuannoradit School) อักษรย่อ (น.ด.) เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เดิมเป็นประเภทนักเรียนชายล้วน ปัจจุบันเป็นประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณวัดนวลนรดิศ เลขที่ 137 ซอยเพชรเกษม 19 แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ
โรงเรียนวังไกลกังวล
รงเรียนวังไกลกังวล เป็นโรงเรียนของรัฐในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ในระดับอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และยังมีการสอนในระดับประกาศวิชาชี.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนวังไกลกังวล
โรงเรียนสมถวิล หัวหิน
รงเรียนสมถวิล หัวหินเป็นโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชนกระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ในระดับอนุบาล 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนสมถวิล หัวหิน
โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
รงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย (Hatyaiwittayalai School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 14 ไร่ 2 งาน โดยขุนนิพัทธ์จีนนคร ต้นตระกูลจิระนคร เป็นผู้บริจาคที่ดินสร้างโรงเรียน จำนวน 14 ไร่ และ เทศบาลนครหาดใหญ่ บริจาคเพิ่มเติมอีก 2 งาน รวมเป็น 14 ไร่ 2 งาน ประกอบด้วยอาคารเรียน 8 หลัง มีห้องเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 42 ห้องเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 57 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 99 ห้องเรียน มีนักเรียนประมาณ 4,500 คน.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
รงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสงขลาเขต 2 ตั้งอยู่บนถนนเพชรเกษม ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปัจจุบันมี นายเกษม ทองปัญจา ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ มีครูทำการสอนประมาณ 170 คน นักเรียนประมาณ 3,200 คน.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
โรงเรียนผดุงกิจวิทยา
รงเรียนผดุงกิจวิทยา เดิมชื่อ "เผยจือกงเซี๊ยะ" (培知公学) เป็นโรงเรียนสอนภาษาไทย-จีน ตั้งอยู่ที่ แขวงคลองสาน เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยผู้ขออนุญาตจัดตั้งโรงเรียนคือ นายเอี้ยวคุณ แซ่อึ้ง ตามใบอนุญาตเลขที่ 104 /2490 ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนผดุงกิจวิทยา
โรงเรียนท้ายเหมืองวิทยา
รงเรียนท้ายเหมืองวิทยา เป็นโรงเรียนที่ให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการตั้งชื่อตามอำเภออันเป็นที่ตั้งของโรงเรียน.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนท้ายเหมืองวิทยา
โรงเรียนเทศบาลอ้อมน้อย
รงเรียนเทศบาลอ้อมน้อย เป็นโรงเรียนแห่งแรกของเทศบาลนครอ้อมน้อย ก่อตั้งโดยนายกเทศมนตรีเมืองอ้อมน้อย นายสมศักดิ์ ขวัญเมือง และคณะผู้บริหารของเทศบาลอ้อมน้อย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ตั้งอยู่เลขที่ ๘๙/๙ หมู่ที่ ๑๓ ซอยวัดใหม่หนองพระอง (เพชรเกษม ๙๑) ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร.
ดู ถนนเพชรเกษมและโรงเรียนเทศบาลอ้อมน้อย
โฮมโปร
มโปร (HomePro) ชื่อเต็ม บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
ไวไว
วไว และ ควิก (เดิมชื่อ ไวไว ควิก!) เป็นเครื่องหมายการค้าของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ซึ่งมียอดจำหน่ายรวมกันเป็นอันดับสองในประเทศไทย ผลิตและจัดจำหน่ายโดย บริษัท โรงงานผลิตภัณฑ์อาหารไทย จำกัด (Thai Preserved Food Factory Company Limited) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.
เทศบาลตำบลพะวง
ทศบาลตำบลพะวง หรือ ตำบลพะวง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โดยกินอาณาเขตตำบลพะวงทั้งตำบล ในปัจจุบันตำบลพะวงถือเป็นประตูสู่นครสงขลาชั้นแรก เป็นแถบชานเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นที่ตั้งขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา และโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ อีกด้วย องค์การบริหารส่วนตำบลพะวงได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบลพะวง เมื่อ วันที่ 1 มกราคม..2549.
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลตำบลพะวง
เทศบาลตำบลหัวสะพาน
ทศบาลตำบลหัวสะพาน เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ได้เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบล ตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลตำบลหัวสะพาน
เทศบาลตำบลเขาย้อย
ทศบาลตำบลเขาย้อย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ได้เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสุขาภิบาลเขาย้อย ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล..
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลตำบลเขาย้อย
เทศบาลนครสงขลา
นครสงขลา หรือ เทศบาลนครสงขลา เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสงขลา การที่นครสงขลาตั้งอยู่ติดกับชายฝั่งทะเลอ่าวไทย จึงทำให้มีการค้าขายทางพานิชย์นาวีป็นจำนวนมาก.
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลนครสงขลา
เทศบาลนครหาดใหญ่
นครหาดใหญ่ เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หาดใหญ่ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นเทศบาลนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมขนส่งที่สำคัญของภาคใต้ หาดใหญ่ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่เมื่อวันที่ 25 กันยายน..
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลนครหาดใหญ่
เทศบาลนครอ้อมน้อย
อ้อมน้อย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลนครแห่งหนึ่งในอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร มีพื้นที่ 30.40 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอ้อมน้อยทั้งตำบล มีประชากรในปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลนครอ้อมน้อย
เทศบาลนครตรัง
ตรัง เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดตรัง มีพื้นที่ 14.77 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมเขตตำบลทับเที่ยง ซึ่งอาจเรียกตัวเมืองตรังได้อีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองทับเที่ยง" มีประชากรในปี..
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลนครตรัง
เทศบาลเมืองบ้านพรุ
ทศบาลเมืองบ้านพรุ หรือ เมืองบ้านพรุ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา บ้านพรุได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองบ้านพรุ ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 119 ตอนที่ 53 ก ลงวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลเมืองบ้านพรุ
เทศบาลเมืองพังงา
เทศบาลเมืองพังงา ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา เป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยภูเขา ดังนี้ จึงได้ฉายานามว่า "เมืองสวยในหุบเขา" ในตอนเช้าบริเวณภูเขาจะมีหมอกครอบคลุม ตลอดแนวยอดเขาอากาศสดชื่น พังงา พังงา หมวดหมู่:อำเภอเมืองพังงา.
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลเมืองพังงา
เทศบาลเมืองสามพราน
ทศบาลเมืองสามพราน เป็นเทศบาลแห่งหนึ่งในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม.
ดู ถนนเพชรเกษมและเทศบาลเมืองสามพราน
เขื่อนวชิราลงกรณ
ื่อนวชิราลงกรณ เขื่อนวชิราลงกรณ เดิมมีชื่อว่า เขื่อนเขาแหลม เป็นเขื่อนหินถมแห่งแรกของประเทศไทยที่ดาดผิวหน้าด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ตั้งอยู่บนแม่น้ำแควน้อย เป็นเขื่อนอเนกประสงค์โดยมีวัตถุประสงค์ด้านผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหลัก สร้างปิดกั้นแม่น้ำแควน้อยบริเวณตำบลท่าขนุน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ตัวอ่างเก็บน้ำอยู่ในท้องที่อำเภอทองผาภูมิและอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เริ่มก่อสร้างในเดือนมีนาคม พ.ศ.
ดู ถนนเพชรเกษมและเขื่อนวชิราลงกรณ
เขื่อนศรีนครินทร์
ื่อนศรีนครินทร์ (ชื่อเดิม เขื่อนเจ้าเณร) เป็นเขื่อนอเนกประสงค์แห่งแรกของโครงการพัฒนาลุ่มน้ำแม่กลอง สร้างขึ้น บนแม่น้ำแควใหญ่ บริเวณบ้านเจ้าเณร ตำบลท่ากระดาน อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี กั้นแม่น้ำแควใหญ่นับเป็น เขื่อนแห่งที่ 8 ในจำนวน 17 แห่ง ที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) สร้างขึ้นเพื่อ อำนวยประโยชน์ทางด้านต่างๆ ตลอดจนช่วยพัฒนาชีวิต ความเป็นอยู่ของราษฎร และส่งเสริมให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม เขื่อนศรีนครินทร์ก่อกำเนิดขึ้นเพื่ออำนวยประโยชน์ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และการพัฒนาประเทศ ปัจจุบันได้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว และสถานที่พักผ่อนที่สำคัญแห่งหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรี แต่ละปีจะมีนักทัศนาจรหลั่งไหลเข้าไปเที่ยวชมอย่างมากมาย นับเป็นสถานที่เชิดหน้าชูตาของประเทศไทยอีกแห่งหนึ่ง.
ดู ถนนเพชรเกษมและเขื่อนศรีนครินทร์
เขตบางกอกใหญ่
ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.
ดู ถนนเพชรเกษมและเขตบางกอกใหญ่
เขตบางแค
ตบางแค เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ ซึ่งถือเป็นเขตเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมดีทางฝั่งธนบุรี ปัจจุบันเขตบางแคเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตคลองสามว.
เขตภาษีเจริญ
ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.
เขตหนองแขม
ตหนองแขม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม สภาพเศรษฐกิจดั้งเดิมขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากชุมชนเมืองขยายตัวจากพื้นที่ชั้นใน มีผู้ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยและประกอบอาชีพมากขึ้น พื้นที่การเกษตรจึงเริ่มถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสถานที่ราชการ สถานศึกษา โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีโทรทัศน์ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และหมู่บ้านจัดสรร.
เดอะมอลล์
200px เดอะมอลล์ ท่าพระ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน เดอะมอลล์ นครราชสีมา เดอะมอลล์ (The Mall) เป็นศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย โดยมีเจ้าของ คือ กลุ่มเดอะมอลล์ หรือบริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด มีสาขา ได้แก่ รามคำแหง, ท่าพระ, งามวงศ์วาน, บางแค, บางกะปิ และนครราชสีมา นอกจากนี้บางสาขายังมีสวนน้ำ และสวนสนุกด้วย เดอะมอลล์สาขาแรก เปิดเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..
เครือข่ายเคเบิลทีวี เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์
รือข่ายเคเบิลทีวี เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์ (PPTV) คือกลุ่มผู้ประกอบการเคเบิลทีวีในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ให้บริการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก มีช่องรายการให้บริการกว่า 200 ช่องรายการ มีการผลิตรายการท้องถิ่นและการให้บริการช่องรายการที่เหมือนกันหมดในเครือข่าย โดยมีแม่ข่ายส่งสัญญาณอยู่ที่ จี้อันตึ๊งเคเบิลทีวี อำเภอหัวหิน และฝ่ายผลิตรายการอยู่ที่ ชาลีเคเบิลทีวี อำเภอชะอำ.
ดู ถนนเพชรเกษมและเครือข่ายเคเบิลทีวี เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์
1 E6 m
ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 1 Mm (1,000 กม.) ถึง 10 Mm (10,000 กม.) (106 และ 107 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 106 เมตร ----.
4
4 (สี่) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3 (สาม) และอยู่ก่อนหน้า 5 (ห้า).
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ถ.เพชรเกษมถนนกาญจนวนิชทางหลวงหมายเลข 4ทางหลวงที่ยาวที่สุดในประเทศไทยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4
อำเภอรัษฎาอำเภอรัตภูมิอำเภอศรีนครินทร์อำเภอสวีอำเภอสามร้อยยอดอำเภอหาดใหญ่อำเภอห้วยยอดอำเภออู่ทองอำเภอท่ายางอำเภอท่าแซะอำเภอท้ายเหมืองอำเภอตะกั่วทุ่งอำเภอตะกั่วป่าอำเภอปราณบุรีอำเภอเมืองพังงาอำเภอเมืองนนทบุรีอำเภอเขาย้อยอุทกภัยและดินถล่มในภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2554อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2526อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554อุทยานแห่งชาติพุเตยอุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมืององค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทยจรัญสนิทวงศ์จังหวัดชุมพรจังหวัดพังงาจังหวัดกระบี่จังหวัดระนองจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดนครปฐมถนนบรมราชชนนีถนนบางแคถนนพระรามที่ 2ถนนพหลโยธินถนนพุทธมณฑล สาย 1ถนนพุทธมณฑล สาย 2ถนนพุทธมณฑล สาย 3ถนนพุทธมณฑล สาย 4ถนนพุทธมณฑล สาย 5ถนนพุทธมณฑล สาย 6ถนนพุทธมณฑล สาย 7ถนนพุทธมณฑล สาย 8ถนนพุทธสาครถนนกัลปพฤกษ์ถนนกาญจนาภิเษกถนนมาลัยแมนถนนรัชดาภิเษกถนนราชพฤกษ์ถนนราษฎร์ยินดี (เทศบาลนครหาดใหญ่)ถนนอินทรพิทักษ์ถนนจรัญสนิทวงศ์ถนนทวีวัฒนาถนนประจวบคีรีขันธ์ถนนนครอินทร์ถนนแสงชูโตถนนเศรษฐกิจ 1ทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอารามทะเลสาบทางรถไฟสายสงขลาทางรถไฟสายคอคอดกระทางหลวงทางหลวงชนบท กบ.1002ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8ทางหลวงพิเศษหมายเลข 92ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44ทางหลวงในประเทศไทยทางหลวงเอเชียสาย 123ทางหลวงเอเชียสาย 2ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือทางแยกต่างระดับวังมะนาวทางแยกต่างระดับปฐมพรทางแยกต่างระดับนครชัยศรีที่สุดในประเทศไทยท่าอากาศยานหัวหินท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ขุนด่านเจ้าพ่อเสือ บางหว้าคอคอดกระคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยามตลาดธนบุรีตลาดน้ำดำเนินสะดวกตำบลนาวงซีคอนบางแคปรียา รุ่งเรืองน้ำตาลขอนแก่นแม็กซ์แวลูแยกทศกัณฑ์แยกท่าพระแยกปฐมพรแยกปากลาวแยกโคกกลอยแยกเอเชีย (จังหวัดพัทลุง)แขวงบางแคแขวงบางแคเหนือแขวงหลักสองแขวงหนองค้างพลูโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โรงเรียนบอสโกพิทักษ์โรงเรียนชัยเกษมวิทยาโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์โรงเรียนวัดนวลนรดิศโรงเรียนวังไกลกังวลโรงเรียนสมถวิล หัวหินโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยาโรงเรียนผดุงกิจวิทยาโรงเรียนท้ายเหมืองวิทยาโรงเรียนเทศบาลอ้อมน้อยโฮมโปรไวไวเทศบาลตำบลพะวงเทศบาลตำบลหัวสะพานเทศบาลตำบลเขาย้อยเทศบาลนครสงขลาเทศบาลนครหาดใหญ่เทศบาลนครอ้อมน้อยเทศบาลนครตรังเทศบาลเมืองบ้านพรุเทศบาลเมืองพังงาเทศบาลเมืองสามพรานเขื่อนวชิราลงกรณเขื่อนศรีนครินทร์เขตบางกอกใหญ่เขตบางแคเขตภาษีเจริญเขตหนองแขมเดอะมอลล์เครือข่ายเคเบิลทีวี เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์1 E6 m4