สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: บ้านหัวเขาพระเจ้าเปิดโลกรายชื่อวันสำคัญของไทยรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดวัดทุ่งสนุ่นรัตนารามวันออกพรรษาตักบาตรเทโวตำบลนางบวชเทศบาลเมืองศรีราชา
บ้านหัวเขา
้านหัวเขาตั้งอยู่ในตำบลหัวเขา อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ มีแม่น้ำไหลผ่าน มีภูเขาล้อมรอบ อาชีพหลักของชาวบ้านหัวเขาส่วนใหญ่คือเกษตรกร มีการดำรงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัย กันแบบญาติพี่น้อง มีการปกครองแบบองค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) หมู่บ้านหัวเขาประกอบไปด้วยหมู่ที่1,2,6และ10 ชาวบ้านหัวเขานับถือศาสนาพุทธ มีวัดหัวเขาเป็นศูนย์รวมจิตใ.
พระเจ้าเปิดโลก
ระเจ้าเปิดโลก หมายถึง เหตุการณ์ที่พระโคตมพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในพรรษาที่เจ็ดของพระองค์หลังจากที่เสด็จขึ้นไปแสดงพระธรรมเทศนา ในโอกาสนั้น ทรงสำแดงฉัพพรรณรังสี เป็นเหตุให้โลก (ภูมิ) ทั้งหลายตั้งแต่พรหมภูมิไปจนถึงนรกภูมิเปิดสว่างจนแลเห็นซึ่งกันและกันได้ ในการนี้ อาจหมายถึง.
ดู ตักบาตรเทโวและพระเจ้าเปิดโลก
รายชื่อวันสำคัญของไทย
รายชื่อวันสำคัญของไท.
ดู ตักบาตรเทโวและรายชื่อวันสำคัญของไทย
รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด
ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.
ดู ตักบาตรเทโวและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด
รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด
ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.
ดู ตักบาตรเทโวและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด
วัดทุ่งสนุ่นรัตนาราม
ป็นวัดราษฏร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ ๒๗ ไร่ ๒ งาน ๓๖ ตารางวา ตั้งอยู่ที่ บ้านทุ่งสนุ่น หมู่ที่ ๔ ตำบลระหาน อำเภอบึงสามัคคี จังหวัดกำแพงเพชร เริ่มสร้างวัดเมื่อ..
ดู ตักบาตรเทโวและวัดทุ่งสนุ่นรัตนาราม
วันออกพรรษา
ออกจาริกเพื่อปฏิบัติธรรม และโปรดพุทธศาสนิกชนตามสถานที่ต่าง ๆ ก่อนจะกลับเข้าจำพรรษาอีกครั้งในปีถัดไปเพื่อความเข้าใจ: วันสุดท้ายของการอยู่จำพรรษา 3 เดือน ของพระภิกษุ ตามคัมภีร์เรียกว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา นั้น ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เราเรียกกันว่า "วันออกพรรษา" ตามที่เข้าใจกันทั่วไป แต่ตามพระวินัยบัญญัติ พระภิกษุทั้งหลายยังต้องอยู่ในจำพรรษาในคืนวันนั้น (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) อีกคืนหนึ่ง จะไปค้างแรมที่อื่นเลยไม่ได้ ต้องให้ผ่านอรุณเข้าวันใหม่ (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11) เสียก่อนสรุปว่า "วันออกพรรษา" ตามที่เรียกและเข้าใจกันทั่วไป (และจะกล่าวถึงต่อไปในบทความนี้) คือวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ส่วน "วันออกพรรษาจริง" ตามพระวินัย คือ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 "วันออกพรรษา" (ตามที่เข้าใจกัน) เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาจำพรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์เถรวาท โดยเป็นวันที่พระสงฆ์จะทำสังฆกรรม คือ การปวารณาในวันนี้ วันออกพรรษา (ออกปุริมพรรษา) จะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (ประมาณเดือนตุลาคม) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทินจันทรคติไทย การปวารณา ถือเป็นข้อปฏิบัติตามพระวินัยสำหรับพระภิกษุโดยเฉพาะ เรียกว่า เป็นญัตติกรรมวาจา (สังฆกรรม) ประเภทหนึ่ง ให้โอกาสแก่พระสงฆ์ที่จำพรรษาอยู่ร่วมกันตลอดไตรมาส (3 เดือน) สามารถว่ากล่าวตักเตือนและชี้ข้อบกพร่องแก่กันและกันได้โดยเสมอภาค ด้วยจิตที่ปรารถนาดีซึ่งกันและกัน เพื่อให้พระสงฆ์ที่ถูกตักเตือนมีโอกาสรับรู้ข้อบกพร่องของตนและนำข้อบกพร่องไปแก้ไขปรับปรุงตัวให้ดียิ่งขึ้น เมื่อถึงวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนถือเป็นโอกาสอันดีที่จะเข้าวัดเพื่อบำเพ็ญกุศลแก่ตนเองที่ตั้งใจปฏิบัติตนเป็นอุบาสก-อุบาสิกา ส่วนพระสงฆ์จำพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมมาตลอดจนครบไตรมาส (3 เดือน) หรือในวันถัดไปคือ วันออกพรรษา(จริง) (คือ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11) พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยนิยมไปทำบุญตักบาตร เรียกว่า บุญเทศกาลบาตรเทโว หรือ บาตรเทโวโรหณะ เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติที่กล่าวว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากเทวโลก ลงมายังโลกมนุษย์หลังจากการโปรดเทพบุตร อดีตพระพุทธมารดา พระนางสิริมหามายา บนสวรรค์ดาวดึงส์ (ชั้นที่ 2) ในพรรษาที่ 7 เสด็จลงมายังเมืองสังกัสสะ พร้อมกับทรงแสดงไตรโลกวิวรณปาฏิหาริย์ (ทรงปาฏิหาริย์เปิดโลกทั้ง 3.
ตักบาตรเทโว
ตักบาตรเทโว ตักบาตรเทโว หมายถึงการทำบุญตักบาตร ปรารภเหตุที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก ในวันมหาปวารณา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) คำว่า เทโว เรียกกร่อนมาจากคำว่า เทโวโรหณะ (เทว+โอโรหณ) ซึ่งแปลว่า การลงจากเทวโลก ความเดิมมีว่า ในพรรษาที่ 7 นับแต่วันตรัสรู้ พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษาอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อเทศน์โปรดพระพุทธมารดา ที่ได้กำเนิดเป็นเทพบุตรอยู่ในชั้นดุสิต (สวรรค์ชั้นที่ 4) โดยลงมาฟังธรรมที่ชั้นดาวดึงส์ (สวรรค์ชั้นที่ 2) จนบรรลุโสดาปัตติผล (สาเหตุที่พระศาสดาไม่เสด็จไปแสดงธรรมในชั้นดุสิต เพราะเทวดาที่อยู่ในชั้นดาวดึงส์ไม่สามารถขึ้นไปในชั้นดุสิตได้ ด้วยศักดานุภาพที่น้อยกว่า เพื่อให้โอกาสฟังธรรมแก่เทวดาเหล่านั้น) ครั้นถึงวันมหาปวารณา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) จึงเสด็จลงจากเทวโลกที่เมืองสังกัสสนครอรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท พุทธวรรคที่ 14 เรื่องยมกปาฏิหาริย์ เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้จากhttp://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b.
ตำบลนางบวช
ระอาจารย์ธรรมโชติเป็นพระที่มีชื่อเสียงในตำบลนางบวช อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ชาวบ้านตำบลนางบวชนิยมสร้างบ้านยกใต้ถุนสูง ทุกบ้านนิยมมีโอ่งไว้กักเก็บน้ำเนื่องจากอยู่ใกล้แหล่งน้ำ แม่น้ำท่าจีน ตำบลนางบวช เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรมีเพศชาย 900 คน เพศหญิง 900 คน คน คนส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่และวัยชรา ภาษาที่ชาวบ้านแถวนี้ใช้กัน คือ ภาษาไทยกลาง แต่ สำเนียงการพูด จะแตกต่างกันไปบ้าง.
เทศบาลเมืองศรีราชา
ทศบาลเมืองศรีราชา หรือ เมืองศรีราชา เป็นเทศบาลขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของอ่าวไทยริมฝั่งภาคตะวันออกของประเทศไทย และที่สำคัญยังเป็นเมืองเศรษฐกิจอีกเมืองหนึ่งของจังหวัดชลบุรีด้ว.
ดู ตักบาตรเทโวและเทศบาลเมืองศรีราชา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วันเทโวโรหณะเทโวโรหณะ