สารบัญ
45 ความสัมพันธ์: ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือพรรคคอมมิวนิสต์พม่าพระนางราชธาตุกัลยาพระนางสิริราชเทวีพระนางจันทาเทวีพระนางเมงเกงสอพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าญองยานพระเจ้าอะเนาะเพะลูนพระเจ้าตราพระยาแห่งตองอูพระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พระเจ้านันทบุเรงพระเจ้าเมงจีโยพระเทพกษัตรีย์พะโคการก่อการกำเริบ 8888การรบที่เมืองคังการขนส่งในประเทศพม่ามังรายกะยอชวาที่ 1 แห่งอังวะมังฆ้องที่ 2 แห่งตองอูรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422ราชวงศ์ตองอูรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายชื่อนครในประเทศพม่ารายชื่อเมืองหลวงของพม่าอาณาจักรหงสาวดีใหม่อาณาจักรอยุธยาทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยงตะโดธรรมราชาที่ 1ตะโดธรรมราชาที่ 2ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพฉิ่นโยเมี๊ยะซะยาซานประเทศพม่าปลาเสือพ่นน้ำพม่านรธาเมงสอนะ (วิญญาณ)นะฉิ่นเหน่าง์โบเมียะเมงเยสีหตูเมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอูเมงเยสีตูแห่งเมาตะมะ
ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ
ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ (Filipe de Brito e Nicote) หรือ งะซีนกา (ငဇင်ကာ; เกิด ประมาณ ค.ศ. 1566, ถึงแก่กรรม ค.ศ. 1613) เป็นนักเดินทางและทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสภายใต้การบังคับบัญชาของ.
ดู ตองอูและฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ
พรรคคอมมิวนิสต์พม่า
รรคคอมมิวนิสต์พม่า (Burma Communist Party) จัดตั้งขึ้นเมื่อ..
ดู ตองอูและพรรคคอมมิวนิสต์พม่า
พระนางราชธาตุกัลยา
ระนางราชธาตุกัลยา (ရာဇ ဓာတု ကလျာ,; 12 พฤศจิกายน 1559 – พฤศจิกายน 1603) เจ้าหญิงรัชทายาทแห่งพม่าจาก..
พระนางสิริราชเทวี
ระนางสิริราชเทวี (သီရိရာဇဒေဝီ) พระมเหสีตำหนักเหนือของ พระเจ้านันทบุเรง แห่ง ราชวงศ์ตองอู ของพม่าจาก..
พระนางจันทาเทวี
ระนางจันทาเทวี (စန္ဒာဒေဝီ) หนึ่งในพระมเหสีของ พระเจ้าบุเรงนอง แห่ง ราชวงศ์ตองอู ของ พม่า ระหว่าง..
พระนางเมงเกงสอ
ระนางเมงเกงสอ (မင်းခင်စော) หรือ พระนางมินขิ่นสอ ตามพงศาวดารพม่าพระอัครมเหสีแห่ง เมืองตองอู ระหว่าง..
พระเจ้าบุเรงนอง
ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..
พระเจ้าญองยาน
ระเจ้าญองยาน (ညောင်ရမ်းမင်း เหญ่าง์ยาน) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอู ครองราชย์เป็นพระเจ้าอังวะระหว่างปี..
พระเจ้าอะเนาะเพะลูน
ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.
ดู ตองอูและพระเจ้าอะเนาะเพะลูน
พระเจ้าตราพระยาแห่งตองอู
ระเจ้าตราพระยาแห่งตองอู (တောင်ငူ တရဖျား) อุปราชแห่งเมือง ตองอู ระหว่าง..
ดู ตองอูและพระเจ้าตราพระยาแห่งตองอู
พระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะ
ระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะ (သတိုးမင်းစော,; 1531–1584) อุปราชแห่งอังวะในฐานะเมืองออกของ พระเจ้าบุเรงนอง ผู้เป็นพระเชษฐาและ พระเจ้านันทบุเรง ผู้เป็นพระราชนัดดาระหว่าง..
ดู ตองอูและพระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะ
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.
ดู ตองอูและพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
พระเจ้านันทบุเรง
นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..
พระเจ้าเมงจีโย
ระเจ้าเมงจีโย (สำเนียงพม่าออกว่า มินจีโหญ่) (Mingyinyo, မင်းကြီးညို) หรือ พระเจ้าสิริชัยสุระ ตามพงศาวดารไทย หรือในนวนิยายผู้ชนะสิบทิศเรียก เมงกะยินโย เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์และอาณาจักรที่ 2 ของประวัติศาสตร์พม่า พระเจ้าเมงจีโยเดิมเป็นนายทหารที่มีความสามารถในการรบ ได้ทำการรวบรวมชาวพม่าที่อยู่กันอย่างกระจัดกระจายหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกามภายหลังการโจมตีของมองโกล โดยได้รับความช่วยเหลือจากขุนนางสำคัญหลายคน เช่น เมงเยสีหตู (บางคนถูกสมมติเป็นตัวละครในนวนิยายผู้สิบทิศ เช่น มหาเถรวัดกุโสดอ) พระเจ้าเมงจีโยได้สถาปนาเมืองตองอู ซึ่งเป็นเมืองในขุนเขาเป็นปราการที่ดีขึ้นเป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ ต่อมามีการแผ่ขยายอำนาจเข้ายึดเมืองแปรโดยสามารถรบชนะพระเจ้านระบดีแห่งเมืองแปรได้สำเร็จ ต่อมาคิดจะเข้ายึดเมืองหงสาวดีที่มีพระเจ้าสการะวุตพีเป็นกษัตริย์ แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากพระเจ้าเมงจีโยสวรรคตเสียก่อน ในมหาราชวงศ์พงศาวดารพม่า ระบุว่า พระองค์ได้พบกับพระมเหสีเมื่อเสด็จทอดพระเนตรการสร้างเขื่อน ซึ่งต่อมามีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว ที่ได้ครองราชย์ต่อมา คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระเจ้าเมงจีโย สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ.
พระเทพกษัตรีย์
มเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 102-104 หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรเจ้าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต.
พะโค
(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.
ดู ตองอูและพะโค
การก่อการกำเริบ 8888
การก่อการปฏิวัติ 8888 (8888 UprisingYawnghwe (1995), pp. 170; พม่า: ၈၄လုံး หรือ ရ္ဟစ္လေးလုံး) เป็นการกำเริบระดับชาติเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยในประเทศพม่า เมื่อ..
ดู ตองอูและการก่อการกำเริบ 8888
การรบที่เมืองคัง
การรบที่เมืองคัง เป็นผลมาจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง พระมหากษัตริย์พม่า ทำให้เจ้าประเทศราชไทยใหญ่กระด้างกระเดื่องต่อพม่า พม่าต้องการปราบปรามเพื่อให้เป็นตัวอย่างแก่ประเทศราชอื่น ๆ พระเจ้านันทบุเรงทรงต้องการให้มีการแข่งขันในการรบ จึงทรงจัดให้เจ้านายพม่าและพระนเรศวรเข้าตีเมืองคังคนละวัน เจ้านายพม่าทั้งสองไม่สามารถเข้าตีเมืองได้ จนถึงวันที่สาม พระนเรศวรทรงใช้เส้นทางลับเข้าตีเมืองจนสำเร็.
การขนส่งในประเทศพม่า
รัฐบาลของประเทศพม่ามีกระทรวงที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขนส่ง 2 กระทรวงด้วยกัน ได้แก่ กระทรวงคมนาคมและกระทรวงรถไฟ.
ดู ตองอูและการขนส่งในประเทศพม่า
มังรายกะยอชวาที่ 1 แห่งอังวะ
มังรายกะยอชวาที่ 1 แห่งอังวะ (မင်းရဲကျော်စွာ (အင်းဝ),; บางครั้งเรียก มังรายกะยอชวา, 1410 – 1442) กษัตริย์องค์ที่ 9 แห่ง อาณาจักรอังวะ จาก..
ดู ตองอูและมังรายกะยอชวาที่ 1 แห่งอังวะ
มังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู
มังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู (တောင်ငူမင်းခေါင်, เต่าง์หงู่มิงเข่าง์; ประมาณ 1520s – มิถุนายน 1584) หรือที่รู้จักกันในราชทินนามสีหตู (သီဟသူ ตี่หะตู่) เป็นพระเจ้าตองอูในฐานะประเทศราชของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ระหว่าง..
ดู ตองอูและมังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู
รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422
รัฐประหารวังหลวงพม..
ดู ตองอูและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422
ราชวงศ์ตองอู
ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ.
รายชื่อสงครามในประเทศไทย
รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.
ดู ตองอูและรายชื่อสงครามในประเทศไทย
รายชื่อนครในประเทศพม่า
แผนที่ประเทศพม่า รายชื่อเมืองในประเทศพม.
ดู ตองอูและรายชื่อนครในประเทศพม่า
รายชื่อเมืองหลวงของพม่า
รายชื่อเมืองหลวงในประวัติศาสตร์พม.
ดู ตองอูและรายชื่อเมืองหลวงของพม่า
อาณาจักรหงสาวดีใหม่
อาณาจักรหงสาวดีใหม่ (ဟံသာဝတီ နေပြည်တော်) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่าง และบางส่วนของพม่าตอนบน ระหว่าง..
ดู ตองอูและอาณาจักรหงสาวดีใหม่
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์
ทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์ (ရန်ကုန်–မန္တလေး အမြန်လမ်း) เป็นทางพิเศษในประเทศพม่าที่เชื่อมต่อระหว่างสามเมืองใหญ่ของประเทศ ได้แก่ เมืองที่ใหญ่ที่สุด ย่างกุ้ง, เมืองหลวง เนปยีดอ และเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 มัณฑะเลย์ เปิดใช้บริการเดือนธันวาคม..
ดู ตองอูและทางพิเศษสายย่างกุ้ง–มัณฑะเลย์
ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง
วามขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง (พ.ศ. 2492 – ปัจจุบัน) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธในพม่า ซึ่งถือว่าเป็นสงครามกลางเมืองที่ยาวนานที่สุดในโลก ขบวนการชาตินิยมกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อสิทธิในการปกครองตนเองหรือเอกราชจากพม่า ชาวกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อให้รัฐกะเหรี่ยงเป็นเอกราชตั้งแต..
ดู ตองอูและความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง
ตะโดธรรมราชาที่ 1
ระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 1 (သတိုးဓမ္မရာဇာ,; ประมาณ 1490s–1551) มีพระนามเดิมว่านิต่า ทรงเริ่มเข้ารับราชการในราชสำนักตองอูตั้งแต..
ตะโดธรรมราชาที่ 2
ระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 2 (သတိုးဓမ္မရာဇာ,; Thado Dhamma Yaza II of Prome, ประมาณ 1520s – 1588) เริ่มรับราชการทหารในรัชสมัยพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้แห่งราชวงศ์ตองอู กระทั่งได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าแปรในฐานะกษัตริย์เมืองออกของพระเจ้าบุเรงนองผู้เป็นพระเชษฐาและพระเจ้านันทบุเรงพระนัดดาระหว่าง..
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.
ดู ตองอูและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ประกาศอิสรภาพ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series ภาค ประกาศอิสรภาพ เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่สองของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลได้สร้างไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง โดยใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้เป็นภาคต่อของ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหง.
ดู ตองอูและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ
ฉิ่นโยเมี๊ยะ
ฉิ่นโยเมี๊ยะ (ရှင်မျိုးမြတ်,; ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1490 – ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1520) พระนมของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ แห่ง ราชวงศ์ตองอู และเป็นพระราชมารดาของ พระเจ้าบุเรงนอง ใน..
ซะยาซาน
ซะยาซาน ซะยาซาน (ဆရာစံ, Saya San) เกิดเมื่อ 24 ตุลาคม..
ประเทศพม่า
ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..
ปลาเสือพ่นน้ำพม่า
ปลาเสือพ่นน้ำพม่า (Clouded archerfish, Zebra archerfish) เป็นปลาในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนปลาเสือพ่นน้ำชนิดอื่น ๆ ในวงศ์ แต่มีสิ่งหนึ่งที่แตกต่างกันไปอย่างเห็นได้ชัด คือ ลวดลายที่เป็นลายขวางตามแนวยาวของลำตัว ไม่เป็นลายจุด ในปลาวัยอ่อนลายดังกล่าวจะเป็นลายจุดกระจัดกระจายไปทั่ว และจะค่อย ๆ มารวมตัวกันเมื่อโตขึ้น มีความยาวเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร จัดเป็นปลาท้องถิ่นที่พบได้เฉพาะในประเทศพม่าที่เดียวเท่านั้น โดยพบอาศัยในแหล่งน้ำจืดหรือปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อย เช่น แม่น้ำในเมืองมะละแหม่ง หรือแม่น้ำสะโตงในเมืองตองอู เป็นต้น เป็นปลาที่มิได้มีความสำคัญในแง่การเป็นปลาเศรษฐกิจ และเพิ่งเข้าสู่แวดวงปลาสวยงามเมื่อไม่นานมานี้ (พ.ศ.
นรธาเมงสอ
นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..
นะ (วิญญาณ)
ตะจาเมงหรือท้าวสักกะ (พระอินทร์) ประมุขแห่งนะทั้งปวง นะ (nat) ออกเสียง น่ะต์ (มาจากคำว่า นาถะ ในภาษาบาลี ที่แปลว่า "ที่พึ่ง") หมายถึงวิญญาณของชาวพม่า เป็นความเชื่อพื้นเมืองที่มีมาก่อนที่พุทธศาสนาจะเข้ามาในพม่า แบ่งเป็น 37 นะหลวง กับส่วนที่เหลือทั้งหมด (เช่น รุกขเทวดา เจ้าป่า เจ้าเขา ฯลฯ) นะหลวง 37 ตน เกือบทั้งหมดส่วนใหญ่เป็นมนุษย์ที่มีการตายร้าย นะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ นะชั้นล่างหรือ อัคนะ (အောက်နတ်) คือวิญญาณคนทั่วไปไม่ว่าจะมีชื่อหรือไม่มีชื่อ ในขณะที่ อเทตนะ (အထက်နတ်) สูงกว่านะชั้นล่าง เป็นเทวดาอาศัยอยู่ในหกชั้นฟ้า นะมีความหลากหลายและแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาคของพม่า การบูชานะมีน้อยลงในเขตเมืองมากกว่าในชนบทและสังคมพม่าทั่วไป บุคคลที่จะได้รับการนับถือเป็นนะนั้น ต้องเป็นผู้ที่มีคนยกย่องนับถือ มีเรื่องราวขณะยังมีชีวิตเป็นที่พูดถึงโดยทั่วไป และเป็นผู้ที่มีสาเหตุการตายที่ไม่ใช่การตายแบบธรรมดาด้วยโรคชรา เป็นที่สลดใจแก่ผู้ที่ได้ยินเรื่องราว เช่น ตายโหง (เสียชีวิตอย่างปัจจุบันทันด่วน) ตายด้วยโรคระบาดหรือถูกลอบสังหาร เพราะเชื่อว่ายังมีแรงจิตและฤทธานุภาพสูงกว่าผีทั่ว ๆ ไป.
นะฉิ่นเหน่าง์
นะฉิ่นเหน่าง์ (Natshinnaung; နတ်သျှင်နောင်) หรือ พระสังขทัต ตามพงศาวดารไทย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าตองอู (สีหตู) อันเป็นพระอนุชาของพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง นะฉิ่นเหน่าง์นั้นเป็นที่เลื่องลือในพม่าว่าเป็นมีความสามารถด้านการกวีสูงอย่างยิ่งและมีความรอบรู้ในพระไตรปิฎกเป็นอย่างมาก ต่อมานะฉิ่นเหน่าง์ได้ปกครองเมืองตองอูต่อจากบิดา ต่อมาได้เป็นผู้วางยาพิษปลงพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรง ในช่วงนั้นเครือข่ายอำนาจของพม่าแตกออกเป็นสามขั้วคือ อังวะ แปร และตองอู พระเจ้าอังวะคือ พระเจ้าอโนเพตลุน ได้ยึดเมืองแปรได้ นะฉิ่นเหน่าง์เห็นว่าเมืองตองอูคงไม่อาจสามารถต่อสู้กับอังวะได้จึงสวามิภักดิ์ต่อกรุงศรีอยุธยาซึ่งในสมัยนั้นมี สมเด็จพระเอกาทศรถปกครองอยู่ ต่อมาพระเจ้าอังวะได้บุกเมืองตองอู นะฉิ่นเหน่าง์ได้ขอความช่วยเหลือต่อกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงให้นายพลฟิลิปป์ เดอ บริโต ทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสยกทัพไปช่วย แต่ไปไม่ทันเมืองตองอูก็แตกซะก่อน นะฉิ่นเหน่าง์จึงหนีไปที่เมืองสิเรียมกับนายพลฟิลิป เดอ บริโตและเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ พระเจ้าอังวะสั่งให้ฟิลิปป์ เดอบริโตส่งตัวนะฉิ่นเหน่าง์มาให้ตน แต่นายพลเดอบริโตไม่ยอมพระเจ้าอังวะจึงเข้าโจมตีเมืองสิเรียมในปี พ.ศ.
โบเมียะ
มียะ (Bo Mya; ဘိုမြ) เป็นประธานของสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงหรือเคเอ็นยู ที่พยายามต่อสู้เพื่อเอกราชของรัฐกะเหรี่ยง โบเมียะเป็นชาวกะเหรี่ยงเผ่าสะกอ เกิดเมื่อ 20 มกราคม..
เมงเยสีหตู
เมงเยสีหตู (မင်းရဲ သီဟသူ); หรือ มินจีสเว่ (မင်းကြီးဆွေ); ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1490 – 1549) ขุนนางคนสำคัญของพม่าระหว่างรัชสมัย พระเจ้าเมงจีโย ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์ตองอู และ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ รวมถึงเป็นพระบิดาของ พระนางธัมมเทวี และ พระเจ้าบุเรงนอง เมื่อพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้สถาปนา กรุงหงสาวดี เป็นเมืองหลวงของพม่าแทน เมืองตองอู พร้อมย้ายไปประทับที่กรุงหงสาวดีใน ค.ศ.
เมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู
มงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู (မင်းရဲ သီဟသူ,; ประมาณ 6 สิงหาคม 1550 – 11 สิงหาคม 1609) เป็นพระเจ้าตองอูในฐานะประเทศราชของหงสาวดีในรัชสมัยพระเจ้านันทบุเรงพระญาติของพระองค์ ระหว่าง..
ดู ตองอูและเมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู
เมงเยสีตูแห่งเมาตะมะ
มงเยสีตูแห่งเมาะตะมะ (မင်းရဲစည်သူ,; ประมาณ 1520–1556) เจ้าเมืองเมาตะมะในช่วงรัชสมัย พระเจ้าบุเรงนอง ระหว่าง..
ดู ตองอูและเมงเยสีตูแห่งเมาตะมะ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ TaungooToungooเมืองตองอู