สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: บิวอิคก์พ.ศ. 2500การสำรวจอวกาศระบบสุริยะรีเมมเบอร์เดอะไทม์วิลล์ยูบีแดร์สหภาพโซเวียตจรวดดาร์ปาดาวเทียมประวัติศาสตร์สหรัฐนาซาแวนการ์ด 1แจม (เพลง)โครงการสปุตนิกโครงการอวกาศโซเวียตโครงการแวนการ์ดไบโคนูร์คอสโมโดรมเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ4 ตุลาคม
บิวอิคก์
วอิคก์ หรือ บูอิค (Buick) เป็นยี่ห้อรถยนต์ระดับหรูของสหรัฐอเมริกาในเครือเจเนรัลมอเตอร์ (จีเอ็ม) รถยนต์บิวอิคก์มีจำหน่ายอย่างเป็นทางการในสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก จีน และอิสราเอล บิวอิคก์ขึ้นชื่อเป็นยี่ห้อรถยนต์ที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาที่ยังคงอยู่ รถยนต์ของบิวอิคก์เกือบทุกรุ่นยังมีส่วนคล้ายกับรถยนต์จากยี่ห้ออื่น ๆ ในเครือจีเอ็มทางด้านสถาปัตยกรรมของรถยนต์อีกด้ว.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และบิวอิคก์
พ.ศ. 2500
ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และพ.ศ. 2500
การสำรวจอวกาศ
การสำรวจอวกาศ คือการใช้วิทยาการด้านดาราศาสตร์และอวกาศเพื่อสำรวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอก การศึกษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได้ทั้งโดยยานอวกาศที่ควบคุมโดยมนุษย์หรือโดยหุ่นยนต์ การเฝ้าสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า หรือที่เรียกว่าวิชาดาราศาสตร์ ได้กระทำกันมานานดังปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ ทว่าการใช้จรวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ที่เริ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น ความก้าวหน้าในการสำรวจอวกาศเป็นผลจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ล้ำยุครวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างประโยชน์ในทางทหารหรือทางกลยุทธ์ที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในบางครั้งจึงมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัย ครั้งหนึ่งการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแข่งขันที่สำคัญระหว่างขั้วอำนาจ เช่นในระหว่างสงครามเย็น การสำรวจอวกาศยุคใหม่ช่วงแรกเป็นการแข่งขันกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ได้แก่ การส่งยานที่สร้างด้วยมนุษย์ออกไปโคจรรอบโลกได้เป็นครั้งแรกในดาวเทียมสปุตนิก 1 ของสหภาพโซเวียต เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และการสำรวจอวกาศ
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และระบบสุริยะ
รีเมมเบอร์เดอะไทม์
"รีเมมเบอร์เดอะไทม์" (Remember the Time) เป็นเพลงป็อปของศิลปินป็อป ชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน เป็นซิงเกิลที่ 2 ของอัลบั้มดังในปี 1991 ชุด เดนเจอรัส เพลงนี้ประสบความสำเร็จในแง่ที่แจ็กสันได้สร้างสรรค์เพลงในแนวนิวแจ็กสวิง อาร์แอนด์บี โดยร่วมผลิตกับเทดดี ไรลีย์ เพลติดชาร์ตที่อันดับ 3 ของบิลบอร์ดฮอต 100 และอันดับ 1 บนชาร์ตอาร์แอนด์บีซิงเกิลส์ชาร์ต ของบิลบอร์ด ในปี 1993 แจ็กสันได้แสดงเพลงนี้ในเวทีรางวัลโซลเทรน และเขายังได้รางวัลซิงเกิลอาร์แอนด์บีชายยอดเยี่ยมจากเพลงนี้.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และรีเมมเบอร์เดอะไทม์
วิลล์ยูบีแดร์
วิลล์ยูบีแดร์ (Will You Be There) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน โดยได้วางจำหน่ายในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1993 โดยค่ายเพลงอีพิก เป็นซิงเกิลที่ 8 จากอัลบั้มปี ค.ศ.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และวิลล์ยูบีแดร์
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และสหภาพโซเวียต
จรวด
รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C.
ดาร์ปา
ำนักโครงการวิจัยขั้นสูงด้านกลาโหม (Defense Advanced Research Projects Agency) หรือ DARPA คือหน่วยงานภายใต้กระทรวงกลาโหมสหรัฐที่มีหน้าที่พัฒนาเทคโนโลยีใหม่สำหรับการใช้งานทางทหาร หน่วยงานดังกล่าวถูกตั้งขึ้นในเดือนกุมภาพัน..
ดาวเทียม
นีบนพื้นโลก ดาวเทียม (satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นเป็นสิ่ง ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสำรวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว ดาราจักร ต่าง.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และดาวเทียม
ประวัติศาสตร์สหรัฐ
วันเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐมีการถกเถียงกันในหมู่นักประวัติศาสตร.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และประวัติศาสตร์สหรัฐ
นาซา
องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ.
แวนการ์ด 1
แวนการ์ด 1 (ID: 1958-Beta 2) เป็นดาวเทียมในวงโคจรของโลกดวงที่สี่ที่ปล่อย (หลังสปุตนิก 1, สปุตนิก 2 และเอ็กซ์พลอเรอร์ 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์, accessed September 24, 2007 แม้ว่าเสียการสื่อสารกับดาวเทียมนี้ในปี 2507 แต่ยังเป็นดาวเทียมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังอยู่ในวงโคจร ดาวเทียมนี้ได้รับออกแบบเพื่อทดสอบสมรรถนะการปล่อยของยานปล่อยสามขั้นโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแวนการ์ด และผลของสิ่งแวดล้อมต่อดาวเทียมและระบบดาวเทียมในวงโคจรโลก นอกจากนี้ยังใช้เพื่อเก็บการวัด ภูมิมาตรศาสตร์ผ่านการวิเคราะห์วงโคจร นิกิตา ครุสชอฟ นายกรัฐมนตรีโซเวียตจณะนั้น อธิบายแวนการ์ด 1 ว่า "ดาวเทียมเกรปฟรูต".
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และแวนการ์ด 1
แจม (เพลง)
"แจม" (Jam) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน เขียนโดย ไมเคิล แจ็กสัน, René Moore, Bruce Swedien และTeddy Riley เป็นซิงเกิลที่ 4 ในอัลบั้มปี 1991 Dangerous โดยมีมิวสิกวิดีโอประกอบด้วยนักบาสเก็ตบอลเอ็นบีเอ ไมเคิล จอร์แดน.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และแจม (เพลง)
โครงการสปุตนิก
แบบจำลอง ดาวเทียมสปุตนิก 1 โครงการสปุตนิก (ภาษารัสเซีย: Спутник, IPA) เป็นลำดับภารกิจการส่ง ยานอวกาศไร้คนขับคุม ดำเนินการโดยรัฐบาล สหภาพโซเวียต (ในขณะนั้น) ยานลำแรกคือ ดาวเทียมสปุตนิก 1 เป็นดาวเทียมดวงแรก และเป็นวัตถุมนุษย์สร้างเครื่องแรกของโลกที่ส่งขึ้นสู่วงโคจร เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และโครงการสปุตนิก
โครงการอวกาศโซเวียต
รวดอาร์-7 โครงการอวกาศโซเวียต ประกอบด้วยการพัฒนา จรวด และ การสำรวจอวกาศเป็นโครงการที่จัดทำโดยอดีต สหภาพโซเวียตจากช่วงทศวรรษที่ 1930 จนถึงการ สลายตัว ในปี..
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และโครงการอวกาศโซเวียต
โครงการแวนการ์ด
รวดแวนการ์ด โครงการแวนการ์ด (Project Vanguard) เป็นโครงการของ "หน่วยวิจัยกองทัพเรืออเมริกา" (United States Naval Research Laboratory (NRL)) ที่มีแผนจะปล่อยดาวเทียมดวงแรกของประเทศอเมริกาโดยใช้จรวดแวนการ์ด เนื่องจากการล้ำหน้าของสหภาพโซเวียตที่ปล่อยดาวเทียม Sputnik 1 เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และโครงการแวนการ์ด
ไบโคนูร์คอสโมโดรม
"กาการินส์สตาร์ท" หนึ่งในฐานปล่อยของไบโคนูร์คอสโมโดรม แผนที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งของไบโคนูร์คอสโมโดรมในประเทศคาซัคสถาน ไบโคนูร์คอสโมโดรม (Космодром Байконур; Байқоңыр ғарыш айлағы; Baikonur Cosmodrome) หรือเรียกว่า ไทยูเรตัม (Tyuratam) เป็นศูนย์ปล่อยอวกาศยานแห่งแรกและใหญ่ที่สุดของโลก ตั้งอยู่ในเขตทะเลทรายทุ่งหญ้าสเตปป์ของประเทศคาซัคสถาน ห่างจากทะเลอารัลไปทางทิศตะวันออกราว 200 กิโลเมตร ทางเหนือของแม่น้ำเซียร์ดาเรีย ใกล้กับสถานีรถไฟไทยูเรตัม ที่ความสูง 90 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล รัฐบาลรัสเซียเช่าศูนย์ดังกล่าวจากรัฐบาลคาซัคสถาน (จนถึง ค.ศ.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และไบโคนูร์คอสโมโดรม
เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ
นี่คือ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เรียงตามวันปล่อยยานอวก.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และเส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ
4 ตุลาคม
วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.
ดู ดาวเทียมสปุตนิก 1และ4 ตุลาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ SputnikSputnik 1สปุตนิก 1สปุตนิค