สารบัญ
การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553
การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล..
ดู ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟและการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553
การปะทุแบบพลิเนียน
แผนภาพการปะทุแบบพลิเนียน(1) เถ้าปะทุ(2) ปล่องหินหนืด(3) เถ้าตก(4) ชั้นทับถมของหินหลอมและเถ้า(5) ชั้นหิน(6) โพรงหินหนืด การปะทุแบบพลิเนียน (Plinian eruption) คือ รูปแบบการปะทุของภูเขาไฟที่มีต้นแบบจากการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสเมื่อปี ค.ศ.
ดู ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟและการปะทุแบบพลิเนียน
ภูเขาไฟใหญ่
ัชนีการระเบิดของภูเขาไฟระดับ 7 ภูเขาไฟใหญ่ หรือ ซูเปอร์วอลเคโน (Supervolcano) คือภูเขาไฟขนาดใหญ่ที่มีมวลการปะทุอยู่ในระดับ 8 ซึ่งเป็นค่าสูงสุดในดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟที่มีค่าปริมาตรมวลสารปะทุมากกว่า 1,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ภูเขาไฟใหญ่เกิดขึ้นเมื่อหินหนืดจากเนื้อโลกดันตัวขึ้นไปด้านบนแต่ยังไม่ประทุสู่บนเปลือกโลกแต่จะขังตัวเป็นแอ่งใต้เปลือกโลกแทน จนเวลาผ่านไปแอ่งแม็กมาก็จะใหญ่จนมีแรงดันมากขึ้นจนเปลือกโลกรับแรงดันไม่ไหวจึงปะทุออกมา ซึ่งเหตุการ์ณแบบนี้จะเกิดบริเวณจุดร้อนเช่นแอ่งภูเขาไฟเยลโลว์สโตนหรือในเขตมุดตัวของเปลือกโลกอย่างทะเลสาบโตบา และลักษณะอื่นที่ทำให้มีการปะทุปริมาตรมวลสารจำนวนมากจะอยู่บริเวณที่มีการสะสมหินอัคนีเป็นจำนวนมาก ซึ่งสามารถคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ด้วยลาวา, เถ้าภูเขาไฟและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเช่นการเกิดยุคน้ำแข็งขนาดเล็กที่ทำให้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ได้ การระเบิดที่ใหญ่ที่สุดของภูเขาไฟใหญ่คือการปะทุโอรัวนุเมื่อ 26,500 ปีก่อนซึ่งเป็นการระเบิดของภูเขาไฟตาอูโปในประเทศนิวซีแลน.
ดู ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟและภูเขาไฟใหญ่
ทะเลสาบโตบา
ทะเลสาบโตบา (Lake Toba Danau Toba) เป็นทะเลสาบและซูเปอร์ภูเขาไฟ มีความยาว 100 กิโลเมตร กว้าง 33 กิโลเมตร จุดที่ลึกที่สุดลึก 505 เมตร ตั้งอยู่ที่ทางเหนือของเกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย ที่ระดับความสูง 900 เมตร พิกัดตั้งแต่ ถึง เป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย และเป็นทะเลสาบปล่องภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทะเลสาบโตบาเคยเป็นสถานที่เกิดเหตุซูเปอร์ภูเขาไฟปะทุเมื่อประมาณ 69,000-77,000 ปีก่อน ซึ่งเป็นการปะทุครั้งใหญ่ที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง โดยถูกประมาณให้อยู่ที่ระดับ 8 ของดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ และเป็นเหตุระเบิดครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่ค้นพบในรอบ 25 ล้านปีที่ผ่านมา ตามทฤษฎีมหันตภัยโตบาแล้ว การปะทุครั้งนั้นส่งผลกระทบไปทั่วโลก มนุษย์ส่วนใหญ่ในขณะนั้นเสียชีวิต และเกิดภาวะคอขวดทางประชากรในแอฟริกาตะวันออกตอนกลางและอินเดีย ซึ่งส่งผลต่อ Genetic inheritance ของมนุษย์ทุกคนในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม สมมุติฐานนี้ไม่เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายเนื่องจากขาดหลักฐานที่แสดงถึงการเสียชีวิตหมู่หรือสูญพันธุ์ของสัตว์ชนิดอื่น แม้แต่สัตว์ที่อ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อมGathorne-Hardy, F.
ดู ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟและทะเลสาบโตบา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Volcanic Explosivity Index