โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ณรงค์ มหานนท์

ดัชนี ณรงค์ มหานนท์

ล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ เป็นอดีตอธิบดีกรมตำรวจ 2525-2530 อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานที่ปรึกษาบริษัท ช.การช่าง จำกั.

13 ความสัมพันธ์: ภรณี มหานนท์รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยวุฒิสภาไทย ชุดที่ 5วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516สุรพล จุลละพราหมณ์จังหวัดเพชรบุรีคนเดือนตุลาโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนอรุณประดิษฐเภา สารสินเหตุการณ์ 14 ตุลาเหตุการณ์ 6 ตุลา

ภรณี มหานนท์

ร.ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ มีชื่อเดิมว่าภรณี กีร์ติบุตร รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถสำนักราชเลขาธิการ ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ เป็นบุตรีของพล.ต.ท.ประจวบ กีร์ติบุตร และ คุณหญิงกระจ่างศรี กีร์ติบุตร เกิดเมื่อปีพ.ศ. 2488 เป็นบุตรสาวคนโต ในจำนวนพี่น้อง 4 คน คือ ท่านผู้หญิงภรณี มหานนท์,สุวิสาส์ กีรติบุตร,สุรพิทย์ กีรติบุตร,จิตตระเสน กีรติบุตร และต่อมาสมรสกับพล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ จบการศึกษาจาก โรงเรียนมาแตร์เดอีจนจบมัธยมปีที่ 8 เมื่อ 2504 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ รุ่นที่ 14 (เรียน 3 เดือนก็สอบชิงทุน) ปริญญาตรีทางสังคมวิทยา ที่คอลเลจ ออฟนิวโรเชล นิวยอร์ก และ ปริญญาโทและเอก ทางรัฐประศาสนศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ เริ่มเข้าทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กรมวิเทศสหการ,2512 กรรมการบริหารสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย,2513 อาจารย์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2518 ผู้เชี่ยวชาญทางรัฐประศาสนศาสตร์ อีสเวสเซนเตอร์ ฮาวาย,2518 รองเลขาธิการสภาสังคมสงเคราะห์,2523 รองคณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2525 คณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า), 1 ตุลาคม 2526 นายกสมาคมแม่บ้านตำรวจ คนที่ 1 (ปี 2526-2530),เลขาธิการสหพันธ์สตรีนักธุรกิจ และวิชาชีพ กรรมการสมาคมไทย-อเมริกัน,2531 ที่ปรึกษาสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย และ นายกสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย ต่อมาท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้เข้ารับราชการที่สำนักราชเลขาธิการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2528 เป็นวิทยากรพิเศษ กองราชเลขานุการ,1 ตุลาคม 2529 รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ฝ่ายศิลปาชีพ (เทียบเท่าผู้ช่วยราชเลขาธิการ)และเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เป็นรองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ (เทียบเท่ารองราชเลขาธิการ)ในปัจจุบัน ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท่านผู้หญิง) 5 พฤษภาคม 2541,ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) 5 พฤษภาคม 2539,มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก 5 ธันวาคม 2538 และมหาวชิรมงกุฎ 5 ธันวาคม 2534 และได้รับรางวัลสุภาพสตรีผู้มีบุคคลิกดีเด่นสาขาข้าราชการของสมาคมส่งเสริมบุคคลิกสตรี เมื่อ พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และภรณี มหานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งประกอบไปด้วยสมาชิกจำนวนทั้งสิ้น 225 คนโดยได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 สิ้นสุดสมาชิกภาพเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ตามประกาศของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ รสช. ฉบับที่ 3.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 (22 มีนาคม พ.ศ. 2539 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2543) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ มีจำนวน 260 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล จุลละพราหมณ์

ลตำรวจเอก สุรพล จุลละพราหมณ์ (15 กันยายน พ.ศ. 2465 - พ.ศ. 2539) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 18 และอดีตผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และสุรพล จุลละพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และคนเดือนตุลา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี (Prommanusorn Phetchaburi School) (อักษรย่อ พ.บ. / P.B.) ตั้งอยู่เลขที่ 278 ถนนบันไดอิฐ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย อีกทั้งยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอรุณประดิษฐ

รงเรียนอรุณประดิษฐ เป็นโรงเรียนราษฎร์สตรีแห่งแรกของประเทศไทย สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และโรงเรียนอรุณประดิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

เภา สารสิน

ลตำรวจเอก เภา สารสิน (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตอธิบดีกรมตำรวจ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และเภา สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M. The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej.

ใหม่!!: ณรงค์ มหานนท์และเหตุการณ์ 6 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »