โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ณรงค์ จันทร์เรือง

ดัชนี ณรงค์ จันทร์เรือง

ณรงค์ จันทร์เรือง เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 เป็นนักเขียนชาวไทย ประเภทเรื่องขนหัวลุก ใช้นามปากกาว่า "ใบหนาด".

18 ความสัมพันธ์: ชูศักดิ์ ราษีจันทร์พ.ศ. 2489รายนามนักเขียนเรื่องสั้นลมูล อติพยัคฆ์วาทิน ปิ่นเฉลียวสุวัฒน์ วรดิลกสนิท โกศะรถหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยาทวี เกตะวันดีณรงค์ จันทร์เรืองปกรณ์ ปิ่นเฉลียวประสิทธิ์ ศิริบรรเทิงประหยัด ศ. นาคะนาทประเสริฐ พิจารณ์โสภณน้ำตาลไม่หวานเริงชัย ประภาษานนท์เรื่องสั้นเรื่องของจัน ดารา

ชูศักดิ์ ราษีจันทร์

ูศักดิ์ ราษีจันทร์ เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียง ด้วยมีชื่อเสียงเป็นที่ต้องการของสำนักพิมพ์หลายสำนักพิมพ์ เมื่อเขียนพร้อมๆกันหลายสำนักพิมพ์ จึงมีหลายนามปากกา ชูศักดิ์ ราษีจันทร์ เริ่มต้นงานเขียนในนิตยสาร"ฟ้าเมืองไทย" ของ อาจินต์ ปัญจพรรค์ มีผลงานเขียนสารคดี ชีวิตของมัคคุเทศก์ในชุด "ไกด์บางกอก" จนโด่งดังด้วยนามปากกา "ต๊ะ ท่าอิฐ" ต่อมาเริ่มเขียนนวนิยายบู๊ที่นิตยสาร"บางกอก"รายสัปดาห์ ด้วยนามปากกา"ต๊ะ ท่าอิฐ และ "น่าน นฤบดินทร์" ส่วนผลงานนวนิยายแนวบู๊ ที่มีบทรักวาบหวามพิสดาร จะใช้นามปากกา "ก้องหล้า สุรไกร" ช่วงหนึ่งยังเขียนแนวนี้ลงหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และเขียนสารคดีเกี่ยวกับทหารรับจ้างของไทยในลาว และเวียดนาม ด้วยนามปากกา "เชียงแสน ราษีจันทร์" ช่วงที่มีชื่อเสียงสูงสุด คือ ช่วงที่เขียนนิยายบู๊ที่นิตยสาร"บางกอก"ซึ่งนิยายของเขาถูกซื้อไปสร้างเป็นภาพยนตร์จอเงินเกือบทุกเรื่อง จนสนิทคุ้นเคยกับสมบัติ เมทะนี ที่มาซื้อนิยายเขาไปสร้างเป็นภาพยนตร์ เพราะเกิดปีเดียวกัน เคยได้รับเชิญให้แสดงภาพยนตร์ คู่กับสมบัติ เมทะนี และจารุณี สุขสวัสดิ์ ในเรื่อง"สลักจิต" ต่อมาด้วยปัญหาสุขภาพ จึงห่างหายจากงานเขียน ปัจจุบันเลิกเขียนผลงานใหม่ๆ แล้ว ชูศักดิ์ ราษีจันทร์ เกิดปี..

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและชูศักดิ์ ราษีจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักเขียนเรื่องสั้น

รายชื่อนักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย;ก.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและรายนามนักเขียนเรื่องสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ลมูล อติพยัคฆ์

ลมูล อติพยัคฆ์ (เกิด พ.ศ. 2460 - 2533) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของรายการโทรทัศน์ "ไท-ทรรศน์" ทางช่อง 5 เป็นผู้เขียนเรื่อง "ฉุยฉาย" "โฉมฉาย" และ "'นางลอย"' และนักเขียนสารคดีท่องเที่ยว นวนิยายต่างแดน ลมูล อติพยัคฆ์ เกิดย่านถนนจักรวรรดิ กรุงเทพมหานคร จบจากโรงเรียนวัดบพิตรพิมุข และโรงเรียนเพาะช่าง แล้วทำงานเป็นบ๋อยตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและลมูล อติพยัคฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

วาทิน ปิ่นเฉลียว

วาทิน ปิ่นเฉลียว หรือ ต่วย บรรณาธิการบริหารของ ต่วย’ตูน นิตยสารพ็อกเกตบุ๊กรายปักษ์ที่วางจำหน่ายตั้งแต่ พ.ศ. 2514 เป็นผู้บัญญัติคำว่า "แฟนานุแฟน" วาทิน ปิ่นเฉลียว เกิดเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนกลางของนายวิวัธน์ และนางพวง ปิ่นเฉลียว มี่พี่สาวชื่อ มาลัย มีพี่ชายคือ พันตำรวจเอก(พิเศษ)ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว (ทิฆัมพร หยาดเมฆา) มีน้องสาวชื่อ จินตนา ปิ่นเฉลียว (จินตวีร์ วิวัธน์) จบการศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยทำงานเป็นสถาปนิกควบคุมงานก่อสร้างเขื่อนยันฮี เริ่มเข้าสู่วงการหนังสือ ตั้งแต่สมัยที่ยังเป็นนิสิตชั้นปีที่ 1 ด้วยการวาดรูปการ์ตูนในหนังสือฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ หลังจากนั้นไปเขียนภาพประกอบเรื่องให้ "นิตยสารสยามสมัย" และวาดการ์ตูนให้กับ "นิตยสารชาวกรุง" วาทินมีบุตรสองคนคือ ดาว ปิ่นเฉลียว และดุลย์ ปิ่นเฉลียว.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและวาทิน ปิ่นเฉลียว · ดูเพิ่มเติม »

สุวัฒน์ วรดิลก

วัฒน์ วรดิลก (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 - 15 เมษายน พ.ศ. 2550) (นามสกุลเดิม “พรหมบุตร”) บุตรของ ขุนวรกิจอักษร กับ นางจำรัส (ชีวกานนท์) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ และได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ใช้นามปากกาหลายชื่อ ที่รู้จักกันดีคือ "รพีพร" มีพี่น้องร่วมบิดามารดา คือ ทวีป วรดิลก ซึ่งเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงเช่นกัน.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและสุวัฒน์ วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

สนิท โกศะรถ

นิท โกศะรถ (พ.ศ. 2473 - ธันวาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักเขียนอาชญนิยายชุด เหยี่ยวราตรี เจ้าของนามปากกา ". เนาวราช" เป็นผู้ร่วมก่อตั้งนิตยสารสตรี ขวัญเรือน เคยสร้างและกำกับภาพยนตร์เรื่อง หนึ่งนุช (2514) จันทร์เพ็ญ (2515) และ กระสือสาว (2516) สนิท โกศะรถ เกิดและเติบโตแถวย่านสะพานดำ กรุงเทพ เรียนชั้นมัธยมต้น เริ่มทำงานเป็นช่างเรียงพิมพ์ที่โรงพิมพ์เจริญธรรม ย่านเสาชิงช้าอยู่หลายปี และเริ่มเขียนเรื่องสั้นส่งไปตีพิมพ์ตามนิตยสาร และได้รับการสนับสนุนจากนาย "ฮ่องบุ๊น" หลานชายเจ้าของโรงพิมพ์เจริญธรรม สนับสนุนให้เป็นนักเขียน ตั้งสำนักพิมพ์อักษรสมิต เพื่อตีพิมพ์นิยายเรื่อง เหยี่ยวราตรี ของสนิท โกศะรถ โดยใช้นามปากกา ". เนาวราช" โดยเฉพาะ เมื่อมีชื่อเสียง สนิท โกศะรถ ได้เขียนนวนิยายเรื่อง "18 มงกุฎ" ด้วยนามปากกา "ธัญ ธาตรี" แล้วย้ายไปเขียนหนังสือให้กับสำนักพิมพ์บางกอก และสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น ของบรรลือ อุตสาหจิต และเป็นผู้ริเริ่มออกนิตยสาร "ศรีสยาม" และนิตยสารสตรี "ขวัญเรือน" ที่ยังมีชื่อเสียงมาจนถึงปัจจุบัน สนิท โกศะรถ เสียชีวิตเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและสนิท โกศะรถ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา

หม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม: วสุวัต; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2438 – 30 กันยายน พ.ศ. 2534) เป็นครู และนักเขียน มีผลงานเรื่องสั้น และนวนิยาย เจ้าของนามปากกา "วรรณสิริ" ผู้เขียน วนิดา, นางทาส และนางครวญ ที่ได้รับความนิยม มีผู้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์หลายครั้ง.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ทวี เกตะวันดี

ทวี เกตะวันดี เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น บทภาพยนตร์ และเป็นคอลัมนิสต์ให้กับหนังสือพิมพ์สยามรัฐ เดลินิวส์ เดลิเมล์ เป็นดำรงตำแหน่งนายกสมาคมนักข่าวฯ 3 สมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและทวี เกตะวันดี · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ จันทร์เรือง

ณรงค์ จันทร์เรือง เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 เป็นนักเขียนชาวไทย ประเภทเรื่องขนหัวลุก ใช้นามปากกาว่า "ใบหนาด".

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและณรงค์ จันทร์เรือง · ดูเพิ่มเติม »

ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

ันตำรวจเอก (พิเศษ) ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว (18 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - ?) นักเขียนชาวไท.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง

ประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง (พ.ศ. 2470 - พ.ศ. 2529) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ ผู้อำนวยการสร้างละครเวที และเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง เช่น เล็บครุฑ มังกรแดง ภูตเหลือง ทหารเสือกรมหลวงชุมพร เพชรพระอุมา การะเกด กุหลาบแสนสวย เกล็ดแก้ว เป็นต้น และเป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการนิตยสารจักรวาล.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง · ดูเพิ่มเติม »

ประหยัด ศ. นาคะนาท

ลายเส้นโดย ประยูร จรรยาวงษ์ จากซ้าย ศุขเล็ก, ฮิวเมอร์ริสต์, คึกฤทธิ์ และ นายรำคาญ ประหยั.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและประหยัด ศ. นาคะนาท · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นนักเขียนเรื่องสั้นที่มีชื่อเสียง ใช้นามปากกาว่า "ชาย บางกอก" ตั้งให้โดยประหยัด ศ. นาคะนาท ใช้เขียนเรื่องตลกหรรษา และนามปากกา "เพชร ชมพู" มีผลงานเขียนสารคดี และบทละครวิทยุ บทละครเวที และบทภาพยนตร์ มีชื่อเสียงจากเรื่องสั้นชุด "ท้องนาข้างกรุง" ตีพิมพ์ในนิตยสารฟ้าเมืองไทย เป็นผู้ก่อตั้งสำนักพิมพ์ประเสริฐวาทินร่วมกับวาทิน ปิ่นเฉลียว.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและประเสริฐ พิจารณ์โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาลไม่หวาน

น้ำตาลไม่หวาน เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและน้ำตาลไม่หวาน · ดูเพิ่มเติม »

เริงชัย ประภาษานนท์

ริงชัย ประภาษานนท์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 -) เป็นนักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "เศก ดุสิต" หรือ ". ดุสิต" มีผลงานเขียนนวนิยายแนวบู๊ และอาชญนิยายที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก มีตัวละครที่เป็นที่รู้จักกันดี ชื่อ "คมน์ พยัคฆราช" ในเรื่อง สี่คิงส์ ครุฑดำ และ "โรม ฤทธิไกร" ในเรื่องชุด อินทรีแดง อินทรีทอง เริงชัย ประภาษานนท์ เกิดที่เขตดุสิต กรุงเทพ เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมัธยมนันทนศึกษา เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง โรงเรียนถูกปิด ออกมาทำงานที่โรงไฟฟ้าสามเสน เมื่อโรงไฟฟ้าถูกระเบิดทำลาย ได้งานใหม่เป็นช่างเรียงพิมพ์ในโรงพิมพ์ เริ่มงานเขียนเรื่องสั้น เรื่องแรกชื่อ “พรหมบันดาล” ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร "รัตนโกสินทร์" ใช้นามปากกาว่า “สุริยา” เริงชัย ประภาษานนท์ เริ่มเขียนนวนิยายแนวบู๊ ใช้นามปากกา "เศก ดุสิต" เรื่อง สี่คิงส์ และครุฑดำ ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์อักษรสมิต แล้วเขียนเรื่องในชุด อินทรีแดง ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น มีชื่อเสียงเป็นที่นิยมจนต้องนำตัวละครจากทั้งสองเรื่อง คือ "คมน์ พยัคฆราช" และ "โรม ฤทธิไกร" มาร่วมงานกันในเรื่อง จ้าวนักเลง ในเวลาต่อมา และเรื่อง พยัคฆ์ร้ายไทยถีบ ตีพิมพ์ในนิตยสาร "อาทิตย์รายสัปดาห์" กับสำนักพิมพ์อักษรโสภณ ผลงานทั้งหมดถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ นอกจากงานเขียนอาชญนิยาย เริงชัย ประภาษานนท์ ยังมีผลงานเขียนในแนวอื่น ใช้นามปากกา "เกศ โกญจนาศ" "ศิรษา" "ลุงเฉี่อย" ใช้เขียนนิทานพื้นบ้าน และ "ดุสิตา" ใช้เขียนบทกวี เริงชัย ประภาษานนท์ หยุดเขียนนวนิยายตั้งแต่ พ.ศ. 2532 ต่อมาได้สนใจศึกษาวิชาโหราศาสตร์ และการพยากรณ์อย่างจริงจัง ปัจจุบันเขียนบทความเกี่ยวกับการพยากรณ์ และคอลัมน์ “รู้ชีวิต…ด้วยดวงดาว” ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและเริงชัย ประภาษานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องสั้น

รื่องสั้น คือ บันเทิงเรียงความร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิด เป็นต้น การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ต้นกำเนิดของเรื่องสั้นมาจากประเพณีการเล่านิทาน ซึ่งมักจะปูโครงเรื่องอย่างคร่าวๆ แล้วเข้าสู่จุดสำคัญของเรื่องอย่างรวดเร็ว ลักษณะเด่นของเรื่องสั้นคือ มักมีเหตุการณ์หลักเพียงเหตุการณ์เดียว โครงเรื่องเป็นคู่ ฉากคู่ จำนวนตัวละครมีมากหรือน้อยก็ได้ และมีระยะเวลาตั้งแต่ต้นจนจบเรื่องไม่นานนัก สามารถให้อารมณ์ได้เช่นเดียวกับนวน.

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและเรื่องสั้น · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องของจัน ดารา

รื่องของจัน ดารา เป็นนวนิยายเชิงสังวาส บทประพันธ์ของอุษณา เพลิงธรรม (ประมูล อุณหธูป) ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในนิตยสารสยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2509 ตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ณรงค์ จันทร์เรืองและเรื่องของจัน ดารา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คริส สารคาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »