โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชิงกันเซ็ง

ดัชนี ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

59 ความสัมพันธ์: บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออกชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์ชิงกันเซ็ง 800 ซีรีส์ชิงกันเซ็ง E2 ซีรีส์ชิงกันเซ็ง E3 ซีรีส์ชิงกันเซ็ง E4 ซีรีส์ชิงกันเซ็ง E5 ซีรีส์ชิงกันเซ็ง W7 ซีรีส์พ.ศ. 2570การรถไฟญี่ปุ่นการท่องเที่ยวในประเทศญี่ปุ่นการขนส่งในประเทศญี่ปุ่นมอเตอร์แนวราบมินิชิงกันเซ็งยามซากุระร่วงโรยระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟรถบลูเทรนรถรางไฟฟ้ารถไฟความเร็วสูงรถไฟความเร็วสูงจีนรถไฟความเร็วสูงแบ่งตามประเทศรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยสึบาสะสถานีรถไฟชินอาโอโมริสถานีรถไฟชินโยโกฮามะสถานีรถไฟชินโอซากะสถานีรถไฟอุเอะโนะสถานีรถไฟโตเกียวสถานีรถไฟไมบะระหุ่นรบฮิคาเรี่ยนอะกิตะชิงกันเซ็งฮกไกโดชิงกันเซ็งฮะมะมะสึฮายาเตะฮิการิ (ขบวนรถไฟ)จังหวัดคานางาวะจังหวัดโอซากะทะกะซะกิขบวนการกู้ภัย โกโกไฟว์ขบวนการเทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์คำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอนคุมะมงคีวชูชิงกันเซ็งซะนะเอะ โคะบะยะชิซันโยชิงกันเซ็งประเทศญี่ปุ่นแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในชูเอะสึ พ.ศ. 2547โอซากะโฮะกุริกุชิงกันเซ็ง...โจเอะสึชิงกันเซ็งโทโฮกุชิงกันเซ็งโทไกโดชิงกันเซ็งโคเบะเกียวโต (นคร)เรลเจตเข็มขัดไทเฮโยJapan Rail Pass1 ตุลาคม ขยายดัชนี (9 มากกว่า) »

บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก

อาคารสำนักงานใหญ่บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก บริเวณสถานีชินจุกุ กรุงโตเกียว บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (East Japan Railway Company) เป็นบริษัทที่ให้บริการการคมนาคมระบบรางรถไฟในบริเวณภูมิภาคคันโตและโทโฮะกุของญี่ปุ่น เป็นเครือข่ายรถไฟที่มีจำนวนผู้โดยสารมากที่สุดในโลกและมากที่สุดในกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น เรียกโดยย่อว่า JR East สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ในเขตโยโยงิ ชิบุยะ กรุงโตเกียว.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์

700 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ซึ่งมีสายการผลิตระหว่างปี..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง 800 ซีรีส์

800 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นคีวชู (JR คีวชู) ตัวรถผลิตโดยฮิตาชิ ปัจจุบันใช้วิ่งทำขบวน สึบะเมะ ระหว่าง ฮะกะตะ กับ คุมะโมะโต.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง 800 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง E2 ซีรีส์

งกันเซ็ง E2 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น รุ่นนี้ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) เริ่มเปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1997 ในสองเส้นทางคือ โทโฮะกุ ชิงกันเซ็ง และ นะงะโนะ ชิงกันเซ็ง โดยในสายโทโฮะกุใช้ขบวนแบบ 10 ตู้ ส่วนสายนะงะโนะใช้ขบวนแบบ 8 ตู้ โดยแบบ 10 ตู้สามารถทำขบวนร่วมกับ E3 ซีรีส์ รูปแบบ โคะมะชิ โดยการต่อเพลาที่บริเวณหัวรถ ในโครงการรถไฟความเร็วสูงของไทย บริษัทรถไฟของของญี่ปุ่นเสนอให้ไทยใช้ระบบชินกันเซ็ง ในการนี้ญี่ปุ่นเสนอนำชินกันเซ็ง E2 มาให้บริการในสายเหนือ (กรุงเทพ - เชียงใหม่), สายตะวันออกเฉียงเหนือ (กรุงเทพ - นครราชสีมา) และ สายใต้ (กรุงเทพ - หัวหิน).

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง E2 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง E3 ซีรีส์

E3 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น สร้างขึ้นเพื่อใช้สำหรับการทำขบวนแบบ โคะมะชิ ซึ่งเริ่มให้บริการเมื่อ 3 มิถุนายน..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง E3 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง E4 ซีรีส์

E4 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดย บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) ในเส้นทาง โทโฮะกุ ชิงกันเซ็ง และ โจเอะสึ ชิงกันเซ็ง รถไฟรุ่นนี้เป็นรถไฟรุ่นพิเศษที่มีห้องโดยสารสองชั้น และสามารถพ่วงกันสองขบวนเพื่อทำขบวนแบบ 16 ตู้.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง E4 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง E5 ซีรีส์

E5 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดย บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) ในเส้นทาง โทโฮะกุ ชิงกันเซ็ง เริ่มให้บริการครั้งแรกในวันที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง E5 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง W7 ซีรีส์

W7 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) วิ่งในสายโฮะกุริกุ ชิงกันเซ็ง ตั้งแต่มีการขยายเส้นทางจากนะโงะยะ จนถึง คะนะซะวะ ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง W7 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2570

ทธศักราช 2570 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2027 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและพ.ศ. 2570 · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟญี่ปุ่น

การรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือที่รู้จักกันดีว่า JNR เคยเป็นผู้ให้บริการเครือข่ายรถไฟทั่วประเทศญี่ปุ่น ระหว่างปี พ.ศ. 2492 ถึง พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและการรถไฟญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวในประเทศญี่ปุ่น

รถลาก ณ บริเวณด้านหน้าของศาลเจ้าโนะโนะมิยะ ประเทศญี่ปุ่น ได้ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติ 19,730,000 คนในปี..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและการท่องเที่ยวในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศญี่ปุ่น

การคมนาคมของประเทศญี่ปุ่น นั้นประกอบไปด้วยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ สถานีโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นมีถนนสายสำคัญหลายสายในทุกภาค โดยถนนหลักแต่ละสายจะเชื่อมโยงกับเมืองสำคัญ ๆ หรือเมืองใหญ่ ๆ ในทุก.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและการขนส่งในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มอเตอร์แนวราบ

มอเตอร์เชิงเส้น (Linear Motor) คือมอเตอร์ไฟฟ้าที่ถูกผ่ากลางแล้วแผ่ออกในแนวราบ ซึ่ง rotor แทนที่จะหมุน มันกลับเคลื่อนที่ไปในแนวราบ ตามสูตรของแรงที่ใส่เข้าไปมีสัดส่วนโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก นั่นคือ (\vec F.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและมอเตอร์แนวราบ · ดูเพิ่มเติม »

มินิชิงกันเซ็ง

มินิชิงกันเซ็ง เป็นชื่อที่ตั้งให้สำหรับแนวคิดในการเปลี่ยนราง จากรางแบบแนร์โรว์เกจ 1,067 มม.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและมินิชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ยามซากุระร่วงโรย

มซากุระร่วงโรย (5 Centimeters Per Second: a chain of short stories about their distance) เป็นอะนิเมะซึ่งมาโกโตะ ชิงไก กำกับและอำนวยการผลิต และเท็นมง (Tenmon) ประพันธ์เพลงประกอบ เนื้อหาว่าด้วยชายหนุ่มคนหนึ่งกับคนรักในวัยเด็กที่ต้องห่างกัน แต่แม้เวลาผ่านไปนานเท่าไร ชายหนุ่มยังฝังตัวอยู่กับคำมั่นสัญญาว่าจะครองคู่กันเมื่อโตขึ้น ขณะที่หญิงสาวละทิ้งมัน เพราะเห็นว่าเป็นความผูกพันของเด็ก และวิวาห์กับชายคนใหม่ ซึ่งเป็นตอนจบแนวที่ไม่ปรากฏมาก่อนในงานของชิงไก เพราะเปิดให้ตีความได้หลายหลาก อะนิเมะเรื่องนี้สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 โดยแบ่งเป็นสามบทต่อเนื่องกัน คือ เสี้ยวดอกซากุระ, นักบินอวกาศ (Cosmonaut) และ ห้าเซนติเมตรต่อวินาที (5 Centimeters per Second) ทั้งหมดเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมงกว่า บทแรกนั้นเผยแพร่ให้ชมแบบเสียเงินผ่านเว็บไซต์ ยาฮู! ระหว่างวันที่ 16-19 กุมภาพันธ์ 2550 จากนั้น จึงออกฉายทั้งฉบับเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ณ โรงภาพยนตร์ซินามาไรซ์ (Cinema Rise) แขวงชิบุยะ กรุงโตเกียว และขายแบบดีวีดีตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม ปีนั้น ต่อมา จึงขายแบบนิยายเป็นเล่ม ใช้ชื่อเดียวกับอะนิเมะ แล้วทำเป็นมังงะ วาดภาพโดย เซเกะ ยุกิโกะ (Seike Yukiko) ลงพิมพ์ในนิตยสาร แอฟเทอร์นูน (Afternoon) ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2553 จนจบในเดือนมิถุนายน ปีต่อมา อะนิเมะเรื่องนี้ประสบความสำเร็จดีทั้งในบ้านเกิดเมืองนอนและต่างบ้านต่างเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาพสดใสมลังเมลืองชวนเพ้อฝันนั้น ยังให้ชิงไกได้รับการเชิดชูว่า จะเป็นเจ้าพ่อวงการอะนิเมะคนต่อไปถัดจากฮะยะโอะ มิยะซะกิ (Hayao Miyasaki).

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและยามซากุระร่วงโรย · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ

หัวรถจักรไฟฟ้าในสวีเดนที่ใช้กระแสไฟฟ้าจากสายไฟระบบเหนือหัว ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ หรือ (Railway Electrification System) เป็นการจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับรถไฟหรือรถราง เพื่อให้สามารถทำงานได้โดยไม่ต้องมีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าบนขบวน การจ่ายกระแสไฟฟ้ามีข้อดีเหนือกว่าระบบให้พลังงานอื่น ๆ ในการขับเคลื่อนหัวรถจักร แต่ต้องใช้เงินลงทุนอย่างมีนัยสำคัญสำหรับการติดตั้ง ในบทความนี้ "ระบบ" หมายถึงการกำหนดค่าทางเทคนิคและรายละเอียดทางเทคนิคที่ถูกพัฒนาขึ้น "เครือข่าย" หมายถึงขอบเขตทางภูมิศาสตร์ของระบบที่มีการติดตั้งจริงในสถานที่ติดตั้ง.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

รถบลูเทรน

รถบลูเทรนฟูจิ"Fuji" 2552 รถบลูเทรน (Blue Train) (ブルートレイン.) หรือตู้รถนั่งและตู้รถนอนของญี่ปุ่น รถบลูเทรนประกอบด้วยห้องนอน โดยห้องนอนหนึ่งห้องมี 4 เตียง(คลาสบี) และห้องนอนหนึ่งห้องมี 1 เตียง (คลาสเอ) ไม่สามารถปรับเป็นรถนั่งได้ โดยปกติในประเทศญี่ปุ่นจะใช้รถบลูเทรนพ่วงเป็นขบวนรถทางไกล โดยใช้หัวรถจักรไฟฟ้าตระกูล EF ตระกูล ED และ หัวรถจักรดีเซลตระกูล DD ทำขบวน โดยให้บริการโดย JR East (JR東日本.) JR West (JR西日本.) และ JR Hokkaido (JR北海道.) รถบลูเทรนมีทั้งหมด 5 รุ่น คือ รุ่น 20(20系) รุ่น 14(14系) รุ่น 15(15系) รุ่น 24(24系) รุ่น 25(25系) ส่วนรถโดยสารรุ่น 12 ไม่นับว่าเป็นบลูเทรน.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและรถบลูเทรน · ดูเพิ่มเติม »

รถรางไฟฟ้า

รถรางไฟฟ้า (Electric Mutiple Unit: EMU) เป็นรถไฟที่สามารถขับเคลื่อนได้ด้วยตนเองโดยใช้พลังงานไฟฟ้า รถรางไฟฟ้าไม่ต้องการหัวรถจักรในการขับเคลื่อน ส่วนใหญ่รถรางไฟฟ้ามักใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร แต่ก็มีบางส่วนที่ถูกดัดแปลงเป็นรถขนส่งสิ่งของ เช่น จดหมาย หรือกระเป๋าเดินทาง รถรางไฟฟ้าเป็นที่นิยมในการขนส่งทั้งในเมืองและชานเมืองทั่วโลก เนื่องจากรถรางไฟฟ้ามีความเร็วสูง และไม่มีการปล่อยมลภาวะ เงียบกว่ารถรางดีเซล นอกจากนี้ รถรางไฟฟ้ายังสามารถใช้ปฏิบัติงานในยามค่ำคืนได้บ่อยกว่ารถรางดีเซล เพราะรถรางไฟฟ้าไม่ส่งเสียงรบกวนผู้อยู่อาศัยตามรางรถไฟ การสร้างอุโมงค์สำหรับรถรางไฟฟ้าก็ง่ายกว่ารถรางดีเซล เพราะไม่ต้องสร้างรองรับการปล่อยมลภาวะ แต่การปรับปรุงอุโมงค์เก่าของรถรางดีเซลให้ใช้กับรถรางไฟฟ้านั้นมีค่าก่อสร้างสูง เพราะต้องวางรางเพื่อส่งไฟฟ้าให้กับรถรางไฟฟ้า และหากอุโมงค์แคบก็ยิ่งวางรางยาก โดยในส่วนของประเทศไทยนั้น ด้านพล.อ.อ. ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กล่าวว่า กระทรวงคมนาคมกำลังศึกษาปรับระบบรถไฟสายใต­้จากปัจจุบันใช้รถจักรดีเซลเป็นรถไฟฟ้าภาย­ในปี 2562 เพื่อเชื่อมกับรถรางไฟฟ้าของมาเลเซี.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและรถรางไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูง

รถไฟชิงกันเซ็ง รุ่น E5 TGV 2N2 ของ SNCF ซึ่งเป็นรถไฟความเร็วสูงที่พัฒนาให้มีห้องโดยสาร 2 ชั้น ขณะอยู่ที่เมืองแฟรงเฟิร์ตของเยอรมนี รถไฟความเร็วสูง หรือ ระบบรางความเร็วสูง (High-Speed Rail (HSR)) เป็นระบบการขนส่งทางรางที่วิ่งด้วยความเร็วสูงกว่าระบบขนส่งทางรางทั่วไปอย่างมาก โดยการใช้ระบบล้อเลื่อน (rolling stock) พิเศษรวมกับระบบรางที่ออกแบบมาให้ใช้โดยเฉ.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและรถไฟความเร็วสูง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงจีน

รถไฟความเร็วสูงจีน (อักษรย่อ CRH)) เป็นระบบรถไฟความเร็วสูงที่บริหารงานโดยการรถไฟจีน เหอเซี๋ย ห้าว (ความหมาย: สามัคคี) เป็นชื่อสำหรับระบบรถไฟความเร็วสูงของจีน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า "China Railway High-speed" อักษรย่อ "CRH" ซึ่งได้เริ่มดำเนินการ เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2550 รถไฟความเร็วสูงแต่ละขบวนจะถูกจัดให้มีความจุสำหรับผู้โดยสาร ประมาณ 568-588 คน สำหรับ 8 ตู้ และ 1,100-1,200 คน สำหรับ 16 ตู้ หรือขึ้นอยู่กับการต่อตัวของรถไฟ.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและรถไฟความเร็วสูงจีน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงแบ่งตามประเทศ

รือข่ายรถไฟความเร็วสูงที่ใช้งานได้ในปัจจุบัน ของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและรถไฟความเร็วสูงแบ่งตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สึบาสะ

ึบาสะ หรือ ซึบาสะ (และในอดีตมีการสะกด ทสึบาสะ) ซึ่งในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่า "ปีก" อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและสึบาสะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินอาโอโมริ

นีรถไฟชินอาโอโมริ เป็นสถานีรถไฟในเมืองอาโอโมริ จังหวัดอาโอโมริ ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) เป็นสถานีรถไฟชิงกันเซ็งที่อยู่เหนือที่สุดของเกาะฮนชู.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินอาโอโมริ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินโยโกฮามะ

นีรถไฟชินโยโกฮามะ เป็นสถานีรถไฟในนครโยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น สถานีแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนบนดินมีอยู่ 6 ชานชาลา ให้บริการรถไฟระหว่างเมือง และรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็ง และส่วนใต้ดินให้บริการรถไฟใต้ดินเพื่อการเดินทางภายในตัวเมืองโยโกฮาม.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินโยโกฮามะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินโอซากะ

| สถานีรถไฟชินโอซากะ เป็นสถานีรถไฟกลางของจังหวัดโอซากะ ตั้งอยู่ในเขตโยโดงาวะ ของนครโอซากะ สถานีรถไฟโอซากะแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกัน คือ ส่วนของรถไฟระหว่างเมือง และส่วนของรถไฟใต้ดิน ในส่วนของรถไฟระหว่างเมือง สถานีรถไฟโอซากะยังเป็นสถานีเปลี่ยนผ่านของรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็ง ชานชาลาทางทิศตะวันตกเป็นชานชาลาของชิงกันเซ็ง สายโทไกโด มีปลายทางที่กรุงโตเกียว ในขณะที่ชานชาลาทางทิศตะวันออกเป็นชิงกันเซ็ง สายซันโย มีปลายทางที่นครฟุกุโอะกะ สถานีรถไฟชินโอซากะ (หรือแปลคือ สถานีรถไฟโอซากะแห่งใหม่) ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟโอซากะเดิม 3 กิโลเมตร เปิดดำเนินการในปี..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟอุเอะโนะ

งหลัก ทางเข้าหนึ่งของสถานี สถานีรถไฟอุเอะโนะ เป็นสถานีรถไฟหลักในเขตไทโต กรุงโตเกียว ใช้เดินทางไปยังย่านอุเอะโนะและสวนอุเอะโนะ ซึ่งเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติโตเกียว พิพิธภัณฑ์ศิลปะตะวันตกแห่งชาติ สวนสัตว์อุเอะโนะ มหาวิทยาลัยศิลปกรรมและดนตรีแห่งชาติโตเกียว และแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอื่นๆ เป็นทั้งศูนย์กลางหลักของรถไฟและจุดหมายปลายทางของรถไฟระยะไกลจากภูมิภาคทางเหนือของญี่ปุ่น แต่เมื่อต่อขยายเส้นทาง ชิงกันเซ็ง ไปถึงสถานีโตเกียว บทบาทการเป็นจุดหมายของสถานีอุเอะโนะก็น้อยลงไปในระยะหลัง ใกล้กับสถานีอุเอะโนะเป็นสถานีเคเซอุเอะโนะ ซึ่งเป็นปลายทางในโตเกียวของ สายหลักเคเซ ที่วิ่งไปยังสถานีท่าอากาศยานนาริต.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟอุเอะโนะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโตเกียว

นีรถไฟโตเกียว เป็นสถานีรถไฟหลักของกรุงโตเกียว ตั้งอยู่ในย่านมะรุโนะอุชิ (丸の内 Marunouchi) แขวงชิโยะดะ หนึ่งในแขวงพิเศษของกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น อยู่ใกล้กับพระราชวังหลวง และย่านกินซะ สถานีรถไฟโตเกียวให้บริการรถไฟระหว่างเมือง รถไฟท้องถิ่น และรถไฟชิงกันเซ็ง (รถไฟความเร็วสูง) ของกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (Japan Railway Group) และรถไฟฟ้าใต้ดินของโตเกียวเมโทร (東京メトロ Tōkyō Metoro) 1 ใน 2 ผู้ให้บริการรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงโตเกียว สถานีรถไฟโตเกียวเป็นสถานีรถไฟที่มีจำนวนรถไฟระหว่างเมืองเข้าออกคับคั่งที่สุดอันดับหนึ่งของญี่ปุ่น (มากกว่า 3,000 เที่ยวต่อวัน) และมีผู้คนสัญจรผ่านมากที่สุดเป็นอันดับ 5 ของภาคตะวันออกของญี่ปุ่น สถานีรถไฟโตเกียวยังเป็นต้นทางและชุมทางของรถไฟชิงกันเซ็งมากขบวนที.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟไมบะระ

นีรถไฟไมบะระ เป็นสถานีรถไฟในเมืองไมบะระ จังหวัดชิงะ ประเทศญี่ปุ่น สถานีดำเนินงานโดย JR ตะวันตก เป็นหลัก โดยมี JR ตอนกลาง ดำเนินงานร่วมในส่วนของรถไฟชิงกันเซ็ง.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟไมบะระ · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นรบฮิคาเรี่ยน

หุ่นรบฮิคาเรี่ยน หรือ โชวโทกคิวฮิคาเรี่ยน (Hikarian) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นที่เป็นรูปแบบ หุ่นยนต์แปลงร่าง ที่มีลักษณะเป็นแบบหัวรถจักรรถไฟ ความเร็วสูง (รูปแบบรถไฟชินคันเซ็นที่มีชื่อเสียงในญี่ปุ่น Bullet trains) ซึ่งการ์ตูนเรื่องนี้โดย ทางช่อง 9 อสมท. ได้นำมาฉายในเมืองไทย ในรายการ ช่อง 9 การ์ตูน ในเดือน มิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2543 ประมาณช่วง 9.30น. ถึง 10.30 น. เสาร์ - อาทิตย์ เป็นประดิษฐกรรมการ์ตูนที่มีเรื่องเป็นแบบHeroes ที่ทำงานหนักอยู่บนรางวิ่งด้วยความเร็วสูงทุกวัน และมีเหล่าร้ายจากต่างดาวมาบุอาละวาดในรูปแบบหัวรถจักรสีดำ โดยในฉากจะเป็นแบบฐานทัพ,อู่โรงรถจักรและระบบของรถไฟในญี่ปุ่นได้อย่างชัดเจน ซึ่งการ์ตูนเรื่องนี้เป็นลิขสิทธิ์ของ Tokyo Kids TV TOKYO 1998 - 1999.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและหุ่นรบฮิคาเรี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

อะกิตะชิงกันเซ็ง

อะกิตะ ชิงกันเซ็ง เป็นรถไฟชิงกันเซ็งขนาดเล็ก ให้บริการในภูมิภาคคันโต และโทโฮะกุ ในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมต่อระหว่างเมืองโตเกียวกับเมืองโมะริโอะกะ จังหวัดอิวะเตะ และเมืองอะกิตะ จังหวัดอะกิตะ อะกิตะ ชิงกันเซ็งใช้เส้นทางของโทโฮะกุ ชิงกันเซ็ง จนถึงสถานีรถไฟโอมะงะริ จึงเปลี่ยนไปใช้เส้นทางสายทะซะวะโกะ และสายหลักโออุ จนถึงอะกิต.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและอะกิตะชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮกไกโดชิงกันเซ็ง

กไกโด ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงของญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันกำลังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง เชื่อมระหว่าง นครอาโอโมริ กับ นครซัปโปโระ เส้นทางส่วนหนึ่งลอดใต้ทะเลผ่านอุโมงค์เซกัง ดำเนินงานโดย บริษัทรถไฟฮกไกโด (JR ฮกไกโด).

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและฮกไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮะมะมะสึ

นครฮามามัตสึ ตั้งอยู่ในทางตะวันตกของจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น นครฮามามาสึได้ควบรวมพื้นที่เข้ากับเมืองและอำเภอโดยรอบจำนวน 11 เมืองและอำเภอ ในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 และได้ยกระดับเป็นนครอันตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2007.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและฮะมะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

ฮายาเตะ

ตะ เป็นคำในภาษาญี่ปุ่น มีความหมายว่า "เฮอร์ริเคน" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและฮายาเตะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิการิ (ขบวนรถไฟ)

''ฮิการิเรลสตาร์'' ทำขบวนด้วยรุ่น 700 series ฮิการิ เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่น ให้บริการในเส้นทางโทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง รถไฟประเภทนี้วิ่งช้ากว่าขบวนโนโซมิ แต่ยังเร็วกว่าขบวนโคดามะ หากใช้สิทธิ์ตามบัตรผ่านรถไฟญี่ปุ่น ขบวนฮิการินี้จะเป็นรถไฟประเภทที่เร็วที่สุดที่ให้บริการบนเส้นทางโทไกโดและซันโยชิงกันเซ็ง เมื่อชิงกันเซ็งเปิดให้บริการในปี 1964 ฮิการิได้เป็นรถไฟที่เร็วที่สุดบนเส้นทางที่วิ่งจากโตเกียวไปยังสถานีชินโอซะกะ มีการหยุดรถเพียงแค่สองครั้งเท่านั้นคือที่นาโงยาและที่เกียวโต ต่อมา ฮิการิได้ขยายไปให้บริการบนซันโยชิงกันเซ็งแม้ว่ารถไฟฮิการิจะเร็วกว่าเพียงขบวนโคดามะเท่านั้น ทั้งคู่จึงได้รับฉายาสั้นๆร่วมกันว่า "ฮิดะมะ" บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางเป็นผู้ให้บริการฮิการิ ปัจจุบันนี้ใช้รถไฟขนาด 16 โบกี้ หลายซีรีส์ได้แก่ 700 ซีรีส์ และ 300 ซีรีส์ รถไฟฮิการิส่วนใหญ่จะหยุดตามสถานีต่างเช่น ชิซุโอะกะ, ไมบาระ หรือฮิเมะจิ เพื่อให้รถไฟที่เร็วกว่า เช่น ขบวนโนโซมิ วิ่งผ่านไปด้วยความเร็วสูงสุดก่อน ในเดือนมีนาคม ปี 2008 ขบวนฮิการิได้นำชิงกันเซ็ง N700 ซีรีส์ มาใช้สำหรับการเดินทางระหว่างสถานีชินโยโกะฮะมะและสถานีฮิโระชิมะ และสำหรับรถไฟเที่ยวดึกระหว่างสถานีโตเกียวและนาโงยา บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกเริ่มให้บริการฮิการิ เรล สตาร์ (Hikari Rail Star) ในปี 200 ซีรีส์0 โดยมีเฉพาะเส้นทางซันโยชิงกันเซ็งเท่านั้น โดยใช้รถไฟขบวนพิเศษขนาด 8 โบกี้ซีรีส์ 700 ซีรีส์ ที่มีความเร็วสูงสุด 285 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การที่บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกนำมาให้บริการนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับสายการบินที่บินอยู่ในเส้นทางโอซะกะไปยังฟุกุโอะกะ ที่นั่งที่สำรองเอาไว้บนรถไฟฮิการิ เรล สตาร์มีการจัดแบบ 2-2 แทนที่จะเป็น 3-2 เหมือนฮิการิทั่วๆไป และด้านหน้าของแต่ละที่นั่งนั้นจะมีจุดจ่ายไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาอีกด้วย ก่อนและระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2นั้น ฮิการิเคยเป็นชื่อของรถไฟด่วนที่วิ่งจากปูซาน ประเทศเกาหลี ไปยังชางชุน ในแมนจูเรีย ต่อมา ในทศวรรษที่ 1950 ชื่อนี้ได้นำมาใช้เป็นชื่อรถไฟด่วนที่วิ่งจากฟุกุโอะกะไปยังคาโงชิมะและเบ็ปปุ หมวดหมู่:ชิงกันเซ็งแบ่งตามรูปแบบ.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและฮิการิ (ขบวนรถไฟ) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคานางาวะ

ังหวัดคานางาวะ ตั้งอยู่บริเวณภาคคันโต บนเกาะฮนชูของญี่ปุ่น มีโยโกฮามะเป็นเมืองหลวงและเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เมืองโยโกฮามะนั้นเป็นสถานที่จัดศึกฟุตบอลโลกในปี 2002 รอบชิงชนะเลิศ และเป็นเมืองที่มีย่านที่คนจีนอาศัยอยู่มากที่สุดแห่งหนึ่งในญี่ปุ่น มีวัดวาอารามตั้งอยู่หลายวัดในเมืองคามากูระ ปัจจุบันเมืองโยโกฮามะเป็นส่วนหนึ่งของกรุงโตเกียว และเป็นเมืองศูนย์กลางที่สำคัญเนื่องจากมีท่าเรือพาณิชย์นานาชาติใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกไกล เมืองโยโกฮามะเป็นเมืองใหญ่อันดับสองรองจากโตเกียว โดยมีประชากรกว่า 3 ล้านคน.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและจังหวัดคานางาวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอซากะ

ลากลางจังหวัดโอซากะ จังหวัดโอซากะ เป็นส่วนหนึ่งของเขตแดนคันไซ ภูมิภาคคิงกิ เกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองเอกคือโอซากะ เป็นใจกลางของพื้นที่เคียวโตะ-โอซากะ-.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและจังหวัดโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

ทะกะซะกิ

ตุ๊กตาดะรุมะ ที่วัดดะรุมะจิ ทะกะซะกิ เป็นเมืองในจังหวัดกุมมะ ประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและทะกะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการกู้ภัย โกโกไฟว์

กโกไฟว์ เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 23 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มฉายเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 และ อวสานเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 จำนวนตอนทั้งหมด 50 ตอน ตอนพิเศษอีก 3 ตอนคือ GoGoV Shock! New super warrior, โกโกไฟว์ vs.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและขบวนการกู้ภัย โกโกไฟว์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการเทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์

วนการเทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์ เป็นภาพยนตร์แนวขบวนการนักสู้ลำดับที่ 34 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 จนถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 ทางสถานีทีวีอาซาฮี ทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7.30-8.00 น. ในช่วงซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ มีตอนพิเศษทางโรงภาพยนตร์ทั้งหมด 4 ตอน ได้แก่ ขบวนการ ซามูไร ชินเคนเจอร์ VS โกออนเจอร์ THE MOVIE BANG! ฉายวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2010, ขบวนการ เทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์ EPIC ON THE MOVIE (เอพพิค ออน เดอะ มูฟวี่), เทนโซ เซนไท โกเซย์เจอร์ VS ชินเคนเจอร์ เอพพิค ON จอเงิน ฉายวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 2011 และ โกไคเจอร์ โกเซย์เจอร์ ซูเปอร์เซนไท 199 ฮีโร่ ไดเคซเซน(ゴーカイジャー ゴセイジャー スーパー戦隊199ヒーロー 大決戦) ตอนพิเศษทางโอวีเอ อีก1ตอน คือ คาเอรุเทคิตะ เทนโซ เซนไท โกเซย์เจอร์ last epic (การกลับมาอีกครั้งของ เทนโซ เซนไท โกเซย์เจอร์ last epic) ขบวนการ ซามูไร ชินเคนเจอร์ VS โกออนเจอร์ THE MOVIE BANG! จัดจำหน่ายโดย บริษัท ดรีมวิชชั่น ขบวนการ เทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์ EPIC ON THE MOVIE จัดจำหน่ายโดย บริษัท ดรีมเอ็กซ์เพร.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและขบวนการเทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอน

ำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอน (Brave Command Dagwon) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวไซไฟ-หุ่นยนต์ ผลงานชุดที่ 7 ในกลุ่มยูฉะซีรีส์ (Brave series) ของซันไรส์ แต่งโดย ฮาจิเมะ ยาทาเตะ ออกอากาศทางสถานีนาโงยะทีวี ตั้งแต่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996 ถึง 25 มกราคม ค.ศ. 1997 รวมความยาวทั้งสิ้น 48 ตอน และมีOVA ตอนพิเศษ อีก 2 ตอน ในเดือน ตุลาคม ค.ศ. 1997.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและคำสั่งผู้กล้า ดั๊กวอน · ดูเพิ่มเติม »

คุมะมง

มะมงปรากฏบนขบวนรถไฟชิงกันเซ็งสายคีวชู คุมะมง เป็นมาสคอตหมีเพศผู้ ซึ่งสร้างโดยรัฐบาลท้องถิ่นของจังหวัดคุมะโมะโตะ บนเกาะคีวชูทางภาคใต้ของญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2553 และเปิดตัวอย่างเป็นทางการพร้อมกับการเปิดเส้นทางการเดินรถไฟชิงกันเซ็งสายคีวชู ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในภูมิภาค จากนั้นไม่นานคุมะมงก็ได้รับความนิยมไปทั่วประเทศญี่ปุ่นอย่างรวดเร็ว ในปลายปีเดียวกันคุมะมงได้รับการโหวตจากชาวญี่ปุ่นทั่วประเทศจนได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดตุ๊กตาสัญลักษณ์จากจำนวน 350 ตัวที่แต่ละท้องถิ่นส่งเข้าประกวด หลังจากคุมะมงเปิดตัวออกมาแล้ว ได้รับความนิยมอย่างมาก โดยมีการสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มากถึง 23,000 ตัว และนอกจากจะเป็นมาสคอตเพื่อใช้ในการส่งเสริมทางท่องเที่ยวแล้ว ยังใช้เป็นสัญลักษณ์ในการปลอบประโลมและเยียวยาทั้งร่างกายและจิตใจผู้ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวเมื่อปี พ.ศ. 2559 และหาทุนเพื่อบูรณะซ่อมแซมปราสาทคุมะโมะโตะ ที่ได้รับผลเสียหายด้ว.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและคุมะมง · ดูเพิ่มเติม »

คีวชูชิงกันเซ็ง

รถไฟญี่ปุ่นคีวชู สาย คีวชู ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่เชื่อมระหว่างสองเมืองหลักบนเกาะคีวชูอย่าง ฟุกุโอะกะ และ คาโงชิมะ โดยที่รถไฟความเร็วสูงสายนี้วิ่งขนาดไปกับรางรถไฟเดิมของสายหลักคาโงชิมะ ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นคีวชู (JR คีวชู) โดยที่รถไฟความเร็วสูงสายนี้แบ่งการก่อสร้างออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเริ่มก่อสร้างจากคาโงชิมะเป็นระยะทาง 127 กิโลเมตร เปิดให้บริการในปี 2004 และต่อมาจึงก่อสร้างต่อไปบรรจบกับซันโย ชิงกันเซ็งที่สถานีฮากาตะเป็นระยะทาง 130 กิโลเมตร เปิดให้บริการในปี 2011.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและคีวชูชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ซะนะเอะ โคะบะยะชิ

ซะนะเอะ โคะบะยะชิ เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2523 ที่เมืองฮามามัตสึ จังหวัดชิซึโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น สังกัดค่ายโปรดักชันเบาบั๊บ ได้รับการชักนำเข้าสู่วงการโดย คาซึยะ ทาเทคาเบะ ผู้พากย์เสียงไจแอนท์ ในเรื่องโดราเอมอน, 8 ก..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและซะนะเอะ โคะบะยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ซันโยชิงกันเซ็ง

ซันโย ชิงกันเซ็ง เป็นหนึ่งในเส้นทางให้บริการรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งในญี่ปุ่น เชื่อมต่อระหว่างชินโอซะกะในเมืองโอซะกะกับฮะกะตะในเมืองฟุกุโอะกะ ซึ่งเป็นสองเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันตกของประเทศญี่ปุ่น นอกจากนั้นยังเชื่อมต่อระหว่างเมืองใหญ่ๆของเกาะฮอนชูและคิวชูเข้าด้วยกัน เช่น โคเบะ ฮิเมะจิ โอกะยะมะ ฮิโระชิมะ และ คิตะกีวชู ดำเนินการโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก และยังเชื่อมต่อกับโทไกโด ชิงกันเซ็งที่วิ่งจากโอซะกะไปยังโตเกียวอีกด้วย ซันโย ชิงกันเซ็งนี้เชื่อมต่อระหว่างฮะกะตะกับโอซะกะโดยใช้เวลาเดินทางเพียง 2.5 ชั่วโมงเท่านั้น นับว่าเป็นหนึ่งในรถไฟโดยสารที่วิ่งเร็วที่สุดในโลกในขณะนี้ด้วยความเร็วประมาณ 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟโนะโซะมิบางขบวนยังให้บริการต่อเนื่องทั้งซันโยและโทไกโด ชิงกันเซ็ง ทำให้การเดินทางจากโตเกียวไปยังฮะกะตะนั้นใช้เวลาไม่ถึง 5 ชั่วโมงเท่านั้น ปัจจุบัน สถานีฮะกะตะ เป็นสถานีปลายทางของเครือข่ายชิงกันเซ็งทางด้านตะวันตก แต่ถ้าคีวชู ชิงกันเซ็งสร้างมาเชื่อมต่อกับซันโย ชิงกันเซ็งสำเร็จ ก็จะทำให้สามารถเดินทางจากสถานีฮะกะตะต่อไปยังคะโงะชิมะได้ คาดว่าจะแล้วเสร็จในฤดูใบไม้ผลิของปี 2011.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในชูเอะสึ พ.ศ. 2547

แผ่นดินไหวในชูเอะสึ..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและแผ่นดินไหวในชูเอะสึ พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โฮะกุริกุชิงกันเซ็ง

กุริกุชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) และบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) เชื่อมต่อรถไฟความเร็วสูงสายอื่นจากมหานครโตเกียว ให้สามารถเดินทางได้ถึงเมืองคะนะซะวะ ช่วงแรกของเส้นทางตั้งแต่ทะกะซะกิถึงเปิดเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ในชื่อว่า นะงะโนะชิงกันเซ็ง.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและโฮะกุริกุชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โจเอะสึชิงกันเซ็ง

อะสึชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูง เชื่อมระหว่างกรุงโตเกียวและนครนีงะตะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก).

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและโจเอะสึชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โทโฮกุชิงกันเซ็ง

รถไฟญี่ปุ่นตะวันออก สายโทะโฮะกุ ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงในญี่ปุ่น เชื่อมระหว่าง มหานครโตเกียว และเมืองอาโอโมริ จังหวัดอาโอโมริ มีความยาวทั้งหมด 647.9 กิโลเมตร จัดว่าเป็นชิงกันเซ็งสายที่ยาวที่สุด ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและโทโฮกุชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โทไกโดชิงกันเซ็ง

| โทไกโด ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งเส้นทางแรก เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โคเบะ

() เป็นเมืองเอกของจังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับที่ 5 และเป็นเมืองท่าที่สำคัญของญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของเกาะฮนชู ห่างจากเมืองโอซะกะไปทางตะวันตกประมาณ 30 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคนและเป็นส่วนหนึ่งของมหานครเคฮันชิง โคเบะปรากฏในหลักฐานลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในพงศาวดารนิฮงโชะกิที่กล่าวถึงการก่อตั้งศาลเจ้าอิกุตะโดยพระจักรพรรดิจิงกูเมื่อ..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและโคเบะ · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เรลเจต

รลเจต เป็นรถไฟความเร็วสูงของประเทศออสเตรีย เปิดใช้งานประมาณ..

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและเรลเจต · ดูเพิ่มเติม »

เข็มขัดไทเฮโย

ซันโย ชิงกันเซ็ง เข็มขัดไทเฮโย หรือ เข็มขัดแปซิฟิก หรือ ระเบียงเศรษฐกิจโทไกโด เป็นชื่อของเขตอภิมหานครในประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่จังหวัดอิบะระกิในภาคกลางไปจนถึงจังหวัดชิซุโอะกะในเกาะคีวชู ซึ่งมีระยะทางกว่า 1,200 กิโลเมตร เขตเมืองทางยาวนี้ ขนาดไปกับชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของญี่ปุ่นตั้งแต่ภาคคันโตถึงโอซะกะ และบริเวณทะเลในไปจนถึงฟุกุโอะกะ ซึ่งเป็นแนวเส้นทางของทางรถไฟสายโทไกโด-ซันโย ทั้งนี้ ภาพถ่ายดาวเทียมในตอนกลางคืนจะเห็นแสงไฟของเข็มขัดไทเฮโยเป็นแนวยาวได้อย่างชัดเจน.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและเข็มขัดไทเฮโย · ดูเพิ่มเติม »

Japan Rail Pass

แปน เรล พาส (Japan Rail Pass) หรือ เจอาร์ พาส (JR Pass) หรือ เรล พาส (Rail Pass) เป็นบัตรโดยสารรถไฟในประเทศญี่ปุ่นชนิดไม่จำกัดครั้ง จัดจำหน่ายแก่บุคคลในต่างประเทศ โดยกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (JR Group) สามารถใช้โดยสารรถไฟ ตลอดจน รถโดยสาร และเรือเฟอร์รี่ ที่ดำเนินงานโดยกลุ่มบริษัท JR ในทุกเส้นทางและสายทางของประเทศญี่ปุ่น โดยมีเงื่อนไขการใช้บริการ (ขบวนรถไฟ/ชั้นที่นั่ง) ตามที่กำหน.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและJapan Rail Pass · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชิงกันเซ็งและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Shinkansenรถไฟชินคันเซ็นชิงกันเซ็นชินกันเซ็นชินคันเซ็น新幹線🚅

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »