โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวโปรตุเกส

ดัชนี ชาวโปรตุเกส

วโปรตุเกส (os portugueses; Portuguese people) คือชนชาติและกลุ่มชาติพันธุ์จากประเทศโปรตุเกส ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตอนใต้-ตะวันตกของทวีปยุโรป ใช้ภาษาโปรตุเกส โดยมากนับถือโรมันคาทอลิก จากประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิโปรตุเกสและการล่าอาณานิคมในแอฟริกา เอเชีย และทวีปอเมริกา เช่นเดียวกับการอพยพตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทำให้มีสังคมชาวโปรตุเกสในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก.

71 ความสัมพันธ์: ชายฝั่งมะละบาร์ชาวบราซิลชาวมาเก๊าชาวยิวเซฟาร์ดีชาวสเปนบิสเซาบือร์นาร์ดู ซิลวาช่องแคบมาเจลลันช่องเขามานาฟรานซิสโก ลาโชวสกี้ฟาบีอู กูเองเตราพ.ศ. 2540พระเจ้าอะเนาะเพะลูนพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้กลุ่มชนละตินกอลล์การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)การสร้างภาพประสาทกูอาราปูอาวาภาษาคริสตังภาษาเวียดนามมารีอู ซูอารึชมานามาราชวงศ์บูร์กอญรีการ์ดู ปือไรราลมค้าวัชกู ดา กามาวัดคอนเซ็ปชัญวัดซางตาครู้สวีตอร์ ปือไรรา (ผู้จัดการทีมฟุตบอล)ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2สุรัตหมู่เกาะโมลุกกะอังตอนีอู กูแตรึชอังแดร โกมึชอีวู ปิงตูฌูแอล กัชตรู ปือไรราจาการ์ตาจิตตะกองจื๋อโกว๊กหงือจีน่า เดอซูซ่าธาเนตูอาโมตัสซามูไรซิลเวีย เฟรแรประเทศกาบูเวร์ดีปอร์โต-โนโวนกอัลบาทรอสนางาซากิ...นานีนิกายในศาสนาคริสต์แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกสโบสถ์กาลหว่าร์โชเซ มูรีนโยโยอัน ตาวารึชโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์โดโดโคลัมโบไทยโยเดียเบเลงเกาะฟายาลเกาะอัมบนเกาะเตอร์นาเตเวลาเฮเลนา กอสตาเซซินันโดเซนต์คิตส์เปาลู ฟือไรราเปาลู มาชาดู18 สิงหาคม ขยายดัชนี (21 มากกว่า) »

ชายฝั่งมะละบาร์

หาดป้อมเบคัล (Bekal Fort) รัฐเกรละ ชายฝั่งมะละบาร์ (Malabar Coast) เป็นแนวชายฝั่งทะเลยาวและแคบทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย บริเวณที่ราบรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะ ระหว่างเทือกเขาฆาฏตะวันตก (Western Ghats) กับทะเลอาหรับ กินพื้นที่ตั้งแต่รัฐกัวถึงเมืองกันยากุมารี (Kanyakumari; เดิมเรียก เคปคอโมริน) ในขณะที่ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดียเรียกว่า ชายฝั่งโคโรมันเดล (Coromandel Coast) บางครั้งชายฝั่งมะละบาร์ยังหมายถึงพื้นที่ชายฝั่งทั้งหมดของอินเดียตั้งแต่ชายฝั่งกงกัณ (Konkan) จนถึงเมืองกันยากุมารี มีความยาวมากกว่า 845 กิโลเมตร (525 ไมล์) ตั้งแต่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐมหาราษฏระ ผ่านรัฐกัวและชายฝั่งทั้งหมดของรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะถึงเมืองกันยากุมารี ชายฝั่งแห่งนี้ทิศตะวันตกจรดทะเลอาหรับ ทิศตะวันออกจรดเทือกเขาฆาฏตะวันตก และทางใต้มีป่าผลัดใบที่ชุ่มชื้นที่สุดในอินเดียใต้ ชายฝั่งมะละบาร์มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นจุดทำการค้าหลักกับเมโสโปเตเมีย อียิปต์ กรีซ โรม เยรูซาเลม และอาหรับ และยังมีเมืองท่าหลายเมือง เช่น โกจจิ (Kochi), โคชิโคด (Kozhikode), กัณณูร์ (Kannur) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญของมหาสมุทรอินเดียมานานนับศตวรรษ ในสมัยศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์หมิงได้ให้เจิ้งเหอนำกองเรือออกเดินทางสำรวจดินแดนต่าง ๆ ชายฝั่งมะละบาร์เป็นจุดหนึ่งที่กองเรือจีนมักจะมาขึ้นฝั่ง หลังจากนั้นไม่นาน ในปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและชายฝั่งมะละบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบราซิล

วบราซิล (Brazilians) คือประชาชนที่เกิดในประเทศบราซิลมีบิดามารดาเป็นชาวบราซิลหรือเป็นผู้ที่กฎหมายกำหนดให้เป็นคนบราซิลอย่างบุคคลที่ได้รับสัญชาติบราซิล ประเทศบราซิลเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติดังนั้นชาวบราซิลบางคนจึงมีสัญชาติไม่ตรงกับเชื้อชาต.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและชาวบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมาเก๊า

วมาเก๊าพื้นเมือง (กวางตุ้ง: toú-saāng poùh-yàhn) หรือ ชาวโปรตุเกสพื้นเมือง หรือเรียกโดยย่อว่าชาวมาเก๊า (Macaense) เป็นชาติพันธุ์หนึ่งในเอเชียตะวันออก มีพื้นเพอยู่ในเขตปกครองพิเศษมาเก๊ามาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดจากการผสมข้ามชาติพันธุ์ระหว่างชาวจีนและโปรตุเกส ทั้งยังมีบรรพบุรุษสืบเชื้อสายอย่างหลากหลายTeixeira, Manuel (1965),Os Macaenses, Macau: Imprensa Nacional; Amaro, Ana Maria (1988), Filhos da Terra, Macau: Instituto Cultural de Macau, pp. 4–7; and Pina-Cabral, João de and Nelson Lourenço (1993), Em Terra de Tufões: Dinâmicas da Etnicidade Macaense, Macau: Instituto Cultural de Macau, for three varying, yet converging discussions on the definition of the term Macanese. Also particularly helpful is Review of Culture No. 20 July/September (English Edition) 1994, which is devoted to the ethnography of the Macanese.Marreiros, Carlos (1994), "Alliances for the Future" in Review of Culture, No. 20 July/September (English Edition), pp. 162–172. เป็นต้นว่าชาวมลายู, ญี่ปุ่น, สิงหล และอินเดี.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและชาวมาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิวเซฟาร์ดี

วยิวเซฟาร์ดี (Sephardi Jews; ספרדי; ฮิบรูมาตรฐาน: Səfardiไทบีเรีย Səp̄arədî; พหูพจน์ ספרדים, ฮิบรูใหม่: Səfaradim ไทบีเรีย: Səp̄arədîm; Sefardíes; Sefarditas, Σεφάρδοι, Sefarad, จูเดโอ-สเปน: Sefardies) เป็นชนกลุ่มย่อยของกลุ่มชนยิวที่มาจากคาบสมุทรไอบีเรีย และ แอฟริกาเหนือ ที่มักจะกล่าวว่าคู่กับชาวยิวอัชเคนาซิ (Ashkenazi Jews) หรือ ชาวยิวมิซราฮิ (Mizrahi Jews).

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและชาวยิวเซฟาร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสเปน

วสเปน (Spanish people หรือ Spaniards; españoles) มีสองความหมาย ความหมายทั่วไปคือ คนพื้นเมืองที่อยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศสเปน นอกจากนั้นยังมีความหมายด้านกฎหมาย คือบุคคลที่ถือสัญชาติสเปน ในประเทศสเปนนั้นมีชนเผ่าและผู้นับถือศาสนาที่หลากหลาย สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ความซับซ้อนของประเทศ ภาษาอย่างเป็นทางการคือ ภาษาสเปน (คาสตีล) ซึ่งเป็นภาษาของสเปนแถบเหนือ-กลาง แต่ละท้องถิ่นมีภาษาเฉพาะกลุ่ม ภาษาที่พูดในสเปนนั้นเป็นกลุ่มภาษาโรมานซ์ (ยกเว้นภาษาบาสก์) ส่วนชาวสเปนนอกประเทศสเปนที่อพยพออกไปจากสเปนนั้น โดยมากมักอยู่ในลาตินอเมริก.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและชาวสเปน · ดูเพิ่มเติม »

บิสเซา

ซา (Bissau) เป็นเมืองหลวงของประเทศกินีบิสเซา ในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีป เป็นเมืองท่า ที่ปากแม่น้ำเกบา เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศ ศูนย์กลางการบริหารและการทหาร จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและบิสเซา · ดูเพิ่มเติม »

บือร์นาร์ดู ซิลวา

ือร์นาร์ดู มอตา ไวกา ดือ การ์วัลยู อี ซิลวา (Bernardo Mota Veiga de Carvalho e Silva; เกิดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1994) เป็นนักฟุตบอลชาวโปรตุเกส ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรแมนเชสเตอร์ซิตีและฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกส ตำแหน่งกองกลาง.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและบือร์นาร์ดู ซิลวา · ดูเพิ่มเติม »

ช่องแคบมาเจลลัน

วเทียมบริเวณช่องแคบมาเจลลัน ช่องแคบมาเจลลัน (Strait of Magellan, Magellanic Strait; Estrecho de Magallanes) เป็นทางเดินเรือที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนใต้ของแผ่นดินใหญ่ทวีปอเมริกาใต้กับกลุ่มเกาะเตียร์ราเดลฟวยโก ตั้งชื่อตามชื่อของเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน นักเดินเรือชาวโปรตุเกส ช่องแคบนี้เป็นทางเชื่อมสำคัญระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีความยาวประมาณ 570 กิโลเมตร ส่วนที่แคบที่สุดอยู่บริเวณเกาะการ์โลสที่ 3 ทางด้านตะวันตกของช่องแคบ ซึ่งกว้างเพียง 2 กิโลเมตร เนื่องจากมาเจลลันเดินเรือมาถึงที่นี่ในวันที่ 1 พฤศจิกายน ซึ่งตรงกับวันสมโภชนักบุญทั้งหลายพอดี ในตอนแรกเขาจึงตั้งชื่อว่า "ช่องแคบแห่งเหล่านักบุญ" (Strait of All Saints) แต่ต่อมาพระมหากษัตริย์แห่งสเปนที่มาเจลลันถวายงานทรงเปลี่ยนชื่อมาเป็น "ช่องแคบมาเจลลัน" เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา ปัจจุบันตลอดช่องแคบมาเจลลันถือเป็นน่านน้ำของชิลี แต่ปากทางด้านแอตแลนติกบางจุดเป็นอาณาเขตของอาร์เจนตินา อย่างไรก็ตาม เรือชาติต่าง ๆ ยังสามารถเดินทางผ่านช่องแคบนี้ได้อย่างเสรี ก่อนที่จะมีการเปิดใช้คลองปานามาซึ่งสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1914 ช่องแคบนี้เป็นเส้นทางข้ามมหาสมุทรที่สำคัญและปลอดภัยสำหรับเรือกลจักรไอน้ำ แต่ถ้าเป็นเรือใบ เช่น เรือแบบคลิปเปอร์ จะนิยมใช้ช่องแคบเดรกซึ่งอยู่ใต้ลงไปอีก เพราะมีเนื้อที่ให้กลับลำเรือได้กว้างกว่า แต่ก็ต้องเสี่ยงกับสภาพอากาศที่ปั่นป่วนและคาดคะเนได้ยาก.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและช่องแคบมาเจลลัน · ดูเพิ่มเติม »

ช่องเขามานา

องเขามานาที่หมู่บ้านมานา ช่องเขามานา (Mana Pass; 玛那山口) หรือ มานาลา, ชีร์บิตยา, ชีร์บิตยา-ลา และ ดังกรี-ลา เป็นช่องเขาระหว่างเทือกเขาหิมาลัย ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนทิเบตกับอินเดีย อยู่ที่ความสูง 5,545 เมตร (18,192 ฟุต) เป็นช่องที่เดินทางด้วยพาหนะที่สูงที่สุดในโลก ถนนที่ใช้สัญจรสร้างในช่วงปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและช่องเขามานา · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิสโก ลาโชวสกี้

ฟรานซิสโก ชิโก ลาโชวสกี้ (Francisco Chico Lachowski; เกิด 13 พฤษภาคม..) เป็นนายแบบชาวบราซิล.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและฟรานซิสโก ลาโชวสกี้ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาบีอู กูเองเตรา

ฟาบีอู อาลีชังดรี ดา ซิลวา กูเองเตรา (Fábio Alexandre da Silva Coentrão) เกิดเมื่อวันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและฟาบีอู กูเองเตรา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอะเนาะเพะลูน

ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและพระเจ้าอะเนาะเพะลูน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้

ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนละติน

ษากลุ่มโรมานซ์ในทวีปยุโรปในศตวรรษที่ 20 กลุ่มชนละติน (Latin peoples) หรือ กลุ่มชนโรมานซ์ (Romance peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนใต้ของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มโรมานซ์ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ซึ่งประกอบด้วยชาวฝรั่งเศส, ชาวอิตาลี, ชาวโรมาเนีย, ชาวสเปน, ชาวโปรตุเกส, ชาวอันดอร์รา, ชาวมอลโดวา, ชาววัลลูน, ชาวโรแมนซ์, ชาวคะแนรี, ชาวกาลิเซีย และชาวกาตาล.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและกลุ่มชนละติน · ดูเพิ่มเติม »

กอลล์

กอลล์ (Galle), คาลละ (ගාල්ල) หรือ กาลิ (காலி) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ปลายแหลมสุดของศรีลังกา ห่างจากนครโคลัมโบไปทางทิศใต้ประมาณ 119 กิโลเมตร กอลล์เป็นที่รู้จักในชื่อ Gimhathiththa ก่อนที่ชาวโปรตุเกสจะมาถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นเมืองท่าของเกาะ กอลล์พัฒนาถึงจุดสูงในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก่อนที่ชาวอังกฤษจะมาถึง ที่พวกเขาพัฒนาอ่าวท่าเรือที่โคลอมโบ แม่น้ำสายหลักคือแม่น้ำคิง (Gin) ที่เริ่มจาก Gongala Kanda และผ่านหมู่บ้านอย่างเช่น Neluwa, Nagoda, Baddegama, Thelikada, Wakwella จนบรรจบกับทะเลที่ Ginthota ใน Wakwella สะพานที่ข้ามแม่น้ำที่นี่ถือเป็นสะพานที่ยาวที่สุดในศรีลังกา เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและกอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)

การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น คือ เหตุการณ์สู้รบบนคาบสมุทรเกาหลีและยุทธการที่เกิดขึ้นตามมา ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98) · ดูเพิ่มเติม »

การสร้างภาพประสาท

MRI ของศีรษะ แสดงภาพตั้งแต่ยอดจนถึงฐานของกะโหลก ภาพตามระนาบแบ่งซ้ายขวาของศีรษะคนไข้ที่มีหัวโตเกิน (macrocephaly) แบบไม่ร้ายที่สืบต่อในครอบครัว การสร้างภาพประสาท หรือ การสร้างภาพสมอง (Neuroimaging, brain imaging) เป็นการใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อสร้างภาพทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมของโครงสร้าง หน้าที่ หรือการทำงานทางเภสัชวิทยา ของระบบประสาท เป็นศาสตร์ใหม่ที่ใช้ในการแพทย์ ประสาทวิทยา และจิตวิทยา แพทย์ที่ชำนาญเฉพาะในการสร้างและตีความภาพสมองในสถานพยาบาลเรียกตามภาษาอังกฤษว่า neuroradiologist (ประสาทรังสีแพทย์) การสร้างภาพวิธีต่าง ๆ ตกอยู่ในหมวดกว้าง ๆ 2 หมวดคือ.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและการสร้างภาพประสาท · ดูเพิ่มเติม »

กูอาราปูอาวา

กูอาราปูอาวา (Guarapuava) เป็นเมืองในรัฐปารานา ประเทศบราซิล เป็นเทศบาลที่มีพื้นที่มากที่สุดของรัฐ มีประชากร 172,000 คน เมืองตั้งอยู่ที่จุดพิกัด 25°23'36" ใต้ และ 51°27'19" ตะวันตก เมืองค้นพบโดยชาวโปรตุเกสใน..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและกูอาราปูอาวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคริสตัง

ษาคริสตัง (Kristang language) หรือ ภาษาโปรตุเกสลูกผสมมะละกา (Malaccan Creole Portuguese) หรือภาษามะละกา หรือภาษาเกอราเกา พูดโดยชาวคริสตังซึ่งเป็นลูกหลานระหว่างชาวโปรตุเกสกับชาวเอเชียที่อยู่ในมะละกาและสิงคโปร์ มีผู้พูดภาษานี้ราว 1,000 คน ในมะละกา มีความเกี่ยวข้องกับสำเนียงที่พบในกัวลาลัมเปอร์และสิงคโปร์ เป็นภาษาทางการค้า ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษามลายูซาบา ผู้หญิงบางคนพูดภาษาอังกฤษได้ บางครั้งเรียกว่าภาษาคริสเตาหรืออย่างง่ายๆว่าภาษาปาปีอา ประมาณ 80% ของผู้พูดภาษานี้ที่เป็นผู้สูงอายุจะพูดภาษานี้ในชีวิตประจำวัน มีผู้พูดจำนวนน้อยในกัวลาลัมเปอร์ซึ่งเกิดจากการอพยพ มีผู้พูดภาษาครัสตังที่ย้ายถิ่นไปยังอังกฤษ ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและภาษาคริสตัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

มารีอู ซูอารึช

มารีอู อัลแบร์ตู โนบรี โลปึช ซูอารึช (Mário Soares; 7 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 7 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวโปรตุเกส ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีโปรตุเกสในช่วง..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและมารีอู ซูอารึช · ดูเพิ่มเติม »

มานามา

มานามา (المنامة; Manama) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศบาห์เรน มีประชากรราว 155,000 คน มานามาได้รวมเป็นเมืองหลวงของบาห์เรนหลังจากที่การปกครองของชาวโปรตุเกสและชาวเปอร์เซียก่อนหน้านี้ ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงที่ทันสมัย มีธุรกิจสำคัญเกี่ยวกับการซื้อขายน้ำมันดิบของเศรษฐก.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและมานามา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์กอญ

ราชวงศ์บูร์กอญ (Casa de Borgonha, House of Burgundy) เป็นราชตระกูลที่แยกมาจากราชวงศ์คาเปต์ของราชวงศ์กาเปเตียงโดยมีโรเบิร์ตที่ 1 ดยุกแห่งบูร์กอญผู้เป็นพระราชโอรสองค์รองในพระเจ้าโรแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสเป็นผู้ก่อตั้ง.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและราชวงศ์บูร์กอญ · ดูเพิ่มเติม »

รีการ์ดู ปือไรรา

รีการ์ดู อาลือชังดรือ มาร์ติงส์ โซอารึช ปือไรรา (Ricardo Alexandre Martins Soares Pereira) เรียกสั้น ๆ ว่า รีการ์ดู เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและรีการ์ดู ปือไรรา · ดูเพิ่มเติม »

ลมค้า

ลมค้า (ลูกศรสีเหลืองและน้ำตาล) และลมตะวันตก (ลูกศรสีน้ำเงิน) ลมค้า (trade wind) เป็นลมประจำปีทางทิศตะวันออก เป็นลมที่มีความเร็วลมปานกลางถึงแรงจัด ทำให้อากาศแจ่มใสและใช้ประโยชน์ได้ในด้านการเดินเรือและการบิน.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและลมค้า · ดูเพิ่มเติม »

วัชกู ดา กามา

วัชกู ดา กามา เส้นทางเดินเรือครั้งแรกของวัชกู ดา กามา วัชกู ดา กามา (Vasco da Gama; ประมาณ พ.ศ. 2003-2068) เป็นนักเดินเรือสำรวจชาวโปรตุเกส เกิดที่เมืองซีนึช แคว้นอาเลงเตฌู ประเทศโปรตุเกส สร้างประวัติศาสตร์ด้วยการค้บพบเส้นทางการเดินเรือจากยุโรปสู่อินเดียระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและวัชกู ดา กามา · ดูเพิ่มเติม »

วัดคอนเซ็ปชัญ

วัดคอนเซ็ปชัญ หรืออ่านออกเสียงว่า วัดคอนเซ็ปชั่น (Conception Church) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ในซอยสามเสน 11 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร วัดคอนเซ็ปชัญประกอบด้วย ตัวอาคารหลังเดิม ซึ่งเป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ทรงหลังคาจั่วแบบไทย เป็นอาคารที่เก่าแก่ที่สุดคาดว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่ช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ และส่วนของตัวโบสถ์คอนเซ็ปชัญซึ่งสร้างขึ้นโดยบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว ชาวฝรั่งเศส ที่ได้เดินทางมาเป็นเจ้าอาวาส โดยได้ทำการเสกในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2380 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) นอกจากนี้ในบริเวณที่ตั้งของวัด ยังมีวัดนักบุญฟรังซีสเซเวียร์ ซึ่งตั้งอยู่ข้างกับวัดอีกด้วย ปัจจุบันตัวโบสถ์นี้มีอายุรวมแล้ว ปี ทำให้เป็นหนึ่งในโบสถ์คาทอลิกที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย วัดคอนเซ็ปชัญ มีประวัติมาตั้งแต่ครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งพระองค์ได้ทรงพระราชทานที่ดินให้กับชาวโปรตุเกสที่ร่วมรับราชการทำสงครามให้กับพระองค์ ในราวปี พ.ศ. 2217 ต่อมาในปี พ.ศ. 2325 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดให้ชาวเขมร 500 คน ที่หลบหนีลี้ภัยมาจากเขมร มาอยู่รวมกับชาวโปรตุเกสในหมู่บ้านนี้เท่านั้น และตังแต่นั้นมาก็มีการเรียกหมู่บ้านนี้ว่า "บ้านเขมร" จนในเวลาต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานที่กับชาวญวน เข้ามารวมกับที่อยู่เดิมของชาวเขมร ทำให้ชาวญวนในเวลาต่อมาก็ได้เข้ารีตนิกายคริสต์กันเป็นส่วนใหญ่ ตัวโบสถ์คอนเซ็ปชัญ มีความโดดเด่นในด้านงานสถาปัตยกรรมกว่าโบสถ์ทั่วๆไป เนื่องจากเป็นโบสถ์ลูกครึ่งไทยและฮอลันดา หรือที่เรียกว่า "วิลันดา" ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมในสมัยอยุธยาตอนปลายจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีลักษณะคือใช้ระบบผนังรับน้ำหนัก มีเสาไม้รับโครงของหลังคาแบบไทย และตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น ซึ่งโดยมากจะเป็นลายเทศ เลียนแบบฝรั่ง โดยลดลายเส้นกนกออกไป, bloggang.com/.สืบค้นเมื่อ 29/05/2559 จนในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดได้มีการเพิ่มเติมส่วนของหอระฆัง (Bell Tower) โดยมีสถาปนิกโจอาคิม กรัสซี ชาวออสเตรีย (Joachim Grassi) เป็นผู้ออกแบบ ซึ่งเป็นการออกแบบหอระฆัง ด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา มีหัวเสาแบบโรมาเนสก์รองรับช่วงชั้นต่างๆของอาคาร และการวางเป็นซุ้มโค้งแบบโรมัน ด้วยเหตุนี้เองทำให้โบสถ์คอนเซ็ปชัญ ประกอบด้วยงานสถาปัตยกรรมถึง 3 รูปแบบ คือ ไทย ฮอลันดา และโรมัน.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและวัดคอนเซ็ปชัญ · ดูเพิ่มเติม »

วัดซางตาครู้ส

วัดซางตาครู้ส, โบสถ์ซางตาครู้ส หรือ วัดกุฎีจีน (Santa Cruz Church) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ในซอยกุฎีจีน แยกซอยอรุณอมรินทร์ 4 (ถนนเทศบาล สาย 1) ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร อาคารวัดแห่งนี้เป็นอาคารหลังที่สามซึ่งสร้างขึ้นเพื่อทดแทนอาคารวัดหลังเดิมที่คับแคบและชำรุดทรุดโทรมมาก โดยมีคุณพ่อกูเลียลโม กิ๊น ดา ครู้ส เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2459 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2539 โดยมีคุณพ่อศวง ศุระศรางค์ เป็นผู้ริเริ่มเพื่อการอนุรักษ์ต่อไป ปัจจุบันวัดหลังนี้มีอายุรวมแล้ว ปี อาคารวัดซางตาครู้สเป็นอาคารรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิกเช่นเดียวกับอาสนวิหารอัสสัมชัญ มีจุดเด่นที่ยอดโดมแบบอิตาลีซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับโดมแห่งมหาวิหารฟลอเรนซ์หรือโดมของพระที่นั่งอนันตสมาคม ภายในเป็นอาคารชั้นเดียว มีจุดเด่นอีกประการคือ การใช้เสาลอยรับน้ำหนักของฝ้าเพดานแบบโค้ง รวมถึงกระจกสีที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนา วัดซางตาครู้สเป็นศาสนสถานที่สำคัญที่อยู่คู่กับชุมชนกุฎีจีนเก่าแก่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา โดยบริเวณที่ตั้งของวัดอยู่ใกล้กับพระราชวังเดิม สมัยธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชพระราชทานที่ดินให้แก่ชาวโปรตุเกสซึ่งร่วมทำการศึกต่อต้านพม่าจนได้รับชัยชนะ นักบวชชาวโปรตุเกสจึงได้เริ่มก่อสร้างอาคารวัดหลังแรกที่สร้างด้วยไม้ทั้งหมดแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2313 ต่อมาได้เกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในชุมชนในปี พ.ศ. 2376 ทำให้อาคารวัดพังเสียหายทั้งหมด จึงต้องก่อสร้างใหม่ด้วยอิฐถือปูน และได้ก่อสร้างใหม่อีกครั้งในปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและวัดซางตาครู้ส · ดูเพิ่มเติม »

วีตอร์ ปือไรรา (ผู้จัดการทีมฟุตบอล)

วีตอร์ มานูแวล ดือ ออลีไวรา ลอปึช ปือไรรา (Vítor Manuel de Oliveira Lopes Pereira) เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1968 ในเมือง อึชปิญญู ประเทศโปรตุเกส เป็นผู้จัดการทีมชาวโปรตุเกส ปัจจุบันทำงานเป็นผู้จัดการทีมของสโมสรฟุตบอลโปร์ตูในปรีไมราลีกา ประเทศโปรตุเก.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและวีตอร์ ปือไรรา (ผู้จัดการทีมฟุตบอล) · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย

นาคริสต์ เป็นหนึ่งใน 5 ศาสนาในประเทศไทยที่กรมการศาสนารับรอง โดยมิชชันนารีชาวยุโรปเป็นกลุ่มแรกที่นำเข้ามาเผยแผ่ ปัจจุบันมีจำนวนศาสนิกชนมากที่สุดเป็นอันดับสาม.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและศาสนาคริสต์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

มเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 10 แห่งอาณาจักรอยุธยา มีพระนามเดิมว่า พระเชษฐา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพที่เมืองพิษณุโลกเมื่อปีมะโรง..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สุรัต

รัต เป็นเมืองพาณิชยกรรมสำคัญของรัฐคุชราต ประเทศอินเดีย เป็นศูนย์กลางการเจียระไนเพชรระดับโลก มีประชากรประมาณ 4 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัฐคุชราต รองจากเมืองอัห์มดาบาด เมืองนี้ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำตาปติ สุรัต เป็นเมืองท่าสำคัญมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิโมกุล เมืองนี้เป็นเมืองท่าทางทะเลและเมืองการค้าที่สำคัญตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ชาวโปรตุเกสได้เข้าทำลายในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และจักรพรรดิอักบาร์แห่งราชวงศ์มุคัลมีชัยชนะเหนือดินแดนนี้เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและสุรัต · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโมลุกกะ

หมู่เกาะโมลุกกะ (Moluccas) หรือ หมู่เกาะมาลูกู (Maluku Islands) เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย ทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกหมู่เกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่วนยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคู ข้าว และเครื่องเทศต่าง ๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดิมโดยเฉพาะบนเกาะบันดา แต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่ 17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 ถึงปี พ.ศ. 2542 มาลูกูเหนือและฮัลมาเฮรากลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น 2 จังหวัด คือ มาลูกู (Maluku) และมาลูกูเหนือ (North Maluku) ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและหมู่เกาะโมลุกกะ · ดูเพิ่มเติม »

อังตอนีอู กูแตรึช

อังตอนีอู มานูแอล ดือ ออลีไวรา กูแตรึช (António Manuel de Oliveira Guterres; เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2492) เป็นเลขาธิการสหประชาชาติ คนที่ 9 โดยได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและอังตอนีอู กูแตรึช · ดูเพิ่มเติม »

อังแดร โกมึช

อังแดร ฟือลีปือ ตาวารึช โกมึช (André Filipe Tavares Gomes; เกิดวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1993) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวโปรตุเกส ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลน.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและอังแดร โกมึช · ดูเพิ่มเติม »

อีวู ปิงตู

อีวู ดานีแอล ฟือไรรา เมงดงซา ปิงตู (Ivo Daniel Ferreira Mendonça Pinto) เกิดเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2533 เป็นนักฟุตบอลชาวโปรตุเกสซึ่งเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลดีนาโมซาเกร็บในตำแหน่งกองหลังตำแหน่งขวา เขามีชื่อในทีมชาติโปรตุเกส ซึ่งกำลังจะลงแข่งขันในนัดกระชับมิตรกับฝรั่งเศส และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 รอบคัดเลือก กับเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและอีวู ปิงตู · ดูเพิ่มเติม »

ฌูแอล กัชตรู ปือไรรา

ูแอล ดีนึช กัชตรู ปือไรรา (Joel Dinis Castro Pereira; เกิด 28 มิถุนายน 2539) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวสวิสเชื้อสายโปรตุเกส ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดในตำแหน่งผู้รักษาประตู.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและฌูแอล กัชตรู ปือไรรา · ดูเพิ่มเติม »

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

จิตตะกอง

ตตะกอง (จิตตะกอง, চট্টগ্রাম, Chôţţogram, Chittagong) เป็นเมืองศูนย์กลางการค้า อุตสาหกรรม และเมืองท่า ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศบังกลาเทศ เป็นเมืองหลวงของแคว้นชื่อเดียวกัน เป็นเมืองท่าทางทะเลที่คับคั่งที่สุดในบังกลาเทศ มีประชากรมากกว่า 5.5 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ จิตตะกองเป็นเมืองที่มีมรดกที่หลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งอิสลาม ฮินดู และพุทธ เป็นที่รู้จักของนักเดินเรือชาวโปรตุเกสเข้าครอบครองโดยสุลต่านเบงกอลใน..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและจิตตะกอง · ดูเพิ่มเติม »

จื๋อโกว๊กหงือ

ื๋อโกว๊กหงือ หรือ ตัวหนังสือของภาษาประจำชาติ (chữ Quốc ngữ) ใช้ในการเขียนภาษาเวียดนามอย่างเป็นทางการ จื๋อโกว๊กหงือเป็นอักษรละตินที่เพิ่มเติมเครื่องหมายต่าง ๆ เข้ามาเพื่อให้มีอักษรเพียงพอที่จะใช้เขียนภาษา อักษรดังกล่าวได้รับการคิดค้นขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด ซึ่งเป็นมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา โดยมีรากฐานมาจากระบบที่มิชชันนารีชาวโปรตุเกสคิดไว้ก่อนหน้านั้น ในระหว่างที่เวียดนามยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสนั้น จื๋อโกว๊กหงือได้เป็นอักษรราชการของอาณานิคม ซึ่งได้ทำให้อักษรดังกล่าวเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ จื๋อโกว๊กหงือในปัจจุบันมีรูปแบบการเขียนที่อ้างอิงการออกเสียงของภาษาถิ่นเวียดนามกลาง ซึ่งสระและพยัญชนะท้ายจะคล้ายคลึงกับภาษาถิ่นเหนือ ส่วนพยัญชนะต้นจะคล้ายกับภาษาถิ่นใต้ ก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ามายังเวียดนามนั้น ภาษาเวียดนามมีระบบการเขียนสองแบบ ทั้งสองแบบก็มีที่มาจากอักษรจีนเช่นเดียวกัน คือ.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและจื๋อโกว๊กหงือ · ดูเพิ่มเติม »

จีน่า เดอซูซ่า

ีน่า เดอซูซ่า (อังกฤษ: Gena Desouza) หรือชือเล่น จีน่า เป็นนักร้อง และนักแสดงหญิงชาวไทย ลูกครึ่งสัญชาติไทย-โปรตุเกส เป็นที่รู้จักจากการประกวดโครงการ "MBO THE AUDITION หน้าใหม่ พร้อมเกิด" ของค่ายMBO ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และมีซิงเกิลดี่ยวอย่างเป็นทางการในชื่อเพลง "จริงๆมันก็ดี".

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและจีน่า เดอซูซ่า · ดูเพิ่มเติม »

ธาเน

น (Thane) เป็นเมืองในรัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย เมืองมีพื้นที่ 147 ตร.กม.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและธาเน · ดูเพิ่มเติม »

ตูอาโมตัส

ตูอาโมตัส หรือ กลุ่มเกาะตูอาโมตู (Îles Tuamotu, หรือชื่อทางการคือ Archipel des Tuamotu) เป็นกลุ่มเกาะในดินแดนเฟรนช์โปลินีเซีย อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ส่วนใหญ่เป็นเกาะปะการังวงแหวน มีเกาะเล็ก ๆ รวมกันประมาณ 80 เกาะ เป็นแนวเกาะปะการังวงแหวนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ครอบคลุมพื้นที่ขนาดราวยุโรปตะวันตก เปโดร เฟร์นันเดส เด เกย์รอส นักเดินเรือชาวโปรตุเกสเดินเรือให้แก่กษัตริย์สเปนมาพบบางส่วนของกลุ่มเกาะนี้ใน..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและตูอาโมตัส · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซิลเวีย เฟรแร

ซิลเวีย อัลเบอร์กูแอกูว์ เฟรแร (Szilvia Albuquerque Freire; Freire Szilvia) เกิดวันที่ 23 กันยายน..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและซิลเวีย เฟรแร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาบูเวร์ดี

กาบูเวร์ดี (Cabo Verde) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐกาบูเวร์ดี (República de Cabo Verde) เป็นประเทศเกาะที่ตั้งอยู่บนกลุ่มเกาะภูเขาไฟประมาณ 10 เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง ห่างจากชายฝั่งทวีปแอฟริกาไปทางทิศตะวันตก 570 กิโลเมตร (350 ไมล์) ทุกเกาะมีเนื้อที่รวมกันประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร (1,500 ตารางไมล์) เกาะสามเกาะในจำนวนนี้ (ได้แก่ เกาะซัล, เกาะโบอาวิชตา และเกาะไมยู) มีลักษณะค่อนข้างราบ แห้ง และเต็มไปด้วยทราย ส่วนเกาะอื่น ๆ โดยทั่วไปจะมีภูมิประเทศที่ขรุขระและมีพืชพรรณขึ้นอยู่มากกว่า ก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ามานั้น บนหมู่เกาะกาบูเวร์ดีไม่มีผู้คนอาศัยอยู่จนกระทั่งนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบและเข้ายึดครองเป็นอาณานิคมในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการค้าทาสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก หมู่เกาะแห่งนี้จึงทวีความมั่งคั่งขึ้นเรื่อย ๆ และดึงดูดให้บรรดาโจรสลัดเข้ามาปล้นสะดมอยู่หลายครั้ง หนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่ ฟรานซิส เดรก โจรสลัดหลวงของราชินีอังกฤษซึ่งเข้าปล้นเมืองรีไบรากรังดือ (เมืองหลักของหมู่เกาะในขณะนั้น) ถึงสองครั้งในคริสต์ทศวรรษ 1580 นอกจากนี้เรือหลวงบีเกิล (ที่มีชาลส์ ดาร์วิน เดินทางไปด้วย) ก็เข้ามาจอดแวะที่กาบูเวร์ดีในปี ค.ศ. 1832 เช่นกัน การลดลงของการค้าทาสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ ประกอบกับทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีน้อยและการลงทุนอย่างยั่งยืนที่ไม่เพียงพอจากชาวโปรตุเกส ชาวหมู่เกาะจึงเริ่มรู้สึกไม่พอใจเจ้าอาณานิคมที่ยังคงปฏิเสธที่จะให้คนในท้องถิ่นมีอำนาจปกครองตนเองมากขึ้น อามิลการ์ กาบรัล นักเขียน นักคิด และนักชาตินิยมได้เป็นผู้นำการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชของกาบูเวร์ดี (และกินี-บิสเซา) จากโปรตุเกส แต่ก็ถูกลอบสังหารในวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1973 ลูอิช กาบรัล และอาริชตีดึช ปือไรรา จึงก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำขบวนการและดำเนินการแทนจนกระทั่งหมู่เกาะแห่งนี้ได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1975 ประชากรส่วนใหญ่ของกาบูเวร์ดีเป็นชาวครีโอลเลือดผสมระหว่างชาวโปรตุเกสกับชาวแอฟริกา กรุงไปรอาเมืองหลวงเป็นที่อาศัยของประชากรจำนวนเกือบหนึ่งในสี่ของประชากรทั้งประเทศที่มีอยู่ประมาณ 5 แสนคน จากสำมะโนประชากรในปี ค.ศ. 2013 พบว่า เกือบร้อยละ 35 ของประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ในพื้นที่ชนบท และอัตราการรู้หนังสืออยู่ที่ประมาณร้อยละ 85 (จำแนกเป็นร้อยละ 91 ของประชากรชายอายุ 15 ปีขึ้นไป และร้อยละ 83 ของประชากรหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป) ในทางการเมือง กาบูเวร์ดีเป็นประเทศที่มีระบอบประชาธิปไตยที่เสถียรมากประเทศหนึ่ง การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเติบโตทางเศรษฐกิจที่โดดเด่นของกาบูเวร์ดี (แม้ว่าจะขาดแคลนทรัพยากร) ก็เป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ โดยประเทศและองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ มักจะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอยู่เสมอ อนึ่ง กาบูเวร์ดีได้รับการจัดให้เป็นประเทศกำลังพัฒนาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา ห้วงเวลาที่เศรษฐกิจตกต่ำระหว่างทศวรรษหลัง ๆ ของการเป็นอาณานิคมจนถึงช่วงปีแรก ๆ ที่ได้รับเอกราชทำให้ชาวกาบูเวร์ดีจำนวนมากอพยพไปยังทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา และประเทศอื่น ๆ ในทวีปแอฟริกา ทุกวันนี้ประชากรที่อพยพออกไปอยู่นอกประเทศรวมทั้งลูกหลานมีจำนวนมากกว่าประชากรที่ยังอาศัยอยู่ในประเทศเสียอีก ในอดีต รายได้ที่ผู้ย้ายถิ่นออกส่งกลับมาให้ครอบครัวและญาติพี่น้องในกาบูเวร์ดีนับว่ามีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตาม ลูกหลานรุ่นหลัง ๆ มักไม่ค่อยส่งเงินกลับมาเท่าไรนัก และในปัจจุบัน เศรษฐกิจของกาบูเวร์ดีก็พึ่งพาภาคบริการเป็นหลักโดยเน้นการท่องเที่ยวและการลงทุนจากต่างชาติมากขึ้น ซึ่งมีข้อได้เปรียบจากภูมิอากาศที่อบอุ่นตลอดทั้งปี ภูมิทัศน์ที่หลากหลาย ความรุ่มรวยทางวัฒนธรรมโดยเฉพาะด้านดนตรี ชื่อประเทศกาบูเวร์ดีมีที่มาจากชื่อกัป-แวร์ คาบสมุทรเล็ก ๆ ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปไม่ไกลบนชายฝั่งของประเทศเซเนกัลในปัจจุบัน ในครั้งแรกแหลมนี้ได้รับการตั้งชื่อเป็นภาษาโปรตุเกสว่า "กาบูเวร์ดี" (cabo แปลว่า แหลม และ verde แปลว่า สีเขียว) เมื่อนักสำรวจชาวโปรตุเกสสังเกตเห็นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1444 ซึ่งเป็นเวลาไม่กี่ปีก่อนที่พวกเขาจะมาพบหมู่เกาะแห่งนี้ แต่เดิมหมู่เกาะและประเทศนี้มีชื่อเรียกเป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสว่า "เคปเวิร์ด" (Cape Verde) และ "กัป-แวร์" (Cap-Vert) ตามลำดับ จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและประเทศกาบูเวร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ปอร์โต-โนโว

ปอร์โต-โนโว (Porto-Novo) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบนิน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ เป็นเมืองท่าบริเวณปากอ่าวกินี มีพื้นที่ครอบคลุม 110 ตร.กม.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและปอร์โต-โนโว · ดูเพิ่มเติม »

นกอัลบาทรอส

นกอัลบาทรอส (Albatrosses) เป็นนกทะเลขนาดใหญ่ จัดอยู่ในวงศ์ Diomedeidae กระจายพันธุ์อยู่เป็นฝูงตามชายฝั่งทะเลและเกาะแก่งต่าง ๆ ในเขตร้อน และเขตอบอุ่นทั่วโลก (ดูในแผนที่) นกอัลบาทรอสจัดว่าเป็นนกที่บินได้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อกางปีกออก โดยอาจกว้างได้ถึง 3.5 เมตร ในกลุ่มนกอัลบาทรอสใหญ่ แม้แต่ขนาดเล็กที่สุดก็ยังกว้างได้ถึง 2 เมตร นกอัลบาทรอสจะบินอยู่ตลอดเวลา โดยสามารถบินได้ไกลถึงวันละ 15,000 กิโลเมตร เพียงเพื่อหาอาหารกลับมาเลี้ยงลูกเท่านั้น แต่เมื่อนกอัลบาทรอสอยู่บนพื้นดินแล้วกลับมีพฤติกรรมที่งุ่มง่าม เนื่องจากไม่ถนัดในการเดิน เพราะมีฝ่าตีนที่แผ่แบนเป็นพังผืดเหมือนตีนเป็ด นกอัลบาทรอสสามารถมีชีวิตอยู่ได้นานถึง 60 ปีแต่ขยายพันธุ์ช้ามากจนเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ภายในศตวรรษหน้า ภัยคุกคามสำคัญของมันคือการทำประมงเบ็ดราวในแต่ละปี มีนกอัลบาทรอสกว่า 100,000 ตัวที่ตายเพราะติดสายเบ็ดที่วางไว้เป็นล้านๆ เพื่อจับปลาทูน.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและนกอัลบาทรอส · ดูเพิ่มเติม »

นางาซากิ

มืองนางาซากิ เป็นเมืองเอกและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนางาซากิ บนเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุ่น นางาซากิถูกก่อตั้งขึ้นโดยชาวโปรตุเกสในปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งขณะนั้นเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆเพื่อการประมง ซึ่งทำให้นางาซากิกลายเป็นศูนย์กลางอิทธิพลของชาวโปรตุเกสและชาวยุโรป ตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 มีโบสถ์และศาสนสถานของศาสนาคริสต์มากมายในนางาซากิ ซึ่งศาสนสถานเหล่านี้ ได้ถูกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก นอกเหนือไปจากนี้ ท่าเรือในนางาซากิ ยังเคยเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง และ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น นามของเมืองว่า "นางาซากิ" (長崎) มีความหมายว่า "แหลมที่ทอดยาว" ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง 9 สิงหาคม..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและนางาซากิ · ดูเพิ่มเติม »

นานี

ลูอิช การ์ลุช อัลไมดา ดา กุญญา (Luís Carlos Almeida da Cunha) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ นานี เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986 เป็นนักฟุตบอลชาวโปรตุเกส เล่นในตำแหน่งปีกซ้ายให้กับเฟแนร์บาห์เช ในซือเปร์ลีก ของประเทศตุรกี และฟุตบอลทีมชาติโปรตุเก.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและนานี · ดูเพิ่มเติม »

นิกายในศาสนาคริสต์

นิกายในศาสนาคริสต์ (Christian denominations) คือการแบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination) ก็แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church) รายการข้างล่างนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและนิกายในศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส

แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส หรือ แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกส (Portuguese man-of-war, Portuguese Man o' War, Blue bubble, Floating terror) เป็นไซโฟโนฟอร์ชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมไนดาเรีย ในชั้นไฮโดรซัว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Physalia physalis แม้จะถูกเรียกว่าเป็นแมงกะพรุน แต่เป็นสัตว์คนละชั้นกับแมงกะพรุนแท้ทั่วไป.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและแมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์กาลหว่าร์

กาลหว่าร์ หรือ วัดแม่พระลูกประคำ (Holy Rosary Church) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ทรงกอทิก ตั้งอยู่ที่ซอยวานิช 2 แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โบสถ์แห่งนี้ไม่ใช่โบสถ์หลังแรก หากแต่เป็นโบสถ์หลังที่สาม ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อทดแทนโบสถ์หลังเดิมที่ถูกทิ้งร้างภายหลังเพลิงไหม้ใหญ่ในปี พ.ศ. 2407 โบสถ์ในปัจจุบันได้สร้างขึ้นโดยคุณพ่อแดซาลส์ ชาวฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2434 ปัจจุบันโบสถ์มีอายุรวมแล้ว ปี ถือเป็นโบสถ์ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โบสถ์ได้รับการบูรณะใหญ่ในปี พ.ศ. 2500 ในสมัยที่คุณพ่ออาแมสตอย เป็นอธิการโบสถ์ และถือเป็นการฉลองครบ 60 ปีของโบสถ์กาลหว่าร์อีกด้วย การบูรณะครั้งล่าสุดคือในช่วงปี พ.ศ. 2526 - 2532 โดยมีบาทหลวงประวิทย์ พงษ์วิรัชไชย เป็นอธิการโบสถ์ในขณะนั้น ปัจจุบัน โบสถ์กาลหว่าร์ได้ขึ้นทะเบียนอนุรักษ์เป็นโบราณสถานโดยกรมศิลปากรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โบสถ์แห่งนี้มีจุดเด่นที่สำคัญคือ รูปปั้น 2 รูปซึ่งเป็นสมบัติเก่าแก่ตั้งแต่การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ได้แก่ "รูปแม่พระลูกประคำ" และ "รูปพระศพของพระเยซูเจ้า" โดยทั้งหมดนี้ยังคงเก็บรักษาและใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาจนถึงปัจจุบันนี้ อธิการโบสถ์องค์ปัจจุบันคือ บาทหลวงไพทูรย์ หอมจิน.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและโบสถ์กาลหว่าร์ · ดูเพิ่มเติม »

โชเซ มูรีนโย

ูแซ มารีอู ดุช ซังตุช โมริญญู แฟลิกส์ (José Mário dos Santos Mourinho Félix) หรือ โชเซ มูรีนโย ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษในภาษาอังกฤษออกเสียง หรือ.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและโชเซ มูรีนโย · ดูเพิ่มเติม »

โยอัน ตาวารึช

อัน ตาวารึช (Yohan Tavares) เกิดเมื่อ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและโยอัน ตาวารึช · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

ซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ (Sir Thomas Stamford Bingley Raffles); (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2324 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2369) ผู้บริหารอาณานิคม ผู้ก่อตั้งเมืองสิงคโปร์ เกิดบนเรือที่ลอยทะเลนอกฝั่งพอร์ตมอแรนต์ จาเมกา แรฟเฟิลส์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการน้อยมากแต่ก็ได้เข้าทำงานเป็นสมียนของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากการศึกษาด้วยตนเอง แรฟเฟิลส์ ก็ได้รับตำแหน่งก้าวหน้าเป็นผู้ช่วยเลขานุการเมืองปีนังได้เลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็วจนถึงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการเขตอาณานิคมชวา (พ.ศ. 2354 - พ.ศ. 2359) และ ได้ปฏิรูประบบการบริหารใหม่โดยสิ้นเชิง เมื่อปี พ.ศ. 2359 แรฟเฟิลส์ต้องกลับบ้านที่อังกฤษเนื่องจากการป่วยไข้ และได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินชั้นเซอร์ เมื่อแรฟเฟิลส์หายป่วยและกลับมาดำรงตำแหน่งรองผู่ว่าราชการเขตอาณานิคม "เบิงกูลู" (พ.ศ. 2361 - พ.ศ. 2366) ก็ได้จัดตั้งนิคมขึ้นที่เกาะสิงคโปร์อีก แรฟเฟิลส์จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีบทบาทมากที่สุดผู้หนึ่งในการพัฒนาจักรวรรดิอังกฤษในตะวันออกไกล.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โดโด

(dodo) เป็นนกท้องถิ่นที่พบได้เฉพาะบนหมู่เกาะมอริเชียสในมหาสมุทรอินเดีย เป็นนกที่บินไม่ได้อยู่ในตระกูลเดียวกับนกพิราบ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Raphus cucullatus ในปี พ.ศ. 2048 ชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปพวกแรกที่พบ และเพียงประมาณปี พ.ศ. 2224 มันก็สูญพันธุ์อย่างรวดเร็วโดยมนุษย์ รวมถึงสุนัขล่าเนื้อ หมู หนู ลิง ที่ถูกนำเข้าโดยชาวยุโรป โดโดไม่ใช่นกเพียงชนิดเดียวในมอริเชียสที่สูญพันธุ์ในศตวรรษนี้ จากนกกว่า 45 ชนิดที่พบบนเกาะ มีเพียง 21 ชนิดเท่านั้นที่เหลือรอด นกสองชนิดซึ่งเป็นญาติใกล้ชิดกับโดโดก็สูญพันธุ์ไปเช่นกัน คือ Reunion solitaire (Raphus solitarius) ประมาณปี พ.ศ. 2289 และ Rodrigues solitaire (Pezophaps solitaria) ประมาณปี พ.ศ. 2333 เมื่อทศวรรษ พ.ศ. 2533 วิลเลียม จ. กิบบอนส์ นำคณะสำรวจขึ้นค้นหาบนเขาบนเกาะมอริเชียส แต่ก็ไม่มีใครค้นพบ จึงประกาศการสูญพันธุ์อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและโดโด · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมโบ

อาคารรัฐสภาหลังเก่า ด้านหลังเป็นอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์และธนาคารแห่งซีลอน ตั้งอยู่ในย่านท่าเรือ หันหน้าสู่มหาสมุทรอินเดีย แผนที่กรุงโคลัมโบ โคลัมโบ (Colombo; කොළඹ; கொழும்பு) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงทางการค้าของประเทศศรีลังกา (เมืองหลวงอย่างเป็นทางการของศรีลังกาคือศรีชยวรรธนปุระโกฏเฏ) มีประชากร 642,163 คน (พื้นที่มหานคร: 2,234,289 คน ณ พ.ศ. 2544) มีพิกัดภูมิศาสตร์ตั้งอยู่ที่ 6°54' เหนือ 79°50' ตะวันออก เชื่อกันว่าชื่อโคลัมโบมาจากชื่อภาษาสิงหลเดิมว่า โกโลนโตฏะ (Kolon thota) ซึ่งแปลว่า "ท่าเรือริมแม่น้ำแกฬณิ" หรือไม่ก็ โกละ-อัมพะ-โตฏะ (Kola-amba-thota) แปลว่า "ท่าเรือที่มีต้นมะม่วง" อิบน์ บะฏูเฏาะฮ์ นักสำรวจชาวโมร็อกโกได้เรียกว่า กะลันปุ (Kalanpu) ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และต่อมาชาวโปรตุเกสได้เรียกว่า โกลงบู (Colombo).

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและโคลัมโบ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยโยเดีย

วโยดายา หรือ ชาวอยุธยาในพม่า (โยดายา หลุ มฺโย) เป็นคำที่เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นเป็นชาวไทยสยามจากอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอพยพเข้ามาประเทศพม่า มีทั้งอพยพไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารกษัตริย์พม่าโดยสมัครใจ บ้างก็เป็นเชลยซึ่งถูกกวาดต้อนเมื่อเกิดสงคราม เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ ชาวอยุธยาในพม่าค่อย ๆ ผสมปนเปไปกับสังคมพม่า บ้างก็โยกย้ายจากถิ่นฐานเดิม พวกเขาเลิกพูดภาษาไทยและหันไปพูดภาษาพม่า จนกระทั่งทิน มอง จี นักวิชาการชาวพม่าผู้มีเชื้อสายโยดายาเขียนบทความสั้นชื่อ "สุสานกษัตริย์ไทย" (A Thai King’s Tomb) ก่อนปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและไทยโยเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เบเลง

ลง (Belém) เป็นเมืองปากแม่น้ำแอมะซอน บนฝั่งแม่น้ำปารา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศบราซิล ในรัฐปารา เป็นศูนย์กลางกระจายสินค้า ท่ารถประจำทาง สนามบิน อยู่ห่างจากมหาสมุทรแอตแลนติกราว 100 กิโลเมตร เมืองก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเบเลง · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฟายาล

เกาะฟายาล (Faial Island) เป็นเกาะของประเทศโปรตุเกส ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก มีเมืองสำคัญได้แก่ ออร์ตา เกาะนี้ชาวเฟลมิชเริ่มเข้าไปตั้งถิ่นฐานในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:เกาะในประเทศโปรตุเกส หมวดหมู่:ภูเขาไฟในประเทศโปรตุเกส.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเกาะฟายาล · ดูเพิ่มเติม »

เกาะอัมบน

กาะอัมบน (Pulau Ambon) เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะโมลุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย เกาะมีพื้นที่ 775 ตร.กม.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเกาะอัมบน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเตอร์นาเต

ตอร์นาเต (Ternate) เป็นเกาะในหมู่เกาะโมลุกกะ ทางตะวันออกของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่นอกฝั่งตะวันตกของเกาะที่ใหญ่กว่า คือ เกาะฮัลมาเฮรา เช่นเดียวกันเกาะบริเวณใกล้เคียง เกาะมีภูเขาไฟรูปกรวย เกาะแห่งนี้เคยเป็นเกาะที่ผลิตกานพลูแห่งเดียวของโลก ทำให้สุลต่านกลายเป็นคนที่ร่ำรวยที่สุดและมีอิทธิพลมากที่สุดในอินโดนีเซีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 กลายเป็นรัฐสุลต่าน ชาวโปรตุเกสเข้ามาตั้งถิ่นฐานใน..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเกาะเตอร์นาเต · ดูเพิ่มเติม »

เวลา

ำหรับนวนิยายซีไรต์ดูที่ เวลา (นวนิยาย) นาฬิกาพก เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเวลา เวลา ในมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นองค์ประกอบพื้นฐานหนึ่งของจักรวาล ให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ดำเนินอยู่ในนั้น ซึ่งเป็นแนวคิดของไอแซก นิวตัน อีกมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นสิ่งสมมุติเช่นเดียวกับพื้นที่ (สเปซ) และตัวเลข มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นลำดับ แต่ไม่ได้หมายความว่าเวลากับเหตุการณ์เหล่านั้นจะรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งเป็นแนวคิดของอิมมานูเอล คานต์ และกอตฟรีด ไลบ์นิซ บางที มุมมองทั้งสองเกี่ยวกับเวลาก็ยังน่าสับสนอยู่ จึงมีการนิยามโดยการปฏิบัติ ความหมายของการดำเนินงาน หรือ(operational definition) ซึ่งมักใช้การเคลื่อนที่หรือการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นคาบของวัตถุเป็นตัววัดเวลา เช่น ดิถี (ข้างขึ้นข้างแรม) ของดวงจันทร์ การแกว่งของลูกตุ้ม การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เวลา เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศิลปศาสตร์ แต่ละสาขาก็มีมุมมองต่าง ๆ กันไป เช่น ในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจมองว่า "เวลาเป็นเงินทอง" ("Time is money.") เป็นต้น.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลนา กอสตา

ลนา มาการิดา ดอส ซานโตส เอ กอสตา (Helena Margarida dos Santos e Costa) เกิดวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1978 ที่อัลฮันดรา เป็นผู้จัดการฟุตบอลชาวโปรตุเกส ปัจจุบันเธอเป็นผู้จัดการของฟุตบอลหญิงทีมชาติอิหร่าน ซึ่งเป็นอดีตผู้ช่วยผู้ฝึกสอนทีมเอสยู 1º ดีเซมโบร และเธอยังเป็นผู้จัดการของฟุตบอลหญิงทีมชาติกาตาร.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเฮเลนา กอสตา · ดูเพิ่มเติม »

เซซินันโด

ซซินันโด โอเดลฟริเดส โกเมซ คอร์เรอา (Zezinando Odelfuides Gomes Correia; 1 มกราคม ค.ศ. 1987 —) หรือที่รู้จักในชื่อ เซซินันโด (Zezinando) เป็นนักฟุตบอลชาวโปรตุเกส ผู้ซึ่งเล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ในไทยลีกดิวิชั่น 1 ในตำแหน่งกองกลางตัวรั.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเซซินันโด · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์คิตส์

กาะเซนต์คิตส์ (Saint Kitts) หรือ เกาะเซนต์คริสโตเฟอร์ (Saint Christopher Island) เป็นเกาะในเวสต์อินดีส์ ของประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส ฝั่งตะวันตกของเกาะติดกับทะเลแคริบเบียน ส่วนชายฝั่งตะวันออกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะลีเวิร์ด ในเลสเซอร์แอนทิลลีส ตั้งอยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ราว 2,100 กม.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเซนต์คิตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เปาลู ฟือไรรา

ปาลู รือนาตู รือโบชู ฟือไรรา (Paulo Renato Rebocho Ferreira) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพชาวโปรตุเกส เกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1979 ที่เมืองกัชไกช์ (Cascais) ประเทศโปรตุเกส ฟือไรราเคยเป็นนักฟุตบอลในทีมชาติโปรตุเกส ตำแหน่งแบ็กขวา แต่ในบางครั้งก็เล่นแบ็กซ้ายและกองหลังกลาง เขาย้ายจากโปร์ตูมาร่วมทีมเชลซีใน..

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเปาลู ฟือไรรา · ดูเพิ่มเติม »

เปาลู มาชาดู

เปาลู รีการ์ดู รีไบรู ดึ ฌึซุช มาชาดู (Paulo Ricardo Ribeiro de Jesus Machado) เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักฟุตบอลชาวโปรตุเกสซึ่งเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลดีนาโมซาเกร็บและฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกสในตำแหน่งกองกลาง หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวโปรตุเกส หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกส หมวดหมู่:กองกลางฟุตบอล หมวดหมู่:ผู้เล่นในปรีไมราลีกา หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลโปร์ตู หมวดหมู่:ผู้เล่นในลีกเอิง หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลแซ็งเตเตียน หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลตูลูซ หมวดหมู่:ผู้เล่นในซูเปอร์ลีกกรีซ หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลโอลิมเปียกอส หมวดหมู่:ผู้เล่นในเพอร์วา ฮาเอนเอล หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลดีนาโมซาเกร็บ.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและเปาลู มาชาดู · ดูเพิ่มเติม »

18 สิงหาคม

วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชาวโปรตุเกสและ18 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Portuguese people

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »