เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ชาวดุงกาน

ดัชนี ชาวดุงกาน

งกาน (Дунгане) เป็นคำที่ใช้กันในแถบกลุ่มประเทศอดีตสหภาพโซเวียตที่สื่อความหมายถึงกลุ่มอิสลามิกชนที่มีเชื้อสายจีน หรืออาจใช้ความหมายครอบคลุมไปยังประชาชนที่จัดอยู่กลุ่มภาษาเตอร์กิกแถบเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ในปัจจุบันด้วย อย่างไรก็ตามชาวดุงกานทั้งในจีนและอดีตสหภาพโซเวียตจะเรียกตนเองว่า หุย มีการสำรวจจำนวนประชากรในแถบอดีตสหภาพโซเวียตพบว่ามีชาวดุงกานตั้งถิ่นฐานในประเทศคาซัคสถาน ประมาณ 36,900 คน ในปี ค.ศ.

สารบัญ

  1. 2 ความสัมพันธ์: อักษรเสี่ยวเอ้อร์จังหวัดชึย

อักษรเสี่ยวเอ้อร์

นานุกรมภาษาจีน-ภาษาอาหรับ-เสี่ยวเอ้อร์ในช่วงแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน อักษรเสี่ยวเอ้อร์ หรือ เสี่ยวเอ้อร์จิง (Xiao'erjing or Xiao'erjin or Xiaor jin หรืออย่างย่อว่า Xiaojing), แปลตรงตัวคือการเขียนของเด็ก หรือการเขียนส่วนน้อย โดยการเขียนดั้งเดิมจะหมายถึงอักษรอาหรับต้นแบบ เป็นรูปแบบการเขียนภาษาจีนด้วยอักษรอาหรับ อักษรนี้ใช้เป็นบางโอกาสในกลุ่มของชนกลุ่มน้อยในจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม (ส่วนใหญ่เป็นชาวหุย แต่ก็มีชาวต้งเซี่ยง และชาวซาลาร์) และเคยใช้ในลูกหลานของชาวดันกันในเอเชียกลาง สหภาพโซเวียต ได้บังคับให้ชาวดันกันใช้อักษรละตินแทนที่อักษรเสี่ยวเอ้อร์ และต่อมาเปลี่ยนเป็นอักษรซีริลลิกในปัจจุบัน.

ดู ชาวดุงกานและอักษรเสี่ยวเอ้อร์

จังหวัดชึย

ึย (Чүй) หรือ ชู (Чу) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศคีร์กีซสถาน มีเนื้อที่ทั้งหมด 20,200 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรทั้งหมด 790,438 คน โดยมีศูนย์กลางการบริหารคือบิชเคก.

ดู ชาวดุงกานและจังหวัดชึย