โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวญวน

ดัชนี ชาวญวน

วญวน หรือ เวียดนาม เรียกตนเองว่า เหวียต หรือ เหยียก (người Việt) หรือ กิญ (người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกวแกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 242-243) เป็นประชากรหลักของประเทศเวียดนาม และกระจายตัวอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน เรียกว่า จิง จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลูยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีตัวแสดงเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากจีนและไทย ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 ได้มีการศึกษายีน Human Leukocyte Antigen ที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลมักคายในกรุงไทเป ได้จำแนกชาวเวียดนามไว้ในกลุ่มพันธุกรรมเดียวกับม้ง, ฮั่นตอนใต้, ปู้อี และไทย พร้อมกับครอบครัวที่หลากหลายอันประกอบด้วยไทยเชื้อสายจีน, สิงคโปร์เชื้อสายจีน, ชนหมิ่นหนาน (ฮกโล้) และจีนแ.

121 ความสัมพันธ์: พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาพรรคประชาธิปไตยเขมรพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชากัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศสกูดมอร์นิงเวียดนามก่าเมาฝั่ม วัน เตี๊ยนฝั่ม หมั่ญ หุ่งมิญ หั่งมิสไซง่อนราชวงศ์ห่งบ่างรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)ลืว เกวิ่นลูกบาศก์ของรูบิกวัดคอนเซ็ปชัญวันรวมชาติ (เวียดนาม)ศาสนาพุทธกับจิตวิทยาศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศเซเนกัลศาสนาในประเทศลาวสมาคมสร้างคุณค่าหวอ จี๊ กงอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมลอาหารเวียดนามอำเภอเกิ่นเส่ออ๊าวส่ายฮวาง งีฮหวิ่ญ อัญฮหว่าง กวี๊ เฟื้อกจอห์นนี่ เหงียนจังหวัดบักเลียวจังหวัดบั๊กกั่นจังหวัดบั๊กซางจังหวัดบั๊กนิญจังหวัดบิ่ญถ่วนจังหวัดบิ่ญดิ่ญจังหวัดบิ่ญเฟื้อกจังหวัดบิ่ญเซืองจังหวัดฟู้เอียนจังหวัดฟู้เถาะจังหวัดกว๋างหงายจังหวัดกว๋างจิจังหวัดกว๋างนามจังหวัดกว๋างนิญจังหวัดกอนตูมจังหวัดกาวบั่งจังหวัดก่าเมาจังหวัดลายเจิว...จังหวัดล็องอานจังหวัดหลั่งเซินจังหวัดหล่าวกายจังหวัดหวิญฟุกจังหวัดหวิญล็องจังหวัดหายเซืองจังหวัดห่าติ๋ญจังหวัดห่าซางจังหวัดห่านามจังหวัดอานซางจังหวัดฮหว่าบิ่ญจังหวัดฮึงเอียนจังหวัดจ่าวิญจังหวัดทัญฮว้าจังหวัดท้ายบิ่ญจังหวัดท้ายเงวียนจังหวัดดั๊กลักจังหวัดดั๊กนงจังหวัดด่งนายจังหวัดคั้ญฮหว่าจังหวัดซาลายจังหวัดซ้อกจังจังหวัดนามดิ่ญจังหวัดนิญบิ่ญจังหวัดนิญถ่วนจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดไพรแวงจังหวัดเบ๊นแจจังหวัดเลิมด่งจังหวัดเหิ่วซางจังหวัดเอียนบ๊ายจังหวัดเตวียนกวางจังหวัดเตี่ยนซางจังหวัดเต็ยนิญจังหวัดเซินลาจิงถนนสามเสนทิก เญิ้ต หั่ญท่าเตียนขบวนการเกิ่นเวืองคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทยตรุษญวนตังเกี๋ยประชากรศาสตร์กัมพูชาประเทศกัมพูชาประเทศเวียดนามนู เฟื้อก ถิ่ญแย้กะเทยแขวงจำปาศักดิ์โง ถั่ญ เลียมโง เตี๊ยน ดว่านโตน เทิ้ต หายไฮฟองเพื่อนรักเพื่อนแค้นเมืองพวนเล วัน เฟื้อกเวียดนาม (แก้ความกำกวม)เหงียน วัน หุ่งเหงียน ดึ๊ก เหี่ยนเหงียน เถ หลกเหงียน เตี๊ยน เหญิ่ตเอลลี่ เจิ่นเจิว เฟื้อก หวิญเจิ่น วัน ซวนเจิ่น เล โกว๊ก ตว่านเจิ่น เฮี้ยว เงินเจ้าจอมบุญนาก ในรัชกาลที่ 1เขมรแดงเขต 5 (นครโฮจิมินห์)เติ้ง ลี่จวินเปล็ยกู ขยายดัชนี (71 มากกว่า) »

พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (Communist Party of Kampuchea; គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា; CPK) หรือพรรคคอมมิวนิสต์เขมร (Khmer Communist Party), เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน..

ใหม่!!: ชาวญวนและพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยเขมร

รรคประชาธิปไตยเขมร (Khmer Democratic Party: KDP; គណបក្សប្រជាធិបតេយ្យខ្មែរ คณบกฺสบฺรชาธิบเตยฺยขฺแมร) เป็นพรรคการเมืองในกัมพูชา เป็นพรรคที่มีจุดยืนต่อต้านการเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมายของชาวเวียดนามที่เข้ามาทำงานในกัมพูชา ผู้นำพรรคคือ อุก พัวริก กล่าวว่าพรรคของเขาไม่ได้ต่อต้านการเข้ามาของคนต่างด้าว แต่คนต่างด้าวทั้งหมดที่เข้ามาในกัมพูชาต้องได้รับการพิจารณาเป็นกรณีๆไป พรรคนี้สนับสนุนสิทธิมนุษยชน สิทธิของเด็กและสตรี และสนับสนุนเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม และการสหกรณ์ รวมทั้งความเท่าเทียมกันของชาวกัมพูชา ในการเลือกตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ชาวญวนและพรรคประชาธิปไตยเขมร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2

ูรยวรรมันที่ 2 เอกสารไทยบางทีว่า สุริยวรมันที่ 2 (សូរ្យវរ្ម័នទី២ สูรฺยวรฺมันที ๒; Suryavarman II) สิ้นพระชนม์แล้วได้พระนามว่า บรมวิษณุโลก (បរមវិឝ្ណុលោក บรมวิศฺณุโลก) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมร เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ชาวญวนและพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา

แผนที่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในกัมพูชา (พ.ศ. 2515) กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกัมพูชาคือชาวเขมร สำหรับชนกลุ่มน้อยที่มีมากที่สุดคือชาวเวียดนาม อีกจำนวนหนึ่งเป็นลูกหลานของพ่อค้าชาวจีน และกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองเช่นชาวม้ง พนองและไทรวมทั้งกลุ่มอื่นๆที่เรียกชาวเขมรบนหรือแขมร์เลอ.

ใหม่!!: ชาวญวนและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส

กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส (French protectorate of Cambodia; ប្រទេសកម្ពុជាក្រោមអាណាព្យាបាលបារាំង; Protectorat français du Cambodge) เป็นระยะเวลาช่วงที่กัมพูชาเข้าเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสก่อนจะถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพอินโดจีนที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส จนกระทั่งกลายเป็นดินแดนที่ถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง จากนั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพฝรั่งเศส และต่อสู้จนได้รับเอกราชในที.

ใหม่!!: ชาวญวนและกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

กูดมอร์นิงเวียดนาม

กูดมอร์นิงเวียดนาม เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและกูดมอร์นิงเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ก่าเมา

ก่าเมา เป็นเมืองทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม และเป็นเมืองหลักของจังหวัดก่าเมา ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงซึ่งเป็นภูมิภาคใต้สุดของประเทศ เป็นบ้านเกิดของนายกรัฐมนตรีเวียดนาม Nguyen Tan Dung ตัวเมืองนี้มีคลองหลายสาย จึงมีการขนส่งทางน้ำเป็นหลัก ประชากรมีประมาณ 204,895 คน (ค.ศ. 2010)Nghị quyết số 24/NQ-CP ngày 04 tháng 6 năm 2009 của Chính phủ Việt Nam.

ใหม่!!: ชาวญวนและก่าเมา · ดูเพิ่มเติม »

ฝั่ม วัน เตี๊ยน

ฝั่ม วัน เตี๊ยน (Phạm Văn Tiến; 30 เมษายน ค.ศ. 1993 —) เป็นนักกีฬาฟุตบอลชาวเวียดนาม เขาได้เข้าแข่งขันวี-ลีกให้แก่สังกัดสโมสรฟุตบอลฮหว่างอัญซาล.

ใหม่!!: ชาวญวนและฝั่ม วัน เตี๊ยน · ดูเพิ่มเติม »

ฝั่ม หมั่ญ หุ่ง

ฝั่ม หมั่ญ หุ่ง (Phạm Mạnh Hùng; 3 มีนาคม ค.ศ. 1993 —) เป็นนักฟุตบอลชาวเวียดนาม เขาได้เข้าแข่งขันวี-ลีกให้แก่สังกัดสโมสรฟุตบอลซงลามเหงะอาน.

ใหม่!!: ชาวญวนและฝั่ม หมั่ญ หุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

มิญ หั่ง

มิญ หั่ง ขณะเซ็นสัญญากับ ''ไซเบอร์เวิลด์'' มิญ หั่ง (Minh Hằng) มีชื่อจริงว่า เล หง็อก มิญ หั่ง (Lê Ngọc Minh Hằng) เกิดวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1987 ที่นครโฮจิมินห์ เป็นทั้งนักร้องและนักแสดงหญิงชาวเวียดนาม เธอเข้าสู่วงการศิลปะการแสดงตั้งแต่อายุ 16 ปีในฐานะนักร้องกลุ่ม รวมถึงได้แสดงละครโทรทัศน์หลายครั้ง แต่ล้มเหลวในการสร้างความประทับใจอยู่บ่อยครั้ง แต่แล้วในค.ศ. 2007 ภายหลังจากการประสบความสำเร็จในภาพยนตร์เรื่องก่อยซักมูฟวี่ ชื่อของมิญ หั่ง ก็เป็นที่สนใจและเป็นที่โปรดปรานของผู้ชมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภายหลังจากที่ประสบความสำเร็จทางดนตรีและภาพยนตร์อย่างต่อเนื่องแล้ว เธอก็เป็นหนึ่งในผู้ที่มีแนวโน้มที่จะเป็นผู้ที่รู้จักในวงการบันเทิงมากที่สุดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่ง ใน ค.ศ. 2009 และ ค.ศ. 2011 มิญ หั่ง ได้รับรางวัลเอชทีวีอะวอร์ด ในสาขานักแสดงหญิงที่ได้รับความนิยมแห่งปี เธอได้เปิดตัวอัลบั้มเพลง นอกจากนี้ยังเป็นนางแบบให้กับผลิตภัณฑ์อาหารฮานโกฟู้ด, คาสิโอ และบริษัทที่ไซเบอร์เวิลด์ซึ่งเป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญด้านอิเล็กทรอนิกส์เกม ค.ศ. 2011 เธอได้แยกตัวออกจากบริษัทเทียนทิ แล้วกลายมาเป็นศิลปินอิสร.

ใหม่!!: ชาวญวนและมิญ หั่ง · ดูเพิ่มเติม »

มิสไซง่อน

มิสไซง่อน (Miss Saigon) เป็นละครเพลง ซึ่งประพันธ์ดนตรีโดยคลอดด์-มิเชล โชนเบิร์ก (Claude-Michel Schönberg) คำร้องโดยอัลเลง บูบลิล (Alain Boublil) และริชาร์ด มอลต์บี จูเนียร์ (Richard Maltby, Jr.) โดยนำเค้าโครงเรื่องมาจากอุปรากรของจาโกโม ปุชชีนี (Giacomo Puccini) เรื่องมาดามบัตเตอร์ฟลาย (Madame Butterfly) ซึ่งทั้ง "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" และ "มิสไซง่อน" ได้ถ่ายทอดเรื่องราวโศกนาฏกรรมความรักของหญิงชาวเอเชียที่ถูกชายชาวอเมริกันทอดทิ้ง ในขณะที่เนื้อเรื่องเดิมของ "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" เป็นเรื่องราวความรักของหญิงสาวเกอิชาชาวญี่ปุ่นและนายทหารเรือชาวอเมริกันในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1900 ซึ่งเป็นช่วงที่ญี่ปุ่นเพิ่งเริ่มเปิดประเทศ "มิสไซง่อน" เป็นเรื่องราวความรักของหญิงสาวชาวเวียดนามที่ทำงานในสถานบริการ และนายทหารชาวอเมริกันที่เข้าไปประจำการในเมืองไซง่อน (ปัจจุบันคือ นครโฮจิมินห์) ประเทศเวียดนาม ระหว่างสงครามเวียดนาม ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มิสไซง่อนรอบปฐมทัศน์แสดงที่โรงละครเธียร์เตอร์รอยัล ถนนดรูรี่ (Theatre Royal, Drury Lane) กรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1989 และแสดงรอบสุดท้ายเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1999 รวมทั้งหมด 4,264 รอบ แต่ยังเปิดการแสดงที่โรงละครบรอดเวย์ (The Broadway Theatre) สหรัฐอเมริกา เมื่อค.ศ. 1991 และเปิดการแสดงตามเมืองใหญ่ ๆ ทั่วโลก มิสไซง่อนได้กลับมาเปิดทำการแสดงอีกครั้งในเดือนพฤษภาคม ณ โรงละครปรินส์เอ็ดวาร์ด กรุงลอนดอน และได้สร้างสถิติใหม่เป็นละครที่สร้างรายได้มากที่สุดจากการเปิดจำหน่ายบัตรในวันแรก โดยทำรายได้ไปมากกว่าสี่ล้านปอนด์หรือกว่าหนึ่งร้อยเก้าสิบล้านบาทภายในวันเดียว มิสไซง่อน ถือเป็นละครเพลงของโชนเบิร์กและบูบลิลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดเป็นอันดับสอง รองจากเลมีเซราบล์ (Les Misérables) ที่เป็นการแสดงในค.ศ. 1980 มิสไซง่อนยังถือเป็นละครบรอดเวย์ที่ดำเนินการแสดงเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดเป็นอันดับ 10 ในประวัติศาสตร์ของละครเพลง.

ใหม่!!: ชาวญวนและมิสไซง่อน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ห่งบ่าง

ราชวงศ์ห่งบ่าง (thời kỳ Hồng Bàng, 鴻厖) เป็นราชวงศ์แรกในประวัติศาสตร์เวียดนาม ที่ปกครองในช่วง 2,879–258 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นช่วงเวลาในประวัติศาสตร์เวียดนามซึ่งประกอบไปด้วยสหภาพทางการเมืองในช่วง 2,879 ก่อนคริสต์ศักราชของชนเผ่าหลายแห่งในภาคเหนือของบริเวณหุบเขาแม่น้ำแดง และได้ถูกปกครองโดยอาน เซือง เวือง ในปี 258 ก่อนคริสต์ศักราช พงศาวดารเวียดนามตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 กล่าวคือ ดั่ยเหวียตสือกี๊ตว่านทือ (大越史記全書, Đại Việt sử ký toàn thư) อ้างว่าช่วงเวลาของยุคราชวงศ์ห่งบ่างเริ่มต้นด้วยกิญ เซือง เวือง ในฐานะ กษัตริย์หุ่ง (𤤰雄, Hùng Vương) องค์แรก ชื่อตำแหน่งได้ถูกใช้ในการอภิปรายสมัยใหม่หลายครั้งเกี่ยวกับผู้ปกครองชาวเวียดนามโบราณในยุคนี้ กษัตริย์หุ่งเป็นตำแหน่งผู้ปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของประเทศ (ซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักในชื่อซิกกวี๋และวันลางในเวลาต่อมา) และอย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี ในยุคสมัยนี้ได้มีการควบคุมการใช้ที่ดินและทรัพยากรอย่างเป็นระบบขึ้นอย่างสมบูรณ์ แต่อย่างไรก็ตามบันทึกประวัติศาสตร์ของกษัตริย์ดังกล่าวใน 3 พันปีก่อนคริสต์ศักราชก็ยังถือว่าขาดแคลนอยู่มาก ประวัติของยุคห่งบ่างเกิดขึ้นในช่วงของราชวงศ์ที่แบ่งเป็น 18 ราชวงศ์ของกษัตริย์หุ่ง ในยุคกษัตริย์หุ่งได้รับความเจริญรุ่งเรืองพร้อมกับอารยธรรมการปลูกนาข้าวในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงในช่วงยุคสำริด ในช่วงปลายของยุคห่งบ่างได้เกิดสงครามจำนวนมาก.

ใหม่!!: ชาวญวนและราชวงศ์ห่งบ่าง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ใหม่!!: ชาวญวนและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: ชาวญวนและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ลืว เกวิ่น

ลืว เกวิ่น (Lưu Quần) เป็นนักจักรยานชาวเวียดนาม เขาเข้าแข่งขันในรายการจักรยานทางไกลบุคคลชาย และประเภททีม ในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952.

ใหม่!!: ชาวญวนและลืว เกวิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ลูกบาศก์ของรูบิก

แบบสุ่ม สภาพหลังแก้ปัญหาสำเร็จ ลูกบาศก์ของรูบิก (Rubik's Cube) หรือที่เรียกกันว่า ลูกรูบิก เป็นของรูบิคับสมอง ประดิษฐ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1974 โดยแอร์เนอ รูบิก (Ernő Rubik) ซึ่งเป็นศาสตราจารย์และสถาปนิกชาวฮังการี โดยทั่วไป ตัวลูกบาศก์นั้นทำจากพลาสติก แบ่งเป็นชิ้นย่อย ๆ 26 ชิ้น ประกอบกันเป็นรูปลูกบาศก์ที่สามารถบิดหมุนไปรอบ ๆ ได้ ส่วนที่มองเห็นได้ของแต่ละด้าน จะประกอบด้วย 9 ส่วนย่อย ซึ่งมีสีทั้งหมด 6 สี ส่วนประกอบที่หมุนไปมาได้นี้ทำให้ การจัดเรียงสีของส่วนต่าง ๆ สลับกันได้หลายรูปแบบ จุดประสงค์ของเกมคือ การจัดเรียงให้แถบสีทั้ง 9 ที่อยู่ในด้านเดียวกันของลูกบาศก์ (ซึ่งมีทั้งหมด 6 ด้าน) มีสีเดียวกัน ลูกบาศก์ของรูบิกได้รับความนิยมสูงสุดในช่วงต้นของทศวรรษ 1980 และได้กลายเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมสมัยนิยมของยุคนั้น ลูกบาศก์ของรูบิกนั้นถือได้ว่าเป็นเป็นของเล่นที่ขายได้มากที่สุดในโลก โดยมีจำนวนยอดขายรวมทั้งของแท้และของเลียนแบบมากกว่า 300,000,000 ชิ้นทั่วโลก.

ใหม่!!: ชาวญวนและลูกบาศก์ของรูบิก · ดูเพิ่มเติม »

วัดคอนเซ็ปชัญ

วัดคอนเซ็ปชัญ หรืออ่านออกเสียงว่า วัดคอนเซ็ปชั่น (Conception Church) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ในซอยสามเสน 11 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร วัดคอนเซ็ปชัญประกอบด้วย ตัวอาคารหลังเดิม ซึ่งเป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ทรงหลังคาจั่วแบบไทย เป็นอาคารที่เก่าแก่ที่สุดคาดว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่ช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ และส่วนของตัวโบสถ์คอนเซ็ปชัญซึ่งสร้างขึ้นโดยบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว ชาวฝรั่งเศส ที่ได้เดินทางมาเป็นเจ้าอาวาส โดยได้ทำการเสกในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2380 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) นอกจากนี้ในบริเวณที่ตั้งของวัด ยังมีวัดนักบุญฟรังซีสเซเวียร์ ซึ่งตั้งอยู่ข้างกับวัดอีกด้วย ปัจจุบันตัวโบสถ์นี้มีอายุรวมแล้ว ปี ทำให้เป็นหนึ่งในโบสถ์คาทอลิกที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย วัดคอนเซ็ปชัญ มีประวัติมาตั้งแต่ครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งพระองค์ได้ทรงพระราชทานที่ดินให้กับชาวโปรตุเกสที่ร่วมรับราชการทำสงครามให้กับพระองค์ ในราวปี พ.ศ. 2217 ต่อมาในปี พ.ศ. 2325 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดให้ชาวเขมร 500 คน ที่หลบหนีลี้ภัยมาจากเขมร มาอยู่รวมกับชาวโปรตุเกสในหมู่บ้านนี้เท่านั้น และตังแต่นั้นมาก็มีการเรียกหมู่บ้านนี้ว่า "บ้านเขมร" จนในเวลาต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานที่กับชาวญวน เข้ามารวมกับที่อยู่เดิมของชาวเขมร ทำให้ชาวญวนในเวลาต่อมาก็ได้เข้ารีตนิกายคริสต์กันเป็นส่วนใหญ่ ตัวโบสถ์คอนเซ็ปชัญ มีความโดดเด่นในด้านงานสถาปัตยกรรมกว่าโบสถ์ทั่วๆไป เนื่องจากเป็นโบสถ์ลูกครึ่งไทยและฮอลันดา หรือที่เรียกว่า "วิลันดา" ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมในสมัยอยุธยาตอนปลายจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีลักษณะคือใช้ระบบผนังรับน้ำหนัก มีเสาไม้รับโครงของหลังคาแบบไทย และตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น ซึ่งโดยมากจะเป็นลายเทศ เลียนแบบฝรั่ง โดยลดลายเส้นกนกออกไป, bloggang.com/.สืบค้นเมื่อ 29/05/2559 จนในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดได้มีการเพิ่มเติมส่วนของหอระฆัง (Bell Tower) โดยมีสถาปนิกโจอาคิม กรัสซี ชาวออสเตรีย (Joachim Grassi) เป็นผู้ออกแบบ ซึ่งเป็นการออกแบบหอระฆัง ด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา มีหัวเสาแบบโรมาเนสก์รองรับช่วงชั้นต่างๆของอาคาร และการวางเป็นซุ้มโค้งแบบโรมัน ด้วยเหตุนี้เองทำให้โบสถ์คอนเซ็ปชัญ ประกอบด้วยงานสถาปัตยกรรมถึง 3 รูปแบบ คือ ไทย ฮอลันดา และโรมัน.

ใหม่!!: ชาวญวนและวัดคอนเซ็ปชัญ · ดูเพิ่มเติม »

วันรวมชาติ (เวียดนาม)

วันรวมชาติ (Ngày Thống nhất) วันชัย (Ngày Chiến thắng) วันปลดปล่อย (Ngày Giải phóng sinv Ngày Giải phóng miền Nam) หรือที่ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่าวันปลดปล่อยภาคใต้เพื่อรวมชาติ (Giải phóng miền Nam, thống nhất đất nước) เป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ของเวียดนามเพื่อเป็นที่ระลึกถึงเหตุการ์ณที่เวียดกงและกองทัพของประเทศเวียดนามเหนือได้เข้าบุกยึดกรุงไซ่ง่อนของเวียดนามใต้ในวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ชาวญวนและวันรวมชาติ (เวียดนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธกับจิตวิทยา

นาพุทธกับจิตวิทยา (Buddhism and psychology) เหลื่อมกันทั้งในทางทฤษฎีและการปฏิบัติในศตวรรษที่ผ่านมา โดยมีความเกี่ยวข้องกันหลัก ๆ 4 อย่าง คือ.

ใหม่!!: ชาวญวนและศาสนาพุทธกับจิตวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: ชาวญวนและศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศเซเนกัล

ระพุทธศาสนาในประเทศเซเนกัล เริ่มต้นขึ้นเมื่อได้มีชาวเวียดนามอพยพเข้ามาในประเทศเซเนกัล และได้นำพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ในกลุ่มชาวพุทธทั้งหมดในเซเนกัลมีอยู่ประมาณ 0.01% ในจำนวนนี้ จะเป็นชาวเวียดนาม 99% พวกเขาจะสวดมนต์ "Nam mô A Di Đà Phật" เพื่อระลึกถึงพระอมิตาภะพุทธะ และชาวเวียดนามมีความเชื่อเกี่ยวกับ พระโพธิสัตว์และกวนอิมเป็นต้น หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่:ประเทศเซเนกัล.

ใหม่!!: ชาวญวนและศาสนาพุทธในประเทศเซเนกัล · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศลาว

นาในประเทศลาวที่สำคัญคือศาสนาพุทธ ชาวลาวส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ส่วนชนเผ่าต่างๆนับถือศาสนาผี พบในกลุ่มผู้ที่พูดภาษาตระกูลจีน-ทิเบต และไท-กะได เช่น ชาวไทดำ ไทแดง เช่นเดียวกับกลุ่มที่พูดภาษากลุ่มเกาหลี-ญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังมีคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ชาวญวนและศาสนาในประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมสร้างคุณค่า

ัญลักษณ์แห่งสมาคมโซคา สมาคมสร้างคุณค่า (創価学会, Sōka Gakkai โซคา กักไก) เป็นองค์การศาสนาพุทธดำเนินการโดยฆราวาสที่จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ ก่อตั้งขึ้นโดยแยกตัวออกมาจากนิกายนิชิเร็นโชชู ในปัจจุบันสมาคมโซคา กักไก นั้นไม่ได้ขึ้นตรงต่อวัดไทเซะคิและสังฆปริณายกนิชิเร็นโชชู กระทั่งปัจจุบันไม่ได้มีความเกี่ยวข้องอันใดกัน โดยสมาคมโซคาศรัทธาในคำสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินที่กล่าวว่า "คฤหัสถ์ก็สามารถเข้าถึงการรู้แจ้งและเปิดสภาพชีวิตพุทธะในตนเองได้" ซึ่งในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและสมาคมสร้างคุณค่า · ดูเพิ่มเติม »

หวอ จี๊ กง

หวอ จี๊ กง (7 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 8 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักการเมืองคอมมิวนิสต์ชาวเวียดนามและประธานสภาแห่งรัฐเวียดนาม (เทียบเท่า: ประธานาธิบดีเวียดนาม) ระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและหวอ จี๊ กง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล

อาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล (Cathedral of the Immaculate Conception) เป็นอาสนวิหารประจำมิสซังโรมันคาทอลิกจันทบุรี ตั้งอยู่บริเวณริมคลองจันทบุรี ตรงข้ามชุมชนเก่าแก่จันทบูร ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี วิหารปัจจุบันนี้เป็นหลังที่ 5 ซึ่งบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ ชาวฝรั่งเศส ได้ทำพิธีเสกขึ้นในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2452และก่อสร้างขึ้นโดยคุณพ่อเปรีกาล เดิมวิหารติดยอดแหลมบริเวณหอระฆังทั้ง 2 หอ แต่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปี พ.ศ. 2483, ผู้จัดการ.สืบค้นเมื่อ 05/06/2559 ทางรัฐบาลได้มีคำสั่งให้ทำการรื้อออกด้วยเหตุผลว่าจะเป็นเป้าทิ้งระเบิดจากเครื่องบินรบ, amazing Thailand.สืบค้นเมื่อ 05/06/2559 จนภายหลังสงครามยุติก็ได้นำมาติดตั้งอีกครั้งในวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552 วิหารแห่งนี้มีอายุรวมแล้วกว่า ปี อาสนวิหารนับเป็นวิหารที่อยู่คู่ชุมชนชาวจันทบูรมาช้านาน นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 วิหารแห่งแรกได้ถูกสร้างขึ้นโดยกลุ่มชาวญวน 130 คน ที่หนีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนในประเทศเวียดนาม เข้ามาตั้งรกรากในปี พ.ศ. 2254 โดยมีบาทหลวงเฮิ้ต โตแลนติโน เป็นผู้ดูแลกลุ่มชาวญวนเหล่านี้ และได้ทำการก่อสร้างวิหารหลังแรกขึ้นในระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล · ดูเพิ่มเติม »

อาหารเวียดนาม

ั๊ญแส่วหรือขนมเบื้องญวนในประเทศเวียดนาม อาหารเวียดนามเป็นอาหารประจำชาติของชาวเวียดนาม ซึ่งเป็นอาหารที่มีลักษณะโดดเด่นเป็นของตัวเอง ชาวเวียดนามกินข้าวเป็นอาหารหลักเช่นเดียวกับชาติอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใช้เครื่องปรุงรสที่เป็นของหมักดองเช่นเดียวกัน เนื่องจากเวียดนามเคยถูกจีนและฝรั่งเศสปกครองจึงมีอิทธิพลของทั้งสองชาติปรากฏอยู่บ้าง นอกจากนั้น เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ที่ทอดยาวตามแนวชายฝั่ง ทำให้อาหารเวียดนามแต่ละภูมิภาคมีความแตกต่างกัน อาหารเวียดนามที่คนไทยรู้จักดีและเป็นเอกลักษณ์คือแหนมเนืองและขนมเบื้องญวน.

ใหม่!!: ชาวญวนและอาหารเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเกิ่นเส่อ

กิ่นเส่อ (Cần Giờ) เป็นอำเภอชายฝั่งทะเลของนครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม อำเภอห่างจากตัวเมืองนครโฮจิมินห์ประมาณ 50 กิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและอำเภอเกิ่นเส่อ · ดูเพิ่มเติม »

อ๊าวส่าย

ผู้หญิงใส่ชุดอ๊าวส่าย อ๊าวส่าย หรือ อ๊าวหย่าย (áo dài) คือชุดประจำชาติชุดหนึ่งของชาวเวียดนาม ซึ่งห่มนุ่งโดยผู้หญิงเวียดนามมิว่าจะเป็นในหรือนอกประเทศเวียดนาม อ๊าวส่ายในรูปแบบปัจจุบัน เป็นชุดทอจากผ้าไหมซึ่งสวมใส่แนบตัว โดยมีกางเกงขายาวอยู่ชั้นใน.

ใหม่!!: ชาวญวนและอ๊าวส่าย · ดูเพิ่มเติม »

ฮวาง งี

วาง งี (Hoang Nghi) หรือชื่ออังกฤษ มาร์ก ฮวาง (Marc Hoang) เกิดวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: ชาวญวนและฮวาง งี · ดูเพิ่มเติม »

ฮหวิ่ญ อัญ

หวิ่ญ อัญ (Huỳnh Anh) เป็นนักจักรยานชาวเวียดนาม เขาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ในประเภทไทม์ไทรอัลประเภททีม.

ใหม่!!: ชาวญวนและฮหวิ่ญ อัญ · ดูเพิ่มเติม »

ฮหว่าง กวี๊ เฟื้อก

หว่าง กวี๊ เฟื้อก (Hoàng Quý Phước; 24 มีนาคม ค.ศ. 1993 –) เป็นนักว่ายน้ำชายจากประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ชาวญวนและฮหว่าง กวี๊ เฟื้อก · ดูเพิ่มเติม »

จอห์นนี่ เหงียน

อห์นนี เหงียน (Johnny Trí Nguyễn; 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 —) เป็นทั้งนักแสดงชาวเวียดนาม-อเมริกัน, นักออกแบบท่าการต่อสู้ และนักแสดงแทน มีชื่อเสียงในการแสดงบทต่อสู้ ในภาพยนตร์ และซีรีส์ของอเมริกัน จอห์นนี เหงียน เกิดที่จังหวัดบินดง เวียดนามใต้ เมื่ออายุได้ 8 ปี ช่วงที่เกิดสงครามเวียดนาม ครอบครัวเขาขึ้นเรืออพยพออกนอกประเทศ ไปอยู่ที่ลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา เขาเป็นลูกครึ่งเวียดนาม-จีน เนื่องจากมีมารดาเชื้อสายจีน เขาฝึกศิลปะการต่อสู้เช่น กังฟู ไอคิโด้ ไต้ชิ และวูซู จอห์นนี่ยังเป็นนักกีฬาวูซูทีมชาติสหรัฐ และเคยได้รับเหรียญทองในการแข่งขัน Pan America Form and Sword ในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจอห์นนี่ เหงียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบักเลียว

ักเลียว (Bạc Liêu) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเล และตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงทางตอนใต้ของประเท.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบักเลียว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบั๊กกั่น

ั๊กกั่น (Bắc Kạn, Bắc Cạn) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ทางทิศเหนือของเมืองหลวงฮานอย บั๊กกั่นเป็นเมืองเดียวของจังหวัดที่เป็นทั้งเมืองหลักของจังหวัดและเทศบาล เขตจังหวัดครอบคลุมพื้นที่ 4,859.4 ตารางกิโลเมตร จังหวัดนี้มีประชากรประมาณ 308,900 คน ณ ปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบั๊กกั่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบั๊กซาง

ั๊กซาง (Bắc Giang) เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเวียดนาม ตั้งอยู่ห่างจากฮานอยไปประมาณ จังหวัดมีเนื้อที่ 3,827.45 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบั๊กซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบั๊กนิญ

ั๊กนิญ (Bắc Ninh) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางภาคเหนือของประเทศ อยู่ทางตะวันออกของฮานอย เป็นจังหวัดที่เปี่ยมไปด้วยวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบั๊กนิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญถ่วน

ญถ่วน (Bình Thuận) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม ไม่ไกลจากนครโฮจิมินห์ บางครั้งได้รับการจัดให้เป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้ บิ่ญถ่วนเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงด้านทิวทัศน์และชายหาด นอกจากนี้ยังมีสถานที่ที่มีความสำคัญทางโบราณคดีอีกจำนวนหนึ่ง.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบิ่ญถ่วน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญดิ่ญ

ญดิ่ญ (Bình Định) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม การขนส่งภายในจังหวัดที่สำคัญ ได้แก่ ทางถนน มีผู้โดยสาร 22.77 ล้านคน และสินค้า 7,928 ตัน ที่เดินทางภายในจังหวัด (ข้อมูลปี ค.ศ. 2009)Bình Định Statistics Office (2010): Bình Định Statistical Yearbook 2009.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบิ่ญดิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญเฟื้อก

ญเฟื้อก (Bình Phước) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ อยู่ติดกับทางเหนือของนครโฮจิมินห์ มีพรมแดนติดกับประเทศกัมพู.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบิ่ญเฟื้อก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญเซือง

ญเซือง (Bình Dương) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ อยู่ติดกับทางเหนือของนครโฮจิมินห์ จังหวัดนี้แยกตัวออกมาจากอดีตจังหวัดซงแบ๊เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดบิ่ญเซือง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟู้เอียน

ฟู้เอียน (Phú Yên) เป็นจังหวัดริมชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม และเป็นจังหวัดที่อยู่ทางตะวันออกสุดบนแผ่นดินใหญ่ของประเทศ จังหวัดฟู้เอียนติดต่อกับจังหวัดบิ่ญดิ่ญทางทิศเหนือ และจังหวัดคั้ญฮหว่าทางทิศใต้ แม่น้ำสายหลักที่ไหลผ่านจังหวัดนี้คือ แม่น้ำด่าสั่ง ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนกลาง นอกจากนี้ยังมีแม่น้ำบ่านถักและแม่น้ำกี่โหละ สถานที่ทางธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ ทะเลสาบซงฮิญ ซึ่งเป็นทะเลสาบขุดขนาดใหญ่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดAtlat Dia li Viet Nam (Geographical Atlas of Vietnam).

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดฟู้เอียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟู้เถาะ

ฟู้เถาะ (Phú Thọ) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือเหวียตจี่ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากฮานอยเป็นระยะทาง 80 กิโลเมตร (50 ไมล์) และห่างจากท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย 50 กิโลเมตร (31 ไมล์) จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 3,528.1 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดฟู้เถาะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างหงาย

กว๋างหงาย (Quảng Ngãi) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางใต้ (ริมทะเลจีนใต้) ของเวียดนาม อยู่ห่างจากฮานอย และห่างจากนครโฮจิมินห์ เส้นทางการขนส่งที่สำคัญ ได้แก่ ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ สถานีรถไฟที่สำคัญคือ สถานีรถไฟกว๋างหงาย และทางหลวงแห่งชาติหมายเลข 1 เอ ซึ่งเริ่มต้นที่จังหวัดนี้Vietnam Road Atlas (Tập Bản đồ Giao thông Đường bộ Việt Nam).

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดกว๋างหงาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างจิ

กว๋างจิ (Quảng Trị) เดิมไทยเรียกว่า กวางไตร เป็นจังหวัดหนึ่งในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม อยู่ทางทิศเหนือของอดีตราชธานีเว้.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดกว๋างจิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างนาม

กว๋างนาม (Quảng Nam) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม เป็นที่ราบตามแนวชายฝั่ง ทางตะวันตกติดกับประเทศลาว ในจังหวัดกว๋างนามนี้มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญชื่อเมืองฮอยอันซึ่งได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมเมื่อ พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดกว๋างนาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างนิญ

กว๋างนิญ (Quảng Ninh) เป็นจังหวัดริมชายฝั่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเวียดนาม เป็นที่ตั้งของแหล่งมรดกโลกอ่าวหะล็อง จังหวัดนี้มีเมืองหลักคือหะล็อง ร้อยละ 80 ของพื้นที่จังหวัดเป็นภูเขาที่มีดิน น้ำ และแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ ปริมาณถ่านหินส่วนใหญ่ของประเทศก็มาจากจังหวัดนี้ อ่าวหะล็องมีเกาะทั้งหมด 1,969 เกาะ แต่มีเพียง 989 เกาะเท่านั้นที่มีชื่อเรียก จังหวัดนี้มีเนื้อที่ 6,102.4 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1,185,200 คนในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดกว๋างนิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกอนตูม

กอนตูม (Kon Tum) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดกับจังหวัดกว๋างนามทางทิศเหนือ จังหวัดกว๋างหงายทางทิศตะวันออก และจังหวัดซาลายทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกติดกับจังหวัดรัตนคีรีของประเทศกัมพูชา แขวงอัตตะปือและแขวงเซกองของประเทศลาว เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองกอนตูม จังหวัดกอนตูมมีเนื้อที่ 9,614.5 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 432,900 คน เศรษฐกิจขึ้นอยู่กับเกษตรกรรมเป็นหลัก.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดกอนตูม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาวบั่ง

กาวบั่ง (Cao Bằng) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม มีพรมแดนติดกับจังหวัดห่าซาง, จังหวัดเตวียนกวาง, จังหวัดบั๊กกั่น และจังหวัดเซินลา ภายในประเทศเวียดนาม นอกจากนี้ยังมีพรมแดนระหว่างประเทศร่วมกันกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงของประเทศจีน จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ 6,724.6 ตารางกิโลเมตร และใน..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดกาวบั่ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดก่าเมา

ก่าเมา (Cà Mau) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือก่าเมา ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงทางภาคใต้ของประเทศเวียดนาม เป็นจังหวัดใต้สุด ตอนใต้เป็นแหลมชื่อว่าแหลมก่าเมา กั้นระหว่างอ่าวไทยกับทะเลจีนใต้ นายกรัฐมนตรีเหงียน เติ๊น สุง เกิดและเติบโตที่จังหวัดนี้ สามารถเดินทางโดยรถยนต์จากนครโฮจิมินห์โดยถนนระยะทาง 360 กิโลเมตร ผ่านทางหลวงแห่งชาติ 1 เอ หรือทางอากาศ (สนามบินก่าเมา) พื้นที่ของจังหวัดก่าเมาในปัจจุบันเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรฟูนันซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมประเทศลาว ประเทศกัมพูชา รวมไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและภาคใต้ของประเทศเวียดนามด้ว.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดก่าเมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลายเจิว

ังหวัดลายเจิว (Lai Châu) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม จังหวัดลายเจิวเป็นที่มีประชากรเบาบางมากที่สุดในเวียดนาม มีพรมแดนกับประเทศจีน ครั้งหนึ่งเคยเป็นรัฐกึ่งอิสระไทขาวหรือที่เรียกว่า "สิบสองจุไท" แต่ถูกยืดครองโดยฝรั่งเศสในยุคอินโดจีนฝรั่งเศสใน..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดลายเจิว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดล็องอาน

ล็องอาน (Long An) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือเตินอาน เมืองใหญ่อื่น ๆ ได้แก่ เบ๊นลึก, ถั่ญฮว้า และมี 13 อำเภอในจังหวั.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดล็องอาน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหลั่งเซิน

หลั่งเซิน (Lạng Sơn) เป็นจังหวัดทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม อยู่ติดกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงของประเทศจีน เมืองหลักมีชื่อเดียวกับชื่อจังหวัด คือเมืองหลั่งเซิน ซึ่งเป็นเมืองสำคัญบริเวณชายแดนจีน อยู่ห่างจากฮานอยไปประมาณ เดินทางได้โดยทางถนนและรถไฟ จังหวัดหลั่งเซินติดกับประเทศจีนทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดกาวบั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดกว๋างนิญทางทิศใต้และตะวันออก และติดกับจังหวัดท้ายเงวียนทางทิศตะวันตก จังหวัดหลั่งเซินมีเนื้อที่ 8,327.6 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 759,000 คนในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดหลั่งเซิน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหล่าวกาย

หล่าวกาย (Lào Cai) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนามซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา มีพรมแดนติดกับมณฑลยูนนานของประเทศจีน จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ 6,383.9 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 602,300 คน ณ..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดหล่าวกาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหวิญฟุก

หวิญฟุก (Vĩnh Phúc) เป็นจังหวัดหนึ่งในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางภาคเหนือของประเทศเวียดนาม ประกอบด้วยนครประจำจังหวัด 1 นคร (หวิญเอียน), เมืองระดับอำเภอ 1 เมือง (ฟุกเอียน) และอำเภอ 7 อำเภอ.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดหวิญฟุก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหวิญล็อง

หวิญล็อง (Vĩnh Long) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม เมืองหลักคือเมืองหวิญล็อง จังหวัดมีประชากร 1,046,390 คน และเนื้อที่ 1,475 ตารางกิโลเมตร (570 ตารางไมล์) ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำเหิ่วกับแม่น้ำเตี่ยน จึงมีชื่อเสียงในด้านการประมง จังหวัดหวิญล็องตั้งอยู่ห่างจากนครโฮจิมินห์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ เดินทางได้สะดวกโดยทางหลวงแห่งชาติหมายเลข 1 เอ และสะพานหมีถ่วน.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดหวิญล็อง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหายเซือง

หายเซือง (Hải Dương) เป็นจังหวัดตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ชื่อของจังหวัดมาจากวงศัพท์จีน-เวียดนาม โดยเขียนเป็นอักขระว่า ซึ่งแปลว่า "มหาสมุทร" แต่ในความเป็นจริงพื้นที่ของจังหวัดในปัจจุบันไม่มีทางออกสู่ทะเล ทุกวันนี้หายเซืองเป็นหนึ่งในบรรดาจังหวัดที่มีอุตสาหกรรมและการพัฒนามากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดหายเซือง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดห่าติ๋ญ

ห่าติ๋ญ (Hà Tĩnh) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม อยู่ติดกับจังหวัดเหงะอาน สองจังหวัดนี้เคยเป็นจังหวัดเดียวกันมาก่อนคือจังหวัด "เหงะติ๋ญ" ชาวจังหวัดนี้มีสำเนียงการพูดภาษาเวียดนามที่เป็นเอกลักษณ์ จังหวัดห่าติ๋ญอยู่ห่างจากฮานอยไปทางทิศใต้ประมาณ 340 กิโลเมตร (211 ไมล์) ติดกับจังหวัดเหงะอานทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดกว๋างบิ่ญทางทิศใต้ ติดกับประเทศลาวทางทิศตะวันตก และติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดห่าติ๋ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดห่าซาง

ห่าซาง (Hà Giang) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ถือเป็นจุดเหนือสุดของประเทศโดยมีพรมแดนร่วมกับมณฑลยูนนานทางตอนใต้ของประเทศจีน จึงเป็นที่รู้จักในฐานะเขตแดนสุดท้ายของเวียดนาม จังหวัดห่าซางครอบคลุมพื้นที่ 7,945.8 ตารางกิโลเมตร ณ ปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดห่าซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดห่านาม

ห่านาม (Hà Nam) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางภาคเหนือของประเทศ อยู่ทางใต้ของกรุงฮานอ.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดห่านาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอานซาง

อานซาง (An Giang) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ในทางตะวันตกเฉียงใต้ และติดกับประเทศกัมพู.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดอานซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮหว่าบิ่ญ

หว่าบิ่ญ (Hòa Bình) เป็นจังหวัดที่เป็นภูเขาของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ มีพรมแดนติดกับจังหวัดฟู้เถาะและจังหวัดเซินลาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับฮานอยทางทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดห่านามทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับจังหวัดนิญบิ่ญและจังหวัดทัญฮว้าทางทิศใต้ ในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดฮหว่าบิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮึงเอียน

ึงเอียน (Hưng Yên) เป็นจังหวัดตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดฮึงเอียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจ่าวิญ

ังหวัดจ่าวิญ (Trà Vinh) เป็นจังหวัดในประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ติดทางทะเลจีนใต้.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดจ่าวิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดทัญฮว้า

ทัญฮว้า (Thanh Hóa) เป็นจังหวัดในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม ขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ห้า และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่สามในบรรดาเขตการปกครองระดับบนสุดของเวียดนามทั้ง 63 แห่ง เมืองหลักและเมืองใหญ่ที่สุดของจังหวัดคือเมืองทัญฮว้า จังหวัดนี้มักถูกเรียกว่า ซื้อทัญ ซึ่งแปลว่า "ดินแดนทัญฮว้า" ในภาษาเวียดนาม จังหวัดทัญฮว้ามีพื้นที่ 11,133.4 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 3.5 ล้านคน มีนครประจำจังหวัด 2 นคร (คือทัญฮว้าและเสิ่มเซิน) เมืองระดับอำเภอ 1 เมือง (คือบี๋มเซิน) และอำเภอ 24 อำเภอ นครเสิ่มเซินมีชื่อเสียงในด้านที่พักตากอากาศทางทะเล อยู่ห่างจากเมืองทัญฮว้าไปประมาณ 16 กิโลเมตร ส่วนเมืองบี๋มเซินก็เป็นย่านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะการผลิตซีเมนต.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดทัญฮว้า · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดท้ายบิ่ญ

ท้ายบิ่ญ (Thái Bình) เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ห่างจากเมืองนามดิ่ญประมาณ 18 กิโลเมตร ห่างจากเมืองไฮฟองประมาณ 70 กิโลเมตร และห่างจากกรุงฮานอยประมาณ 110 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดท้ายบิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดท้ายเงวียน

ท้ายเงวียน (Thái Nguyên) เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในเขตภูเขาตอนในของประเทศ มีพื้นที่ 3,534.45 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 1,149,100 คน ณ ปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดท้ายเงวียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดดั๊กลัก

ั๊กลัก (Đắk Lắk, Đắc Lắc) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่สูงตอนกลาง และเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชนพื้นเมืองจำนวนมากที่ไม่ใช่กลุ่มชาติพันธุ์เวียดนาม (เหวียต).

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดดั๊กลัก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดดั๊กนง

ั๊กนง (Đắk Nông, Ðắc Nông) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีเมืองหลักคือ ซาเหงีย จังหวัดดั๊กนงติดต่อกับจังหวัดดั๊กลักทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดเลิมด่งทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับจังหวัดบิ่ญเฟื้อกและประเทศกัมพูชาทางทิศตะวันตก สูงจากระดับน้ำทะเล 500 เมตร โดยมีภูมิประเทศลาดต่ำทางฝั่งตะวันตก มีทุ่งนาและทะเลสาบทางฝั่งใต้ แม่น้ำหลักที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำบาและแม่น้ำเซเรปก อุณหภูมิโดยเฉลี่ยคือ 24 องศาเซลเซียส ฤดูฝนเริ่มในเดือนพฤษภาคม สิ้นสุดในเดือนตุลาคม ส่วนฤดูแล้ง เริ่มในเดือนพฤศจิกายน สิ้นสุดในเดือนเมษายน.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดดั๊กนง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดด่งนาย

งนาย (Đồng Nai) เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของนครโฮจิมินห์ เมืองใหญ่ที่สุดคือ เบียนฮหว่า ก่อนที่เวียดนามจะเข้าครอบครอง พื้นที่บริเวณจังหวัดนี้เคยอยู่ภายใต้อำนาจของอาณาจักรฟูนาน อาณาจักรเจนละ และอาณาจักรขอมจนถึง..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดด่งนาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคั้ญฮหว่า

ั้ญฮหว่า (Khánh Hòa) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคชายฝั่งตอนกลางใต้ มีประชากรประมาณ 1,066,300 คน และครอบคลุมพื้นที่ 5,197 ตารางกิโลเมตร เมืองหลักคือญาจาง จังหวัดคั้ญฮหว่าเป็นที่พักตากอากาศของสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย, สถาบันปาสเตอร์ที่ญาจาง, สถาบันสมุทรศาสตร์, สถาบันวัคซีนและสารชีวภาพ และเคยเป็นที่ตั้งกองบัญชาการกองกำลังพิเศษของกองทัพสหรัฐ ("กรีนเบอเรต์") ระหว่างสงครามเวียดนามในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 และคริสต์ทศวรรษ 1960 ช่วงปลายเดือน ท่าเรืออ่าวกามซัญเป็นสถานที่ที่ดีที่สุดสำหรับฐานเรือดำน้ำในประเทศเวียดนาม วัดโบราณแห่งหนึ่งของอาณาจักรจามปาตั้งอยู่ทางทิศเหนือของญาจาง.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดคั้ญฮหว่า · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซาลาย

ซาลาย (Gia Lai) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีขนาดพื้นที่มากเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ การแบ่งเขตการปกครองประกอบไปด้วยอำเภอ 14 อำเภอ, เมืองระดับอำเภอ 2 เมือง และนครประจำจังหวัด 1 นคร คือ เปล็ยกู ซาลาย หมวดหมู่:ที่สูงตอนกลางของเวียดนาม.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดซาลาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซ้อกจัง

ซ้อกจัง (Sóc Trăng) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือซ้อกจัง จังหวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 3,223 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 1,213,400 คน.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดซ้อกจัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนามดิ่ญ

นามดิ่ญ (Nam Định) เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดนามดิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนิญบิ่ญ

นิญบิ่ญ (Ninh Bình) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงของภาคเหนือของประเท.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดนิญบิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนิญถ่วน

นิญถ่วน (Ninh Thuận) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม (บางครั้งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้).

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดนิญถ่วน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดไพรแวง

รแวงสำนักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดไพรแวง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเบ๊นแจ

นแจ (Bến Tre) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม การแบ่งเขตการปกครองประกอบด้วยอำเภอ 8 อำเภอ กับนครประจำจังหวัด 1 นคร คือ เบ๊นแ.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเบ๊นแจ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเลิมด่ง

ลิมด่ง (Lâm Đồng) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่สูงตอนกลางของเวียดนาม เมืองหลักคือด่าหลัต มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดทัญฮว้าและจังหวัดบิ่ญถ่วนทางทิศตะวันออก, จังหวัดด่งนายทางตะวันตกเฉียงใต้, จังหวัดนิญถ่วนทางตะวันออกเฉียงใต้, จังหวัดดั๊กลักทางทิศเหนือ และจังหวัดดั๊กนงทางตะวันตกเฉียงเหนือ เลิมด่งเป็นจังหวัดบนที่สูงตอนกลางเพียงจังหวัดเดียวที่ไม่ได้ร่วมชายแดนทางทิศตะวันตกกับประเทศกัมพู.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเลิมด่ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเหิ่วซาง

หิ่วซาง (Hậu Giang) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม มีเมืองหลักคือ หวิทัญ ก่อนปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเหิ่วซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเอียนบ๊าย

อียนบ๊าย (Yên Bái) เป็นจังหวัดที่มีพื้นฐานอยู่บนการเกษตร ตั้งอยู่ในภูมิภาคเต็ยบั๊กหรือภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ทางภาคเหนือตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีพรมแดนร่วมกับ 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดห่าซาง, จังหวัดหล่าวกาย, จังหวัดลายเจิว, จังหวัดเซินลา, จังหวัดฟู้เถาะ และจังหวัดเตวียนกวาง จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 6,899.5 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 750,200 คนในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเอียนบ๊าย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเตวียนกวาง

ตวียนกวาง (Tuyên Quang) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงฮานอย ตรงใจกลางหุบเขาแม่น้ำโลซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำแดง การก่อตัวของดินดอนสามเหลี่ยมในจังหวัดนี้เรียกว่าดินดอนสามเหลี่ยมตังเกี๋ย เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองเตวียนกวาง ในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเตวียนกวาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเตี่ยนซาง

ตี่ยนซาง (Tiền Giang) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเตี่ยนซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเต็ยนิญ

ังหวัดเต็ยนิญ (Tây Ninh) เป็นหนึ่งจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม เมืองหลักคือเมืองเต็ยนิญ จังหวัดเต็ยนิญมีประชากรประมาณ 989,800 คน และพื้นที่ 4,028 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเต็ยนิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเซินลา

ซินลา (Sơn La) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ทางทิศใต้ติดกับประเทศลาว ประชากรส่วนหนึ่งเป็นชาวไทขาวและชาวไทดำ เขื่อนเซินลาซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้.

ใหม่!!: ชาวญวนและจังหวัดเซินลา · ดูเพิ่มเติม »

จิง

ง (京族; Kinh tộc) เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศจีน อาศัยอยู่บริเวณเกาะทางภาคใต้ของจีน คือ เกาะว่านเหว่ย เกาะวูโถวและเกาะซานซิน มีประชากรประมาณ 2 หมื่นคน มีภาษาจิง และการแต่งกายมีเสื้อประจำชนชาติ ส่วนใหญ่เป็นชาวประมง และมีการค้าขายระหว่างชายแดนจีนกับเวียดนาม.

ใหม่!!: ชาวญวนและจิง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสามเสน

แผนที่เขตดุสิต ถนนสามเสนอยู่บริเวณซ้ายบน ใกล้กับแม่น้ำเจ้าพระยา ถนนสามเสน (Thanon Sam Sen) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตพระนครและเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ชาวญวนและถนนสามเสน · ดูเพิ่มเติม »

ทิก เญิ้ต หั่ญ

ระภิกษุทิก เญิ้ต หั่ญ ทิก เญิ้ต หั่ญ หรือ ชื่อที่ใช้เรียกทั่วไป ติช นัท ฮันห์ (Thích Nhất Hạnh) (fr: Thich Nhat Hanh) เป็นพระภิกษุชาวเวียดนามในพุทธศาสนานิกายเซน ชื่อทิก เญิ้ต หั่ญ เป็นฉายาในทางศาสนา โดยคำว่า "ทิก" เป็นคำใช้เรียกพระ ส่วน "เญิ้ต หั่ญ" เป็นนามทางธรรมที่มีความหมายว่า "การกระทำเพียงหนึ่ง (One Action)" ท่านเป็นพระมหาเถระนิกายเซน กวี และผู้สนับสนุนในเรื่องสันติภาพ มีงานเขียนเผยแผ่ตีพิมพ์ภาษาต่าง ๆ มากมาย และเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักปฏิบัติธรรมชาวตะวันตก.

ใหม่!!: ชาวญวนและทิก เญิ้ต หั่ญ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเตียน

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและท่าเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการเกิ่นเวือง

วนการเกิ่นเวือง (Phong trào Cần Vương) เป็นขบวนการต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมของฝรั่งเศสในเวียดนามโดยมีขุนนางที่สูญเสียอำนาจเป็นผู้มีบทบาทสำคัญ การต่อต้านเริ่มตั้งแต่ฝรั่งเศสยึดครองแคว้นโคชินจีนเมื่อ..

ใหม่!!: ชาวญวนและขบวนการเกิ่นเวือง · ดูเพิ่มเติม »

คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย

ณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เป็นคณะสงฆ์นิกายมหายานของชาวไทยเชื้อสายจีน ถือกำเนิดมาจากชาวจีนที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบนผืนแผ่นดินไทย ได้นำเอาวัฒนธรรม ศาสนา และความเชื่อดั้งเดิมของตนเข้ามาประพฤติปฏิบัติ แรกเริ่มที่ยังไม่มีพระภิกษุ ชาวจีนได้สร้างศาลเจ้าจีนขึ้นก่อนเพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระภิกษุจีนแถบมณฑลกวางตุ้งจาริกเข้ามาปฏิบัติศาสนกิจมากขึ้น นำไปสู่การจัดระเบียบการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์จีนได้ถือกำเนิดขึ้นบนแผ่นดินไทยและมีความเจริญสืบเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน ในปัจจุบันการปกครองคณะสงฆ์จีนนิกายเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2520) และกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2536) ออกตามความในพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: ชาวญวนและคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตรุษญวน

นนที่นครโฮจิมินห์ในเทศกาลตรุษญวน ประเพณีตรุษญวน หรือปีใหม่ของชาวเวียดนาม มีลักษณะเหมือนกับประเพณีตรุษจีนของชาวจีน ในอดีตสมัยที่เวียดนามตกเป็นเมืองขึ้นของจีนนานนับพันปี วัฒนธรรมทางความเชื่อและการดำรงชีวิตตลอดจนภาษาต่างก็ได้รับอิทธิพลจากจีนทั้งสิ้น ปฏิทินทางจันทรคติของเวียดนามจะตรงกับปฏิทินทางจันทรคติของจีน ดังนั้นวันตรุษญวนหรือวันขั้นปีใหม่เวียดนามจะตรงกับวันที่ 1 เดือน 1 ตามปฏิทินจันทรคติ หรือตรงกับวันตรุษจีนนั่นเอง ตรุษญวนในภาษาเวียดนามเรียกว่า เต๊ตเงวียนด๊าน (Tết Nguyên Đán) แปลว่าเทศกาลต้อนรับแสงรุ่งอรุณของปีใหม่ ในการเฉลิมฉลองเทศการตรุษญวนจะเริ่มขึ้นในวันที่ 23 เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติของเวียดนาม (เจ็ดวันก่อนตรุษญวน) วันนี้จะมีการไหว้เทพเจ้าแห่งเตาไฟ ในภาษาเวียดนามเรียกว่า องต๊าว (Ông Táo) หรือ ต๊าวเกวิน (Táo Quân) เทพเจ้าเตาเป็นเทพเจ้าที่คอยสอดส่องดูแลความเป็นไปทุกอย่างภายในบ้าน เทพเจ้าเตาของเวียดนามมีสามองค์ ซึ่งแตกต่างกับของจีน พอถึงวันที่ 23 เดือน 12 จะมีการเซ่นไหว้เทพเจ้าโดยวัตถุประสงค์คือเพื่อส่งเทพเจ้าขึ้นสวรรค์ ในพิธีจะมีการไหว้ปลาคร๊าฟ ซึ่งเทพเจ้าจะขึ้นสวรรค์โดยขี่ปลาคร๊าฟนี้ พอไหว้เสร็จก็จะนำปลาคร๊าฟไปปล่อยในแม่น้ำหรือหนองน้ำเพราะเชื่อว่าปลาคร๊าฟจะแปลงกลายเป็นมังกรพาเทพเจ้าขึ้นสู่สวรรค์ หลังจากนั้นจะมีการทำความสะอาดบ้านเรือนประดับตกแต่งสวยงานเพื่อต้อนรับเทศกาลตรุษญวนที่จะมาถึง หลังจากไหว้เทพเจ้าเตาในวันที่ 23 เดือน 12 แล้ว พอถึงวันที่ 30 เดือน 1 ตามปฏิทินจันทรคติของเวียดนาม (ก่อนตรุษจีนหนึ่งวัน) จะมีการไหว้บรรพบุรุษเพื่อเชิญบรรพบุรุษกลับมาร่วมเฉลิมฉลองในเทศกาลตรุษญวน โดยญาติพี่น้องทุกคนที่อยู่ไกลบ้านจะต้องกลับมาเพื่อรวมกันพร้อมหน้าพร้อมตาในวันปีใหม่ การไหว้บรรพบุรุษจะเริ่มขึ้นในช่วงบ่าย การไหว้มีสองแบบคือ.

ใหม่!!: ชาวญวนและตรุษญวน · ดูเพิ่มเติม »

ตังเกี๋ย

อาณานิคมตังเกี๋ย (Bắc Kỳ บั๊กกี่; Tonkin, Tongkin, Tonquin หรือ Tongking) เป็นส่วนที่อยู่ทางเหนือสุดของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงและมณฑลยูนนานของจีนทางเหนือ ทางตะวันตกติดต่อกับลาว และทางตะวันออกติดต่อกับอ่าวตังเกี๋ย ตังเกี๋ยตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมแม่น้ำแดงอันอุดมสมบูรณ์ และนับเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ.

ใหม่!!: ชาวญวนและตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์กัมพูชา

รวมของประชากรในประเทศกัมพูชาในด้านความหนาแน่นของประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา ภาพรวมด้านสาธารณสุข สถานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา และอื่นๆ เป็นดังนี้.

ใหม่!!: ชาวญวนและประชากรศาสตร์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: ชาวญวนและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ชาวญวนและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

นู เฟื้อก ถิ่ญ

นู เฟื้อก ถิ่ญ (Noo Phước Thịnh) มีชื่อจริงว่าเหงียน เฟื้อก ถิ่ญ (Nguyễn Phước Thịnh) เป็นนักร้องนักแสดงชาวเวียดนาม เกิดวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1988 ที่นครโฮจิมินห์ และเป็นผู้ชนะเลิศในรายการ เดอะ รีมิกซ์ (The Remix (Hòa âm ánh sáng)) ซีซัน 2 ในปี 2016.

ใหม่!!: ชาวญวนและนู เฟื้อก ถิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

แย้กะเทย

แย้กะเทย (Nhông cát trinh sản) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกแย้ชนิดใหม่ของโลก มีความสามารถพิเศษที่สามารถสืบพันธุ์ได้เองโดยไม่ต้องพึ่งตัวผู้ โดยที่จะสืบพันธุ์ด้วยวิธีการโคลนตัวเอง ด้วยการผลิตไข่เอง ซึ่งสัตว์เลื้อยคลานที่จะทำแบบนี้ได้มีเพียงร้อยละ 1 เท่านั้น และตัวอ่อนที่ฟักจากไข่ของแย้ชนิดนี้ ได้ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของตัวแม่อย่างครบถ้วน ทำให้มีลักษณะเหมือนกันทุกอย่าง นักวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใดแย้ชนิดนี้มีวิวัฒนาการผิดไปจากธรรมชาติ และยังไม่ทราบเช่นกันว่า แย้ชนิดนี้มีวิวัฒนาการมานานเท่าไร และพ่อของแย้ตัวเมียตัวแรกมาจากไหนและหายไปไหน จึงได้แต่สันนิษฐานว่าแย้กะเทยที่พบอาจจะเป็นพันธุ์ผสมของแย้เพศผู้กับเพศเมียต่างสายกัน ทำให้พวกมันกลายเป็นหมัน และในครั้งหนึ่งสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แห้งแล้ง อาจจะทำให้มันเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ จึงต้องดิ้นรนวิวัฒนาการ หาทางสืบเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติด้วยการโคลน แต่สำหรับชาวเวียดนามแล้วรู้จักและรับประทานแย้ชนิดนี้มานานแล้ว โดยพบได้ในเมนูอาหารในร้านอาหารบริเวณที่พบ โดยถิ่นที่อาศัยของแย้ชนิดใหม่นี้ คือ เขตสงวนธรรมชาติบิ่ญเจิว-เฟื้อกบื๋ว (Bình Châu-Phước Bửu) ในจังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่าทางภาคใต้ของเวียดนาม ซึ่งเป็นป่าพุ่มไม้เตี้ย ๆ กับดินทรายชายฝั่งทะเล.

ใหม่!!: ชาวญวนและแย้กะเทย · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ (ຈໍາປາສັກ) เป็นแขวงหนึ่งของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน) ถือเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่พันดอน" แขวงจำปาศักดิ์เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเป็นพื้นที่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณ และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาศักดิ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศักดิ์จึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่มากมาย ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพู นอกจากนี้ แขวงจำปาศักดิ์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก เช่น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี น้ำตกผาส้วม เป็นต้น.

ใหม่!!: ชาวญวนและแขวงจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โง ถั่ญ เลียม

ง ถั่ญ เลียม (Ngô Thành Liêm) เป็นนักจักรยานชาวเวียดนาม เขาเข้าแข่งขันในรายการจักรยานทางไกลบุคคลชาย และประเภททีม ในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952.

ใหม่!!: ชาวญวนและโง ถั่ญ เลียม · ดูเพิ่มเติม »

โง เตี๊ยน ดว่าน

ง เตี๊ยน ดว่าน (Ngô Tiến Đoàn; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1985 –) เป็นนายแบบชาวเวียดนามและเป็นผู้ชนะในการประกวดมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2008 ใน ไถหนัน, ประเทศไต้หวัน เขาเป็นชาวเวียดนามคนแรกที่ได้ครองตำแหน่งมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล.

ใหม่!!: ชาวญวนและโง เตี๊ยน ดว่าน · ดูเพิ่มเติม »

โตน เทิ้ต หาย

ตน เทิ้ต หาย (Tôn Thất Hải) เป็นนักฟันดาบสากลชาวเวียดนาม เขาเข้าร่วมในประเภทเอเป้บุคคลในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952.

ใหม่!!: ชาวญวนและโตน เทิ้ต หาย · ดูเพิ่มเติม »

ไฮฟอง

ฟอง (Haiphong) หรือ หายฝ่อง (Hải Phòng) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในเวียดนาม ตั้งอยู่ในจังหวัดไฮฟองและเป็นเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของภาคเหนือ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1888.

ใหม่!!: ชาวญวนและไฮฟอง · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนรักเพื่อนแค้น

ื่อนรักเพื่อนแค้น (The Breaking Point) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2534 กล่าวถึงเรื่องราวของเพื่อน 2 คนที่มิตรภาพแตกหัก นำแสดงโดย หลี่ หมิง, เหวิน เจ้าหลุน, โจว ไห่เม่ย ออกอากาศทางช่องทีวีบีในจีน แต่ในไทย ละครเรื่องนี้จะออกอากาศทางช่อง 3 แฟมิลี่ ภาพจากละครเรื่องนี้.

ใหม่!!: ชาวญวนและเพื่อนรักเพื่อนแค้น · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพวน

มืองพวน (Muang Phuan) หรือเมืองพวนเชียงขวาง เป็นหัวเมืองเก่าแก่ในประเทศลาว เดิมเป็นราชอาณาจักรสำคัญราชอาณาจักรหนึ่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งทางตอนเหนือของประเท.

ใหม่!!: ชาวญวนและเมืองพวน · ดูเพิ่มเติม »

เล วัน เฟื้อก

ล วัน เฟื้อก (Lê Văn Phước) เป็นนักจักรยานชาวเวียดนาม เขาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 และ1956.

ใหม่!!: ชาวญวนและเล วัน เฟื้อก · ดูเพิ่มเติม »

เวียดนาม (แก้ความกำกวม)

วียดนาม หรือ ญวน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ชาวญวนและเวียดนาม (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน วัน หุ่ง

หงียน วัน หุ่ง (Nguyễn Văn Hùng) เกิดวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 เป็นนักต่อสู้ชาวเวียดนาม เขาเป็นเจ้าของเหรียญทองกีฬาเทควันโดสามสมัยจากการแข่งขันซีเกมส์ เขายังเป็นตัวแทนจากประเทศของเขาเข้าร่วมการแข่งขันเทควันโดในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 โดยความสำเร็จในด้านกีฬาของเขานี้ ส่งผลให้รัฐบาลของเขามอบเกียรติระดับเฟิร์สคลาสที่มีชื่อว่า Honourable First Class Labour Order ให้แก่เขา ในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ชาวญวนและเหงียน วัน หุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน ดึ๊ก เหี่ยน

หงียน ดึ๊ก เหี่ยน (Nguyễn Đức Hiền) เป็นนักจักรยานชาวเวียดนาม เขาเข้าแข่งขันในรายการจักรยานทางไกลบุคคลชาย และประเภททีม ในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952.

ใหม่!!: ชาวญวนและเหงียน ดึ๊ก เหี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน เถ หลก

หงียน เถ หลก (Nguyễn Thế Lộc) เป็นนักฟันดาบสากลชาวเวียดนาม เขาเข้าร่วมในประเภทกระบี่บุคคลในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 และ1968.

ใหม่!!: ชาวญวนและเหงียน เถ หลก · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน เตี๊ยน เหญิ่ต

หงียน เตี๊ยน เหญิ่ต (Nguyễn Tiến Nhật; 5 เมษายน ค.ศ. 1990 —) เป็นนักกีฬาฟันดาบประเภทเอเป้ชาวเวียดนาม เขาถนัดมือขวา ในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและเหงียน เตี๊ยน เหญิ่ต · ดูเพิ่มเติม »

เอลลี่ เจิ่น

อลลี่ เจิ่น (Elly Trần) เกิดวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1987 ที่นครโฮจิมินห์ เป็นนางแบบชาวอเมริกันเชื้อสายเวียดนาม เธอสืบสายเลือดมาจากชาวเวียดนามและจีน มีชื่อเสียงด้านการถ่ายภาพวาบหวามTại đây viết Elly sinh tại Mỹ: Bình Nguyên.

ใหม่!!: ชาวญวนและเอลลี่ เจิ่น · ดูเพิ่มเติม »

เจิว เฟื้อก หวิญ

ว เฟื้อก หวิญ (Châu Phước Vĩnh) เป็นนักจักรยานชาวเวียดนาม เขาเข้าแข่งขันในรายการจักรยานทางไกลบุคคลชาย และประเภททีม ในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952.

ใหม่!!: ชาวญวนและเจิว เฟื้อก หวิญ · ดูเพิ่มเติม »

เจิ่น วัน ซวน

น วัน ซวน (Trần Văn Xuân) เป็นนักฟันดาบสากลชาวเวียดนาม เขาเข้าร่วมการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1960 และ1964.

ใหม่!!: ชาวญวนและเจิ่น วัน ซวน · ดูเพิ่มเติม »

เจิ่น เล โกว๊ก ตว่าน

น เล โกว๊ก ตว่าน (Trần Lê Quốc Toàn; 5 เมษายน ค.ศ. 1989 —) เป็นนักยกน้ำหนักชาวเวียดนาม เขาได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ในประเภท 56 กก.

ใหม่!!: ชาวญวนและเจิ่น เล โกว๊ก ตว่าน · ดูเพิ่มเติม »

เจิ่น เฮี้ยว เงิน

น เฮี้ยว เงิน (Trần Hiếu Ngân; 26 มิถุนายน พ.ศ. 2517 —) เป็นนักเทควันโดชาวเวียดนาม ได้เหรียญเงินกีฬาเทควันโด รุ่น 57 กิโลกรัม หญิงในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่ซิดนีย์ เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวญวนและเจิ่น เฮี้ยว เงิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมบุญนาก ในรัชกาลที่ 1

้าจอมบุญนาก หรือมีสมญาว่า บุญนากสีดา เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เจ้าจอมบุญนากมีบิดาเป็นชาวจีน กับมารดาชาวญวน แต่ไม่ทราบว่าบิดามารดามีจากตระกูลใดหรือประกอบกิจอันใดมา เธอได้สนองพระเดชคุณเป็นที่พอพระราชหฤทัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเป็นอย่างยิ่งจึงได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดถึง 10 ชั่ง แต่มิได้ให้ประสูติพระราชโอรสธิดาแต่อย่างใ.พลายน้อ.

ใหม่!!: ชาวญวนและเจ้าจอมบุญนาก ในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: ชาวญวนและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขต 5 (นครโฮจิมินห์)

ต 5 (Quận 5) เป็นเขตของนครโฮจิมินห์ (เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเวียดนาม) เขต 5 และเขต 6 เป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญของจีนในประเทศเวียดนาม ในปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและเขต 5 (นครโฮจิมินห์) · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง ลี่จวิน

ติ้ง ลี่จวิน หรือ เทเรซา เติ้ง (テレサ・テン, 29 มกราคม พ.ศ. 2496 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) นักร้องเพลงจีนสากลชาวไต้หวันชื่อดังและมีอิทธิพลอย่างสูง เธอเกิดที่ เมืองเป่าจง มณฑลหยุนหลิน สาธารณรัฐจีน โดยบรรพบุรุษของเธอมาจากมณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เสียงและเพลงของเธอเป็นที่จดจำทั่วทั้งเอเชียตะวันออกและในหมู่ชาวจีนทั้งในประเทศจีน ไต้หวัน และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก จนมีคำกล่าวว่า "มีชาวจีนอยู่ที่ไหน ก็จะได้ยินเพลงของเติ้ง ลี่จวินที่นั่น" นอกจากนี้ เพลงของเธอยังเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวไทย ชาวเวียดนาม ชาวมาเลเซีย และชาวอินโดนีเซียจำนวนมากเช่นกัน เติ้ง ลี่จวิน มีชื่อเสียงจากบทเพลงรัก และเพลงพื้นเมืองภาษาหมิ่นหนาน (ภาษาฮกเกี้ยน) เพลงที่โด่งดังจนรู้จักกันทั่วไปทั่วเอเชีย ได้แก่เพลง เถียนมี่มี่ (甜蜜蜜, tián mì mì แปลว่า หวานปานน้ำผึ้ง) และเพลง เยว่เหลียงไต้เปี่ยวหวอเตอซิน (月亮代表我的心, yuè liàng dài biǎo wǒ de xīn แปลว่า พระจันทร์แทนใจฉัน) เป็นต้น ไม่เพียงเพลงภาษาจีนกลางเท่านั้น เธอยังเคยมีผลงานเพลงภาษาไต้หวัน ภาษากวางตุ้ง ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษด้วย เติ้ง ลี่จวิน เสียชีวิตอย่างกะทันหันเนื่องจากโรคหอบหืด ขณะเดินทางมาพักผ่อนที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ขณะอายุได้เพียง 42 ปี.

ใหม่!!: ชาวญวนและเติ้ง ลี่จวิน · ดูเพิ่มเติม »

เปล็ยกู

ปล็ยกู (Pleiku, Plây Ku, Plây Cu) เป็นเมืองใหญ่แห่งหนึ่งในภาคกลางของประเทศเวียดนาม โดยมีฐานะเป็นนครประจำจังหวัดและเมืองหลักของจังหวัดซาลาย เมืองนี้ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่สูงตอนกลาง บริเวณจุดตัดระหว่างทางหลวงแห่งชาติหลายสาย เช่น ทางหลวงแห่งชาติหมายเลข 14 ซึ่งมุ่งไปยังเมืองกอนตูมทางทิศเหนือและเมืองบวนมาถ็วตทางทิศใต้, ทางหลวงแห่งชาติหมายเลข 19 ซึ่งมุ่งไปยังเมืองสตึงแตรงในประเทศกัมพูชาทางทิศตะวันตก (ผ่านจังหวัดรัตนคีรี) และจังหวัดบิ่ญดิ่ญทางทิศตะวันออก เป็นต้น ตัวเมืองเปล็ยกูเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองซึ่งมีเนื้อที่ทั้งหมด 261 ตารางกิโลเมตร ณ ปี..

ใหม่!!: ชาวญวนและเปล็ยกู · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ญวน (กลุ่มชาติพันธุ์)ชาวเวียดนาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »