โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ดัชนี ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

195 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชวลิต ธนะชานันท์ชวน หลีกภัยชัยอนันต์ สมุทวณิชชาติชายบุญชู โรจนเสถียรบุญถึง ผลพานิชย์บุญเรือน ชุณหะวัณบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณบ้านพิษณุโลกพ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2541พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคชาติไทยพระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคลพรเพชร เหมือนศรีพฤษภาทมิฬพล เริงประเสริฐวิทย์พะเนียง กานตรัตน์พิชัย รัตตกุลพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์พินิจ จันทรสุรินทร์พงส์ สารสินกร ทัพพะรังสีกรณีมายาเกซกลุ่มวังน้ำเย็นกลุ่มงูเห่ากองทัพบกไทยการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24ภิญญา ช่วยปลอดมหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมาลีรัตน์ แก้วก่ามานะ รัตนโกเศศมีชัย ฤชุพันธุ์มนพร เจริญศรีรัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย...รัฐประหารในประเทศไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทยรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทยวสิษฐ เดชกุญชรวันมูหะมัดนอร์ มะทาวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)วาสนา นาน่วมวิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515วินัย ภัททิยกุลวีรพงษ์ รามางกูรวีรวร สิทธิธรรมวโรทัย ภิญญสาสน์ศาลาเฉลิมไทยสกุล ศรีพรหมสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534สมบุญ ระหงษ์สมัคร สุนทรเวชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมาสมาน ภุมมะกาญจนะสมาน ศรีงามสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสวัสดิ์ คำประกอบสวนวชิรเบญจทัศสอาด ปิยวรรณสัญญา ธรรมศักดิ์สันติ ชัยวิรัตนะสิทธิ เศวตศิลาสุบิน ปิ่นขยันสุพัตรา มาศดิตถ์สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์สุรินทร์ พิศสุวรรณสุวิทย์ ยอดมณีสุวิทย์ คุณกิตติสุจินดา คราประยูรสุนทร คงสมพงษ์สนั่น ขจรประศาสน์หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชอบ วสุรัตน์อมเรศ ศิลาอ่อนอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระอสมทอาทิตย์ กำลังเอกอาทิตย์ อุไรรัตน์อานันท์ ปันยารชุนอำพล ลำพูนอำนวย ยศสุขอุทยานเบญจสิริอุทัย พิมพ์ใจชนอุดมศักดิ์ ทั่งทองอุดร ตันติสุนทรอุปดิศร์ ปาจรียางกูรผิน ชุณหะวัณจรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยาจักรพันธุ์ ยมจินดาจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดนครราชสีมาจำรัส มังคลารัตน์จำนงค์ โพธิสาโรถนนมิตรภาพทวิช กลิ่นประทุมทหารม้าทองหยด จิตตวีระทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 120ทุนธนชาตที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลกดุสิต รังคสิริครอบครัวของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 32คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 33คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 34คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 46ปกิต พัฒนกุลประพัฒน์ กฤษณจันทร์ประมาณ อดิเรกสารประยูร สุรนิวงศ์ประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประสงค์ บูรณ์พงศ์ประทวน รมยานนท์ประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2531ประเทศไทยใน พ.ศ. 2532ประเทศไทยใน พ.ศ. 2533ประเทศไทยใน พ.ศ. 2534ปรีชา เอี่ยมสุพรรณปรีดี พนมยงค์ปิยะณัฐ วัชราภรณ์นิคม แสนเจริญใหม่ ศิรินวกุลโกศล ไกรฤกษ์โรงเรียนอำนวยศิลป์โรงเรียนเทพศิรินทร์โสภิตนภา ชุ่มภาณีโครงการรถไฟฟ้าลาวาลินโครงการโฮปเวลล์โนพลอมแพลมไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณเชาวน์วัศ สุดลาภาเกษตร โรจนนิลเหรียญกล้าหาญเจริญ คันธวงศ์เจริญ เชาวน์ประยูรเจี่ย ก๊กผลเจ้านายฝ่ายเหนือเทียนชัย ศิริสัมพันธ์เด่น โต๊ะมีนาเฉลิม อยู่บำรุงเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์เปรม ติณสูลานนท์1 สิงหาคม23 กุมภาพันธ์25 กุมภาพันธ์4 สิงหาคม5 เมษายน ขยายดัชนี (145 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต ธนะชานันท์

นายชวลิต ธนะชานันท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและชวลิต ธนะชานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชัยอนันต์ สมุทวณิช

ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 เป็นบุตรของ พล.ต.ต.ชนะ สมุทวณิช นามสกุล "สมุทวณิช" เป็นนามสกุลพระราชทาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ศาสตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช หรือ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมรสกับ นางสุภาธร สมุทวณิช (สกุลเดิม สาครบุตร) มีบุตร 3 คนคือ นายพชร สมุทวณิช ผู้บริหารหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ,พลอย จริยะเวช นักเขียน นักแปล (สมรสกับ พันโทธีระ จริยะเวช กรมยุทธบริการ กองบัญชาการทหารสูงสุด) และ นายพลาย สมุทวณ.ดร.ชัยอนันต์ ไม่ใช่เด็กเรียนดีมาก่อน จบมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากวชิราวุธวิทยาลัย ด้วยคะแนนเพียง 57.3% แต่พยายามจนสอบเข้า คณะรัฐศาสตร์ แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้สำเร็จ เรียนอยู่ 1 ปีสามารถสอบชิง ทุนโคลัมโบ ไปเรียนปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย ประเทศนิวซีแลนด์ ต่อมาสำเร็จปริญญาโท และ ปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ในปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและชัยอนันต์ สมุทวณิช · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย

ติชาย เป็นชื่อบุคคลไทย สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและชาติชาย · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู โรจนเสถียร

นายบุญชู โรจนเสถียร (20 มกราคม พ.ศ. 2464 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ได้รับการยกย่องให้เป็น "ซาร์เศรษฐกิจ".

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและบุญชู โรจนเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

บุญถึง ผลพานิชย์

นายบุญถึง ผลพานิชย์ (เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2487) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 2 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและบุญถึง ผลพานิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเรือน ชุณหะวัณ

ท่านผู้หญิงบุญเรือน ชุณหะวัณ (สกุลเดิม: โสพจน์; เกิดราว พ.ศ. 2462) เป็นภริยาของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 ของประเทศไทย และเป็นพระญาติฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและบุญเรือน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านพิษณุโลก

้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489 บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อ “บ้านบรรทมสินธุ์”.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและบ้านพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

รรคชาติพัฒนา (National Development Party) เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2525 ในชื่อพรรคปวงชนชาวไทย ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคชาติพัฒนา หลังการยุบสภาในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 เนื่องจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคล

ระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคล (พระหยกเชียงราย) เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพุทธลักษณะแบบเชียงแสน แกะสลักจากหินหยกชนิดที่ดีที่สุดของประเทศแคนาดา ปางสมาธิ ฐานเขียง พระโมลีเป็นต่อมกลม ขนาดหน้าตักกว้าง 49.7 เซนติเมตร สูง 65.9 เซนติเมตร ฐานแกะสลักด้วยหินหยกสีเขียวเป็นรูปบัวสูงประมาณ 1 ศอก เป็นฐานบัวศิลปะเชียงแสน เครื่องทรงสร้างด้วยอัญมณีและทองคำ แบบเครื่องทรงแบบเชียงแสน ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เจริญพระชนมายุครบ 90 พรรษา เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคล · ดูเพิ่มเติม »

พรเพชร เหมือนศรี

รเพชร เหมือนศรี หรือชื่อเดิม พรพิศ เหมือนศรี (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) เป็นหญิงชาวนาจากจังหวัดนครสวรรค์ ผู้ใช้เวลากว่าครึ่งค่อนชีวิต ในการต่อสู้กับอำนาจรัฐและระบบราชการ เพื่อรักษาที่ดิน มรดกชิ้นสุดท้ายที่พ่อกับแม่เธอทิ้งไว้ให้ การต่อสู้เริ่มตั้งแต่สมัยคุณพ่อของเธอ นายพิม เหมือนศรี เมื่อได้รับทราบว่า ที่ดินที่ตนได้ซื้อจากเจ้าของที่ดินเดิม และได้ทำไร่ทำนาจนทางราชการยกให้เป็นไร่ตัวอย่าง ได้ถูกประกาศให้เป็น ที่ดินสงวน หวงห้ามสำหรับเลี้ยงสัตว์ ("เขตสาธารณะเลี้ยงสัตว์ทุ่งเขาพระ") ซึ่งในการทำรังวัดนั้น ดำเนินการอย่างไม่โปร่งใส และเจ้าหน้าที่มีการบังคับให้ชาวบ้านเซ็นชื่อในเอกสารที่ไม่มีข้อความใด ๆ จดหมายร้องเรียนฉบับแรก เขียนขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 โดยนางหนู เหมือนศรี แม่ของพรเพชร การร้องเรียนได้ผ่านกระบวนการราชการมากมาย จากหน่วยงานหนึ่ง ไปยังอีกหน่วยงานหนึ่ง ย้อนกลับไปกลับมา เหมือนจะให้ผู้ร้องเรียนท้อถอยเบื่อหน่าย และล้มเลิกไปเอง กระทรวงมหาดไทย กรมที่ดิน กรมประชาสงเคราะห์ หน่วยงานรับเรื่องราวร้องทุกข์ในสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร จนถึง นายกรัฐมนตรี (ถนอม กิตติขจร,เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์,เปรม ติณสูลานนท์,ชาติชาย ชุณหะวัณ) เหล่านี้คือผู้คนและหน่วยงาน ที่พรเพชรและชาวบ้านได้เข้าร้องเรียน อย่างยาวนานต่อเนื่อง แต่ปัญหาต่าง ๆ ก็ยังไม่ได้รับการแก้ไข เมื่อวันที่ 12..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพรเพชร เหมือนศรี · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพฤษภาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

พล เริงประเสริฐวิทย์

ันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพล เริงประเสริฐวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

พะเนียง กานตรัตน์

ลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2464 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนการบินประเทศอังกฤษ, Air Command and Staff College และ Tactical Air Command ประเทศสหรัฐอเมริกา, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ, โรงเรียนวิทยาลัยกองทัพบก, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ. 2507 รับราชการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2484 ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา ในยศ เรืออากาศตรี (ร.อ.ต.) จากนั้นได้เติบโตในหน้าที่ราชการเรื่อยมา ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ อาทิ เจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ, เสนาธิการทหารอากาศ, และผู้บัญชาการทหารอากาศ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2520 นอกจากนี้ยังดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, ตุลาการศาลทหารสูงสุด รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในสมัยรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรีด้วย เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยนั้น ได้เกิดเหตุกบฏ 9 กันยา ขึ้น ในวันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ที่ทหารบกเหล่าทหารม้าและทหารอากาศสังกัดอากาศโยธินกลุ่มหนึ่ง นำกำลังก่อการยึดอำนาจแต่ทว่าไม่สำเร็จ ซึ่งเหตุการณ์ได้จบลงที่ คณะทหารผู้ก่อการได้หลบหนีออกนอกประเทศไป และหลังเหตุการณ์นี้ พล.อ.อ.พะเนียง ได้ถูกเพ่งเล็งว่าเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อการครั้งนี้ด้วย ร่วมกับนายทหารชั้นผู้ใหญ่หลายคน อาทิ พล.อ.เสริม ณ นคร, พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์, พล.อ.ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา และ พล.อ.อ.อรุณ พร้อมเทพ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด ทางด้านชีวิตครอบครัว ได้สมรสกับคุณหญิงสุรนุช กานตรัตน์ (พ.ศ. 2467-พ.ศ. 2540) พล.อ.อ.พะเนียง กานตรัตน์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ด้วยโรคชรา ที่โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช สิริอายุได้ 89 ปี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพะเนียง กานตรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพิชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์

นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ จันทรสุรินทร์

ระวังสับสนกับ: พินิจ จันทร์สมบูรณ์ ดร.พินิจ จันทรสุรินทร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปางหลายสมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพินิจ จันทรสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พงส์ สารสิน

นายพงส์ สารสิน (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย และ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและพงส์ สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

กร ทัพพะรังสี

นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและกร ทัพพะรังสี · ดูเพิ่มเติม »

กรณีมายาเกซ

กรณีมายาเกซ (Mayaguez incident) เป็นปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐอเมริกาที่รวดเร็ว และเกิดขึ้นเพียง 3 วัน ระหว่างวันที่ 13-15 พฤษภาคม ค.ศ. 1975 แต่ได้ส่งผลกระทบต่อการเมืองยังภูมิภาคอินโดจีน เวลาประมาณ 15.20 น. ของวันที่ 12 พฤษภาคม เรือบรรทุกสินค้า ซึ่งใช้บรรทุกเวชภัณฑ์และเสบียงสัญชาติอเมริกันชื่อ เอสเอส มายาเกซ (SS Mayaguez) ซึ่งแล่นระหว่างฮ่องกงและประเทศไทย ขณะที่แล่นอยู่ห่างจากชายฝั่งของประเทศกัมพูชาเพียง 60 ไมล์ ซึ่งถือเป็นเขตน่านน้ำสากล ได้ถูกเรือปืนจำนวนหลายลำของกัมพูชาประชาธิปไตย (เขมรแดง) เข้าล้อมและบุกยึด จับตัวประกันซึ่งเป็นกัปตันและลูกเรือไว้ได้ทั้งหมด 39 คน จากนั้นได้ลากไปจอดลอยลำทิ้งสมอไว้ที่เกาะตัง ใกล้กับเมืองกัมปงโสม (เมืองพระสีหนุในปัจจุบัน) การกระทำดังกล่าวถือว่าเป็นการหยามหน้ารัฐบาลสหรัฐอเมริกาอย่างรุนแรง และด้วยขณะนั้นสงครามเวียดนามเพิ่งยุติลงได้เพียงไม่กี่วัน เนื่องจากการที่กองทัพเขมรแดงและเวียดนามเหนือสามารถบุกยึดกรุงไซง่อน ประเทศเวียดนามใต้ และกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ได้อย่างเบ็ดเสร็จ ถือเป็นชัยชนะครั้งใหญ่ของลัทธิคอมมิวนิสต์ และเป็นความพ่ายแพ้ครั้งประวัติศาสตร์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา รัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดยเจอรัลด์ ฟอร์ด ประธานาธิบดี ได้ตัดสินใจอย่างเร่งด่วนส่งกองกำลังทหาร ซึ่งส่วนมากเป็นนาวิกโยธินประมาณ 1,000 นาย จากเกาะโอกินาวาและอ่าวซูบิค เข้าประจำการที่สนามบินอู่ตะเภาในพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นฐานในการปฏิบัติการบุกยึดเรือและตัวประกันคืน ในวันที่ 13 พฤษภาคม โดยปฏิบัติการเริ่มขึ้นในเช้ามืดของวันที่ 14 พฤษภาคม โดยมีเครื่องบินรบจากฐานทัพอเมริกาที่จังหวัดอุดรธานีและนครราชสีมาออกปฏิบัติการร่วมด้วย และประสบความสำเร็จในเวลาประมาณ 11.00 น. โดยสามารถจมเรือปืนของเขมรแดงลงได้ 3 ลำ มีความสูญเสียด้วยกันของทั้งสองฝ่าย แต่สามารถช่วยเหลือตัวประกัน รวมถึงลูกเรือประมงของไทยจำนวน 5 คนออกมาได้ ทว่า ปฏิบัติการดังกล่าว ทางสหรัฐอเมริกามิได้กระทำการแจ้งอย่างเป็นทางการแก่รัฐบาลไทย อันถือเป็นการละเมิดอธิปไตยของไทย ในวันที่ 17 พฤษภาคม ได้มีกลุ่มนักศึกษาและประชาชนจำนวน 10,000 คน และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เป็น 30,000 คน นำโดย ธีรยุทธ บุญมี ทำการประท้วง ที่หน้าสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย ถนนวิทยุ อย่างรุนแรง โดยประณามการกระทำของสหรัฐอเมริกา ว่าเป็นจักรวรรดินิยมอเมริกัน ที่คุกคามภูมิภาคแถบนี้ ซึ่งก่อนหน้านั้นได้มีการชุมนุมลักษณะเช่นนี้และมีความพยายามเคลื่อนไหวที่จะให้มีการถอนกำลังทหารของสหรัฐอเมริกาออกจากประเทศไทยมาแล้ว โดยรัฐบาลไทยได้ขีดเส้นตายว่า สหรัฐอเมริกาต้องถอนกำลังทหารออกจากประเทศไทยให้หมดภายใน 18 เดือน และการชุมนุมประท้วงครั้งนี้นับว่าเป็นการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนครั้งใหญ่ที่สุดหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลา เมื่อ 2 ปีก่อน รัฐบาลไทย โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ได้กระทำการตอบโต้สหรัฐอเมริกา ด้วยการขอให้ทางการสหรัฐทำหนังสือขอโทษมาอย่างเป็นทางการ และจะมีการพิจารณาทบทวนข้อตกลงต่าง ๆ ระหว่างกัน และ พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีคำสั่งเรียกตัวอานันท์ ปันยารชุน เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศสหรัฐอเมริกา กลับด่วน ที่สุดเหตุการณ์จบลงในวันที่ 19 พฤษภาคม หลังจากการชุมนุมยืดเยื้อนานถึง 3 วัน เมื่ออุปทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยได้ส่งสาสน์แสดงความเสียใจต่อการกระทำดังกล่าว ต่อมา ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน เครื่องบินรบรุ่น เอฟ-4 ลำสุดท้ายก็ได้บินออกจากสนามบินกองทัพอากาศอุดรธานี ถือเป็นการปิดฉากการประจำการทางทหารของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยอย่างเด็.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและกรณีมายาเกซ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มวังน้ำเย็น

กลุ่มวังน้ำเย็น หมายถึง กลุ่มของนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง นำโดย เสนาะ เทียนทอง ตั้งชื่อตามชื่อ ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นฐานธุรกิจ และการเมืองดั้งเดิมของนายเสนาะ (เดิม อ.วังน้ำเย็น อยู่ใน จังหวัดปราจีนบุรี ก่อนจะแยกออกมาพร้อม อ.อรัญประเทศ, อ.ตาพระยา, อ.วัฒนานคร และ อ.คลองหาด เพื่อจัดตั้งเป็น จังหวัดสระแก้ว) "กลุ่มวังน้ำเย็น" เดิมเป็นสมาชิก พรรคชาติไทย ซึ่งมี นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นหัวหน้าพรรค เนื่องจากมีจำนวน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและกลุ่มวังน้ำเย็น · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มงูเห่า

กลุ่มงูเห่า เป็นชื่อเรียก ส.ส. กลุ่มหนึ่งที่เคยสังกัดพรรคประชากรไทย มีที่มาจากคำเปรียบเปรยของ นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรคประชากรไทย ในขณะนั้น ที่เปรียบตัวเองเป็นเหมือนชาวนาที่ถูกงูเห่ากัดในนิทานอีสป เหตุการณ์เกิดขึ้น หลังการลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ของ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ปลายปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและกลุ่มงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24

การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24 เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระดับประเทศของประเทศไทย การแข่งขันครั้งนี้จัดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

ภิญญา ช่วยปลอด

นายภิญญา ช่วยปลอด (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2483) อดีตรัฐมนตรีช่วยวาการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและภิญญา ช่วยปลอด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 สถาบันสมทบ โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

มาลีรัตน์ แก้วก่า

นางมาลีรัตน์ แก้วก่า (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2496) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสกลนคร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและมาลีรัตน์ แก้วก่า · ดูเพิ่มเติม »

มานะ รัตนโกเศศ

ลเอกมานะ รัตนโกเศศ (16 กันยายน พ.ศ. 2468 - 1 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 3 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและมานะ รัตนโกเศศ · ดูเพิ่มเติม »

มีชัย ฤชุพันธุ์

มีชัย ฤชุพันธุ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติคนเดียวที่เป็นพลเรือน (ไม่ได้เป็นทหารหรือตำรวจ) รักษาการนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ อดีตประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา และ รองนายกรัฐมนตรี ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายมีชัย ฤชุพันธุ์ สมรสกับคุณหญิงอัมพร (เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) ฤชุพันธุ์ (ถึงแก่อนิจกรรม) มีบุตรี 2 คน คือ นางมยุระ ช่วงโชติ และ นางมธุรส โลจายะ หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พลเอกสุจินดา คราประยูร ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น ได้รับการคัดเลือกจากคณะรัฐมนตรีให้เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรี จึงทำให้ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งประมุขของทั้งฝ่ายบริหาร (รักษาการนายกรัฐมนตรี) และฝ่ายนิติบัญญัติ (ประธานรัฐสภา).

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและมีชัย ฤชุพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มนพร เจริญศรี

นางมนพร เจริญศรี (เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและมนพร เจริญศรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย

รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย (រដ្ឋាភិបាលចម្រុះកម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ รฎฺฐาภิบาลจมฺรุะกมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Coalition Government of Democratic Kampuchea: CGDK) เป็นการรวมตัวของกลุ่มการเมืองในกัมพูชาได้แก่เขมรแดง ภายใต้การนำของเขียว สัมพันและพล พต แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติประชาชนเขมรของซอนซาน และพรรคฟุนซินเปกของสมเด็จพระนโรดม สีหนุ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยใน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย

ณะรัฐประหารของไทยที่ก่อการสำเร็จ มักจะเรียกตนเองหลังก่อการว่า "คณะปฏิรูป" หรือ "คณะปฏิวัติ" เพื่อให้มีความหมายไปในเชิงบวก อย่างไรก็ตาม มีผู้เสนอว่าการ "ปฏิวัติ" หรือ "อภิวัฒน์" (revolution) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองนั้น เกิดขึ้นกับประเทศไทยเพียงครั้งเดียว จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) เป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 แต่ความเห็นอีกด้านหนึ่งกล่าวว่า เหตุการณ์ดังกล่าวมีลักษณะผสมผสาน ระหว่างการปฏิวัติกับการรัฐประหาร เนื่องจากมีการใช้กำลังทหาร ในการควบคุมบังคับ เพื่อระงับอำนาจของรัฐบาล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ก่อการรัฐประหารในประเทศไทยเป็นผลสำเร็จ ส่วนใหญ่เกิดจากฝ่ายกองทัพบก ส่วนทหารเรือเคยพยายามก่อรัฐประหารมาแล้ว ในกรณีกบฏวังหลวง เมื่อปี พ.ศ. 2492 และกบฏแมนฮัตตัน เมื่อปี พ.ศ. 2494 แต่กระทำการไม่สำเร็จ แล้วหลังจากนั้น ทหารเรือก็เสียอำนาจในการเมืองไทยไป.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐประหารในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

รัฐประหาร 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (14 กันยายน พ.ศ. 2489) เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ศาสตราจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย หมายถึง กลุ่มที่มีความมุ่งหมายทางการเมืองร่วมกัน จับมือกันเป็นวิธีบรรลุเป้าหมายและผลักดันวาระและฐานะของพวกตน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามคู่สมรสของนายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เริ่มแต่งตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วสิษฐ เดชกุญชร

ลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561)) อดีตนายตำรวจราชสำนักประจำ และเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไว้วางพระราชหฤทัย จนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้านายตำรวจราชสำนักประจำ ก่อนที่จะออกมาดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมตำรวจ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ที่เป็นนักเขียนนวนิยายเกี่ยวกับวงการตำรวจ และอาชญากรรม โดยนำมาจากประสบการณ์จริง จนได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2541 ได้รับยกย่องว่าเป็นตำรวจตงฉินแห่งกรมตำรวจไทย ยุคปราบปรามคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวสิษฐ เดชกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวันมูหะมัดนอร์ มะทา · ดูเพิ่มเติม »

วันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)

วันเด็กแห่งชาติ ในไทย ตรงกับวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมของทุกปี เป็นวันหยุดราชการที่ไม่ได้ชดเชยในวันทำงานถัดไป มีการให้คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา นาน่วม

วาสนา นาน่วม กำลังถือหนังสือ ''ลับ ลวง พราง''ที่เธอเขียน วาสนา นาน่วม (ชื่อเล่น: เล็ก) ผู้สื่อข่าวสายทหารหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ และ โพสต์ทูเดย์ ผู้เขียนหนังสือชุดลับ ลวง พราง และผู้ดำเนินรายการวิทยุ “ลับ ลวง พราง” ทางโมเดิร์นเรดิโอ เอฟเอ็ม 100.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ในหมู่ของผู้ที่ศึกษาด้านการทหาร ชื่อของ วาสนา นาน่วม นั้นเป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นผู้ที่มีข่าวคราวจากการสอบถามไปยังนายทหารระดับสูงหลายครั้ง.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวาสนา นาน่วม · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515

วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไท..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

วินัย ภัททิยกุล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วินัย ภัททิยกุล (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491-) ประธานกรรมการ บริษัท สบายดี แอร์เวย์ส จากัด อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ อดีตเลขาธิการ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหมและเป็นหนึ่งในผู้ดูแลการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวินัย ภัททิยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวีรพงษ์ รามางกูร · ดูเพิ่มเติม »

วีรวร สิทธิธรรม

นายวีรวร สิทธิธรรม (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2481) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 5 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครพนม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวีรวร สิทธิธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วโรทัย ภิญญสาสน์

นายวโรทัย ภิญญสาสน์ (เกิด 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2 สมัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี 4 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและวโรทัย ภิญญสาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมไทย

หน้าปกสูจิบัตรโฆษณา ฉบับเดือนเมษายน ปลายทศวรรษ 2510 ของศาลาเฉลิมไทย ศาลาเฉลิมไทย เป็นโรงมหรสพ โรงภาพยนตร์ ตั้งอยู่ที่มุม ถนนราชดำเนินกลาง กับ ถนนมหาไชย ได้รับการสร้างขึ้นตามความประสงค์ของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ศาลาเฉลิมไทยได้สร้างขึ้นราวปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและศาลาเฉลิมไทย · ดูเพิ่มเติม »

สกุล ศรีพรหม

กุล ศรีพรหม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสกุล ศรีพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 269 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยมีสาเหตุมาจากพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลขาดเอกภาพ ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรค ในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 (4 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 279 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งดขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ เข้ายึดอำนาจการปกครองในประเทศ ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยึดอำนาจจากการปกครองแผ่นดินของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ หลังจากนายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 และถือเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในรอบปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "การเลือกตั้ง 2535/2" นั่นเอง การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งหนึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน มีจำนวน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิก.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)

นิติบัญญัติแห่งชาติ ในประเทศไทย หมายถึง สภาที่ทำหน้าที่ออกกฎหมายแทนสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา เกิดขึ้นหลังจากคณะรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเรือนและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองหรือรัฐธรรมนูญชั่วคราวแทนรัฐธรรมนูญถาวร สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีลักษณะเป็นสภาเดี่ยวซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะรัฐประหาร ซึ่งรัฐธรรมนูญบางฉบับอาจกำหนดให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญอีกหน้าที่หนึ่ง จนถึงปัจจุบันประเทศไทยมีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังนี้.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534

นิติบัญญัติแห่งชาติ ชุดปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

สมบุญ ระหงษ์

ลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 — 23 กันยายน พ.ศ. 2556) อดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีต..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสมบุญ ระหงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา มี 15 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 15 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สมาน ภุมมะกาญจนะ

มาน ภุมมะกาญจนะ (1 มกราคม พ.ศ. 2479 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสมาน ภุมมะกาญจนะ · ดูเพิ่มเติม »

สมาน ศรีงาม

มาน ศรีงาม นายสมาน ศรีงาม เป็นนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองเลขาธิการพรรคอธิปไตยปวงชนชาวไทย และเลขาธิการทั่วไปขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ และจัดรายการวิทยุทางคลื่น F.M. 92.25.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสมาน ศรีงาม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ คำประกอบ

นายสวัสดิ์ คำประกอบ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 28 กันยายน พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสวัสดิ์ คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

สวนวชิรเบญจทัศ

วนวชิรเบญจทัศ หรือที่นิยมเรียกว่า สวนรถไฟ เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ มีเนื้อที่กว่า 375 ไร่ ตั้งอยู่ที่ถนนกำแพงเพชร 3 แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ติดกับสวนสาธารณะอีก 2 สวน คือ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ และสวนจตุจักร อยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.).

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสวนวชิรเบญจทัศ · ดูเพิ่มเติม »

สอาด ปิยวรรณ

ร.สอาด ปิยวรรณ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 6 สมัย สังกัดพรรคชาติไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสอาด ปิยวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ชัยวิรัตนะ

นายสันติ ชัยวิรัตนะ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 7 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสันติ ชัยวิรัตนะ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสิทธิ เศวตศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สุบิน ปิ่นขยัน

น ปิ่นขยัน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และทบวงมหาวิทยาลัย เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานกรรมการบริหารของ บม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุบิน ปิ่นขยัน · ดูเพิ่มเติม »

สุพัตรา มาศดิตถ์

ณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นบุตรสาวของนายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นน้องสาวของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุพัตรา มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์

ร้อยตำรวจเอกสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม อดีตรองหัวหน้าพรรคกิจสังคม ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประธานกรรมการบริษัท โอสถสภา จำกัด กลุ่มบริษัทในเครือโอสถสภา และนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม ในอดีตเคยดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลชวน หลีกภัย สุรินทร์เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน วาร..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุรินทร์ พิศสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ ยอดมณี

ร้อยโท สุวิทย์ ยอดมณี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลของพลเอสุรยุทธ์ จุลานนท์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุวิทย์ ยอดมณี · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุวิทย์ คุณกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุจินดา คราประยูร · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร คงสมพงษ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 มีชื่อเรียกในสื่อสารมวลชนว่า บิ๊กจ๊อ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสุนทร คงสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและสนั่น ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

อบ วสุรัตน์

นายอบ วสุรัตน์ เป็นนักธุรกิจชาวไทย เจ้าของกิจการบริษัทวิทยาคม ผู้แทนจำหน่ายเครื่องพิมพ์ดีดเรมิงตัน เป็นอดีตประธานสภาหอการค้าไทย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอบ วสุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อมเรศ ศิลาอ่อน

นายอมเรศ ศิลาอ่อน เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ 4 สมัย ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (2 สมัย) และในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (2 สมัย).

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอมเรศ ศิลาอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

อร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ

นายอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ หรือชื่อเดิม นายอร่าม โล่ห์วีระ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 6 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอสมท · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ กำลังเอก

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก อาทิตย์ กำลังเอก (31 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 19 มกราคม พ.ศ. 2558) อดีตผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเล.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอาทิตย์ กำลังเอก · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช. และเจ้าของฉายา "ดร.ไข่ผง" จากการเคยมีกิจการโรงงานผลิตไข่ผงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอาทิตย์ อุไรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 และพฤษภาทมิฬ เขายังได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการรัฐกิจ ประจำปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอานันท์ ปันยารชุน · ดูเพิ่มเติม »

อำพล ลำพูน

อำพล ลำพูน หรือ "ร็อกเกอร์มือขวา" เป็นนักร้องนำวง ไมโคร และนักแสดงชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อมากมาย เช่น วัยระเริง น้ำพุ และยังมีวงดนตรีที่ได้รับความประสบความสำเร็จด้วยในนามไมโคร แต่อัลบั้มที่ดีที่สุดของอำพลนั้น คือชุดที่แตกออกมาจากไมโคร นั่นคือชุดวัตถุไวไฟ จากการได้สุดยอดมือกีตาร์สุดเทพอันดับ7ประเทศไทยอย่าง ศิริพงษ์ หรเวชกุล (แย้ เดอะ คิดส์) มาร่วมงาน พร้อมสุดยอดมือกลองอย่าง หรั่ง เดอ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอำพล ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย ยศสุข

อำนวย ยศสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 7 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอำนวย ยศสุข · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานเบญจสิริ

ระวังสับสนกับ: สวนเบญจกิติ อุทยานเบญจสิริ หรือ สวนเบญจสิริ เป็นสวนสาธารณะระดับชุมชนขนาดเล็กในกรุงเทพมหานครสร้างบนที่ดินเดิมเนื้อที่ 29 ไร่ของกรมอุตุนิยมวิทยาริมถนนสุขุมวิทที่ย้ายออกไปอยู่ที่ถนนสุขุมวิท เขตบางนา โดยด้านข้างของสวนสาธารณะแห่งนี้ติดกับโรงแรมอิมพีเรียลควีนส์พาร์ค ห้างสรรพสินค้าเอ็มโพเรี่ยม กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาล ฯพณฯ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษาในปีพ.ศ. 2535 ได้รับการออกแบบภูมิทัศน์โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ ภายในสวนสาธารณะแห่งนี้มีประติมากรรมที่งดงาม และเป็นชิ้นงานสำคัญของศิลปินระดับชาติที่ร่วมใจกันถวายเป็นการเทิดพระเกียรติฯ ตั้งประดับอยู่เป็นการถาวรถึง 12 ชิ้นงาน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550 อุทยานเบญจสิริได้ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดการหาเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในปลายปีเดียวกัน และในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดหาเสียงของนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 และเป็นที่เปิดตัวและปิดท้ายการปราศรัยใหญ่หาเสียงของ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2556 และในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในกลางปีเดียวกัน และใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดท้ายการหาเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในวันที่ 1 มีนาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอุทยานเบญจสิริ · ดูเพิ่มเติม »

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอุทัย พิมพ์ใจชน · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศักดิ์ ทั่งทอง

นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง (4 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 25 มกราคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรี 5 รัฐบาล และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 11 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอุดมศักดิ์ ทั่งทอง · ดูเพิ่มเติม »

อุดร ตันติสุนทร

นายอุดร ตันติสุนทร (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2476) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก 5 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอุดร ตันติสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

อุปดิศร์ ปาจรียางกูร

อุปดิศร์ ปาจรียางกูร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต่อจากพิชัย รัตตกุล ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ถึง 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา ในสมัยของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร และเป็นเอกอัครราชทูตแห่งราชอาณาจักรไทยประจำสมาพันธรัฐสวิส ต่อจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 ถึง พ.ศ. 2516 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล อุปดิศร์ ปาจรียางกูร หรือ ดร.อุปดิศร์ ปาจรียางกูร เคยร่วมก่อตั้งพรรคการเมืองกับพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและอุปดิศร์ ปาจรียางกูร · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

จรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

นายจรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2 สมัย สมัยที่ 1 ตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ถึง 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร สมัยที่ 2 ตั้งแต่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ถึง 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ในสมัยของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ จรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฏิ์ ฉะเชิงเทรา และสมรสกับ ท่านผู้หญิง อรอวร อิศรางกูร ณ อยุธยา มีบุตรด้วยกันคือ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและจรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ. 2531-2534 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโทรทัศน์ และอดีตรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและจักรพันธุ์ ยมจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จำรัส มังคลารัตน์

ลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 - 3 มกราคม พ.ศ. 2540) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและจำรัส มังคลารัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จำนงค์ โพธิสาโร

ำนงค์ โพธิสาโร เป็นอดีตนักการเมือง โดยเป็น..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและจำนงค์ โพธิสาโร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมิตรภาพ

นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและถนนมิตรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช กลิ่นประทุม

นายทวิช กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายสมชาย กับนางอรุณี กลิ่นประทุม มีพี่น้อง 4 คน และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดราชบุรี อดีตหัวหน้าพรรคธรรมสังคม เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยหลายสมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นบิดาของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย นายทวิช เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและทวิช กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

ทหารม้า

ทหารม้าโปแลนด์ (Polish cavalry) ในปี 1938 ทหารม้าบนรถถัง ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ เครื่องหมายเหล่าเป็นรูปกระบี่ไขว้ประกอบกับเกือกม้าและรถถัง นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและทหารม้า · ดูเพิ่มเติม »

ทองหยด จิตตวีระ

ทองหยด จิตตวีระ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 จังหวัด คือ จังหวัดระนอง และจังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตนายกสมาคมสันนิบาทเทศบาลแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและทองหยด จิตตวีระ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 120

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 120 สายพะเยา – แม่ขะจาน เป็นถนนที่แยกมาจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ที่แยกเกษตรสุข อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เดิมเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1285 (แยกทางหลวงหมายเลข 1 (พะเยา) -วังเหนือ) ที่สร้างขึ้นในสมัย พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ปี พ.ศ. 2531 และรวมกับส่วน 15 กิโลเมตรสุดท้ายของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1035 (ลำปาง-แจ้ห่ม-วังเหนือ-แม่ขะจาน) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 120 เป็นทางสายหลักที่เชิ่อมระหว่างจังหวัดพะเยา จังหวัดลำปาง กับจังหวัดเชียงรายและเป็นทางที่ใช้เพื่อเดินทางไปยังจังหวัดเชียงใหม่ทางหลวงสายนี้ตัดผ่านอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยาอำเภองาว อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง และอำเภอเวียงป่าเป้าจังหวัดเชียงราย ผ่านพื้นที่ต้นน้ำแม่งาวในเขตอุทยานแห่งชาติดอยหลวง.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 120 · ดูเพิ่มเติม »

ทุนธนชาต

ริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) (THANACHART CAPITAL PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:TCAP) บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) หรือชื่อเดิมคือ บริษัท เงินทุนธนชาติ จำกัด (มหาชน) บริษัทประกอบธุรกิจการลงทุน (Holding Company) เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินธนชาต ซึ่งบริษัทในกลุ่มธนชาตแบ่งประเภทการประกอบธุรกิจออกเป็น 2 กลุ่ม 1) ธุรกิจทางการเงิน ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจประกัน ธุรกิจให้เช่าซื้อ และธุรกิจลีสซิ่ง 2) ธุรกิจสนับสนุน ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจโบรกเกอร์ ธุรกิจบริการ และธุรกิจการพัฒนาฝึกอบรม ลักษณะการประกอบธุรก.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและทุนธนชาต · ดูเพิ่มเติม »

ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก

"ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" เป็นชื่อคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในสมัยของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ แต่งตั้งขึ้นตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 84/2531 และเนื่องจากได้ใช้ "บ้านพิษณุโลก" ที่ปกติเป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย มาปรับเปลี่ยนเป็นสำนักงานของคณะที่ปรึกษา โดยคณะทำงานส่วนใหญ่ ใช้ห้องชั้นล่างด้านซ้ายเป็นห้องทำงาน และใช้พื้นที่ด้านขวาเป็นห้องรับแขก และประชุมร่วมกับ พล.อ.ชาติชาย ส่วนชั้นบนของบ้านใช้เป็นห้องทำงานของ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ทำให้เป็นที่มาของชื่อ "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" หรือเรียกย่อๆ ว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษฯ".

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต รังคสิริ

นายดุสิต รังคสิริ (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ 7 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและดุสิต รังคสิริ · ดูเพิ่มเติม »

ครอบครัวของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

มเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีนามเดิมว่า สังวาลย์ เป็นบุตรของชูและคำอนึ่ง ชู, คำ และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีไม่มีนามสกุลใช้เนื่องจากขณะนั้นยังไม่มีการบัญญัตินามสกุล ภายหลังถมยาได้จดทะเบียนใช้ชื่อสกุลว่า "ชูกระมล" จึงถือว่าครอบครัวของชูและคำใช้นามสกุลนี้โดยอนุโลม (ดูเพิ่มที่) มีพี่ชายและพี่สาวไม่ปรากฏนามสองคน และมีน้องชายหนึ่งคนชื่อ ถมยา ชูกระมล เมื่อสังวาลย์เข้าศึกษาต่อต่างประเทศซึ่งจำต้องใช้ชื่อสกุลในหนังสือเดินทาง จึงได้ใช้นามสกุลของขุนสงขลานครินทร์ (หลี ตะละภัฏ) ข้าราชบริพารคนหนึ่งของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ หลังการอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ จึงมีบรรดาศักดิ์เป็น "หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา" และได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศสูงสุดที่ สมเด็จพระบรมราชชนนี พระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและครอบครัวของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

ณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. (National Peace Keeping Council - NPKC) เป็นคณะนายทหารที่ก่อการรัฐประหาร ยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำโดย พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก, พลเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก และพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ คณะ ร. ให้เหตุผลในการยึดอำนาจว.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่าคณะรัฐมนตรี และได้ใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน จำนวนรัฐมนตรีในคณะนั้นเป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่บังคับใช้อยู่ขณะนั้น ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีมีรัฐมนตรีได้ไม่เกิน 35 คน, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรี คณะที่ 61เป็นคณะรัฐมนตรีชุดล่าสุดจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 32

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 32 ของไทย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516) จอมพลถนอม กิตติขจร เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 32 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 33

นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณ ในเวลา 16.00 น. ของวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 33 ของไทย (14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 - 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517) นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 34

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 34 ของไทย (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี สืบต่อเป็นสมัยที่ 2 ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 34 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 13 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณ ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 36 ของไทย (14 มีนาคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519) หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 37 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 37 ของไทย (20 เมษายน พ.ศ. 2519 - 23 กันยายน พ.ศ. 2519) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี นำคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 เข้าเฝ้าฯ เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณ ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 38 ของไทย (25 กันยายน พ.ศ. 2519 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42

ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 42 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 42 (3 มีนาคม 2523 - 19 มีนาคม 2526) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 44 ของไทย (5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 45 ของไทย (4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533) พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ (ยศในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 46

ลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 46 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 46 ของไทย (9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 46 · ดูเพิ่มเติม »

ปกิต พัฒนกุล

นายปกิต พัฒนกุล (เกิด 10 มิถุนายน พ.ศ. 2481) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย อดีตสมาชิกวุฒิสภา และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและปกิต พัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประพัฒน์ กฤษณจันทร์

ลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ (11 มกราคม พ.ศ. 2473 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ และอดีตรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาต.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประพัฒน์ กฤษณจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประมาณ อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร สุรนิวงศ์

นายประยูร สุรนิวงศ์ (เกิด 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 4 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประยูร สุรนิวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประวัติพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ บูรณ์พงศ์

นายแพทย์ประสงค์ บูรณ์พงศ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประสงค์ บูรณ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประทวน รมยานนท์

นายประทวน รมยานนท์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม 3 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 1 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 3 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประทวน รมยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2531

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2531 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประเทศไทยใน พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2532

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2532 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประเทศไทยใน พ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2533

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2533 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประเทศไทยใน พ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2534

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2534 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและประเทศไทยใน พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ

ล.อ.ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและปรีชา เอี่ยมสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคเอกภาพ เจ้าของวลีทางการเมือง "เก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก" และเป็นนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับในเรื่องการพูด จนได้รับฉายา "ดาวสภา" และเคยทำหน้าที่โฆษกพรรคกิจสังคม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและปิยะณัฐ วัชราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิคม แสนเจริญ

นายนิคม แสนเจริญ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2485 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและนิคม แสนเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ใหม่ ศิรินวกุล

นายใหม่ ศิรินวกุล (15 มีนาคม พ.ศ. 2481 - 16 กันยายน พ.ศ. 2536) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 5 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและใหม่ ศิรินวกุล · ดูเพิ่มเติม »

โกศล ไกรฤกษ์

นายโกศล ไกรฤกษ์ (10 เมษายน พ.ศ. 2469 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 5 สมัย และ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม กับ พรรคประชากรไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและโกศล ไกรฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอำนวยศิลป์

รงเรียนอำนวยศิลป์ (อ.น.ศ.) เป็นโรงเรียนเอกชนที่ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและโรงเรียนอำนวยศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ. 2428 ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปัจจุบันโรงเรียนเทพศิรินทร์มีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนเทพศิรินทร์ยังประกอบด้วย โรงเรียนเครือข่ายที่มีคำนำหน้าว่า "เทพศิรินทร์" อีก 10 แห่ง โรงเรียนเทพศิรินทร์เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งเดียวในประเทศไทย ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเข้ารับการศึกษา คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 นอกจากนี้ยังมีนักเรียนเก่าที่ดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองมากมาย อาทิ นายกรัฐมนตรีไทย 4 คน รวมถึง นายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งมาเลเซี.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและโรงเรียนเทพศิรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โสภิตนภา ชุ่มภาณี

ตนภา ชุ่มภาณี 30 เมษายน พ.ศ. 2519) ชื่อเล่น เจี๊ยบ เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไท.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและโสภิตนภา ชุ่มภาณี · ดูเพิ่มเติม »

โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน

รงการรถไฟฟ้าลาวาลิน (Lavalin Skytrain) เป็นโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการศึกษามาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำเนินการโดยบริษัท ลาวาลิน (SNC-Lavalin) จากประเทศแคนาดา ซึ่งชนะการประมูลเหนือคู่แข่ง คือ บริษัทร่วมค้า เอเชีย-ยูโร คอนซอร์เตียม (AEC) เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โครงการโฮปเวลล์

รงการโฮปเวลล์ หรือ โครงการระบบการขนส่งทางรถไฟยกระดับในกรุงเทพมหานคร (Bangkok Elevated Road and Train System - BERTS) เป็นโครงการก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้ายกระดับ บนพื้นที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ดำเนินการโดยบริษัท โฮปเวลล์ (ประเทศไทย) ในเครือโฮปเวลล์โฮลดิงส์ บริษัทสัญชาติฮ่องกง ของนายกอร์ดอน วู โครงการก่อสร้างประกอบด้วย โครงสร้างยกระดับทางรถไฟขึ้นไปเหนือผิวการจราจร เพื่อลดจุดตัดกับทางรถยนต์ (Grade Crossing) เพื่อลดปัญหาการให้รถยนต์ต้องหยุดรอรถไฟ ก่อสร้างคร่อมทางรถไฟที่มีอยู่ในปัจจุบัน ระยะทางทั้งสิ้น 60.1 กิโลเมตร ใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 80,000 ล้านบาท และให้ผลตอบแทนรายปี 30 ปี รวม 53,810 ล้านบาท โดยโฮปเวลล์จะได้รับสิทธิสร้างถนนยกระดับ เรียกเก็บค่าผ่านทาง คู่ขนานกับทางรถไฟยกระดับ และได้รับสัมปทานเดินรถบนทางรถไฟยกระดับด้วย และสามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ใต้ทางรถไฟยกระดับ และอสังหาริมทรัพย์สองข้างทาง คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 600 ไร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและโครงการโฮปเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โนพลอมแพลม

นพลอมแพลม เป็นคำล้อเลียน "โนพร็อบเบลม" (No Problem, ไม่มีปัญหา) คำพูดติดปาก พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เมื่อให้สัมภาษณ์นักข่าว เป็นสตูดิโออัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 4 ของ ยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว แต่เป็นชุดแรกที่ใช้ชื่อจริงคือ ยืนยง โอภากุล ปรากฏบนปกเทป เดิมแอ๊ดกำหนดวางจำหน่ายอัลบั้มในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2533 แต่ติดเงื่อนไขที่มีเพลงซึ่งไม่ผ่านการเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ หรือ กบว.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและโนพลอมแพลม · ดูเพิ่มเติม »

ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์

นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (14 มกราคม พ.ศ. 2474 - 2 มิถุนายน พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (3 สมัย) และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 5 สมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบสัดส่วน.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์วัศ สุดลาภา

นายเชาวน์วัศ สุดลาภา อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (จอมพลประภาส จารุเสถียร) ในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย ในรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์เป็นนายกรัฐมนตรี และในสมัยนายชวน หลีกภัย 1 เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่7 ที่มาจากการแต่งตั้ง สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการต่างประเทศ (ฯพณฯ ท่าน พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านการบริหาร พณฯ ท่าน บรรหาร ศิลปอาชานายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานคณะกรรมการการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการสันนิบาตเสรีชนแห่งประเทศไทย เป็นเลขานุการคณะกรรมการปราบปรามอาชญากรรมแห่งชาติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รองหัวหน้าพรรคกิจสังคมและผู้ว่าราชการในอีกหลายจังหวั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเชาวน์วัศ สุดลาภา · ดูเพิ่มเติม »

เกษตร โรจนนิล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กเต้ (เกิดเมื่อ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2476) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 1 โรงเรียนการบินรุ่น น.25 โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูงรุ่นที่ 18 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 15 และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเกษตร โรจนนิล · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญกล้าหาญ

หรียญกล้าหาญ เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลรัชกาลที่ 8 สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเหรียญกล้าหาญ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเจริญ คันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ เชาวน์ประยูร

นายเจริญ เชาวน์ประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 7 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเจริญ เชาวน์ประยูร · ดูเพิ่มเติม »

เจี่ย ก๊กผล

นายเจี่ย ก๊กผล (31 กรกฎาคม พ.ศ. 2479-24 ธันวาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร หลายสมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเจี่ย ก๊กผล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนชัย ศิริสัมพันธ์

ลเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตหัวหน้าพรรคราษฎร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเทียนชัย ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เด่น โต๊ะมีนา

น โต๊ะมีนา นักการเมือง ชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดปัตตานี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายสมั.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเด่น โต๊ะมีนา · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชาติชาย ชุณหะวัณและ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณพลตรีชาติชาย ชุณหะวัณพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »