โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชนิดต้นแบบ

ดัชนี ชนิดต้นแบบ

นิดต้นแบบ ในทางอนุกรมวิธานคือชนิดแรกที่ถูกระบุบในสกุล หรือเป็นตัวอย่างที่เอกเทศ (สิ่งที่เป็นตัวตน, ซากดึกดำบรรพ์, หรือภาพประกอบ) ที่กำหนดชื่อของสกุล (หรือของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในชั้นต่ำกว่าสกุล) คำนิยามที่แตกต่างทั้งสองนี้ใช้สลับกันได้ในทางทั่วๆไปและทางพฤกษศาสตร.

91 ความสัมพันธ์: บรอนโตเทอเรียมชื่อพ้องช้างศรีลังกาพร็อกนาโทดอนพาคิเซทัสพูคยองโกซอรัสมาพูซอรัสยูทาห์แรปเตอร์ยูดิมอร์โฟดอนยูโอโพลเซอฟารัสละองละมั่งลู่เฟิงโกซอรัสวิลอซิแรปเตอร์วีเวรียอาสกุลแบร็คอิรัสสกุลแมวลายหินอ่อนสกุลแมวดาวสเตโกซอรัสหม้อข้าวหม้อแกงลิงหย่งชวนโนซอรัสหอยงวงช้างกระดาษอลาโมซอรัสออโดเบ็นโอเซ็ทออปอาร์เจนติโนซอรัสอิริอาเตอร์อูราโนซอรัสทอร์วอซอรัสทีนอนโตซอรัสคาร์ชาโรดอนโทซอรัสงูทับทางงูแมมบาซอร์เดสซอโรโพไซดอนซอโรเพกาแนกซ์ซัลตาซอรัสซันไกซิจิลมาซาซอรัสซิโนซอรอปเทอริกซ์ซูโคไมมัสซีโลไฟซิสปลาบึก (สกุล)ปลาช่อนทรายแก้วปลากระสูบจุดปลากระเบนชายธง (สกุล)ปลากระเบนลาวปลาลิ้นควายขนดำปลาลิ้นควายเกล็ดลื่นปลาหมอเท็กซัส (สกุล)ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ปลาฉลามครีบดำ...ปลาฉลามแนวปะการังปลาแบสดำปลาแบสปากเล็กปลาไฮนีเรียนิวต์จระเข้แบรคิโอซอรัสแพลทีโอซอรัสแมสโสสปอนดิลัสแรดอินเดียแลมบีโอซอรัสแองคิโลซอรัสแอนคิออร์นิสแคมาราซอรัสแคมป์โทซอรัสแซนแทนาแรปเทอร์โพลาแคนทัสโอวิแรปเตอร์โคริโทซอรัสโคเรียโนซอรัส (ออร์นิโธพอด)โคเรียเซอราทอปส์ไวมานูไฮแรกซ์จุดเหลืองไฮโนซอรัสไดพลอโดคัสไซส์โมซอรัสไซคาเนียไซน์แรปเตอร์เพไทโนซอรัสเห็ดเผาะเอบิลิซอรัสเอ็ดมอนโตซอรัสเอ๋อเหมยซอรัสเฮอร์รีราซอรัสเทอริสิโนซอรัสเดสเพลโตซอรัสเคนโทรซอรัสเซกโนซอรัสHomo erectusLatimeriaNepenthes distillatoriaRhynchocinetidae ขยายดัชนี (41 มากกว่า) »

บรอนโตเทอเรียม

รอนโตเทอเรียม (Brontotherium มีความหมายว่าสัตว์แห่งสายฟ้า) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคี่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วสกุลหนึ่งในวงศ์ Brontotheriidae ซึ่งเป็นวงศ์ของสัตว์กินหญ้าที่คล้ายแรดและมีความเกี่ยวพันกับม้า สกุลนี้ได้รับการค้นพบในแถบทวีปอเมริกาเหนือในช่วงปลายของยุค Eocene ซากที่เหลือของบรอนโตเทอเรียมได้รับการค้นพบในบริเวณรัฐเซาท์ดาโคตาและเนวาดา ในอดีต ชนเผ่าซุกซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของอเมริกันได้ค้นพบบรอนโตเทอเรียมจากการมาของพายุฝน และเชื่อว่าเมื่อใดที่พวกมันวิ่งอยู่เหนือก้อนเมฆจะทำให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง และได้เรียกพวกมันว่าม้าแห่งสายฟ้า กระดูกที่ค้นพบโดยชนเผ่าซุกนั้นเป็นกระดูกของฝูงบรอนโตเทอเรียมที่ตายจากการระเบิดของภูเขาไฟในบริเวณเทือกเขาร็อกกีซึ่งยังมีพลังอยู่และปะทุตัวบ่อยในขณะนั้น ตาม Mihlbachler et al.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและบรอนโตเทอเรียม · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อพ้อง

ในระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม ชื่อพ้องคือชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกันสำหรับสิ่งมีชีวิตสิ่งเดียวในทางอนุกรมวิธาน ชื่อให้ใช้ชื่อตั้งขึ้นก่อนหรือที่ถูกต้องได้รับการยอมรับจะเป็นชื่อที่ถูกต้อง ส่วนชื่ออื่น ๆให้เป็นชื่อพ้อง การใช้และคำศัพท์ก็จะต่างกันไปในสัตววิทยาและพฤกษศาสตร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและชื่อพ้อง · ดูเพิ่มเติม »

ช้างศรีลังกา

้างศรีลังกา (Sri Lankan elephant; ශ්‍රි ලංකා‍ අලියා) เป็นช้างเอเชียชนิดย่อยชนิดหนึ่ง มีถิ่นกระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะซีลอน หรือประเทศศรีลังกาในปัจจุบันเท่านั้น ช้างศรีลังกา ได้ถูกอนุกรมวิธานแยกออกจากช้างเอเชียชนิดอื่น ๆ โดยคาโรลัส ลินเนียส นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนเมื่อปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและช้างศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

พร็อกนาโทดอน

ร็อกนาโทดอน(prognathodon)เป็นสัตว์เลื้อยคลานทะเลในกลุ่มโมซาซอร์ที่ใหญ่เป็นอันดับ2รองจากไทโลซอรัสที่ยาว19เมตร(ในอดีตเคยเป็นไฮโนซอรัสที่ใหญ่ที่สุด) มันมีความยาว 14.9 เมตรและอาจหนักถึง 7 ตัน อาหารที่พร็อกนาโทดอนชอบกินคือหอยแอมโมไนต์เพราะฟันของมันคมและแข็งแรงมาก มันจึงสามารถกัดเปลือกแอมโมไนต์ได้ และเรายังเคยพบรอยฟันของพร็อกนาโทดอนบนเปลือกแอมโมไนต์ด้วย(เป็นที่มาของฉายา "ฟันที่แข็งเหมือนเหล็ก")นอกจากนี้ พร็อกนาโทดอนยังกินทุกอย่างที่ขวางหน้า หมวดหมู่:โมซาซอร์.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและพร็อกนาโทดอน · ดูเพิ่มเติม »

พาคิเซทัส

พาคิเซทัส (Pakicetus) เป็นวาฬชนิดแรกๆของโลก อาศัยอยู่เมื่อ 50 ล้านปีมาแล้วประมาณยุคเทอร์เชียรี ยาวประมาณ 2 เมตร ใช้ชีวิตอยู่บนบกและในน้ำ เป็นวาฬพวกแรกๆที่รู้จัก รูปร่างตอนอยู่บนบกจะมีรูปร่างคล้ายหมาป่า เขาเชื่อกันว่ามันคือ ปลาวาฬที่วิ่งเดินได้ ชื่อของมันมาจากสถานที่มันถูกค้นพบคือ ปากีสถาน thumbnail หมวดหมู่:วาฬ หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมยุคก่อนประวัติศาสตร์ในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและพาคิเซทัส · ดูเพิ่มเติม »

พูคยองโกซอรัส

ูคยองโกซอรัส (천년부경용; Pukyongosaurus) เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์ขนาดใหญ่ ซึ่งอาศัยอยู่ในเกาหลีในยุคครีเทเชียสตอนต้น มันมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับยูเฮโลปัส และเป็นที่รู้จักกันจากชุดกระดูกสันหลังในส่วนของลำคอและหลัง และเคยอาศัยอยู่ในสมัยหนึ่งร้อยสี่สิบล้านปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและพูคยองโกซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

มาพูซอรัส

มาพูซอรัส (Mapusaurus) เป็นไดโนเสาร์ในสกุลคาร์โนซอร์ (carnosaurian) ขนาดใหญ่ จากต้น ยุคครีเตเชียส อาศัยอยู่ที่ประเทศอาร์เจนตินา มันมีลักษณะคล้ายญาติของมันที่ชื่อ กิก้าโนโตซอรัส ตัวอย่างที่ใหญ่ที่สุดของ มาพูซอรัส ยาว 12.2 เมตร (40ฟุต) น้ำหนักเกิน 3 ตัน มีรูปร่างผอมเพรียวและว่องไว แต่แข็งแรง ชื่อ มาพูซอรัส (Mapusaurus) มาจาก มาพูเช (Mapuche) มาพู เป็นคำใน ภาษากรีก แปลว่า "ตุ๊กแก" ขนาดของมาพูซอรัสเมื่อเทียบกันไดโนเสาร์กินเนื้ออื่น (สีเขียว).

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและมาพูซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ยูทาห์แรปเตอร์

ูทาห์แรปเตอร์ (Utahraptor) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดครอบครัว โดรมีโอซอร์ หรือ แรพเตอร์ ชนิดหนึ่ง เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์ครอบครัวโดรมีโอซอร์ที่มีชื่อเสียงที่สุด นอกจากนั้นมันยังมีขนาด 7 เมตร ซึ่งถือว่าใหญ่ที่สุดในครอบครัวนี้ ฟอสซิลของมันพบที่รัฐยูทาห์ ประเทศสหรัฐอเมริกา (เพิ่มเติม:ก่อนที่ยูทาห์แรปเตอร์ จะเป็นโดรมีโอซอร์ที่ใหญ่ที่สุด ในอดีตเมก้าแรพเตอร์ยาว 9 เมตร เคยใหญ่ที่สุดมาก่อน แต่ปัจจุบันมันจัดอยู่ในครอบครัว เมกะโลซอร์) ยูทาห์แรปเตอร์เคยได้เป็นตัวละครไดโนเสาร์ ตัวเอกในสารคดีของบีบีซี ชุด ไดโนเสาร์อาณาจักรอัศจรร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและยูทาห์แรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูดิมอร์โฟดอน

ูดิมอร์โฟดอน (Eudimorphodon) เป็นเทอโรซอร์ชนิดหนึ่ง ถูกค้นพบในปี 1973 โดย Mario Pandolfi ที่เมืองเบอร์กาตา ประเทศอิตาลี และอธิบายในปีเดียวกันโดย Rocco Zambelli โครงกระดูกที่สมบูรณ์ครั้งแรกของมัน ถูกดึงมาจากหินดินดานฝากในช่วงยุคไทรแอสสิค ทำให้ ยูดิมอร์โฟดอนกลายเป็นเทอโรซอร์ที่เก่าแก่ที.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและยูดิมอร์โฟดอน · ดูเพิ่มเติม »

ยูโอโพลเซอฟารัส

ูโอโพลเซอฟารัส (Euoplocephalus) เป็นไดโนเสาร์แองคีลอซอร์หรือไดโนเสาร์ฟุ้มเกราะชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลาย ร่างกายของมันหุ้มเกราะ ขนาดของมันประมาณ 6 เมตร มีลูกตุ้มอยู่ที่หาง ลูกตุ้มนั้นหนักถึง 29 กิโลกรัม ดังนั้นยูโอโพลเซอฟาลัสจึงกลายเป็นรถถังแห่งยุคครีเทเชี.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและยูโอโพลเซอฟารัส · ดูเพิ่มเติม »

ละองละมั่ง

thumb thumb ละองละมั่ง (Eld's deer, Thamin, Brow-antlered deer; Pitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004). Evolution and phylogeny of old world deer. Molecular Phylogenetics and Evolution 33: 880–895.) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ฤดูร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาวมาก แต่จะร่วงหล่นจนดูสั้นลงมากในช่วงฤดูร้อน ในตัวผู้จะเรียกว่า ละอง ตัวเมียซึ่งไม่มีเขาจะเรียกว่า ละมั่ง แต่จะนิยมเรียกคู่กัน สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า "ลำเมียง" (រេបីស) ละองตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสีขาวกระจายอยู่รอบตัว และจุดนี้จะจางหายเมื่ออายุมากขึ้น ขอบตาและริมฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 150–170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220–250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95–150 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็น 3 ชนิดย่อย ในประเทศไทยพบ 2 ชนิดได้แก่ ละองละมั่งพันธุ์ไทยที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ละองละมั่งพันธุ์พม่า ซันไก.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและละองละมั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ลู่เฟิงโกซอรัส

ลู่เฟิงโกซอรัส (Lufengosaurus) ค้นพบเมื่อปี 1941 ในประเทศจีน ชื่อของมันมีความหมายว่ากิ้งก่าแห่งลู่เฟิง เพราะว่า ฟอสซิลขอลของมันค้นพบที่อำเภอลู่เฟิง เป็นไดโนเสาร์กินพืชคล้ายกับออร์นิโทไมมัส แต่มีขนาดใหญ่กว่า ยาวประมาณ 6 เมตร อาศัยอยู่ในยุคจูราสสิคตอนต้นเมื่อประมาณ 205 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและลู่เฟิงโกซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

วิลอซิแรปเตอร์

วิลอซิแรปเตอร์ (velociraptor) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ฉลาดและว่องไว อยู่ในวงศ์โดรเมโอซอร์ (Dromaeosauridae) มีการออกล่าเหยื่อเป็นกลุ่มเหมือนหมาป่า อาวุธคือเล็บเท้าแหลมคมเหมือนใบมีดที่พับเก็บได้และฟันที่คมกริบ เป็นไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่บนโลกช่วงประมาณ 83-70 ล้านปีก่อนในยุคครีเทเชียสตอนปลาย มีหลักฐานพบเป็นฟอสซิลในบริเวณเอเชียกลาง (เคยมีการค้นพบฟอสซิลว่าต่อสู้กับโปรโตเซอราทอปส์ด้วย)มันยังถูกเข้าใจว่าคือ ไดโนนีคัส ของเอเชีย จึงแยกประเภทใหม่เพราะมันมีรูปร่างคล้ายกันและไดโนนีคัส ยังถูกเข้าใจผิดว่าคือ วิลอซิแรปเตอร์ ของอเมริกา วิลอซิแรปเตอร์มีไดโนเสาร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ยูทาห์แรปเตอร์, ไดโนนีคัส และโดรมีโอซอรัส ขนาดของวิลอซิแรปเตอร์เมื่อเปรียบเทียบกับมนุษย์ หุ่นจำลองวิลอซิแรปเตอร์ วิลอซิแรปเตอร์ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในภาพยนตร์ไซไฟฮอลลีวุดเรื่อง Jurassic Park ในปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและวิลอซิแรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วีเวรียอา

วีเวรียอา ไดโนเสาร์คอยาวชนิดหนึ่ง ถูกค้นพบในสถานที่ ๆ เป็นประเทศฝรั่งเศสในยุคปัจจุบัน มีอายุอยู่ราวยุคจูแรสซิกตอนปลาย มีชนิดต้นแบบ คือ Vouivria damparisensis วีเวรียอา ถูกค้นพบเป็นซากดึกดำบรรพ์ตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและวีเวรียอา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแบร็คอิรัส

กุลแบร็คอิรัส (Zebra fishes) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็ง ในวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Brachirus (/แบร็ค-อิ-รัส/) มีลักษณะสำคัญ คือ ครีบหลัง, ครีบหาง และครีบท้องเชื่อมติดกัน ครีบอกมีขนาดเล็กมาก หรือบางชนิดไม่มีครีบอกเลย หนังขอบกระดูกแก้มแยกออกมาจากครีบอก ไม่มีติ่งกระดูกที่ปลายจะงอยปาก ที่มาของสกุลนี้มีความสับสนมาก เนื่องจาก ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ใช้ชื่อสกุลว่า Synaptura แต่ต่อมา วอลเตอร์ เรนโบธ ใช้ Euryglossa แต่เมื่อตรวจสอบจากสถาบันวิทยาศาสตร์แคลิฟอร์เนีย พบว่าทั้ง 2 สกุลนั้น มาร์คุส อลิเซอร์ บลอช และโยฮานน์ ก็อทลอบ เทเลนุส ชไนเดอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้กำหนดให้ Pleuronectes orientalis เป็นตัวแทนของสกุลทั้งสิ้น จึงสรุปได้ว่าชื่อที่ถูกต้องตามกฎการตั้งชื่อสัตว์ คือ Brachirus ที่ตั้งชื่อก่อนสกุลอื่น.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและสกุลแบร็คอิรัส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมวลายหินอ่อน

กุลแมวลายหินอ่อน (Marbled cat) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์แมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pardofelis โดยคำว่า Pardofelis นั้นเป็นภาษาละติน 2 คำ คือ pardus หมายถึง เสือดาว และ felis หมายถึง แมว สัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้นั้น มีด้วยกัน 3 ชนิด กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน, อินโดจีน จนถึงเกาะบอร์เนียว โดยสกุลนี้ถูกตั้งขึ้นโดยนักสำรวจและนักธรรมชาติวิทยาชาวรัสเซีย นิโคไล เซเวอร์ทซอฟ ในปี ค.ศ. 1858 โดยมีแมวลายหินอ่อนเป็นต้นแบบ จากการศึกษาพบว่าสกุลนี้ได้พัฒนาตัวเองขึ้นมาเมื่อ 9.4 ล้านปีก่อน Johnson, W. E., Eizirik, E., Pecon-Slattery, J., Murphy, W. J., Antunes, A., Teeling, E., O'Brien, S. J. (2006).

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและสกุลแมวลายหินอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลแมวดาว

กุลแมวดาว (Fishing cat, Leopard cat) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อขนาดเล็ก จำพวกเสือขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Prionailurus มีลักษณะโดยรวมคือ มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับแมวในสกุล Felis หรือแมวบ้าน มาก โดยที่สกุลนี้ตั้งชื่อขึ้นโดย นิโคไล เซเวอร์ทซอฟ นักสำรวจธรรมชาติชาวรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1858 ต่อมานักสัตววิทยาชาวอังกฤษ เรจินัลด์ อินเนส โพค็อก ได้อนุกรมวิธานและบรรยายทางวิทยาศาสตร์ของสกุลนี้ในระหว่างปี ค.ศ. 1917 จนถึงปี ค.ศ. 1939 พบว่ามีลักษณะเด่น คือ กะโหลกของสกุลนี้จะมีลักษณะแบนต่ำกว่า และส่วนโค้งบริเวณใบหน้าสั้นกว่าสกุลอื่น ๆ ใบหูมีขนาดเล็ก กระดูกจมูกแบนราบและเชิดขึ้น และมีลวดลายบนผิวหนังมีจุดหลากหลาย และบางส่วนก็เป็นแถวตรงในแนวนอนไปในทางเดียวกัน คล้ายคันศรหรือปลายหอก พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชียตั้งแต่ตอนเหนือของอนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออก, บางส่วนของเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นแมวที่หากินใกล้กับพื้นที่ชุ่มน้ำ ว่ายน้ำและดำน้ำได้เป็นอย่างดี มีความสามารถจับปลา และสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหารได้.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและสกุลแมวดาว · ดูเพิ่มเติม »

สเตโกซอรัส

สเตโกซอรัส (Stegosaurus) สเตโกซอรัส (กิ้งก่ามีหลังคา) เป็นไดโนเสาร์กินพืชจำพวกสะโพกนก (Ornithischia) ที่มีเกราะป้องกันตัวจำพวกแรกๆ มีลักษณะโดดเด่น มีขาหน้าสั้น และปากเล็ก มีแผ่นเกล็ดเรียงบนหลังยาวไปจนถึงปลายหางแผ่นเกล็ดนี้มีไว้ขู่ศัตรูโดดสูบฉีดเลือดไปที่เกล็ด ซึ่งสันนิษฐานว่ามันมีเส้นเลือดเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ และแผ่นกระดูกนี้ไม่ได้มีไว้สำหรับป้องกันตัว แต่มีไว้เพื่อช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย นอกจากนี้มันยังหนามแหลมที่ปลายหาง ซึ่งเอาไว้ป้องกันตัวจากไดโนเสาร์กินเนื้อในยุคนั้นได้ดี อย่าง อัลโลซอรัส รูปร่างดูน่ากลัวแต่สมองมันเล็กกว่าถั่วเขียวและหนักไม่ถึง 70 กรัม ลำตัวยาว 9 เมตรหนัก 2-3 ตันอาศัยอยู่ยุคจูแรสซิก 170-130 ล้านปี หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคจูแรสซิก หมวดหมู่:สเตโกซอร์.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและสเตโกซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและหม้อข้าวหม้อแกงลิง · ดูเพิ่มเติม »

หย่งชวนโนซอรัส

หย่งชวนโนซอรัส (Yangchuanosaurus) ค้นพบในจีนเมื่อปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและหย่งชวนโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้างกระดาษ

หอยงวงช้างกระดาษ (Paper nautilus, Argonaut) เป็นมอลลัสคาประเภทหมึก จำพวกหมึกสายสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Argonauta แม้จะได้ชื่อว่าเป็นหอยงวงช้าง แต่ก็มิได้ถูกจัดให้อยู่ในจำพวกหอยงวงช้าง แต่ถูกจัดให้เป็นหมึก.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและหอยงวงช้างกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

อลาโมซอรัส

อลาโมซอรัส (Alamosaurus) เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์ซอโรพอดชนิดสุดท้าย ค้นพบฟอสซิลที่อเมริกาเหนือ ยาวประมาณ 25 เมตร อาศัยอยู่ในปลายยุคครีเทเชียส เมื่อประมาณ 66 ล้านปีก่อน กินพืชเป็นอาหาร รักสงบ หนัก 30 ตัน มีหัวคล้ายกับคามาราซอรัส หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและอลาโมซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ออโดเบ็นโอเซ็ทออป

ออโดเบ็นโอเซ็ทออป (Odobenocetops) เป็นโลมายุคแรกเริ่ม ชื่อของมันมีความหมายว่า วาฬหน้าวอรัส (walrus-face whale) มีความยาวประมาณ 2.1 เมตร มีชีวิตอยู่เมื่อ 3-5 ล้านปีก่อน ในฟอสซิลของมันมีงา โดยงามีเฉพาะในเพศผู้ และยาวได้ถึง 1.35 เมตร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและออโดเบ็นโอเซ็ทออป · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เจนติโนซอรัส

อาร์เจนติโนซอรัส (Argentinosaurus) เป็นไดโนเสาร์ซอโรพอด กลุ่มไททันโนซอร์ที่ใหญ่ที่สุด ยาวถึง 35 เมตร เป็นไดโนเสาร์ที่ใหญ่รองลงมาจาก พาตาโกไททันที่ยาวถึง 37-40 เมตร อาร์เจนติโนซอรัส หนักถึง 75-80 ตัน ถูกค้นพบโดย กัลลิเมอร์ เฮเลเดีย ที่ประเทศ อาร์เจนตินา ชื่อมีความหมายว่ากิ้งก่าแห่งอาร์เจนตินา เป็นเหยื่อที่ใหญ่ที่สุดของกิก้าโนโตซอรัส ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศอาร์เจนตินา อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้นเมื่อประมาณ 97-94 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและอาร์เจนติโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

อิริอาเตอร์

อิริอาเตอร์ (Irritator) อยู่ในสกุลสไปโนซอร์หรือพวกฟันจระเข้ที่กินปลา มีเอกลักษณ์อยู่ตรงที่หงอนรูปครีบปลาของมันบนหัว เล็บขนาดใหญ่ของมันมีไว้เพื่อล่าเทอโรซอร์และปลา ฟอสซิลของมันค้นพบที่บราซิล อาสัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้นเมื่อประมาณ 123-125 ล้านปี มีชื่อชนิดต้นแบบว่า I. challengeri ซึ่งตั้งตามศาสตราจารย์ชาลเลนเจอร์ ตัวละครใน The Lost World ของเซอร์อาเธอร์ โคแนน ดอยล์Isaak, Mark (2008).

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและอิริอาเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อูราโนซอรัส

อูราโนซอรัส (Ouranosaurus) ชื่อของมันมีความหมายว่า กิ้งก่าผู้กล้าหาญ ตรงกลางที่หลังมีกระดูกที่เหมือนกับหนามโผล่ขึ้นมาเรียงเป็นแถวและมีหนังห่อหุ้มอยู่ เหมือนพวกสไปโนซอริดซ์ แต่กลับเป็นพวกอิกัวโนดอน ครีบนี้มีหน้าที่ปรับอุณภูมิของร่างกาย ขนาด 7 เมตร อยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้น เมื่อประมาณ 110 ล้านปีก่อน พบที่ทวีปแอฟริกาเป็นเหยื่อที่ล่าง่ายๆของสไปโนซอรัสที่ยาว 17 เมตร หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและอูราโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์วอซอรัส

วาดของทาร์วอซอรัสเมื่อขณะยังมีชีวิต ขนาดของทาร์วอซอรัสเมื่อเทียบกับมนุษย์และสัตว์อื่น (สีฟ้า) ทอร์วอซอรัส (อังกฤษ:Torvosaurus) เป็นหนึ่งใน เทอโรพอดขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในช่วงปลาย ยุคจูลาสสิค ชื่อ ทอร์วอซอรัส มาจาก ทอร์วัส ในภาษาละติน แปลว่า อำมหิต ซากดึกดำบรรพ์ของ ทอร์วอซอรัส มีการค้นพบในทวีปอเมริกาเหนือและโปรตุเกส ทอร์วอซอรัส มีความยาวระหว่าง 9-11เมตร (30-36ฟุต) น้ำหนักประมาณ 2 ตัน เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ใหญ่สุดในยุคจูลาสสิค รองจาก ซอโรเพกาแนกซ์ และ อัลโลซอรัสคู่แข่งร่วมยุคของมัน ถูกพบครั้งแรกโดย เจมส์ เจนเซ่น และ เคนเน็ท แสตทแมน ในปี 1972 ที่ชั้นหินตะกอน มอร์ริสัน ฟอร์เมชั่นชั้น (Morrison Formation) ทางตะวันตกที่ราบสูงของโคโลร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและทอร์วอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ทีนอนโตซอรัส

ที่นอนโตซอรัส (tenontosaurus) ชื่อของมันมีความหมายว่า กิ้งก่าเอ็นกล้ามเนื้อ ที่ชื่อของมันมีความหมายแบบนี้เพราะมีเส้นเอ็นแข็งๆ ตั้งแต่หลังไปจนถึงหาง พบในยุคครีเทเซียสตอนต้น ฟอสซิลของมันค้นพบที่อเมริกาเหนือและแอฟริกา ขนาด 5 เมตร เวลายืนมันใช้ขาหลัง เวลาเดินมันจะใช้ขาทั้งหมด หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและทีนอนโตซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ชาโรดอนโทซอรัส

กะโหลกของคาร์ชาโรดอนโทซอรัส นั้นมีความสมบูรณ์มาก คาร์ชาโรดอนโทซอรัส (Carcharodontosaurus) เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่โตและแข็งแรงที่สุดชนิดหนึ่ง มีขนาดโดยประมาณคือ 13.8 เมตร อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกาเหนือเมื่อประมาณ 100-93 ล้านปีก่อน ชื่อ คาชาโรดอน มาจากภาษากรีกมีความหมาย ขรุขระ หรือ คม ซึ่งความหมายของชื่อคือ กิ้งก่าฟันฉลาม ขนาดของคาร์ชาโรดอนโทซอรัสเมื่อเทียบกันไดโนเสาร์กินเนื้ออื่น (สีม่วง).

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและคาร์ชาโรดอนโทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

งูทับทาง

งูทับทาง หรือ งูสามเหลี่ยม (Kraits) เป็นสกุลของงูพิษสกุลหนึ่ง ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Bungarus มีลักษณะเด่นคือ มีลำตัวเป็นสันสามเหลี่ยมชัดเจน ลำตัวยาว อาศัยอยู่ตามพื้นดิน มีเขี้ยวพิษคล้ายกับงูเห่า (Naja spp.) ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน มีต่อมพิษอยู่บริเวณท้ายหัวทั้งสองข้าง พิษมีฤทธิ์มากในทางทำลายระบบประสาท มีอันตรายถึงแก่ชีวิต มีความยาวโดยเฉลี่ย 1–1.5 เมตร พบใหญ่ที่สุด 2 เมตร แต่ไม่มีตัวใดที่มีความยาวเกิน 4 เมตร เป็นงูที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร เช่น งู หรือสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก ออกหากินในเวลากลางคืน เมื่อกัดจะไม่มีการแผ่แม่เบี้ยหรือพังพานเหมือนงูเห่า พบกระจายพันธุ์ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย เช่น ศรีลังกา, บังกลาเทศ, อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงอินโดนีเซีย และบอร์เนียว งูตัวเมียจะวางไข่ครั้งละ 12–14 ฟอง ในกองหรือเศษซากใบไม้กิ่งไม้ต่าง ๆ จนกว่าไข่จะฟักเป็นตัว.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและงูทับทาง · ดูเพิ่มเติม »

งูแมมบา

งูแมมบา (Mambas) เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและงูแมมบา · ดูเพิ่มเติม »

ซอร์เดส

ำลองของซอร์เดส ซอร์เดส (Sordes) เป็นเทอโรซอร์ตัวเล็กจากยุคจูราซซิกตอนปลายในประเทศคาซัคสถาน ชื่อสกุลถูกตั้งชื่อในปี..1971 โดย Aleksandr Grigorevich Sharov ชื่อสกุลต้นแบบของมันคือ Sordes pilosus.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซอร์เดส · ดูเพิ่มเติม »

ซอโรโพไซดอน

ซอโรโพไซดอน (Sauroposeidon) มีชื่อมาจาก "เทพโพไซดอน" ของกรีก เป็นไดโนเสาร์ในสกุล ซอโรพอด ขนาดใหญ่ ถูกขุดพบในทวีปอเมริกาเหนือในทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐโอคลาโฮมาของสหรัฐอเมริกา ถูกค้นพบครั้งแรกในปี..1994 อาศัยอยู่ในยุค ครีเตเชียสเมื่อประมาณ 110 ล้านปีที่แล้ว การวิเคราะห์ของนักนิเวศวิทยาบรรพกาล (Paleoecological) ระบุว่า ซอโรโพไซดอน อาศัยอยู่บนชายฝั่งของอ่าวเม็กซิโกในปากแม่น้ำ เช่น เดียวกับ ซอโรพอดอื่นอย่าง แบรกคิโอซอรัส เป็นสัตว์ซึ่งกินพืชเป็นอาหาร คอมีลักษณะคล้ายกับสัตว์กินพืชในยุคปัจจุบันอย่างยีราฟ.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซอโรโพไซดอน · ดูเพิ่มเติม »

ซอโรเพกาแนกซ์

ปรียเทียบ ซอโรฟากาแนกซ์กับญาติในตระกูลของอัลโลซอร์ ซอโรเพกาแนกซ์ (Saurophaganax) ชื่อมีความหมายว่านายพรานล่าซอโรพอด เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในยุคจูราสสิก ยาวประมาณ 13 เมตร(ยาวกว่าTyranosaurus rex) และหนักประมาณ 3-5 ตัน อยู่ในตระกูลอัลโลซอร์(allosauroids) มีเขี้ยวยาวถึง 25 เซนติเมตร ไว้สำหรับบดกระดูกเช่นเดียวกับไทรันโนซอรัส ค้นพบในรัฐโอคลาโฮมา ส่วนกระดูกขาอ่อนกระดูกสันหลังหลายหางและกระดูกสะโพกมีการพบในภาคเหนือของนิว เม็กซิโก มันถูกพบครั้งแรกเมื่อปี 1995 โดย ดร.คลัช ในครั้งแรกที่ดร.คลัช ค้นพบฟอสซิลยังไม่สมบูรณ์ แต่ในปี 2003 ได้มีการค้นพบฟอสซิลกระดูกเพิ่ม ซึ่งประมาณการความยาวได้ 11-13 เมตร หนักประมาณ 3-5ตัน สูง 4เมตร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซอโรเพกาแนกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัลตาซอรัส

ซัลตาซอรัส (Saltasaurus) ซัลตาซอรัส (กิ้งก่าจากซัลตา) เป็นไดโนเสาร์ตระกูลซอโรพอด ขนาดเล็กที่เหลืออยู่ถึงปลายยุคครีเตเซียส 75 - 65 ล้านปี และ เป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดเล็กลงมาอีก คือมีความยาวเพียง 12 เมตร หนัก 7 ตัน เช่นเดียวกับ ซอโรพอดจำพวกอื่น ซัลตาซอรัสมีฟันแท่งที่ทื่อ ช่วงคอ กับ ส่วนหางที่ยาว แต่ลักษณะเด่นของมันและซอโรพอดยุคหลังอื่นๆคือ ผิวหนังมันมีปุ่มกระดูกเกล็ดผุดขึ้นมาจากหนัง เพื่อประโยชน์เป็นเกราะ ป้องกันลำตัวมันจากนักล่า คล้ายๆกับ ไดโนเสาร์หุ้มเกราะ ค้นพบเมื่อปี..1980 หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซัลตาซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ซันไก

ซันไก (Sangai) เป็นละองละมั่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นที่พบในรัฐมณีปุระ ประเทศอินเดีย ที่เดียวเท่านั้น ซันไก ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกโดยนายทหารชาวอังกฤษ คือ ร้อยตรีเพอร์ซี เอลด์ (Percy Eld) ในปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซันไก · ดูเพิ่มเติม »

ซิจิลมาซาซอรัส

ซิจิลมาซาซอรัส (อังกฤษ; Sigilmassaurus) ถูกค้นพบที่ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศโมร๊อคโค ในปี 1996, เบื้องต้น เนื่องจากค้นพบกระดูกคอและกระดูกสันหลังรวมกันเพียง 6 ชิ้น ทำให้มันถูกจัดไปเป็นสไปโนซอรัสวัยเยาว์แทนหลังการค้นพบไม่นาน แต่แล้วในปี 2016 นี้เอง ซิจิลมาซาซอรัสก็อาจกลับมาเป็นสปีซีย์แยกได้อีกครั้ง เพราะเมื่อเทียบอัตราส่วนกระดูกคอชิ้นแรกที่ติดกับกะโหลกกับกระดูกคอของญาติๆของมัน(บาริโอนิกส์และสไปโนซอรัส) เจ้าของกระดูกคอนี้จะมีกะโหลกยาวไม่เกิน 1.2 เมตร และคอของมันยังสั้นผิดปกติ ต่างไปจากคอของสไปโนซอร์ทั่วๆไปอีกด้วย หมวดหมู่:เทอโรพอด.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซิจิลมาซาซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ซิโนซอรอปเทอริกซ์

ซิโนซอรอปเทอริกซ์ (Sinosauropteryx) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดชนิดหนึ่ง มีชีวิตอยู่เมื่อ 120 ล้านปีก่อน ไดโนเสาร์ชนิดนี้ผู้เชี่ยวชาญหลายคนคิดว่าเป็นตัวเชื่อมระหว่างไดโนเสาร์กับนก มันเป็นหนึ่งในพวกเทอโรพอดที่มีขน แต่ขนของมันยังไม่ค่อยเหมือนนกยังเป็นคนที่ใช้สำหรับให้ความอบอุ่นหรือขนอ่อน ตอนที่ฟอสซิลของมันค้นพบลักษณะของมันอยู่ในท่าคดตัวเหมือนกำลังบิน เทอโรพอดชนิดนี้มีลักษณะเด่นคือมีหางที่ยาวออกมา ซึ่งคาดว่าน่าจะมีไว้ถ่วงลำตัว ชื่อของมันมีความหมายว่าบิดานกแห่งจีน ฟอสซิลของมันค้นพบครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซิโนซอรอปเทอริกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซูโคไมมัส

ซูโคไมมัส เป็นไดโนเสาร์ที่อยู่ในสกุล สไปโนซอร์ ที่อาศัยอยู่ในแอฟริกา ประเทศอียิปต์,ไนเจอร์ Suchomimus มีปากที่มีความยาวต่ำและแคบเป็นจะงอย ฟันคมมาก และโค้งย้อนหลัง ออกหาอาหารบริเวณริมแม่น้ำ อาหารหลักของมันคือปลา และสัตว์น้ำในยุคดึกดำบรรณ์ Suchomimus มีความยาว 11 เมตร หนักประมาณ 2.9-4.8 ตัน อาศัยอยู่ในยุคครีเทเซียสตอนต้นเมื่อประมาณ 112 ล้านปีก่อน มันมีศัตรูขู้แข่งตามธรรมชาติที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกันอย่าง จระเข้ยักษ์ ซาร์โคซูคัส (Sarcosuchus) ที่อาศัยอยู่ริมน้ำและจะคอยดักซุ่มโจมตีเหยื่ออยู่ในน้ำ Suchomimus มีญาติไกล้ชิดอย่าง สไปโนซอรัส ที่มีความยาว 15 เมตร กับ อิริอาเตอร์ (อังกฤษ: Irritator) ยาว 8 เมตร (26ฟุต) ที่มีลักษณะรูปร่างและการดำรงชีวิตคล้ายกันแต่มีขนาดเล็กกว่า หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซูโคไมมัส · ดูเพิ่มเติม »

ซีโลไฟซิส

ซีโลไฟซิส (Coelophysis) เป็นไดโนเสาร์มีความสามารถในการวิ่งอย่างรวดเร็ว เพราะกระดูกของซีโลไฟซิสนั้นกลวง ซีโลไฟซิสยาวประมาณ 3.2 เมตร อาหารของพวกซีโลไฟซิสคือซากสัตว์ที่ตายแล้ว กิ้งก่า และแมลง แต่บางครั้งเมื่อหน้าแล้งมาถึงซึ่งเป็นช่วงหาอาหารลำบาก ซีโลไฟซิสจึงกินพวกเดียวกันด้วย ฟอสซิลของซีโลไฟซิสพบที่รัฐนิวเม็กซิโก ซีโลไฟซิสอยู่ในยุคไทรแอสซิกตอนปลาย เคยมีการพบฟอสซิลของซีโลไฟซิส 1,000 ตัวที่ทุ่งปีศาจ จึงกล่าวว่าซีโลไฟซิสอาจจะอยู่เป็นฝูง แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนค้านว่าซีโลไฟซิสไมได้อยู่เป็นฝูง เพียงแต่ตายในที่เดียวกันเท่านั้น หมวดหมู่:ไดโนเสาร์.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและซีโลไฟซิส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบึก (สกุล)

ปลาบึก เป็นสกุลของปลาหนังน้ำจืด ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Pangasianodon (/แพน-กา-เซีย-โน-ดอน/).

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาบึก (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนทรายแก้ว

ปลาช่อนทรายแก้ว หรือ ปลาทราย หรือ ปลาเห็ดโคน (Northern whiting, Silver sillago) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาเห็ดโคนหรือปลาซ่อนทราย และเป็นชนิดต้นแบบของปลาเห็ดโคนทั้งหมดด้วย โดยเก็บตัวอย่างต้นแบบทางวิทยาศาสตร์ได้จากทะเลแดง ของเยเมน เป็นปลาซึ่งมีลำตัวยาวเรียว ด้านข้างแบน หัวยาวเรียวจะงอยปากยาวแหลมใช้ในการขุดคุ้ยหาอาหาร ปากเล็กอยู่ปลายสุดและสามารถยืดหดได้ ครีบหลังมีฐานยาวและแยกเป็นสองอัน ครีบก้นมีขนาดใกล้เคียงกับครีบหลังอันที่สอง ครีบอกอยู่ใต้ครีบหู ครีบหางตัดตรง เกล็ดเล็กและหยาบสีลำตัวเป็นสีเนื้อหรือสีน้ำตาลอ่อน ขอบครีบหางทั้งบนและล่างมีแถบสีดำ มีความยาวประมาณ 10–30 เซนติเมตร เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ว่องไว อาศัยอยู่เป็นฝูงตามหน้าดินตามชายฝั่งทะเล ที่ซึ่งเป็นพื้นทรายหรือโคลนเลน โดยจะฝังตัวอยู่ในนั้นเหลือนัยน์ตาโผล่ขึ้นมาคอยจ้องจับสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร เช่น กุ้งขนาดเล็ก, โพลีคีทา หรือโคพีพอด รวมถึงครัสเตเชียนชนิดต่าง ๆ พบทั่วไปในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกจนถึงทะเลแดงหรืออ่าวเปอร์เซีย, เขตทะเลของปากีสถานและอินเดีย, อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์จนถึงออสเตรเลีย ในเขตน่านน้ำของไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ปลาช่อนทรายแก้ว เป็นปลาที่นิยมรับมารับประทานเป็นอาหาร สามารถปรุงได้หลากหลายทั้งทอดกระเทียม, ต้มยำ หรือแกงป่า รวมถึงแปรรูปเป็นอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ในปัจจุบันกรมประมงสามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้เป็นผลสำเร็.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาช่อนทรายแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระสูบจุด

ปลากระสูบจุด (Eye-spot barb, Spotted hampala barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะรูปร่างค่อนข้างยาว แบนข้างเล็กน้อย หัวยาว ปากกว้างมาก มีหนวดสั้น 1 คู่ที่ริมฝีปาก ครีบหลังค่อนข้างเล็ก ครีบหางเว้าลึก เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ตัวมีสีเงิน ด้านหลังสีคล้ำอมน้ำตาล ด้านท้องสีจาง ด้านข้างลำตัวมีจุดสีคล้ำข้างละหนึ่งดวง ครีบมีสีแดงเรื่อ ครีบหางมีสีแดงไม่มีแถบสีคล้ำ เป็นปลาที่พบได้เฉพาะที่ภาคอีสานของไทย ในต่างประเทศพบได้เฉพาะประเทศลาวและกัมพูชาเท่านั้น มีขนาดประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 35 เซนติเมตร ชื่อวิทยาศาสตร์ dispar เป็นภาษาละตินหมายถึง "ไม่เหมือน" หรือ "ซึ่งแตกต่างกัน" อันหมายถึงสัณฐานที่แตกต่างจากปลากระสูบขีด (H. macrolepidota) ซึ่งเป็นปลากระสูบอีกชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในประเทศไทย และเป็นชนิดต้นแบบ อนุกรมวิธานโดย ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ สถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ แม่น้ำมูลในจังหวัดอุดรธานี เป็นปลานักล่า กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร บริโภคโดยปรุงสด และทำปลาร้า, ปลาส้ม และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลากระสูบจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง (สกุล)

ปลากระเบนชายธง หรือ ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) เป็นสกุลของปลากระเบนจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pastinachus (เป็นภาษาละตินหมายถึง "ปลากระเบน" หรือ "ปลากระเบนธง") ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวที่เป็นทรงคล้ายสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายชายธงจึงทำให้เป็นที่มาของชื่อ กลางหลังมีเกล็ดชิ้นใหญ่คล้ายไข่มุกและมีส่วนที่เป็นเกล็ดรูปฟันขนาดเล็กปกคลุมผิวหนังส่วนบน บนฐานปากมีตุ่มเนื้อ 5 ตุ่ม ตรงกลาง 3 ด้านข้างอย่างละหนึ่งเหมือนกัน มีส่วนหางที่อวบอ้วน มีเงี่ยงที่กลางหางอยู่เลยกว่าตำแหน่งของปลากระเบนสกุลอื่น ๆ ที่มีเงี่ยงกันที่อยู่บริเวณโคนหาง ที่สำคัญ คือ แผ่นหนังที่เห็นได้ชัดเจนที่ปลายหาง หางมีความยาวกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ส่วนหัว ปัจจุบันพบทั้งสิ้น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลากระเบนชายธง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนลาว

ปลากระเบนลาว หรือ ปลากระเบนแม่น้ำโขง (Mekong stingray, Mekong freshwater stingray) ปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างคล้ายปลากระเบนในวงศ์นี้ทั่วไป แต่ส่วนหัวจะออกเป็นรูปทรงห้าเหลี่ยม ตาโต หางมีริ้วหนังบาง ๆ โคนหางมีเงี่ยงแหลมมีพิษ 1 หรือ 2 ชิ้น ที่เมื่อหลุดหรือหักไปแล้วสามารถงอกใหม่ทดแทนได้ ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลนวล กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ ลำตัวด้านล่างสีขาว และมีปื้นสีเหลืองอ่อนหรือส้มปน ความกว้างของลำตัวประมาณ 40 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 80 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 1.2 เมตร น้ำหนักมากที่สุดมากกว่า 10 กิโลกรัม หากินตามพื้นท้องน้ำ อาหารได้แก่ สัตว์หน้าดิน, ปลาขนาดเล็ก และสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ จะว่ายขึ้นมาหากินบริเวณผิวน้ำบ้างเป็นบางครั้ง พบเฉพาะแม่น้ำโขงตอนกลาง ในช่วงของประเทศกัมพูชา, ลาว, ไทย และอาจพบได้จนถึงจีนตอนล่าง โดยค้นพบครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลากระเบนลาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาลิ้นควายขนดำ

ปลาลิ้นควายขนดำ (Oriental sole, Black sole) ปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) มีขนาดโดยเฉลี่ย 10-12 เซนติเมตร โตเต็มที่ยาวได้ถึง 30 เซนติเมตร ดวงตาอยู่ด้านขวา มีปากรูปโค้งขนาดเล็ก ลำตัวเป็นรูปไข่ มีครีบอกเล็ก ๆ ทางด้านดวงตา ครีบหลังและครีบทวารรวมเป็นครีบเดียวกับครีบหาง และด้านบนลำตัวเป็นสีน้ำตาลอมเทากับมีจุดหรือลวดลายสีดำ เกล็ดมีขนาดเล็กและเป็นแบบสาก มีลักษณะทั่วไปเหมือนปลาซีกเดียวชนิดอื่น ๆ ทั่วไปที่อยู่ในสกุลเดียวกัน โดยถือเป็นชนิดต้นแบบของสกุลนี้ด้วยหน้า 232, สาระน่ารู้ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๒ โดย สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์ (พ.ศ. 2547) ISBN 974-00-8738-8 หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยฝังตัวใต้พื้นที่เป็นทรายหรือโคลน กินสัตว์เล็ก ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปตามชายฝั่งทะเลในแถบเอเชียจนถึงเอเชียตะวันออก และมีบันทึกว่าพบในปากแม่น้ำในมาดากัสการ์ด้วย โดยพบได้ทั้งทะเล, น้ำจืด และน้ำกร่อย เป็นปลาที่ใช้ในการบริโภค ทั้งปรุงสดและแช่แข็งหรือแปรรูปเป็นปลาแห้ง.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาลิ้นควายขนดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาลิ้นควายเกล็ดลื่น

ปลาลิ้นควายเกล็ดลื่น หรือ ปลาลิ้นเสือ (Largetooth flounder) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซีกเดียวหรือปลาลิ้นหมา ในวงศ์ปลาลิ้นเสือ (Paralichthyidae) โดยถือเป็นชนิดต้นแบบของสกุล Pseudorhombus ด้วย เป็นปลาทะเลที่มีรูปทรงภายนอกดูมนคล้ายใบไม้หรือขนุน ลำตัวด้านข้างแบน ด้านที่มีสีเข้มอยู่ทางซีกซ้ายและมีตาทั้งสองข้างอยู่ด้านเดียวกัน ปากค่อนข้างกว้าง ฟันเล็กแหลม ครีบหลังและครีบก้นยาว ครีบอกและครีบท้องมีขนาดเล็ก ครีบหางเป็นเหลี่ยม ลำตัวทางซีกซ้ายมีสีน้ำตาลปนดำและมีรอยแต้มสีดำอยู่ 2 จุด เป็นปลาหน้าดินที่อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำในท้องทะเล พบแพร่กระจายอยู่ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบตามบริเวณชายฝั่งทะเลทั่วไปในอ่าวไทย บางครั้งอาจพบได้ในแม่น้ำที่ต่อกับทะเล กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำหน้าดินขนาดเล็ก เช่น ลูกกุ้ง, ลูกปลา, หนอนทะเล มีความยาวเต็มที่ประมาณ 20–30 เซนติเมตร เป็นปลาที่ใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เพื่อการบริโภคเป็นปกต.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาลิ้นควายเกล็ดลื่น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเท็กซัส (สกุล)

ปลาหมอเท็กซัส (Texas cichlid) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดกระดูกแข็งสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Herichthys (มาจากภาษากรีกคำว่า "eri" หมายถึง "มาก" และคำว่า "ichthys" หมายถึง "ปลา") อยู่ในวงศ์ Cichlasomatinae ในวงศ์ใหญ่ Cichlidae หรือปลาหมอสี มีลักษณะโดยรวม มีพื้นลำตัวสีเขียว ตามตัวมีจุดกลมเล็ก ๆ สีคล้ายไข่มุกกระจายอยู่ทั่วตัว เมื่อโตเต็มที่โดยเฉพาะตัวผู้ส่วนหัวจะมีโหนกเนื้อนูนขึ้นมา มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10-12 นิ้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา เช่น รัฐเท็กซัสและฟลอริดา จนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก เป็นปลาสกุลที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมักจะนำมาผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน หรือแม้แต่ต่างสกุลกัน จนกลายมาเป็นปลาสายพันธุ์ใหม่ที่มีความสวยกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมในธรรมชาติ คือ ปลาหมอเท็กซัสแดง.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาหมอเท็กซัส (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ (Siamese freshwater batfish, Siamese bat catfish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในอันดับปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครีบดำ

ปลาฉลามครีบดำ หรือ ปลาฉลามหูดำ (Blacktip reef shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเพรียวยาว ปากกว้าง มีแถบดำที่ครีบหลัง ครีบไขมัน ครีบก้น และครีบหางตอนล่าง เป็นที่มาของชื่อ กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร มีนิสัยไม่ดุร้ายเมื่อเทียบกับปลาฉลามชนิดอื่น ๆ นิยมอยู่รวมเป็นฝูงบริเวณใกล้ชายฝั่ง และอาจเข้ามาในบริเวณน้ำกร่อย หรือปากแม่น้ำ โดยสามารถเข้ามาหากินใกล้ชายฝั่ง แม้กระทั่งในพื้นที่ ๆ มีน้ำสูงเพียง 1 ฟุต เป็นปลาหากินในเวลากลางคืน ในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวพักผ่อนตามแนวปะการัง โดยจะหากินอยู่ในระดับน้ำความลึกไม่เกิน 100 เมตร ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ตัวเมียตั้งท้องนาน 18 เดือน ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 2-4 ตัว เมื่อโตขึ้นมาแล้วสีดำตรงที่ครีบหลังจะหายไป คงเหลือไว้แต่ตรงครีบอกและครีบส่วนอื่น ปลาฉลามครีบดำ นับเป็นปลาฉลามชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดในทะเล และเป็นต้นแบบของปลาฉลามในสกุลปลาฉลามปะการัง มีนิสัยเชื่องคน สามารถว่ายเข้ามาขออาหารได้จากมือ เป็นที่ชื่นชอบของบรรดาผู้ที่นิยมการดำน้ำ พบทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นิยมใช้บริโภคโดยเฉพาะปรุงเป็นหูฉลาม เมนูอาหารจีนราคาแพง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาฉลามครีบดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามแนวปะการัง

ปลาฉลามแนวปะการัง หรือ ปลาฉลามปะการัง (Reef sharks, Requiem sharks) เป็นสกุลของปลาฉลามสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Carcharhinus (/คา-คา-ไร-นัส/) เป็นปลาฉลามที่ว่ายหากินอยู่บริเวณผิวน้ำและตามแนวปะการังเป็นหลัก จึงมักเป็นปลาฉลามที่เป็นที่รู้จักดีและพบเห็นได้บ่อยที่สุดในทะเล จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ที่ออสเตรเลียพบว่า ปลาฉลามกลุ่มนี้มีประโยชน์ในเชิงนิเวศวิทยา คือ ช่วยรักษาแนวปะการังและปะการังให้ดำรงยั่งยืนอยู่ได้ เนื่องจากเป็นสัตว์นักล่าที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหาร จึงเป็นตัวควบคุมนักล่าระดับกลางที่กินปลาขนาดเล็กที่มีประโยชน์ต่อปะการัง และดูแลปะการังให้เจริญเติบโต โดยพบจากการศึกษาว่า น่านน้ำแถบเกรตแบร์ริเออร์รีฟ คือ แถบตะวันตกเฉียงเหนือมีจำนวนปลาฉลามกลุ่มนี้มากกว่าน่านน้ำแถบตะวันออกเฉียงเหนือ ปะการังในแถบที่พบปลาฉลามกลุ่มนี้มากจะเจริญเติบโตมากขึ้นรวมถึงการฟื้นตัวจากภาวะปะการังฟอกขาวก็เร็วกว่าด้วย เป็นปลาฉลามที่ใช้เวลาอุ้มท้องนานประมาณ 8–12 เดือน มีลูกครั้งละ 10–40 ตัว ออกลูกเป็นตัว โดยอาจจะมีการกินกันเองตั้งแต่อยู่ในท้องแม่ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ด้วยอายุอย่างน้อยที่สุด 4–5 ปี พบทั้งหมด 32 ชนิด โดยมี ปลาฉลามครีบดำ (C. melanopterus) เป็นชนิดต้นแ.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาฉลามแนวปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแบสดำ

ปลาแบสดำ (Black bass) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Micropterus ชนิดต้นแบบคือ M. dolomieu (ปลาแบสปากเล็ก) ปลาแบสดำมีการกระจายพันธุ์ในพื้นที่ส่วนใหญ่ทางตะวันออกของเทือกเขาร็อกกีในทวีปอเมริกาเหนือ จากลุ่มน้ำฮัดสันเบย์ในประเทศแคนาดาถึงทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเม็กซิโก พบในรัฐแคลิฟอร์เนียด้วยเช่นกัน 2-3 ชนิดอย่างปลาแบสปากใหญ่ (M. salmoides) และปลาแบสปากเล็กถูกนำไปเลี้ยงทั่วโลกอย่างกว้างขวาง ปัจจุบันถูกพิจารณาว่าเป็นชนิดที่พบทั่วโลก ปลาแบสดำทุกชนิดเป็นปลาเกมที่เป็นที่นิยมตกเป็นเกมกีฬา ปลาในสกุลนี้โดยมากมีสีเขียวทึม มีลายสีดำข้างลำตัว ยาวประมาณประมาณ 40-60 เซนติเมตร แต่บางชนิดอย่างปลาแบสปากใหญ่มีรายงานว่าพบตัวที่มีขนาดถึง 1 เมตร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาแบสดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแบสปากเล็ก

ปลาแบสปากเล็ก (Smallmouth bass, Smallmouth, Bronzeback, Brown bass, Brownie, Smallie, Bronze bass, Bareback bass) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลากะพงปากกว้าง (Centrarchidae) ในอันดับปลากะพง (Perciformes) เป็นชนิดต้นแบบของสกุล มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปีตอนบนและตอนกลาง ระบบแม่น้ำเซนต์ลอว์เรนซ์-เกรตเลกส์ และลุ่มน้ำฮัดสัน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาแบสปากเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไฮนีเรีย

ไฮโนเรีย (Hyneria) เป็นปลาดึกดำบรรพ์ชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในยุคดีโวเนียน เมื่อประมาณ 360 ล้านปีก่อน ยาวประมาณ 5 เมตร และหนัก 2 ตัน มันกระดูกที่มีครีบแข็งแรงมากและอาจจะขึ้นไปบนบกได้ด้วย ไฮโนเรียเป็นหนึ่งในหลายชนิดของปลาครีบ ในกลุ่มTristichopteridae ที่พบในช่วงปลายยุคดีโวเนียน มันกินปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และฉลามน้ำกร่อยอย่างสเตธาแคนธัส ไฮโนเรียยังปรากฏในสารคดี ของบีบีซี เรื่องwalking with monstersหรืออสูรร้ายโลกล้านปี โดยมันใช้ครีบของมันขึ้นมาหาด เพื่อจับไฮโนเพทอน ซึ่งเป็นสัตว์สะเทินสะเทินบกชนิดหนึ่งในยุคนั้น ไฮโนเรียในวอคกิ้ง วิด มอนสเตอร์ หมวดหมู่:ปลายุคก่อนประวัติศาสตร์.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและปลาไฮนีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์จระเข้

นิวต์จระเข้ หรือ นิวต์ตะปุ่มตะป่ำ (Crocodile newts, Knobby newts) เป็นสกุลของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกซาลาแมนเดอร์สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Tylototriton จัดเป็นนิวต์หรือซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ก ปัจจุบันพบทั้งหมด 14 ชนิด โดยเชื่อว่ายังมีอีกหลายชนิดที่ยังไม่ได้มีการค้นพบ และในบางชนิดก็อาจเป็นชนิดเดียวกัน พบกระจายพันธุ์ตามแนวเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียและพม่า ไปจนถึงพม่าสู่ภาคเหนือของไทย, ลาว, เวียดนาม และทางตอนใต้ของจีน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและนิวต์จระเข้ · ดูเพิ่มเติม »

แบรคิโอซอรัส

แบรคิโอซอรัส บราชิโอซอรัส ก็เรียกได้ (Brachiosaurus) หรือ แขนยาว เป็นซอโรพอดขนาดใหญ่ ลำตัวยาว 30 เมตร สูง 13-15 เมตร หนัก 78 ตันหรือเท่ากับช้างแอฟริกา 15 เชือก อาศัยอยู่ในยุคจูแรสซิก 200-130 ล้านปีก่อน ขุดค้นพบในอเมริกาเหนือและแอฟริกา เคยเป็นซอโรพอดที่ตัวใหญ่ที่สุดก่อนค้นพบซุปเปอร์ซอรัส อาร์เจนติโนซอรัส และ ซูเปอร์ซอรัส ลักษณะเด่นของแบรคิโอซอรัสที่ต่างจากซอโรพอดอื่นคือ บริเวณจมูกบนกระหม่อมมีโหนกยื่นขึ้นมาชัดเจนกว่าคามาราซอรัสหรือซอโรพอดอื่น หางสั้นไม่มีปลายแส้ มีขาหน้าที่ยาวกว่าขาหลัง ทำให้ตัวลาดลงแบบยีราฟ ส่งผลให้ส่วนคอของแบรคิโอซอรัสตั้งชันสูงกว่า ทำให้มันสามารถหาใบไม้บนยอดสูงได้ดีกว่าพวกอื่น และมีประโยชน์ในการมองเห็นไดโนเสาร์กินเนื้อแต่ไกล แบรคิโอซอรัสป็นที่รู้จักมากจากการปรากฏตัวในภาพยนตร์เรื่อง "จูราสสิค พาร์ค กำเนิดใหม่ไดโนเสาร์" แต่มีข้อวิพากษ์ถึงท่าทางในภาพยนตร์ที่มันยืน 2 ขาเพื่อยืดตัวกินยอดใบไม้ ด้วยสาเหตุที่ส่วนคอของมันตั้งสูงเหมาะกับการกินอาหารบนยอดไม้อยู่แล้ว ส่วนขาหลัง 2 ข้างของมันยังสั้นและเล็ก และสรีระทางสะโพกก็น้อย นอกจากนี้มันไม่มีท่อนหางยาวสำหรับคานน้ำหนักเหมือนซอโรพอดวงศ์ดิปพลอโดซิเด จึงไม่น่าจะแบกรับน้ำหนักของร่างกายช่วงบนเวลาที่มัน "ยืน" ไหว ดังนั้นภาพที่เห็นมันยืน 2 ขาในหนังก็ไม่น่าจะจริง.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแบรคิโอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แพลทีโอซอรัส

ลาทีโอซอรัส (Plateosaurus) เป็นไดโนเสาร์โปรซอโรพอดของยุคไทรแอสซิก ขนาด 7.8 เมตร อยู่กันเป็นฝูง กินพืชเป็นอาหาร พบที่ทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ เมื่อหน้าแล้งมาถึงมันจะอพยพ มันสามารถเดินได้ทั้ง 4 ขาและ 2 ขา เวลากินอาหารบนต้นไม้จะยืนด้วย 2 ขา แต่เวลาเดินหรือกินอาหารที่อยู่บนพื่นอย่างหญ้า มันก็จะเดิน 4 ขา พบในยุคไทรแอสซิกตอนปลาย-ยุคจูแรสซิกตอนต้น.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแพลทีโอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แมสโสสปอนดิลัส

แมสโสสปอนดิลัส (Massospondylus) หรือ “สันหลังใหญ่” วงศ์ เพลททีโอซอริเด อันดับใหญ่ โปรซอโรโพดา อันดับย่อย ซอโรโพโดมอร์พา อันดับ ซอริสเชีย ยุคจูแรสสิกตอนต้น ถิ่น ทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาเหนือ ลักษณะเดินได้ทั้ง 2 เท้า และ 4 เท้า เป็นสัตว์กินพืช ยาวประมาณ 13 ฟุต (4 เมตร) คอและหางยาว ลำตัวใหญ่ หนา มือใหญ่ ฟันหน้ามน ฟันด้านในมีด้านข้างติดเรียบ และอาจมีเขา หรือปุ่มเล็ก ๆ บนจะงอยปาก.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแมสโสสปอนดิลัส · ดูเพิ่มเติม »

แรดอินเดีย

แรดอินเดีย จัดเป็นแรด 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่พบได้ในทวีปเอเชีย และเป็นสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดที่พบในทวีปแห่งนี้.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแรดอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

แลมบีโอซอรัส

แลมบีโอซอรัส แลมเบ (Lambeosaurus lambei) เป็นไดโนเสาร์มีหงอนรูบหมวกอยู่บนหัว กินพืชเป็นอาหาร รักสงบ ภายในหงอนกลวง เพื่อใช้ส่งเสียงร้องเรียกเพื่อนๆของมัน คล้ายๆกับพาราซอโรโลฟัส ชื่อมีความหมายว่ากิ้งก่าแห่งแลมบี ยาวประมาณ 10 เมตร ค้นพบฟอสซิลที่ทวีปอเมริกาเหนือ อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลายเมื่อประมาณ 75-80 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแลมบีโอซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แองคิโลซอรัส

แองคิโลซอรัส (Ankylosaurus) เป็นไดโนเสาร์ที่ใหญ่ที่สุดในสกุล แองคิโลซอร์ (ankylosaurid) อาศัยอยู่ในยุคครีเตเชียส ในทวีปอเมริกาเหนือ โครงกระดูกของ แองคิโลซอรัส ยังไม่สมบูรณ์ แองคิโลซอรัส เป็นไดโนเสาร์ที่มีลักษณะในแบบสกุล แองคิโลซอร์ที่มีน้ำหนักตัวหนักมีเกราะแข็งหุ้มทั่วทั้งตัว และมีลูกตุ้มขนาดใหญ่(ลักษณะคล้ายกับรังผึ้ง)สำหรับไว้ป้องกันตัวจากนักล่าในยุคนั้นอย่าง ไทรันโนซอรัส และ ทาร์โบซอรัส ที่บริเวณหาง.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแองคิโลซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แอนคิออร์นิส

แอนคิออร์นิส ไดโนเสาร์ขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างคล้ายสัตว์เลื้อยคลานผสมนก ปัจจุบันพบเพียงชนิดเดียวคือ Anchiornis huxleyi (แปลว่า "ใกล้เคียงนกของฮักลีย์"; ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่โทมัส เฮนรี ฮักลีย์) ขนาดเปรียบเทียบกับมนุษย์ นับเป็นไดโนเสาร์ขนาดเล็ก มีเกล็ดที่หน้าแข้งเหมือนไก่หรือนก ปีกมีขนปกคลุม หางเรียว ไม่มีกระดูกสันอกและกระดูกหางสั้น ฟันแหลมเล็ก มีผิวบาง ๆ ของเนื้อเยื่อส่วนบริเวณด้านหน้าข้อศอก ซึ่งเชื่อว่าเป็นส่วนสำคัญใช้ในการบิน แต่ไม่ชัดเจนว่าจะสามารถร่อนตัวอยู่กลางอากาศได้หรือไม่ เนื่องจากนักบรรพชีวินวิทยายังมีความเห็นต่าง บางส่วนเชื่อว่าสามารถร่อนไปมาในอากาศได้ โดยอาศัยช่วงแขนที่เรียวยาวเหมือนปีก แต่บางส่วนก็เชื่อว่า ไม่สามารถทำเช่นนั้นได้เนื่องจากลักษณะของขนไม่ได้เป็นขนที่มีลักษณะคล้ายขนนก แอนคิออร์นิส มีอายุเก่าแก่นานถึง 160 ล้านปี พบซากดึกดำบรรพ์ในมณฑลเหลียวหนิง ประเทศจีน ถือได้ว่าเป็นไดโนเสาร์ที่เป็นบรรพบุรุษของนกที่มีอายุเก่าแก่ยาวนานกว่าอาร์คีออปเทอริกซ์ ที่พบในเยอรมนีถึง 10 ล้านปีเสียอีก.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแอนคิออร์นิส · ดูเพิ่มเติม »

แคมาราซอรัส

คามาราซอรัส (Camarasaurus) เป็นไดโนเสาร์กินพืช ตระกูลซอโรพอด 4 เท้า มีขนาดลำตัวไม่ใหญ่ มีชีวิตอยู่ในกลางถึงปลายยุคจูแรสซิก เมื่อ 155 -145 ล้านปีก่อน มีความยาว 18 เมตร มีน้ำหนักประมาณ 18-20 ตัน กะโหลกศีรษะมีลักษณะสั้นแต่ลึกเข้าไปด้านใน ขากรรไกรมีขนาดใหญ่ คอและหางสั้นกว่าซอโรพอดตัวอื่น ไม่มีปลายหางแส้ ลำตัวกลมหนาและค่อนข้างสั้น แขนขาใหญ่โตมีลักษณะคล้ายเสาหิน ขาหลังยาวกว่าขาหน้าเล็กน้อย มีรูจมูกขนาด ใหญ่เหนือดวงตา เพื่อช่วยในการระบายความร้อนและดมกลิ่น ชื่อของเจ้าคามาราซอรัสมาจากภาษากรีก แปลว่า "โพรง" สาเหตุที่ได้ชื่อสุดพิศวงนี้ก็เพราะกระดูกที่เป็นโพรงของมัน นัก-วิทยาศาสตร์ทั้งหลายกล่าวว่าโพรงนี้เอาไว้ลดภาระของขาทั้ง 4ของมันไม่ให้แบกรับน้ำหนักตัวอันอ้วนฉุมากเกินไปแถมยังช่วยระบายความร้อนในร่างกายได้อีกด้วย นอกจากนี้เจ้าคามาราซอรัสยังมีคอและหางสั้นกว่าไดโนเสาร์ตัวอื่นในสายพันธุ์เดียวกัน หากลองสังเกตใบหน้างามๆดีๆ จะพบว่ากระโหลกศีรษะของมันลึกเข้าไปด้านในและมีรูขนาดใหญ่อยู่เหนือดวงตา ฟันเป็นซี่ถี่เอาไว้งับแล้วรูดใบไม้เรียวออกจากกิ่งชนิดไม่เหลือเศษติดก้านในคำเดียว หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคจูแรสซิก หมวดหมู่:ซอโรโพดา.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแคมาราซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แคมป์โทซอรัส

แคมป์โทซอรัส (Camptosaurus - กิ้งก่าหลังโค้ง) มีชีวิตอยู่ในช่วงปลายยุคจูแรสสิค ชื่อนี้มาจากโครงสร้างของของมันที่สามารถยืนตรง 2 เท้าหรือ 4 เท้าก็ได้ ขนาดตัวไม่ใหญ่มากนัก ความยาวประมาณ 6.5 เมตร และ ส่วนสูง 2 เมตรจากพื้นถึงเอว เป็นไดโนเสาร์ในกลุ่มสะโพกนก (Ornithischia) รุ่นแรกๆของกลุ่มสายพันธุ์ที่ต่อไปในสมัยหลังจะวิวัฒนาการไปเป็น อิกัวโนดอน และ ไดโนเสาร์ตระกูลปากเป็ดในสมัยครีเตเชียส มันมีปากตัด เพื่อเอาไว้สำหรับกินพืชในป่า เป็นไดโนเสาร์ที่ไม่ได้มีขนาดอาวุธป้องกันตัวครบเครื่องแบบสเตโกซอรัส หรือ มีขนาดใหญ่ร่างยักษ์อย่างซอโรพอด ฝีเท้าก็ไม่ว่องไวนักเนื่องจากน้ำหนักตัวที่หนักไป (จนต้องยืน 4 ขา ในบางเวลา) จึงมักกลายถูกล่าเป็นเหยื่อจากพวกไดโนเสาร์กินเนื้อในป่า จนกระทั่งมันเริ่มวิวัฒนาการไปเป็น ไดโนเสาร์ร่างใหญ่ติดอาวุธอย่างอิกัวโนดอน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแคมป์โทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

แซนแทนาแรปเทอร์

แซนแทนาแรปเทอร์ (Santanaraptor) ชื่อของมันมีความหมายว่าจอมขโมยจากแซนแทนา เป็นเทอโรพอดในตระกูลโคลูซอเรีย(Coelurosauria) ยาวประมาณ 1.25 เมตร อาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ในยุคครีเทเชียสเมื่อประมาณ 108 ล้านปีก่อน ฟอสซิลของมัน พบในปี..1996 ฟอสซิลซานตาน่าฟอร์เมชั่น ชั้นหินโบราณอุดมไปด้วยฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตและพืช ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล ถึงมันจะมีชื่อแรปเตอร์ (ที่นิยมใช้กับพวกโดรมีโอซอร์) แต่มันไม่ใช่ไดโนเสาร์กลุ่มโดรมีโอซอร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและแซนแทนาแรปเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โพลาแคนทัส

ลาแคนทัส (Polacanthus) เป็นไดโนเสาร์โนโดซอร์ชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ 4 เมตร มีหนามและแผ่นแข็งๆคล้ายเสื้อเกราะอยู่บริเวณผิวหนัง หนามและเกราะนี้ช่วยป้องกันกันเวลาถูกพวกไดโนเสาร์กินเนื้อล่า มีลักษณะคล้ายกับพวกแองคีลอซอร์ แต่มันไม่มีลูกตุ้มที่หาง อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้นเมื่อประมาณ 132- 112 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและโพลาแคนทัส · ดูเพิ่มเติม »

โอวิแรปเตอร์

โอวิแรปเตอร์(Oviraptor)มีหงอนเป็นเอกลักษณ์ ยาว 2 เมตร ส่วนสูงประมาณหัวเข่าของผู้ใหญ่ที่โตเต็มไวแล้ว พบที่มองโกเลีย มีการค้นพบฟอสซิลของมันอยู่กับลูกในรังของมัน ในท่ากกไข่ หลายชุด เป็นหลักฐานที่ระบุว่ามันเป็นไดโนเสาร์ที่เลี้ยงลูกของมันอย่างดี ฟอสซิลในท่ากกไข่ของโอวิแรปเตอร์ ตัวนั้นอาจตายตอนมีพายุทรายพัดมา พบในชั้นหินของยุคครีเทเซียส ช่วงเวลา 90-85 ล้านปี หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและโอวิแรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โคริโทซอรัส

โคริโทซอรัส (Corythosaurus) เป็นไดโนเสาร์จำพวกแฮดโดรซอร์ อาศัยช่วงปลายยุคครีเตเซียส เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ขนาด 12 เมตร ริว เท ซูน ฟอสซิลของมันพบที่ทวีปอเมริกาเหนือ ชื่อแปลว่ากิ้งก่ามงกุฏ ลักษณะปากของโคริโทซอรัสคล้ายกระสุนปืน สามารถกินหินได้อย่างสบาย ๆ เลยทีเดียว มันเป็นหนึ่งในเหยื่อ ที่โปรดปราณ ของ ไทรันโนซอรัส หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและโคริโทซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียโนซอรัส (ออร์นิโธพอด)

รียโนซอรัส โบซองเอนซิส (코레아노사우루스 보성엔시스) ชื่อหมายถึง "กิ้งก่าเกาหลีแห่งเมืองโบซอง" เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์กลุ่มออร์นิโธพอด ฟอสซิลทั้งสามของโคเรียโนซอรัสที่ปรากฏในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและโคเรียโนซอรัส (ออร์นิโธพอด) · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียเซอราทอปส์

รียเซอราทอปส์ (코리아케라톱스; Koreaceratops) เป็นสกุลหนึ่งของมูลฐานสายวิวัฒนาการไดโนเสาร์กลุ่มเซอราทอปเซียน ที่ได้ค้นพบที่ชั้นหินครีเทเชียสตอนต้นในยุคอัลเบียน ที่ประเทศเกาหลีใต้ มันเป็นตัวอย่างต้นแบบแรกของรหัส KIGAM VP 200801 ชุดเป็นปล้องของกระดูกสันหลังมีหาง 36 ปล้อง ซึ่งอยู่ในกลุ่มของขาหลังบางส่วน และกระดูกก้น ตัวอย่างนี้ได้รับการค้นพบที่กลุ่มหินทราย ที่ได้รับการรวมเข้าไปในเขื่อนทันโดที่เมืองฮวาซอง ตามตัวอย่างสำหรับการทดสอบที่ได้แนะนำให้ตัดออกไปมากขึ้น ได้แสดงให้เห็นว่ามันมีอยู่ก่อนการขุดเจาะหิน เขื่อนแห่งนี้สร้างขึ้นใน..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและโคเรียเซอราทอปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไวมานู

วมานู (Waimanu)เป็นสกุลของเพนกวินในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ถือเป็นบรรพบุรุษของเพนกวินในปัจจุบัน ใช้ชื่อสกุลว่า Waimanu ไวมานูมีชีวิตอยู่ในสมัยพาลีโอซีนเมื่อกว่า 60 ล้านปีก่อน ไวมานูมีชีวิตอยู่หลังเหตุการณ์การสูญพันธุ์ในยุคครีเทเชียส-เทอร์เชียรี และถือได้ว่าเป็นต้นแบบให้แก่นกขากรรไกรแบบใหม่ ไวมานู เป็นนกที่มีปีกขนาดเล็ก ไม่สามารถใช้บินได้ แต่กลับใช้ได้ดีเมื่อแหวกว่ายอยู่ในน้ำ จึงทำให้กลายเป็นนกน้ำ และหากินในน้ำเป็นหลัก ไวมานูมีรูปร่างที่เพรียวยาว มีจะงอยปากเรียวยาว ซึ่งไม่เหมือนกับเพนกวินในปัจจุบันเลย ฟอสซิลของไวมานูถูกค้นพบครั้งแรกในชั้นหินที่แม่น้ำไวปารา ที่แคนเทอเบอรี่ ในนิวซีแลนด์ เมื่อปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและไวมานู · ดูเพิ่มเติม »

ไฮแรกซ์จุดเหลือง

แรกซ์จุดเหลือง หรือ ไฮแรกซ์พุ่มไม้ (Yellow-spotted rock hyrax, Bush hyrax) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) ในวงศ์ไฮแรกซ์ (Procaviidae) มีลักษณะรูปร่างคล้ายกับไฮแรกซ์หิน ซึ่งเป็นไฮแรกซ์อีกชนิดหนึ่ง มีน้ำหนักประมาณ 1.5-2.5 กิโลกรัม มีความสูง 20-25 เซนติเมตร ความยาว 35-57 เซนติเมตร อายุขัยเฉลี่ย 5-10 ปี ไฮแรกซ์จุดเหลืองมีรูปร่างลักษณะเหมือนไฮแรกซ์หิน แต่มีจุดสีขาวเหนือดวงตาแต่ละข้าง อาศัยอยู่ตามโขดหินและถ้ำเล็ก ๆ กินพืชต่าง ๆ และใบไม้บนต้นไม้เป็นอาหาร ไฮแรกซ์จุดเหลืองก็เหมือนกับไฮแรกซ์หินตรงที่ก็ตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น เสือดาว, เสือชีตาห์, แมวป่าต่าง ๆ, นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ เช่น อินทรี, เหยี่ยว หรือนกฮูก รวมทั้งงู ไฮแรกซ์จุดเหลือง นับเป็นไฮแรกซ์ชนิดที่พบได้มากที่สุดและกระจายพันธุ์ในวงกว้างที่สุด โดยพบที่แองโกลา, บอตสวานา, บูรุนดี, คองโก, อียิปต์ตอนใต้, เอริเธรีย, เอธิโอเปีย, เคนยา, มาลาวี, โมซัมบิก, รวันดา, โซมาลี, ตอนเหนือของแอฟริกาใต้, ซูดาน, แทนซาเนีย, อูกันดา, แซมเบีย และ ซิมบับเว โดยไม่พบในอาระเบียเหมือนไฮแรกซ์หิน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและไฮแรกซ์จุดเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโนซอรัส

นซอรัส (Hainosaurus) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานทะเลในวงศ์ โมซาซอร์ เคยได้รับการขนานว่าเป็น โมซาซอร์ ที่ใหญ่ที่สุด โดยได้รับฉายาว่า “ที.เร็กซ์แห่งมหาสมุทร” ตอนแรกประมาณการความยาวไว้ที่ 17เมตร(54 ฟุต) ต่อมาในปี 1990 มีการปรับขนาดลดลงมาที่15 เมตร(49 ฟุต) แต่ต่อมา นักวิทยาศาสตร์ จอห์น ลินเกรน ได้ลดขนาดลงมาที่ 12.2เมตร (40 ฟุต) (ปัจจุบัน โมซาซอร์ที่ใหญ่ที่สุดคือไทโลซอรัส ฮอฟมานี โดยมีความยาว 19 เมตร) มันเป็นหนึ่งในนักล่าในทะเลที่อยู่บนสุดใน ยุคครีเทเซียส มันมีคู่แข่งร่วมยุคอย่าง อีลาสโมซอรัส โดยมีการพบหลักฐานฟอสซิลรอยกัดของ ไฮโนซอรัส ที่บริเวณหาง และครีบ ของ อีลาสโมซอรัส ไฮโนซอรัส เป็นกิ้งก่าทะเลในวงศ์ย่อย ไทโลซอร์ (อังกฤษ:Tylosaurinae) ซึ่งเป็นกลุ่มกิ้งก่าทะเลตัวใหญ่ที่อยู่ในทุกทวีปของโลกยกเว้นในออสเตรเลียและอเมริกาใต้ แม้ว่าไฮโนซอรัสจะเป็นนักล่าในลำดับต้นๆเหมือนกัน แต่ว่ายน้ำได้ไม่เร็วนัก โดยชอบว่ายน้ำช้าๆ อาศัยครีบช่วยผลักดัน และมีโครงสร้างร่างกายที่ช่วยให้ลอยตัวได้ดีในน้ำ มีการลดน้ำหนักตัวโดยมีขาหน้าและหลังที่มีขนาดเล็ก กระดูกเชิงกรานและกล้ามเนื้ออกเล็ก มีเนื้อกระดูกบางและอาจเต็มไปด้วยเซลล์ไขมันระหว่างที่มีชีวิตอยู่ ซึ่งช่วยในการลอยตัวเหมือนทุ่นลอยในน้ำ ในเรื่องการกินก็ไม่ได้มีปัญหาโดยอาศัยขากรรไกรที่แข็งแรงพร้อมฟัน แหลมคม กินแม้กระทั่งโมซาซอร์ด้วยกันเอง เต่า ฉลาม และปลาอื่นๆ และอาจรู้จักใช้วิธีแอบซุ่มในหินหรือสาหร่ายในยามล่าเหยื่อ ซึ่งอะไรก็ตามที่หากเข้าไปในปากของมันแล้วก็ยากที่จะรอด แต่มีบ้างเหมือนกันที่เจ้าโมซาซอร์เพลี่ยงพล้ำถูกฉลามกัด หรือลูกๆของมันต้องกลายเป็นเหยื่อของฉลามไปบ้างก็มี ตัวทารกของมันมีขนาดเท่ากับ จระเข้ ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและไฮโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไดพลอโดคัส

ลอโดคัส () หรือ กิ้งก่าสันคู่ วงศ์ ดิพโพลโดซิเด อันดับแยกย่อย ซอโรโพดา อันดับย่อย ซอโรโพโดมอพา อันดับ ซอริสเชีย เป็นไดโนเสาร์ ตระกูลซอโรพอดเช่นเดียวกับ อะแพทโตซอรัสและ มีชื่อเสียงพอๆกัน ในด้านความยาวขนาดตัว ขนาดใหญ่โตเต็มที่ยาว 25-27 เมตร(David Gillete คำนวณขนาดมันว่า ใหญ่ได้มากที่สุด 33 เมตร) แต่หนักแค่ 10-12 ตัน ถือว่าเป็นซอโรพอดที่เบาที่สุด อาศัยอยู่กลางถึงปลายยุคจูแรสซิก 150 - 147 ล้านปีก่อน ไดพลอโดคัส เป็นสายพันธุ์ที่แยกประเภทได้ง่าย เนื่องจาก ลักษณะตามแบบไดโนเสาร์ ศีรษะขนาดเล็ก เตี้ย และเอียงลาด ตาลึก รูจมูกอยู่เหนือตา จมูกกว้าง คอและหางยาว ปลายแส้ที่หางยาวมากกว่า อะแพทโตซอรัส ขา 4 ข้างที่ใหญ่โตเหมือนเสา ลักษณะที่โดดเด่นคือ เงี่ยงกระดูกเป็นคู่ที่ยื่นโผล่ออกมาจากกระดูกสันหลังตั้งแต่หลังคอเรียงรายไปถึงหาง หลายปีก่อน ไดพลอโดคัส เคยเป็น ไดโนเสาร์ที่ตัวยาวที่สุด ขนาดตัวมหึมาของมัน เป็นอุปสรรคระดับหนึ่งต่อนักล่า อย่าง อัลโลซอรัส พบที่อเมริกาเหนือ อยู่ในยุคจูราสสิคตอนปล.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและไดพลอโดคัส · ดูเพิ่มเติม »

ไซส์โมซอรัส

ซส์โมซอรัส (Seismosaurus) เป็นอดีตสกุลไดโนเสาร์ซอโรพอดที่มีความยาวประมาณ 30-35 เมตร และหนักถึง 60 ตัน มีความหมายว่ากิ้งก่าแห่งแผ่นดินไหว เพราะเวลาเดินจะทำให้พื้นสั่นเหมือนแผ่นดินไหว กินพืชเป็นอาหาร รักสงบ อาศัยอยู่ในจูแรสซิกตอนปลาย ค้นพบโดยกิลต์เลตต์ เมื่อปี..1991 รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา แต่ในปัจจุบัน ได้มีการค้นพบว่าไซส์โมซอรัสนั้น แท้จริงแล้วคือชนิดหนึ่งของสกุลดิปโพลโดคั.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและไซส์โมซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไซคาเนีย

ซคาเนีย (Saichania) เป็นไดโนเสาร์หุ้มเกราะชนิดหนึ่ง ชื่อของมันมีความหมายว่าสวยงาม อาศัยอยู่ใน ยุคครีเทเชียสตอนปลายประมาณ 70 ล้านปีมาแล้ว มันเป็นไดโนเสาร์หุ้มเกราะชนิดหนึ่ง ตรงที่หางคล้ายมีกระบองติดอยู่ กระบองใช้เป็นอาวุธฟาดศัตรู สาเหตุที่มันได้ชื่อว่างดงามเป็นเพราะฟอสซิลของมันอยูในสภาพสมบูรณ์มาก ยาวประมาณ 7 เมตร กินพืชเป็นอาหาร ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและไซคาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ไซน์แรปเตอร์

ซน์แรปเตอร์ (Sinraptor) เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อชนิดหนึ่ง ชื่อของมันมีความหมายว่าราชาหัวขโมยแห่งจีน ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศจีนในปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและไซน์แรปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพไทโนซอรัส

กจินตนาการของศิลปินแสดงซีโลไฟซิส และ ''เพไทโนซอรัส'' ในสภาพแวดล้อมของมัน เพไทโนซอรัส (Peteinosaurus (/pɛˌtaɪnəˈsɔːrəs/ มีความหมายว่า"กิ้งก่ามีปีก") เป็นสกุลหนึ่งของเทอโรซอร์ มันอยู่ในยุคไทรแอสซิก ในช่วง Norian ตอนปลาย (ประมาณ 221 ถึง 210 ล้านปีก่อน).

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเพไทโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เห็ดเผาะ

ห็ดเผาะ หรือ เห็ดถอบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Astraeus hygrometricus) เป็นเห็ดราชนิดหนึ่งในวงศ์ Diplocystaceae เมื่ออ่อนและดอกยังไม่เปิดมีลักษณะคล้ายเห็ดราในหมวด Basidiomycota กล่าวคือเป็นลูกกลม เมื่อโตขึ้นดอกเห็ดมีลักษณะเป็นรูปดาวซึ่งเป็นผลมาจากเนื้อเยื่อชันนอกของสปอโรคาร์ปแตกออก เห็ดเผาะเป็นเห็ดชนิดไมคอไรซาที่เติบโตร่วมกับต้นไม้หลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินร่วนปนทราย เห็ดเผาะมีการกระจายพันธุ์ทั่วโลกในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ชื่อสามัญ (hygroscopic earthstar) มาจากมันมีคุณสมบัติไฮโกรสโคปิก (ดูดซับน้ำ) เห็ดจะเปิดดอกวงนอกเผยถุงสปอร์เมื่อมีความชื้นเพิ่มขึ้นและปิดอีกครั้งเมื่อแห้ง ดอกวงนอกจะแตกแบบไม่สม่ำเสมอที่ผิว ขณะที่ถุงสปอร์เป็นสีน้ำตาลอ่อนมีรอยฉีกยาวบริเวณด้านบน เกลบา (gleba) เริ่มแรกมีสีขาวและกลายเป็นสีน้ำตาลและเป็นผงเมื่อสปอร์เจริญเต็มที่ สปอร์มีสีน้ำตาลแดง เกือบกลม มีปุ่มเล็กๆ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5–11 ไมโครเมตร แม้ว่าจะมีลักษณะภายนอกคล้ายกัน แต่เห็ดเผาะไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเห็ดราในสกุล Geastrum ถึงในอดีตจะมีการจัดอนุกรมวิธานไว้ในสกุลนี้ก็ตาม เห็ดชนิดนี้ได้รับการจัดจำแนกครั้งแรกโดยคร้สติน เฮนดริก เพอร์ซูน (Christiaan Hendrik Persoon) ในปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเห็ดเผาะ · ดูเพิ่มเติม »

เอบิลิซอรัส

วาดของเอบิลิซอรัส เอบิลิซอรัส (Abelisaurus) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดในกลุ่มย่อยเอบิซอร์อาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ในยุคครีเตเชียส เป็นสัตว์กินเนื้อสองเท้า มีความยาวประมาณ 7-9 เมตร (25-30 ฟุต) ถูกค้นพบในปีในปี ค.ศ.1995 โดยโรเบอร์โต้ อาเบล อดีตผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์Cipolletti ในประเทศอาร์เจนตินาในแคว้นปาตาโกเนี.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเอบิลิซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมอนโตซอรัส

อ็ดมอนโตซอรัส (Edmontosaurus) เป็นพวกไดโนเสาร์ปากเป็ดชนิดหนึ่ง ฟอสซิลของมันพบในทวีปอเมริกาเหนือ อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลาย เมื่อประมาณ 73 ล้านปี ถึง 65 ล้านปีก่อน มันเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างไทรันโนซอรัสและอยู่ร่วมยุคกับไทรเซอราทอปส์ เอ็ดมอนโตซอรัส เป็นหนึ่งในพวกแฮดโดรซอร์ริเด (ไดโนเสาร์ปากเป็ด) ที่ใหญ่ที่สุด ความยาวของมันวัดได้ถึง 13 เมตร (43 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 4.0 ตันมันเป็นที่รู้จักกันจากตัวอย่างฟอสซิล ที่มีสภาพสมบูรณ์ มันมีญาติอย่างอนาโตไททัน (Anatotitan) ซึ่งอาศัยอยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน ฟอสซิลชิ้นแรกของมัน ถูกค้นพบในภาคใต้ ของรัฐอัลเบอร์ตา ประเทศแคนาดา ในปี 1917 เอ็ดมอนโตซอรัส มีชื่อก่อนหน้านี้ว่า annectens ซึ่งตั้งโดย โอลเนียท ชาล มาร์ชในปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเอ็ดมอนโตซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เอ๋อเหมยซอรัส

อ๋อเหมยซอรัส (Omeisaurus; 峨嵋龙) เป็นไดโนเสาร์ซอโรพอดขนาดเล็ก ค้นพบฟอสซิลที่ภูเขาเอ๋อเหมย ประเทศจีน ขนาดประมาณ 10-21เมตร ค้นพบในปี..

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเอ๋อเหมยซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์รีราซอรัส

อรีราซอรัส (Herrerasaurus) มีชีวิตอยู่ในช่วงต้น ของยุคไทรแอสสิค พบในทวีปอเมริกาใต้ เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในยุคไทรแอสสิค ความ ยาว 5 เมตร คล้ายนก ฟันมีลักษณะแหลมคม คอสั้น กระดูกต้นขายาว กว่ากระดูกหน้าแข้ง มีนิ้วเท้า 4 นิ้ว กระดูกสะโพกชิ้นหน้าเอียงไปทางด้านหลังค่อนข้าง คล้ายกับไดโนเสาร์ที่มีสะโพกเหมือนนก ชื่อของมันมีความหมายว่า กิ้งก่าเฮอร์รีร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเฮอร์รีราซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เทอริสิโนซอรัส

ทอริสิโนซอรัส (Therizinosaurus) เป็นไดโนเสาร์กลุ่มเทอโรพอดชนิดหนึ่ง โดยสายพันธุ์นี้จะไม่กินเนื้อ แต่จะกินพืช มันกินพืชเพราะลักษณะของฟันมัน ทำให้เทอริสิโนซอรัส เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดที่กินพืช เทอริสิโนซอรัสอาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสเมื่อ 72-68 ล้านปีก่อน ค้นพบฟอสซิลที่ประเทศจีน มองโกเลีย และตะวันออกกลาง.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเทอริสิโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เดสเพลโตซอรัส

ลโตซอรัส (Daspletosaurus) เป็นเทอโรพอดในวงศ์ไทรันโนซอรอยเดีย (Tyrannosauroidea) ที่อาศัยอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อประมาณ 77 ถึง 74 ล้านปีก่อนในยุคครีเทเชียส ซากฟอสซิลพบในรัฐอัลเบอร์ต้า และรัฐมอนแทนาเป็นส่วนใหญ่ เดสเพลโตซอรัส เป็นไดโนเสาร์ในวงส์เดียวกับไทรันโนซอรัส ที่มีคุณสมบัติกะโหลกใหญ่พันคม เช่นเดียวกับเทอโรพอดในวงศ์ไทรันโนซอรอยเดียอื่น.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเดสเพลโตซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เคนโทรซอรัส

นโทรซอรัส (Kentrosaurus) ชื่อของมันมีความหมายว่ากิ้งก่าแหลมคม เพราะลำตัวส่วนหน้าของมันมีแผงกระดูอยู่ ส่วนจากหลังถึงหางของมันมีหนามแหลมคมอยู่ อาศัยอยู่ในยุคจูแรสซิกตอนปลาย มันยาว 3-5 เมตร พบที่แอฟริกา อาวุธหลักของมันคือหนามยาวหนึ่งคู่ตรงหาง กินพืชเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเคนโทรซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

เซกโนซอรัส

เซกโนซอรัส (Segnosaurus) ชื่อมีความหมายว่ากิ้งก่าวิ่งช้า ยาวประมาณ 6 เมตรอาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนปลายเมื่อประมาณ 90 ล้านปีก่อน ค้นพบฟอสซิลที่ทวีปเอเชีย เป็นไดโนเสาร์กินพืชที่เชื่องช้า และรักสงบ ปากเป็นจะงอย มีหางยาวและว่ายน้ำเก่ง หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในยุคครีเทเชียส.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและเซกโนซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R. (2003) in An Overview of the Siwalik Acheulian & Reconsidering Its Chronological Relationship with the Soanian - A Theoretical Perspective.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและHomo erectus · ดูเพิ่มเติม »

Latimeria

Latimeria เป็นสกุลเดียวของปลาซีลาแคนท์ที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน มี 2 ชนิด พบที่บริเวณขอบด้านตะวันตกของมหาสมุทรอินเดีย และ อินโดนีเซี.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและLatimeria · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes distillatoria

Nepenthes distillatoria (จากภาษาละติน: destillo.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและNepenthes distillatoria · ดูเพิ่มเติม »

Rhynchocinetidae

Rhynchocinetidae เป็นวงศ์ของครัสเตเชียนวงศ์หนึ่ง จำพวกกุ้ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Rhynchocinetidae โดยพบทั่วโลก 2 สกุล 17 ชนิด อาศัยอยู่ในทะเลเท่านั้น ในฝั่งทะเลอันดามันของไทยพบ 2 สกุล 2 ชนิด มีลักษณะโดยทั่วไป คือ เปลือกคลุมหัวเรียบ ไม่มีรอยหยักนูน เปลือกคลุมหัวกับกรีเชื่อมต่อไม่สมบูรณ์ ทำให้กรีสามารถขยับไปมาได้ ฟันกรีหยาบใหญ่ ก้ามของขาเดินคู่แรกทั้งสองข้าง ขนาดเกือบเท่ากัน ขาเดินคู่ที่สองมีขนาดใหญ่กว่าและยาวกว่าขาเดินคู่แรก ตัวผู้จะมีก้ามใหญ่กว่าปกติ กุ้งในวงศ์นี้มีขนาดเล็ก ความยาวเพียง 2-6 เซนติเมตร มีสีสันและลวดลายตามตัวแปลกตา สำหรับกุ้งในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักดี คือ กุ้งมดแดง (Rhynchocinetes durbanensis) ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์น้ำสวยงาม.

ใหม่!!: ชนิดต้นแบบและRhynchocinetidae · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Type species

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »