โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จีนโพ้นทะเล

ดัชนี จีนโพ้นทะเล

วจีนโพ้นทะเล (อังกฤษ: Overseas Chinese; จีน: 華僑 huáqiáo หัวเฉียว, 華胞 huábāo หัวเปา, 僑胞 qiáobāo เฉียวเปา, 華裔 huáyì หัวอี้) คือ กลุ่มคนเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ภายนอกประเทศจีน คำว่าประเทศจีนในที่นี้ หมายความได้ถึง จีนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งดินแดนภายใต้การปกครองของรัฐบาล สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้แก่ ฮ่องกง มาเก๊า และ ไต้หวัน (สาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่า ไต้หวัน เป็นเพียงมณฑลหนึ่งของตน และปัจจุบัน สหประชาชาติ มิได้รับรองฐานะไต้หวันให้เป็นสาธารณรัฐจีนแต่อย่างใ.

53 ความสัมพันธ์: บอร์เนียวเหนือบักกุ๊ดเต๋ชาวอเมริกันเชื้อสายจีนชาวจีนชาฮังชิน โสภณพนิชกัมพูชาเชื้อสายจีนการพลัดถิ่นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522ภาษาจีนกวางตุ้งภาษาจีนหมิ่นภาษาแต้จิ๋วภูวดล ทรงประเสริฐมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติมานากัวม่าจ้อโป๋รัฐซาราวักรัฐปีนังราชวงศ์ชิงลอดลายมังกรลัทธิอนุตตรธรรมวันชาติสาธารณรัฐจีนศาสนาพุทธในประเทศบรูไนศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ศาสนาพุทธในประเทศสิงคโปร์ศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซียศาสนาพุทธในประเทศนิการากัวศาสนาพุทธในประเทศเคนยาสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สุลักษณ์ ศิวรักษ์สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองอักษรจีนตัวย่ออักษรจีนตัวเต็มอิน-จันฮากุ ริจุ้ยบ้วยเนี้ยถ้วยฟูท่าเตียนขนมเข่งคลองบางกอกใหญ่ตัน ภาสกรนทีซุน ยัตเซ็นนิคมช่องแคบแขวงตลาดน้อยโรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุงโซลไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมไทยเชื้อสายจีนเฟรนช์พอลินีเชีย...เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติ้ง ลี่จวินเซี่ยเหมิน ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

บอร์เนียวเหนือ

อร์เนียวเหนือ เป็นรัฐในอารักขาในการดูแลของบริษัทบอร์เนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ระหว่างปีค.ศ. 1882 - 1946 หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนสถานะเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรโดยใช้ชื่อว่าบอร์เนียวเหนือของอังกฤษจนถึงปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและบอร์เนียวเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

บักกุ๊ดเต๋

ักกุ๊ดเต๋ (Bak kut teh; Hokkien: 肉骨茶) เป็นน้ำแกงแบบจีนที่นิยมรับประทานในมาเลเซีย สิงคโปร์ จีน ไต้หวัน และบางเมืองในประเทศเพื่อนบ้าน อย่างเช่น บาตัมในอินโดนีเซีย และอำเภอหาดใหญ่และภูเก็ตในไทย ชื่อบักกุ๊ดเต๋แปลตามตัวอักษรได้ว่า "กระดูกหมูและน้ำชา" โดยทั่วไปจะประกอบด้วยซี่โครงหมูอ่อนตุ๋นในน้ำต้มสมุนไพรและเครื่องเทศ (ได้แก่ โป๊ยกั้ก อบเชย กานพลู ตังกุย เมล็ดยี่หร่า และกระเทียม) เป็นเวลาหลายชั่วโมง อาจมีส่วนประกอบอื่นเพิ่มเติมอย่างเครื่องในสัตว์ เห็ดชนิดต่าง ๆ ผักกาด เต้าหู้แห้ง หรือเต้าหู้ทอด และอาจมีสมุนไพรจีนอื่น ๆ เช่น yu zhu (เหง้าของ Solomon's Seal) และ ju zhi (ผล buckthorn) ที่ทำให้น้ำแกงมีรสหวานมากขึ้นและเข้มข้นขึ้นเล็กน้อย ระหว่างปรุงจะเติมซีอิ๊วขาวและดำลงในน้ำแกง มีผักชีสับหรือหอมเจียวเป็นเครื่องตกแต่ง เชื่อกันว่า บักกุ๊ดเต๋เริ่มนำเข้าไปในมลายูเมื่อศตวรรษที่ 19 โดยคนงานชาวจีนจากกวางตุ้ง เฉาซาน หรือฝูเจี้ยน.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและบักกุ๊ดเต๋ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกันเชื้อสายจีน

วอเมริกันเชื้อสายจีน หมายถึงชาวอเมริกันที่มีเชื้อสายจีน ประกอบด้วยชาวจีนโพ้นทะเล กับบางส่วนที่เป็นชาวอเมริกันเชื้อสายเอเชียตะวันออก รวมทั้งชาวอเมริกันเชื้อสายเอเชียกลุ่มย่อย ซึ่งภายในชุมชนนี้ มักไม่ได้กำหนดว่าจะย้ายถิ่นฐานมาจากจีนแผ่นดินใหญ่, ฮ่องกง, มาเก๊า, ไต้หวัน กับลูกหลานของพวกเขาที่มิได้ย้ายถิ่นฐานในภายหลัง รวมทั้งชาวจีนโพ้นทะเลที่โยกย้ายมาจากสถานที่อันหลากหลาย ทั้งสิงค์โปร์, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, พม่า และฟิลิปปินส์ ชาวจีนกลุ่มแรกที่อพยพได้เดินทางถึงสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและชาวอเมริกันเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและชาวจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชาฮัง

ังของภัตตาคารแห่งหนึ่งในนะฮะ จังหวัดโอะกินะวะ การผัดชาฮัง ข้าวผัดกิมจิโปะด้วยไข่ดาวยางมะตูม ชาฮัง เป็นข้าวผัดแบบญี่ปุ่น มีส่วนประกอบหลักคือข้าว ผัดเข้ากับส่วนผสมอื่น ๆ และทำให้สุกในกระทะ คาดว่าชาฮังเกิดขึ้นราวปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและชาฮัง · ดูเพิ่มเติม »

ชิน โสภณพนิช

นายชิน โสภณพนิช (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 4 มกราคม พ.ศ. 2531) นักธุรกิจ, นักการเงิน-การธนาคารชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีชื่อเสียง เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารกรุงเท.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและชิน โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาเชื้อสายจีน

วกัมพูชาเชื้อสายจีน (ចិនកម្ពុជា) คือชาวจีนที่เกิดในประเทศกัมพูชา หรือเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือ ชาวจีนโพ้นทะเล โดยอาจเป็นลูกผสมระหว่างชาวกัมพูชากับจีนที่อาศัยอยู่ภายในประเทศกัมพูชา ในช่วง ค.ศ. 1960-1970 มีชาวจีนอาศัยอยู่ในกัมพูชาประมาณ 425,000 คน แต่ภายหลังเหตุการณ์ของเขมรแดง ชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนจำนวนมากต่างอพยพออกนอกประเทศ ทำให้ประชากรชาวจีนในช่วงปี ค.ศ. 1984 มีจำนวนชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนเพียง 61,400 คน โดยชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนส่วนใหญ่ถือสัญชาติกัมพู.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและกัมพูชาเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกวางตุ้ง

ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและภาษาจีนกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนหมิ่น

แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและภาษาจีนหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแต้จิ๋ว

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและภาษาแต้จิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ภูวดล ทรงประเสริฐ

การชุมนุมเมื่อปี พ.ศ. 2551 ศาสตราจารย์ ภูวดล ทรงประเสริฐ (เกิด พ.ศ. 2493 - ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช) ศาสตราจารย์ระดับ 10 ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบัน เกษียณอายุราชการแล้ว ศาสตราจารย์ ภูวดล ทรงประเสริฐ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ เกิดที่ตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ปริญญาตรีและโทด้าน ประวัติศาสตร์ จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก ด้านประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมอนาช ประเทศออสเตรเลี.ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ เป็นผู้ที่เคลื่อนไหวทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ขณะเรียนอยู่ปี 2 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นนักวิชาการที่เชี่ยวชาญโดยเฉพาะทางด้านประวัติศาสตร์จีนและประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยเขียนหนังสือเกี่ยวกับชาวจีนโพ้นทะเลหลายเล่ม เช่น ชาวจีนโพ้นทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2546 เป็นต้น และเป็นบุคคลแรกในประเทศไทยที่สอนวิชาประวัติศาสตร์เกาหลี เป็นหนึ่งในนักวิชาการที่เข้าร่วมชุมนุมขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และเป็นขาประจำบนเวทีพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการชุมนุมเมื่อปี พ.ศ. 2551 โดยเป็นที่ชื่นชอบอย่างมากของผู้ชุมนุม เพราะมีลีลาการปราศรัยที่เผ็ดร้อนและมีข้อมูลเชิงลึก แต่หลายครั้งก็เต็มไปด้วยอารมณ์และคำหยาบ จนกระทั่งหลังการปราศรัยเสร็จในคืนวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พล.ต.จำลอง ศรีเมือง หนึ่งในแกนนำของกลุ่มพันธมิตรฯได้ขึ้นเวทีไปตำหนิ และหลังจากนั้น.ดร.ภูวดลก็มิได้ขึ้นเวทีของทางกลุ่มพันธมิตรฯอีกเลย แม้จะมีเสียงเรียกร้องจากผู้ชุมนุมก็ตาม งานวิจัยที่สำคัญของอาจารย์ช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจบทบาทของจีนโพ้นทะเลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย ทุนจีนต่อการพัฒนาเศรษฐกิจดีบุกและยางพาราในภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและภูวดล ทรงประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (Huachiew Chalermprakiet University) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2524 โดย มูลนิธิฮั้วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลจีนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยชื่อของมหาวิทยาลัย "หัวเฉียว" (華僑) หมายถึง ชาวจีนโพ้นทะเล และเป็นชื่อที่มูลนิธิใช้เป็นชื่อของโรงพยาบาลและวิทยาลัยของมูลนิธิอยู่แล้ว มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีวิทยาเขต 1 แห่ง คือ วิทยาเขตยศเส ตั้งอยู่บริเวณถนนอนันตนาค แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

มานากัว

มานากัว (Managua) เป็นเมืองหลวงของประเทศนิการากัว ตั้งอยู่ริมชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของทะเลสาบมานากัว ที่พิกัดภูมิศาสตร์ มีจำนวนประชากร 1,380,100 คน เมืองนี้ได้รับการจัดตั้งเป็นเมืองหลวงในปี พ.ศ. 2398 ก่อนหน้านี้ที่ตั้งเมืองหลวงย้ายไปมาระหว่างเมืองเลอองกับเมืองกรานาดา ชาวมานากัวเกือบทั้งหมดเป็นชาวผิวขาวที่พูดภาษาสเปนและเชื้อสายเมสติโซ มีชุมชนรุ่นที่สาม รุ่นที่สี่ และรุ่นที่ห้าของชุมชนชาวกาตาลัน ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี และชาวฝรั่งเศส เช่นเดียวกับชาวตะวันออกกลางและชาวเอเชีย — ชาวญี่ปุ่นและชาวจีน (ทั้งชาวจีนแผ่นดินใหญ่และชาวไต้หวัน) ไม่กี่ปีมานี้ จำนวนชาวอเมริกา (อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และอเมริกาใต้) ที่ย้ายเข้าสู่กรุงมานากัวและประเทศนิการากัวได้เพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับในประเทศคอสตาริกา หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:ประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและมานากัว · ดูเพิ่มเติม »

ม่าจ้อโป๋

ม่าจ้อโป๋ หรือ ม่าโจ้ว หรือ ไฮตังม่า (媽祖 มาจู่) เป็นเทพเจ้าสตรีของจีนที่ได้รับความเคารพในหมู่ของชาวฮกเกี้ยน ชาวแต้จิ๋ว และชาวจีนโพ้นทะเล ที่ประกอบอาชีพประมงและเดินเรือ ม่าจ้อโป๋ มักจะถูกเข้าใจผิดในหมู่ชาวไทยว่าคือ เจ้าแม่ทับทิม ซึ่งความจริงแล้วเจ้าแม่ทับทิมแท้ที่จริงแล้ว คือ จุ้ยบ้วยเนี้ย (水尾聖娘) เทพสตรีอีกองค์หนึ่งที่ถือว่าเป็นเทพแห่งท้องทะเลหรือการเดินเรือเช่นเดียวกัน โดยจุ้ยบ้วยเนี้ยนั้นจะเป็นที่นับถือของชาวไหหลำ ในขณะที่ม่าจ้อโป๋จะเป็นที่นับถือของชาวฮกเกี้ยน และชาวแต้จิ๋ว ซึ่งในอดีตยุคที่ยังมีการค้าขายกันระหว่างไทยกับจีนด้วยเรือสำเภา ชาวไหหลำจะเดินทางมาถึงประเทศไทยในช่วงต้นปี คือ ราวเดือนมกราคม เนื่องจากเกาะไหหลำนั้นมีทำเลที่ตั้งอยู่ใกล้ประเทศไทยกว่า และจะทำการสักการะบูชาจุ้ยบ้วยเนี้ย เมื่อชาวฮกเกี้ยนและแต้จิ๋วเดินทางมาถึงจะอยู่ในราวปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม เนื่องจากมณฑลกวางตุ้งและฮกเกี้ยนนั้นตั้งอยู่ในแผ่นดินใหญ่ซึ่งไกลกว่า และก็ทำการสักการะม่าจ้อโป๋ด้วยเช่นกัน จึงทำให้เกิดความสับสนระหว่างเทพสตรีทั้งสอง อีกทั้งเครื่องประดับยังใกล้เคียงกันอีกด้วย คือ เป็นเครื่องทรงสีแดง ทั้งนี้เกิดจากฝีมือช่างที่เกิดในประเทศไท.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและม่าจ้อโป๋ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซาราวัก

ซาราวัก หรือ ซาราวะก์ (Sarawak, อักษรยาวี: سراواك) เป็นหนึ่งในสองรัฐของประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว เป็นที่รู้จักกันในชื่อ บูมีเกอญาลัง (Bumi kenyalang, "ดินแดนแห่งนกเงือก") ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ และเป็นรัฐที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ส่วนอันดับสอง คือ รัฐซาบะฮ์ นั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองศูนย์กลางการบริหารของรัฐนี้ คือ กูชิง (ประชากร 600,300 คน ใน ปี พ.ศ. 2548) มีความหมายตรงตัวว่า "แมว" (Kuching) เมืองหลักของรัฐเมืองอื่น ๆ ได้แก่ ซีบู (228,000 คน) มีรี (282,000 คน) และบินตูลู (152,761 คน) การสำรวจสำมะโนประชากรครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 รัฐนี้มีประชากร 2,376,800 คน ซาราวักเป็นรัฐที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรมมากที่สุดในมาเลเซียและไม่มีกลุ่มชาติพันธุ์หลัก.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและรัฐซาราวัก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปีนัง

ปูเลาปีนัง (Pulau Pinang) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย เดิมชาวมลายูรุ่นแรกเรียกว่า ปูเลาวาซาตู หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลาปีนัง หรือเกาะหมาก ต่อมาอังกฤษเรียกว่า เกาะพรินซ์ออฟเวล.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและรัฐปีนัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ลอดลายมังกร

ลอดลายมังกร เป็นนวนิยายที่ประพันธ์โดย ประภัสสร เสวิกุล ว่าด้วยเรื่องราวของชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ที่ชื่อ เหลียง สือพาณิชย์ ที่สร้างเนื้อสร้างตัวจากเสื่อผืนหมอนใบจนกลายเป็นมหาเศรษฐี ได้รับรางวัลชมเชยประเภทนวนิยาย จากการประกวดหนังสือดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและลอดลายมังกร · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอนุตตรธรรม

อักษร ''หมู่'' หมายถึง "พระแม่องค์ธรรม" พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และลัทธิอื่น ๆ ที่แตกแขนงมาภายหลัง รวมทั้งลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิอนุตตรธรรม (一貫道 Yīguàn Dào อีก้วนเต้า) ในประเทศไทยเรียกว่า วิถีอนุตตรธรรม เป็นศาสนาที่หวัง เจฺว๋อี ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงเมื่อปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและลัทธิอนุตตรธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติสาธารณรัฐจีน

วันดับเบิลเท็น เป็นวันชาติของสาธารณรัฐจีน และเฉลิมฉลองการเริ่มต้นของการลุกฮือหวูชาง เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและวันชาติสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศบรูไน

ระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาในบรูไนตั้งแต่สมัยอาณาจักรศรีวิชัย ที่เรืองอำนาจจากฝั่งคาบสมุทรมลายูอย่างกว้างขวางในศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมา จนถึงพุทธศตวรรษที่ 20 จึงอ่อนกำลังลงไปแล้วเงียบหาย คงเหลือแต่อิทธิพลทางภาษา ไว้เท่านั้น ต่อมาจนถึงปัจจุบันก็มีคลื่นชาวจีนโพ้นทะเลอพยพมาสู่ดินแดนนี้เพื่อประกอบอาชีพ เช่นเดียวกันกับประเทศมุสลิมใกล้เคียง จนมีศาสนิกชนเป็นจำนวนมาก และก็มีชาวญี่ปุ่น ชาวไทย ฯลฯ แม้ปัจจุบัน ประเทศนี้จะมีชาวพุทธเพียงร้อยละ 13 เท่านั้น แต่ก็สร้างความหลากหลายทางวัฒนธรรมของประเทศบรูไนได้เป็นอย่างดี แต่ประเทศนี้เป็นประเทศมุสลิม การที่จะเผยแผ่พระศาสนา จึงเป็นไปได้ยาก เช่นเดียวกันกับมาเลเซีย และอินโดนีเซีย การนับถือพระพุทธศาสนาของประชาชนในประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ส่วนมาก็จะคล้าย ๆ กับประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย เพราะว่าเป็นชนกลุ่มน้อย รวมตัวกันช่วยกันส่งเสริมบริหารจัดการองค์กรเป็นกลุ่มเฉพาะของตน ส่วนมากจะได้รับการสนับสนุนการเผยแผ่ธรรมจากไต้หวัน หรือประเทศไทย (มีสาขาของวัดพระธรรมกายที่ไปดำเนินกิจกรรมร่วมกับชาวพุทธเดือนละ 1 ครั้ง) ในปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและศาสนาพุทธในประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่มีพลเมืองส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก แต่ในเวลาเดียวกันก็มีกลุ่มศาสนาต่าง ๆ อยู่ในประเทศด้วยกัน ทั้งอิสลาม พุทธ ฮินดู และศาสนาอื่น ๆ บนเอกภาพที่หลากหล.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศสิงคโปร์

ระพุทธศาสนาเริ่มต้นในประเทศสิงคโปร์ ตั้งแต่สมัยศรีวิชัย แต่ต่อมาชาวมลายูมุสลิมได้มาตั้งรกรากอยู่ และต่อมาก็มีชาวจีนโพ้นทะเลได้มาตั้งรกรากอยู่ที่สิงคโปร์ ได้นำพระพุทธศาสนาแบบมหายานมาเผยแผ่ด้วย และเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากในประเทศนี้ วัดศากยมุนี.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและศาสนาพุทธในประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย

ประชากรของประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่อดีตเคยมีพระพุทธศาสนาแบบมหายานเข้ามาประดิษฐานอยู่ พระพุทธศาสนาได้รุ่งเรืองมาก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีโบราณสถานที่สำคัญ 2 แห่งอยู่ในอินโดนีเซียคือ บรมพุทโธ (โบโรบุดูร์) ตั้งอยู่ที่ราบเกฑุ (kedu) ในภาคกลางของชวา ห่างจากเมืองยอกจาการ์ตา (Jogjagata) ในปัจจุบันทางเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร และพระวิหารเมนดุต (Mendut) ซึ่งอยู่ห่างจาก โบโรบุดูร์ไปทางทิศตะวันออก 3 กิโลเมตร ต่อมาเมื่ออิสลามได้ขยายอำนาจครอบงำอินโดนีเซียในปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศนิการากัว

ทธศาสนาในประเทศนิการากัว เริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 19 มีการอพยพของชาวจีนโพ้นทะเลมาตั้งถิ่นฐานในประเทศนิการากัว ในปัจจุบันในประเทศนิการากัวมีชาวพุทธประมาณ 0.1% ซึ่งมีจำนวนน้อยมาก และบางส่วนก็ได้หันไปนับถือศาสนาคริสต.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและศาสนาพุทธในประเทศนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศเคนยา

การเข้ามาของพระพุทธศาสนาในประเทศเคนยา เริ่มต้นโดยผ่านกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเล และชาวสิงหล (ลังกา) เนื่องจากชาวจีน และชาวสิงหลเข้าไปทำงานในไร่เกษตรกรรมของชาวอังกฤษเจ้าอาณานิคมในยุคนั้น ช่วงแรกๆของพุทธศาสนาในเคนยาจะเป็นชาวเอเชียกลุ่มแรกๆนี้ แต่ต่อมาในภายหลังชาวเคนยาจำนวนหนึ่งซึ่งนับถือลัทธิภูติผีปีศาจ ได้หันมานับพุทธศาสนาตาม แต่ก็เป็นชนกลุ่มเล็กๆซึ่งอาศัยอยู่แถบเมืองท่าทางชายฝั่งตะวันออกของประเทศ ต่อมามีการประชุมศาสนา และสันติภาพโลกที่นครไนโรบี เมืองหลวงของประเทศเคนยา ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2527 ภายหลังได้มีการเผยแผ่พุทธศาสนามากขึ้นในแถบนี้ รวมถึงความพยายามที่จะจัดตั้งชมรมชาวพุทธเคนยาขึ้นมา มีการนิมนต์พระสงฆ์จาก ญี่ปุ่น จีน และไทย เพื่อให้เดินทางเข้ามาเผยแผ่ในประเทศ แต่ยังไม่ทันคืบหน้า ประเทศเคนยาได้ประสบปัญหาในเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ รวมไปถึงชนพื้นเมืองบางกลุ่มที่ไม่เป็นมิตรกับคนต่างศาสนา การเผยแผ่จึงเป็นไปได้ยาก หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่:ประเทศเคนยา.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและศาสนาพุทธในประเทศเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949) · ดูเพิ่มเติม »

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

150x150px สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2475) เจ้าของนามปากก.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและสุลักษณ์ ศิวรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวย่อ

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและอักษรจีนตัวย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวเต็ม

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ตัวอักษรจีน เขียนด้วยอักษรจีนตัวเต็ม อักษรจีนตัวเต็ม เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน ปรากฏครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. 337 - 763) และได้ใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ในสมัยราชวงศ์เหนือใต้ ที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวเต็ม หรืออักษรจีนดั้งเดิม ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวย่อ ซึ่งประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของ สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและอักษรจีนตัวเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

อิน-จัน

อิน-จัน และลูก ๆ ของทั้งคู่ อิน-จัน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2354 — 17 มกราคม พ.ศ. 2417) เป็นชื่อของฝาแฝดสยาม ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยเป็นที่มาของคำว่า "แฝดสยาม" เนื่องจากเกิดที่ประเทศสยาม (ประเทศไทย) ฝาแฝดที่มีหน้าอกติดกันและใช้ตับร่วมกัน เป็นฝาแฝดคู่แรกของโลกที่สามารถดำรงชีพเหมือนคนธรรมดาได้ตลอดชีวิต อิน-จันได้สัญชาติอเมริกันเมื่อปี พ.ศ. 2382 และใช้นามสกุลว่า บังเกอร์ (Bunker) มีลูกหลานสืบตระกูลมาจนถึงทุกวันนี้ ชื่อเสียงของอิน-จัน ทำให้เกิดคำเรียกแฝดตัวติดกันว่า แฝดสยาม (Siamese twins) ตามชื่อเรียกประเทศไทยในเวลานั้น ฝาแฝดอิน-จัน เป็นฝาแฝดที่มีตัวติดกันทางส่วนหน้าอก (บันทึกของชาวตะวันตกบอกว่า เนื้อที่เชื่อมกันระหว่างอกนี้สามารถยืดได้จนทั้งคู่สามารถหันหลังชนกันได้).

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและอิน-จัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮากุ ริ

กุ ริ (Haku Lee; 27 ธันวาคม พ.ศ. 2533) เป็นนักวอลเลย์บอลชาวญี่ปุ่น ปัจจุบันเขาเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลทีมชาติญี่ปุ่น และเป็นสมาชิกของทีมวอลเลย์บอลโทเรย์แอร์โร.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและฮากุ ริ · ดูเพิ่มเติม »

จุ้ยบ้วยเนี้ย

217x217px จุ้ยบ้วยเนี้ย (水 尾 聖 娘.; พินอิน: Shuǐ wěi shèng niáng) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีน จุ้ยบ้วยเนี้ย หรือแปลตรงตัวได้ว่า เจ้าแม่ท้ายน้ำ หรือที่ชาวไทยรู้จักกันในนาม เจ้าแม่ทับทิม เป็นเทวนารี ที่รู้จักและนิยมบูชาเช่นเดียวกับม่าจ้อโป๋ หรือไฮตังม่า เป็นเทพเจ้าที่ได้รับความเคารพในหมู่ของชาวฮกเกี้ยน และ ชาวไหหลำ และชาวจีนโพ้นทะเล ที่ประกอบอาชีพเป็นชาวประมงที่เดินเรือ โดยส่วนใหญ่ชาวไทยมักเข้าใจผิดว่าจุ้ยบ้วยเนี้ยกับม่าจ้อโป๋เป็นองค์เดียวกัน จึงนิยมเรียกรวมกันว่า "เจ้าแม่ทับทิม" ซึ่งแท้ที่จริงแล้วตามความเชื่อของจีนเป็นคนละองค์กัน โดยศาลเจ้าของจุ้ยบ้วยเนี้ย เฉพาะในประเทศไทยมีกันหลายแห่ง ที่โด่งดังมีชื่อเสียง ได้แก่ ศาลเจ้าจุ้ยโบเนี้ยว เชิงสะพานซังฮี้, เป็นศาลเจ้าแม่ทับทิมที่มีความเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย โดยสร้างมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและจุ้ยบ้วยเนี้ย · ดูเพิ่มเติม »

ถ้วยฟู

ีของขนมฮวดโก้ยจะใช้ต่างกันในแต่ละพิธี ถ้าใช้ในการไหว้เจ้า หรืองานพิธีมงคล นิยมใช้สีชมพู แต่บ้างที่ในพิธีการแต่งงานจะมีสีแดงด้วย ส่วนการไหว้บรรพบุรุษและงานอวมงคลนิยมใช้สีขาวล้วน ปัจจุบันขนมฮวดโก้ยสามารถพบได้หลากสีทั้ง เขียว ฟ้า เหลือง ส้ม ฯลฯ หมวดหมู่:อาหารจีน หมวดหมู่:อาหารพื้นเมืองภูเก็ต หมวดหมู่:ขนมของชาวจีน.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและถ้วยฟู · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเตียน

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและท่าเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ขนมเข่ง

หนียนเกา, เค้กข้าว, เค้กประจำปี หรือ เค้กตรุษจีน คืออาหารที่ทำจากข้าวเหนียวเพื่อบริโภคในอาหารจีน ขนมเข่งสามารถพบได้ในซุปเปอร์มาร์เก็ตของชาวเอเชีย และในร้านขายอาหารเพื่อสุขภาพ ถึงแม้ขนมเข่งจะรับประทานได้ตลอดปี แต่จะเป็นที่นิยมที่สุดในช่วงตรุษจีน คนนิยมรับประทานขนมเข่งในช่วงนี้ เพราะคำว่า เหนียนเกา ออกเสียงเหมือนคำว่า ปีที่สูงขึ้น ในภาษาจีน.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและขนมเข่ง · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางกอกใหญ่

ปากคลองบางกอกใหญ่ บรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกใหญ่ช่วงที่ผ่านวัดอินทารามวรวิหาร (วัดบางยี่เรือนอก) การขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่ ๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำสายเดิมกลายเป็นคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบัน คลองบางกอกใหญ่ หรือชื่อในอดีตว่า คลองบางหลวง เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยามาก่อน กล่าวคือบริเวณตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย ตรงข้ามมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไปจนถึงปากคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้น ยังเป็นแผ่นดินอยู่ แม่น้ำเจ้าพระยาเดิมจะอ้อมเลี้ยวจากหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคุ้งกว้างมาทะลุออกข้างวัดท้ายตลาด ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 - 2089) โปรดเกล้าให้ขุดคลองลัดระหว่างคุ้งแม่น้ำทั้งสอง เพื่อย่นระยะทางและอำนวยความสะดวกให้กับบรรดาพ่อค้าทูตานุทูตชาวตะวันตกที่เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในสมัยนั้น ต่อมาคลองลัดเริ่มกว้างใหญ่ขึ้นกลายเป็นแม่น้ำ ส่วนแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมก็เล็กลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน ราชสำนักย้ายมาอยู่ที่กรุงธนบุรี คลองบางกอกใหญ่กลายมาเป็นชุมชนของข้าหลวง และโปรดเกล้าให้บรรดาชาวจีนซึ่งได้เคยช่วยเหลือพระองค์มาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ ผู้คนจึงนิยมเรียกกันติดปากว่า "คลองบางข้าหลวง" หรือ "คลองบางหลวง" สืบมาถึงในปัจจุบัน รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร กำหนดให้คลองบางกอกใหญ่เป็นคลองสำคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ปากคลองบางกอกใหญ่แยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งขวาของป้อมวิไชยประสิทธิ์ ไปสิ้นสุดที่คลองมอญ ตรงข้ามปากคลองชักพระ มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร คลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้นถือเป็นเส้นทางสัญจรและระบายน้ำ และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สำคัญอย่างมาก มีศาสนสถานตั้งอยู่อย่างหนาแน่นทั้งสองฝั่ง วัดและมัสยิดริมคลองบางกอกใหญ่ได้แก.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและคลองบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ตัน ภาสกรนที

ตัน ภาสกรนที เป็นนักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งบริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม โดยต่อมา เขาขายหุ้นใหญ่ของ บม.โออิชิกรุ๊ป ที่มีอยู่ให้กับบริษัท ไทยเบฟเวอร์เรจ จำกัด (มหาชน) และลาออกจากตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ บม.โออิชิกรุ๊ป แล้วไปก่อตั้งบริษัท ไม่ตัน จำกัด (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นอิชิตัน กรุ๊ป) ระยะหลังเป็นที่รู้จัก ในสถานะผู้ร่วมกิจกรรมธุรกิจ และเพื่อนสนิทต่างวัยกับอุดม แต้พานิช นักแสดงตลกชื่อดัง.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและตัน ภาสกรนที · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยัตเซ็น

นายแพทย์ ซุน ยัตเซ็น (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1866 - 12 มีนาคม ค.ศ. 1925) เป็นนักปฏิวัติ และ ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "บิดาของชาติ" ในสาธารณรัฐจีน และ "ผู้บุกเบิกการปฏิวัติประชาธิปไตย" ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยความเป็นผู้ริเริ่มจีนชาตินิยมคนสำคัญ ซุนมีบทบาทสำคัญในจุดประกายการโค่นล้มราชวงศ์ชิงที่ปกครองแผ่นดินจีนเป็นราชวงศ์สุดท้ายและเกือบนำประเทศไปสู่ความหายนะ ซุนได้ปลุกกระแสให้ชาวจีนหันมาตระหนักถึงความล้มเหลวของราชวงศ์ชิง กระทั่งกลายเป็นกระแสต่อต้านราชวงศ์และนำไปสู่การปฏิวัติซินไฮ่ ซึ่งเปลี่ยนประเทศจีนเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ซุนเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลคนแรกเมื่อสาธารณรัฐจีนก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและซุน ยัตเซ็น · ดูเพิ่มเติม »

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2369 โดยในตอนแรกเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดินแดนที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2410 ได้กลายเป็นอาณานิคมอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลสหราชอาณาจักรอย่างเต็มตัว และได้รับเอกราชภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและนิคมช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงตลาดน้อย

ทความนี้เป็นแขวงในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ในส่วนของตำบลตลาดน้อย จังหวัดสระบุรี ดูที่: อำเภอบ้านหมอ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย แขวงตลาดน้อย เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่การปกครองของเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร พื้นที่บริเวณตลาดน้อยเป็นถิ่นอยู่อาศัยของชาวจีนโพ้นทะเลและชาวไทยเชื้อสายจีนอีกแห่งหนึ่ง นอกเหนือจากย่านเยาวราชและสำเพ็งที่อยู่ใกล้เคียง มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่ยาวนานตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เดิมเป็นตลาดที่คึกคักมาก โดยเรียกกันในภาษาแต้จิ๋วว่า "ตั๊กลักเกี้ย" (噠叻仔; ลูกตลาด, ตลาดน้อย) มีที่มาจากเจ้าสัวเนียม หรือเจ๊สัวเนียม ผู้เป็นเจ้าของที่ดินแถบนี้มีลูกสาวคนหนึ่งชื่อ "น้อย" เป็นท่าเรือและชุมชนที่รุ่งเรืองก่อนเยาวราช โดยมีชาวโปรตุเกส เป็นชนกลุ่มแรกที่เข้ามาอาศัยอยู่ จากนั้นจึงตามมาด้วยชาวจีน, ชาวญวน รวมถึงเขมรมาปักหลักอาศัย ปัจจุบันมีสภาพเป็นบ้านเรือนที่อาศัยของผู้คนในลักษณะอาคารพาณิชย์ขนาดเล็ก และตรอกซอกซอยต่าง ๆ และยังมีศาสนสถานสำคัญของหลายศาสนา และมีสิ่งก่อสร้างที่เป็นจุดเด่น เช่น ริเวอร์ซิตี้ หรือ สะพานพิทยเสถียร อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ โดยหลายอาคารนั้นเป็นอาคารที่เก่าควรค่าแก่การอนุรักษ์ มีมากถึง 64 อาคาร ตลาดน้อยเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม ด้วยความเก่าแก่ของอาคารสถานที่ และวิถีชีวิตของผู้คนที่ยังคงเหมือนเดิมเช่นในอดีตอยู่ โดยมีถนนสายหลัก คือ ถนนเจริญกรุง บนพื้นที่ติดกับแขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในซอยเจริญกรุง 22 หรือ ตรอกตลาดน้อย ภายในซอยมีหลายสถานที่ ๆ ได้รับความสนใจ เช่น ศาลเจ้าโจวซือกง, บ้านโซวเฮงไถ่ บ้านโบราณที่มีอายุกว่า 200 ปี สร้างด้วยสถาปัตยกรรมแบบซื่อเหอย่วนของจีน, เซียงกง หรือ ซอยวานิช 2 แหล่งรวมอะไหล่รถยนต์ที่มีชื่อเสียง, โบสถ์กาลหว่าร์ ศาสนสถานของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก, กรมเจ้าท่า และธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย ซึ่งเป็นธนาคารแห่งแรกของประเทศไทย ตัวอาคารธนาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบโบซาร์ผสมนีโอคลาสสิก โดยก่อสร้างตั้งแต..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและแขวงตลาดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง

รงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง (公立崇华新生华立学校) เป็นโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งโดยกลุ่มชาวไทยเขื้อสายจีนและพ่อค้าชาวจีนที่มาค้าขายในเมืองเชียงใหม่เมื่อประมาณร้อยปีก่อน มุ่งเน้นการสอนภาษาจีนเป็นภาษาที่สอง ปัจจุบันบริหารโดยมูลนิธิช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุงวิท.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและโรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง · ดูเพิ่มเติม »

โซล

ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและโซล · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)

นนเยาวราช ถนนสายหลักของไชนาทาวน์ กรุงเทพมหานคร แผนที่เขตสัมพันธวงศ์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่หลัก ๆ ของไชนาทาวน์ กรุงเทพมหานคร ไชนาทาวน์ในกรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในไชนาทาวน์หรือชุมชนจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม

en:Paiboon Damrongchaitam ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม (ชื่อเรียก: อากู๋) ประธานกรรมการบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ผู้ดำเนินกิจการธุรกิจสื่อบันเทิงขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และประธานมูลนิธิดำรงชัยธรรม เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (ชื่อเดิมของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับเรวัต พุทธินันทน.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและไทยเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์พอลินีเชีย

ฟรนช์พอลินีเชีย (French Polynesia; Polynésie française; ตาฮีตี: Pōrīnetia Farāni) เป็นดินแดนของฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ มีฐานะเป็น "overseas collectivity" พร้อมกับ "overseas country" ซึ่งเป็นตำแหน่งเฉพาะตัว ประกอบด้วยกลุ่มเกาะหลายเกาะในภูมิภาคโพลินีเซีย เกาะที่มีชื่อเสียงที่สุดได้แก่ตาฮีตีในหมู่เกาะโซไซตี ซึ่งยังเป็นเกาะที่มีผู้อยู่อาศัยมากที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของดินแดน (ปาเปเอเต) อีกด้วย และแม้จะไม่ได้อยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่เกาะกลีแปร์ตอนก็ถูกบริหารโดยเฟรนช์พอลินีเชี.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและเฟรนช์พอลินีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง ลี่จวิน

ติ้ง ลี่จวิน หรือ เทเรซา เติ้ง (テレサ・テン, 29 มกราคม พ.ศ. 2496 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) นักร้องเพลงจีนสากลชาวไต้หวันชื่อดังและมีอิทธิพลอย่างสูง เธอเกิดที่ เมืองเป่าจง มณฑลหยุนหลิน สาธารณรัฐจีน โดยบรรพบุรุษของเธอมาจากมณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เสียงและเพลงของเธอเป็นที่จดจำทั่วทั้งเอเชียตะวันออกและในหมู่ชาวจีนทั้งในประเทศจีน ไต้หวัน และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก จนมีคำกล่าวว่า "มีชาวจีนอยู่ที่ไหน ก็จะได้ยินเพลงของเติ้ง ลี่จวินที่นั่น" นอกจากนี้ เพลงของเธอยังเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวไทย ชาวเวียดนาม ชาวมาเลเซีย และชาวอินโดนีเซียจำนวนมากเช่นกัน เติ้ง ลี่จวิน มีชื่อเสียงจากบทเพลงรัก และเพลงพื้นเมืองภาษาหมิ่นหนาน (ภาษาฮกเกี้ยน) เพลงที่โด่งดังจนรู้จักกันทั่วไปทั่วเอเชีย ได้แก่เพลง เถียนมี่มี่ (甜蜜蜜, tián mì mì แปลว่า หวานปานน้ำผึ้ง) และเพลง เยว่เหลียงไต้เปี่ยวหวอเตอซิน (月亮代表我的心, yuè liàng dài biǎo wǒ de xīn แปลว่า พระจันทร์แทนใจฉัน) เป็นต้น ไม่เพียงเพลงภาษาจีนกลางเท่านั้น เธอยังเคยมีผลงานเพลงภาษาไต้หวัน ภาษากวางตุ้ง ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษด้วย เติ้ง ลี่จวิน เสียชีวิตอย่างกะทันหันเนื่องจากโรคหอบหืด ขณะเดินทางมาพักผ่อนที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ขณะอายุได้เพียง 42 ปี.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและเติ้ง ลี่จวิน · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยเหมิน

ซี่ยเหมิน (厦门市; Xiamen) เป็นเมืองในมณฑลฝูเจี้ยน มีชื่อตามภาษาฮกเกี้ยนว่า เอ้หมึง (Ē-mn̂g) หรือภาษาอังกฤษว่า อามอย (Amoy) หมายความว่า ประตูคฤหาสน์ เป็นเมืองที่อยู่บนเกาะ ห่างจากเกาะไต้หวันประมาณ 1 กิโลเมตร มีสัญลักษณ์เป็นนกกระยางขาว.

ใหม่!!: จีนโพ้นทะเลและเซี่ยเหมิน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ชาวจีนอพยพชาวจีนโพ้นทะเล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »